ความสมั พันธข์ องปัจจัยส่วนบุคคลตอ่ คุณภาพชีวติ ของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ในช่วงการระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 The Relationship between Personal Factors and Quality of Life among nursing students at Naresuan University during COVID-19 Outbreak นางสาวศภุ ากร ไชยมหาพฤกษ์ รหสั นสิ ติ 61561159 นายชยั มงคล ชสู งฆ์ รหสั นสิ ิต 61560299 นางสาวทัชชา สทุ ธิธรรมานันต์ รหัสนสิ ติ 61560459 นางสาววชริ าภรณ์ กอ่ เถาว์ รหัสนิสิต 61560978 นางสาวจติ ราภรณ์ อ่วมเปีย่ ม รหัสนิสติ 61560169 นางสาวสุดารตั น์ ประทุมรัตน์ รหัสนิสติ 61561203 นางสาวเปรมฤทัย ไชยมงคล รหสั นิสิต 61560763 นางสาวสดุ าพร ปารมี รหสั นสิ ติ 61561197 อาจารยท์ ีป่ รึกษา ดร.ปวงกมล กฤษณบตุ ร รายวชิ า 501378 วิจยั เบ้ืองต้นทางการพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร
ก ความสัมพันธข์ องปัจจัยส่วนบุคคลตอ่ คุณภาพชวี ิตของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในชว่ งการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 บทคัดย่อ 1ศภุ ากร ไชยมหาพฤกษ์ 1เปรมฤทัย ไชยมงคล 1วชิราภรณ์ กอ่ เถาว์ 1สดุ ารัตน์ ประทุมรัตน์ 1สุดาพร ปารมี 1จิตราภรณ์ อ่วมเปยี่ ม 1ชัยมงคล ชสู งฆ์ 1ทัชชา สทุ ธิธรรมานันต์ 2 ปวงกมล กฤษณบุตร การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างรายได้ ความเครยี ด และผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน กับคณุ ภาพชวี ิตของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ชั้นปีที่ 1-4 ปีการศึกษา 2563 ผู้วิจัยใช้ทฤษฎีการเปลี่ยนผ่านของ เมลิส (Meleis) เป็นกรอบแนวคิดใน การศึกษา กลมุ่ ตวั อยา่ ง จำนวน 245 คน เครือ่ งมือวจิ ัย ประกอบด้วย 1) แบบสอบถามขอ้ มูลท่วั ไป 2) แบบวัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกชุดย่อ ฉบับภาษาไทย (WHOQOL-BREF- Thai) และ 3) แบบวัดความเครียด กรมสุขภาพจิต (SPST - 20) วิเคราะห์ข้อมลู โดยใชด้ ว้ ยสถิติสัมประสิทธ์สิ หสมั พนั ธ์ของ สเปยี รแ์ มน (Spearman rank correlation coefficient) กำหนดระดับนยั สำคญั ที่ .05 ผลการวิจัยพบว่า คุณภาพชีวิต ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวรชั้นปีที่ 1-4 ปีการศึกษา 2563 โดยภาพรวมมีคา่ เฉล่ียอยู่ในระดับปานกลาง (x̄= 95.96 , SD = 12.73) รายได้เฉลีย่ อย่ใู น ระดบั ปานกลาง (x̄ = 6217.20, SD=178.06) ความเครียด โดยรวมมคี า่ เฉลี่ยอยใู่ นระดับระดับสูง (x=̄ 43.25, SD= 18.93) 4) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับดี (x̄ =3.34 , SD=0.43) 5) ความเครียดมี ความสมั พันธท์ างลบกับคณุ ภาพชีวิตในระดับปานกลาง (r= .433) ทรี่ ะดบั นยั สำคญั ทางสถติ ิ .05 อย่างไรกต็ าม ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างรายได้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับคุณภาพชีวิตของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ชัน้ ปที ี่ 1-4 ปีการศึกษา 2563 ผลการวิจัยนีเ้ สนอแนะว่า ควรประเมินความเครยี ดของนิสิตพยาบาลซึ่งเปน็ ปัจจัยเง่ือนไขการเปล่ียน ผ่าน จัดกิจกรรมลดความเครียดทั้งรูปแบบปกติและออนไลน์ จัดอบรมผู้ปกครองในการสังเกตและให้ คำปรึกษาเพื่อลดความเครียดให้กับนิสิตพยาบาล เพื่อให้มีผลลัพธ์ในการเปลี่ยนผ่านที่สมบูรณ์ คือ การมี คุณภาพชีวติ ทด่ี ี คำสำคญั รายได้ ความเครยี ด ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน คุณภาพชีวิต 1 นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร จงั หวดั พษิ ณุโลก 2 อาจารยท์ ่ีปรกึ ษารายวิชา 501382 วิจยั เบอื้ งตน้ ทางการพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร จงั หวดั พษิ ณุโลก
ข THE RELATIONSHIP BETWEEN PERSONAL FACTORS AND QUALITY OF LIFE AMOUNG NURSING STUDENTS AT NARESUAN UNIVERSITY DURING COVID-19 OUTBREAK 1Supakorn Chaiyamahapurk 3Premruethai Chaimongkol 1Wachirapon Kotthao 1Sudarat Pratumrat 1Sudaporn Paramee 1Jittraporn Ouampiam 1Chaimongkhon Choosong 1Thatcha Sutthithammanant 4Poungkamon Krisanabud ABSTRACT The purpose of this cross sectional-correlational research design were find the relationship between income, stress, grade and quality of life of nursing students in Naresuan University year 1-4. The sample comprised 245 nursing students in Naresuan University. Quota and accidental sampling technique were used for selecting the sample. Basing this study on Meleis’ Transitional Theory, the researcher used a set of three questionnaires including 1) Personal data part, 2) WHOQOL-BREF- Thai), and 3) SPST - 20. Data were analyzed by using the Spearman’s correlation coefficient s, with the significant value set at .05. The findings showed nursing students’ had a medium level of quality of life (x̄= 95.96 , SD = 12.73), medium level of income (x̄ = 6217.20, SD=178.06), high level of stress (x=̄ 43.25, SD= 18.93) and high level of Grade Point Average (x̄ =3.34 , SD=0.43). Stress was negatively associated with quality of life. In contrast, income and Grade Point Average were not associated with quality of life. The finding suggested that nursing students’ stress need to be continuingly assessed. The offline and online advising for releasing stress should be provided to help nursing student smoothly transits to good quality of life during COVID-19 outbreak. The others transition condition need to be examined. Keywords Income, Stress, Grade, Quality of life 3 Bachelor student, Faculty of Nursing, Naresuan University, Thailand 4 Advisor, Faculty of Nursing, Naresuan University, Thailand
ค สารบญั หนา้ บทคดั ย่อ(Thai)……………………………………………………………………………………………………………………………ก บทคัดยอ่ (Eng)…………………………………………………………………………………………………………………………….ข สารบัญ……………………………………………………………………………………………………………………………………….ค บทที่1 บทนำ…………………………………………………………………………………………………………………………...1 ความเป็นมาและความสำคัญของปญั หา……………………………………………………………….………...1 คำถามการวิจัย……………………………………………………………………………………………………………...3 วัตถุประสงค์การวิจยั …………………………………………………………………………………………………..….3 สมมตฐิ านการวิจัย……………………………………………………………………………………………………..…..3 กรอบแนวคดิ การวิจยั ……………………………………………………………………………………………….…….3 ขอบเขตการวจิ ัย…………………………………………………………………………………………………………….4 ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รบั ………………………………………………………………………………………………5 บทที่2 การทบทวนวรรณกรรม…………………………………………………………………………………………………...6 โรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019……………………………………………………………………………………………7 แนวคิดเกี่ยวกับคุณภาพชวี ติ ……………………………………………………………………………………………10 ทฤษฎกี ารเปลี่ยนผ่าน……………………………………………………………………………………………………..14 ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อคณุ ภาพชีวติ ของนสิ ติ /นักศึกษา………………………………………………………….…….17 บทท่ี3 วิธีการดำเนนิ การ………………………………………………………………………………………………………..….21 ลกั ษณะประชากรเเละกลมุ่ ตวั อย่าง…………………………………………………………………………….…….21 สถานทเี่ กบ็ ข้อมลู …………………………………………………………………………………………..………………..22 เครือ่ งมอื ในการวจิ ยั ……………………………………………………………………………...……………………..….22 การตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือวิจัย………………………………………………………………………..……….23 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู …………………………………………………………………………………………………....24 การวิเคราะห์ขอ้ มลู …………………………………………………………………………………………………..…….25 การพทิ ักษส์ ทิ ธิ์…………………………………………………………………………………………………………..…..25 บทที4่ ผลการวจิ ยั ………………………………………………………………………………………………….…………...….. 27 บทท5่ี บทสรปุ ……………………………………………………………………………………………………………………..…..32 สรปุ ผลการวจิ ยั ……………………………………………………………………………………………………….....…33 อภปิ รายผล……………………………………………………………………………………………………………….….33 ข้อเสนอแนะในการนำผลวจิ ัยไปใช้…………………………………………………………………………..……39 ข้อเสนอแนะในการวิจัยครัง้ ตอ่ ไป……………………………………………………………………..…….…….39 บรรณานุกรม……………………………………………………………………………………………………………………………41
ง สารบญั ตาราง หน้า ตาราง 27 1 จำนวนและรอ้ ยละของกลมุ่ ตวั อย่าง จำแนกตาม เพศ อายุ ชน้ั ปที ่ีกำลงั ศึกษา 29 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของปกี ารศึกษา 2563 เทอมท่ี 1 และรายไดข้ อง 29 31 นกั ศกึ ษาตอ่ เดือน 2 คา่ เฉลยี่ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความเครียดของนิสิตคณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ชั้นปที ี่ 1-4 ปีการศึกษา 2563 3 คา่ เฉลีย่ และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานและระดบั คณุ ภาพชีวิตของนสิ ติ คณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ชั้นปที ่ี 1-4 ปีการศึกษา 2563 4 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งรายได้ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน และความเครียด กบั คุณภาพชีวิต
1 บทที1่ บทนำ 1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปญั หา โรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 เปน็ โรคติดตอ่ อบุ ัตใิ หม่ทม่ี ีความรุนแรง เป็นปัญหาสาธารณสุข และสา ธารณภัยทคี่ กุ คาม ต่อความม่ันคงของประเทศ จากสถิติขององคก์ ารอนามยั โลก (World Health Organization: WHO) วนั ที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2563 ท่ัวโลกมียอดสะสมผตู้ ดิ เชอ้ื อยทู่ ี่ 7,731,721 คน มียอด สะสมผูเ้ สียชีวติ ที่ 428,210 ราย และสถติ ิการระบาดในประเทศไทย วนั ที่ 13 มถิ ุนายน พ.ศ. 2563 พบว่า มผี ู้ ตดิ เช้อื จำนวน 3,134 คน และมยี อดเสียชีวิตรวม 58 ราย (รายงานสถานการณโ์ รคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 ฉบับท่ี 162 วนั ท่ี 13 มิถนุ ายน 2563, ศนู ย์ปฏิบัติการฉกุ เฉนิ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข) ใน ปจั จุบันโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 การระบาดอย่างต่อเนือ่ ง และยังไม่สามารถควบคุมไดซ้ ง่ึ ส่งผลต่อ คณุ ภาพชวี ิตของประชาชนในทกุ กล่มุ ชว่ งวยั เช่น กล่มุ วยั ทำงาน ตอ้ งหยุดงานจากการระบาดของโรคติดเช้อื ไวไรโคโรนา 2019 ทำให้ไม่มีรายได้หรือรายไดล้ ดลง แบบแผนการใช้ชีวติ เปลี่ยนแปลงไป และมปี ัญหา สขุ ภาพจติ เพมิ่ มากขึ้น ซึง่ ในกลุ่มนิสิต/นกั ศกึ ษาพยาบาลก็ประสบปญั หาเช่นเดยี วกนั จากการระบาดของโรค ติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 คือ มกี ารหยุดเรียน หรือเรียนออนไลน์ในท่พี ักอาศยั ของนสิ ติ รวมถงึ การเลอ่ื น กำหนดการ ในการขน้ึ ฝึกปฏบิ ัติในหอผ้ปู ่วยสำหรับนิสติ /นักศึกษาพยาบาล มกี ารเปลีย่ นการจดั การเรียนการ สอนทม่ี รี ะยะเวลาส้ันลง เมื่อเทยี บกับแผนการเรียนการสอนในระดับปกติ ทำให้นสิ ิตพยาบาลมเี วลาในการทำ ความเขา้ ใจกบั การเนอื้ หาในบทเรยี นน้อยลง อาจทำให้นสิ ิตเกิดความเครยี ดได้ และความจำเป็นที่จะต้องใช้ เครอ่ื งมืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ในการเข้าถงึ การเรยี นการสอนออนไลน์ ซ่งึ อาจเปน็ อุปสรรคสำหรบั นสิ ิตบางราย ท่มี ี ปญั หาทางด้านเศรษฐกิจ นอกจากนี้ สิง่ แวดลอ้ มในทีอ่ ยูอ่ าศยั ของนิสติ ท่ไี มเ่ อื้ออำนวยต่อการเรียน ขณะที่ นิสิตอยูท่ ี่พกั อาศัย เชน่ มลพษิ ทางเสียง อาจจะทำให้นิสิตไมม่ สี มาธิในการเรียนและสง่ ผลใหม้ ีความสนใจใน การเรียนลดลง การเกดิ การระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ถือว่าเป็นการเปลี่ยนผ่านของบุคคลอยา่ งหน่งึ ตามทฤษฎกี ารเปลยี่ นผา่ นของเมลิส (Meleis, et al.,2000) กลา่ วคือ บุคคลจะมีการเปลยี่ นผ่านจากจุดหนึ่ง ซง่ึ ในสถานการณก์ ารระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ถอื เปน็ การเปล่ยี นผา่ นตามสถานการณ์ (Situational transition) ซง่ึ ตามทฤษฎกี ารเปลี่ยนผ่านยงั ได้กล่าวถงึ ปัจจัยท่มี ีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนผา่ นของ บุคคล (transition Conditions) ซ่งึ ได้แก่ ปจั จัยด้านบุคคล (personal) ปจั จยั ด้านชมุ ชน (community) และ ปัจจยั ดา้ นสังคม (society) เป็นปจั จัยทช่ี ่วยเสรมิ หรอื ขัดขวางกระบวนการเปลยี่ นผ่านของบุคคลไปสกู่ าร มีคุณภาพชวี ติ ท่ีดี สามารถอยู่ในสถานการณ์ใหม่ได้อย่างแข็งแกรง่ สุขสบายและมีพฤตกิ รรมทเ่ี ป็นปกติ (mastery of new behaviors) ซง่ึ ถือว่าเปน็ ผลลัพธ์ของการเปลยี่ นผา่ นของบคุ คล พยาบาลมีภารกิจในการให้ การบำบดั (nursing therapeutic) เพ่อื ช่วยใหบ้ ุคคลเปลยี่ นผ่านไปสคู่ ณุ ภาพชีวิตที่ดดี ้วยการปรับเปลยี่ นหรือ ส่งเสรมิ ปจั จยั เงื่อนไขของการเปลยี่ นผ่านตามปญั หาและความตอ้ งการของแตล่ ะบุคคล จากการทบทวนวรรณกรรม พบว่า ปจั จยั สำคัญทสี่ ่งผลต่อคุณภาพชีวิตของนิสติ นักศกึ ษา คือ ปัจจยั เง่ือนไขด้านบุคคล (personal conditions) ซ่งึ ได้แก่ ด้านรายได้ ด้านความเครยี ด และดา้ นผลสัมฤทธท์ิ างการ เรียน ในส่วนของดา้ นรายได้ พบวา่ มคี วามสมั พันธก์ ับคุณภาพชวี ติ โดยจากผลวิจยั เร่อื ง ปจั จัยทมี่ ีผลต่อ คุณภาพชีวิตของนิสิตมหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ วทิ ยาเขตองครักษ์ มผี ลการวิจัยวา่ รายได้ของนสิ ติ ที่ แตกตา่ งกัน ทำให้มรี ะดับความคดิ เห็นตอ่ คุณภาพชีวติ ในมหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒวิทยาเขตองครักษท์ ี่ แตกต่างกัน เพราะนิสิตแต่ละคนมเี งนิ ใชจ้ า่ ยต่อเดือนท่ีแตกต่างกนั ส่งผลให้ความคาดหวงั ในคุณภาพชีวติ ของ
2 นิสิตแตกต่างกนั กล่าวคอื นสิ ิตท่ีมีเงินใชจ้ า่ ยต่อเดือนในจำนวนนอ้ ย ยอ่ มมคี วามคาดหวงั ต่อทางมหาวิทยาลัย ท่ีจะมเี งินสนับสนุนช่วยเหลอื ด้านทุนการศึกษา เพื่อนำมาเปน็ ทุนสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการดำรงชวี ิตใน มหาวทิ ยาลัย อีกท้ังยังเปน็ การยกระดบั คุณภาพชีวิต ดา้ นกายภาพ ด้านสงั คม และดา้ นจิตวทิ ยาให้ดขี น้ึ (ธนิตา ชร้ี ตั น์, 2554) และในวิจยั เรือ่ ง คุณภาพชีวิตของนิสติ นกั ศึกษามหาวิทยาลยั ท่ีทำงานระหว่างเรียน ได้ วเิ คราะห์ความสัมพันธ์ไวว้ า่ คา่ ใช้จา่ ยตอ่ เดอื น และอาชพี ของผ้ปู กครองของนิสติ นักศึกษามหาวิทยาลัยที่ ทำงานระหว่างเรียนมคี วามสัมพนั ธเ์ ชงิ บวกกับคณุ ภาพชวี ติ ในระดับต่ำ อย่างมีนยั สำคญั ทางสถิติทร่ี ะดับ.01 (สุภาพ ฉัตราภรณ์,ชีพสมุ น รงั สยาธร, อภญิ ญา หิรญั วงษ์, และนฤมล ศราพันธ์ุ, 2552) และจากการวิจยั เรื่อง ปัจจัยท่มี ีผลตอ่ คุณภาพชีวติ ของนกั ศกึ ษาในมหาวทิ ยาลัยมหามงกุฎราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตศรลี ้านชา้ ง พบว่า การสนับสนนุ ดา้ นการเรยี น ของผูป้ กครอง เชน่ การใหค้ า่ ใช้จ่ายอย่างสมำ่ เสมอเปน็ รายเดือน ให้ค่าใชจ้ า่ ยด้าน การเรียนอย่างเตม็ ที่ ไมว่ ่าจะเป็นการซอ้ื หนังสอื ตำราเรียน อุปกรณก์ ารศึกษารวมถึงชุด และเคร่ืองแต่งกาย ตามทม่ี หาวิทยาลยั กำหนด มีความสมั พนั ธ์ทางบวกกับคณุ ภาพชีวติ ของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยมหามงกุฎ ราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตศรีล้านชา้ ง อย่างมีนยั สำคัญทางสถิติทร่ี ะดับ .01 (กิตตพิ ัฒน์ ทาวงศ์ษา,ประดษิ ฐ์ ศรี โนนยาง, พลภทั ร อภัยโส, บรรจบ โชติชัยเเละวันชัย สารยิ า, 2561) ด้านความเครยี ดเป็นอกี หนึ่งปัจจัยที่สมั พันธต์ อ่ คุณภาพชีวิต โดยจากวิจยั เรอ่ื ง ความสัมพันธร์ ะหวา่ ง ความเครยี ด คณุ ภาพชวี ติ คา่ ใชจ้ า่ ย กบั ผลการศึกษา ของนกั ศึกษาทศั นมาตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยรังสิต ได้ กลา่ วถึงความเครยี ดว่าความเครยี ดท่ีพบในนกั ศกึ ษาที่มปี จั จยั เกย่ี วข้องหลายประการ เชน่ ความยากง่ายของ การเรยี นสมั พนั ธภาพกับบุคคลและบคุ คลในครอบครวั ปญั หาเกย่ี วกับการเงิน ปญั หาด้านสุขภาพ รวมไปถงึ คณุ ภาพชีวติ (วฒั นยี ์ เย็นจิตร, พชั รนิ ทร์ พลอยสิทธิ์, โทน แห้วเพชรและเอกชัย โภไคยศสวรรค์, 2559) และ จากผลการศึกษาของวนิ ทิ รา นวลละออง (2555) ทที่ ำการศึกษาเก่ยี วกบั ปจั จยั ท่ีสัมพันธ์กับคณุ ภาพชีวติ ของ นกั ศกึ ษาแพทย์ชน้ั ปีที่ 1 พบว่าความเครยี ดจากปัญหาการปรบั ตวั การเงิน การติวกับเพ่อื นหลงั เลิกเรียน และ การเรียนแบบ PBL(Problem-based learning) มีความสัมพันธ์กับทางลบกับคุณภาพชวี ติ ของนกั ศกึ ษา แพทย์ช้นั ปีท่ี 1 ด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนพบวา่ มคี วามสัมพนั ธ์ต่อคุณภาพชีวติ โดยจากผลวิจยั เร่อื ง คณุ ภาพชวี ติ ในโรงเรียนของนักเรียนมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ในกรุงเทพมหานคร สรปุ ได้วา่ นกั เรยี นมัธยมศึกษาตอนปลายใน กรงุ เทพมหานครทมี่ ีระดับผลการเรียนต่างกนั มีคุณภาพชีวติ ในโรงเรียนทแ่ี ตกต่างกัน โดยนกั เรยี นทีม่ ีระดับผล การเรยี น อยใู่ นระดับดีมากมคี ุณภาพชวี ิตในโรงเรียนที่ดีกวา่ นักเรยี นท่ีมรี ะดับผลการเรียนอยู่ในระดับ ปรับปรงุ โดยผู้ทำวิจัยได้ ให้นิยามของคุณภาพชวี ิตไวว้ ่า สภาพความเปน็ อยทู่ ่ีดขี องนักศกึ ษาในมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารที ่ี เก่ียวขอ้ งกับสภาพแวดลอ้ ม ในดา้ นการเรียน ดา้ นอาหารและโภชนาการ ด้านที่พักอาศยั ด้านสุขภาพ อนามยั ดา้ นการบริการพื้นฐาน ดา้ นความปลอดภัยในชวี ิตและทรัพย์สิน ดา้ นจติ ใจ ด้าน ความสัมพันธ์ ทางสังคมและเศรษฐกจิ โดยวดั จากการใช้เครื่องมือวัดคุณภาพชวี ติ ขององค์การอนามยั โลกชุด ย่อ ฉบับภาษาไทย WHOQOL-BREF (สพุ รรณกิ าร์ มาศยคง, 2554) และจากผลการวิจยั เร่ือง คณุ ภาพชีวิต ของนักศึกษามหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สรุปว่านกั ศกึ ษาทมี่ ีผลคะแนนเฉล่ยี สะสมแตกตา่ งกันมีคณุ ภาพ ชวี ิตแตกตา่ งกันทางดา้ นการเรียน โดยนักศึกษาท่ีมีชว่ งคะแนนเฉลี่ยสะสมทีม่ ากกว่าจะมีคุณภาพชีวิตทางการ เรียนทด่ี กี วา่ นกั ศกึ ษาท่มี ชี ว่ งคะแนนเฉล่ยี สะสมที่นอ้ ยกว่า เร่ือง คณุ ภาพชวี ติ ของนสิ ิตทีอ่ ยู่หอพกั ใน จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย พบว่านิสติ ท่มี ีเกรดเฉล่ีย (GPAX) สูงข้ึนทำใหค้ ะแนนคณุ ภาพชวี ติ ด้านการเรยี น สงู ข้ึนตามไปด้วย ยิ่งผลการเรยี นสูงยงิ่ มีความพงึ พอใจมาก (วิสัญ อา่ งเฮ้า, 2551) อย่างไรก็ตามปจั จยั เง่ือนไขการเปลยี่ นผ่านทัง้ 3 ปัจจัยดงั กลา่ วข้างต้น เปน็ การศึกษาในสภาวะปกติ กอ่ นเกิดการะบาดโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 ซง่ึ ในปจั จุบันยงั ไมม่ ีการศึกษาความสัมพนั ธ์ของทั้งสามปัจจยั
3 ได้แก่ รายได้ ความเครียดและผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนในช่วงท่มี ีการระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 ดงั น้นั ทางคณะผวู้ ิจัยจึงสนใจท่ีจะศกึ ษาปัจจยั ทมี่ ีความสมั พันธ์กับคุณภาพชีวติ ในช่วงทีม่ ีโรคอุบัติใหม่ ซ่งึ คาด วา่ ผลของการศกึ ษาครงั้ นจี้ ะเป็นการทำความเข้าใจเกย่ี วกบั คุณภาพชวี ติ ของนิสติ คณะพยาบาลศาสตร์ ปี การศกึ ษา 2563 ชั้นปีท่ี 1-4 มหาวทิ ยาลัยนเรศวร เพ่ือเปน็ แนวทางในการวิจัยเกยี่ วกับปจั จยั เงอ่ื นไขการ เปล่ียนผ่าน ซ่งึ สามารถนำไปใชใ้ นการสง่ เสรมิ คณุ ภาพชีวติ ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ปีการศกึ ษา 2563 ชนั้ ปีท่ี 1-4 ในชว่ งที่มีโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ได้ 1.2 คำถามการวิจัย 1.คณุ ภาพชวี ิตของนิสติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ปกี ารศึกษา 2563 ชั้นปที ่ี 1-4 ในช่วงที่มโี รคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 เป็นอยา่ งไร 2. รายได้ของนสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร ปีการศึกษา 2563 ช้ันปีท่ี 1-4 ในชว่ งที่ มีโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 เป็นอยา่ งไร 3. ความเครยี ดของนิสติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร ปกี ารศึกษา 2563 ช้ันปีท่ี 1-4 ในช่วงท่ีมโี รคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 เป็นอยา่ งไร 4. ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศกึ ษา 2563 ช้นั ปีท่ี 1-4ในช่วงที่มีโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 เป็นอย่างไร 5. รายได้ ความเครียด ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น มีความสมั พันธ์กบั คณุ ภาพชีวติ ในชว่ งท่มี โี รคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 หรอื ไม่ อยา่ งไร 1.3 วัตถุประสงค์การวจิ ยั 1. เพ่อื ศกึ ษาคุณภาพชีวิต ของนสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2563 ชัน้ ปที ี่ 1-4 ในชว่ งที่มีโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 2.เพื่อศึกษารายไดข้ องนิสติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร ปีการศกึ ษา 2563 ชนั้ ปที ่ี 1- 4 ในช่วงท่ี มีโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 3.เพอื่ ศกึ ษาความเครยี ด ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ปกี ารศึกษา 2563 ช้นั ปที ่ี 1-4 ในช่วงทม่ี โี รคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 4.เพ่อื ศกึ ษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปกี ารศึกษา 2563 ชนั้ ปีที่ 1-4 ในชว่ งทม่ี โี รคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 5. เพ่ือศกึ ษาความสัมพันธร์ ะหว่างรายได้ ความเครียด และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน กบั คุณภาพชีวิต ของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร ปกี ารศกึ ษา 2563 ชัน้ ปีท่ี 1-4 ในช่วงทม่ี ีโรคติดเชือ้ ไวรัส โคโรนา 2019 1.4 สมมตฐิ านการวจิ ยั 1.รายได้ ความเครียด และผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนมคี วามสมั พนั ธก์ ับคุณภาพชีวติ ของนิสติ คณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ปีการศึกษา 2563 ช้นั ปที ี่ 1-4 1.5 กรอบแนวคิดการวิจัย การศกึ ษาครงั้ นใ้ี ชก้ รอบแนวคดิ ทฤษฎกี ารเปลย่ี นผ่าน (Transition theory) ของเมลิสและคณะ (Meleis, et al.,2000) ซง่ึ อธบิ ายว่า บุคคลจะมีการเปล่ยี นแปลงจากจุดหนง่ึ หรอื สภาวะหนงึ่ ไปยงั อกี จดุ หน่งึ
4 หรอื สภาวะหนง่ึ ของชวี ิตตลอดช่วงการดำเนินชวี ติ จากสถานการณป์ ัจจบุ นั มีโรคอุบตั ิใหม่คอื โรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา 2019 ถอื เปน็ การเปลีย่ นผา่ นตามสถานการณ์ (Situational transitions) การศกึ ษาครั้งน้ีมวี ตั ถุประสงคเ์ พอ่ื ศึกษาผลลพั ธข์ องการเปลี่ยนผ่าน คอื คุณภาพชีวติ ของนิสิตคณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปกี ารศกึ ษา 2562 ชนั้ ปีท่ี 1-4 ในชว่ งเกดิ โรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 ร่วมกบั การศึกษาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งปจั จัย ได้แก่ ปัจจยั ด้านบคุ คล คอื รายได้ ความเครียด และผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรยี น วา่ มีความสัมพนั ธ์ตอ่ ผลลัพธ์การเปลีย่ นผ่านในช่วงเกดิ โรคอบุ ัติใหม่ข้นึ หรือไม่ อย่างไร ซึ่งจะ อธิบายโดยใช้ แบบจำลองแนวคดิ การเปล่ียนผา่ นของเมลสิ และคณะในปี 2000 (Meleis, et al.,2000) แผนผงั ที่ 1.1 กรอบแนวคิดการวิจัย 1.6 ขอบเขตการวิจัย เปน็ การศึกษาเชิงปรมิ าณ เพอื่ ศกึ ษาหาความสมั พันธข์ องรายได้ ความเครยี ด และผลสมั ฤทธิ์ทางการ เรยี น ต่อคุณภาพชวี ิต ประชากรในการศึกษาครัง้ นี้ คอื นสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร ชั้นปีที่ 1-4 ปีการศึกษา 2563 โดยนสิ ิตชั้นปีท่ี 1 มีจำนวน 121 คน นสิ ติ ช้ันปที ี่ 2 มีจำนวน 139 คน นิสิตช้ันปที ่ี 3 มี จำนวน 125 คน และนสิ ติ ชั้นปีท่ี 4 มีจำนวน 125 คน ภายใตร้ ะยะเวลาในการศกึ ษาปี พ.ศ. 2563 1.7 นิยามตัวแปร 1.7.1 ปัจจัยสว่ นบุคคล หมายถงึ รายได้ ความเครียด ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน ของนสิ ิตคณะพยาบาล ศาสตร์มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ปีการศกึ ษา 2563 ช้ันปที ี่ 1-4 โดยไดน้ ิยามและวัดจากเครื่องมอื ดังนี้ รายได้ หมายถงึ เงนิ ที่นสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปกี ารศกึ ษา 2563 ปีที่ 1-4 ไดร้ บั จากผ้ปู กครอง กองทุนเงนิ กูย้ มื เพ่อื การศกึ ษา (กยศ./กรอ.) เงนิ จากการหารายได้เสรมิ ในแตล่ ะเดือน หน่วยเป็นบาท ความเครียด หมายถงึ ภาวะของอารมณ์หรอื ความร้สู ึกทีเ่ กิดขึน้ เม่ือบุคคลตอ้ งเผชิญกบั ปญั หาตา่ งๆ และทำให้รู้สกึ ถกู กดดัน ไม่สบายใจ โดยวดั จากแบบประเมินความเครียด (ST20) ประกอบดว้ ย 2 ด้าน ได้แก่ ดา้ นรา่ งกาย ดา้ นอารมณแ์ ละจิตใจ ลกั ษณะเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย 5 ข้อ โดยให้คะแนน 0-3 คะแนน ทตี่ รงกบั ความรูส้ ึก การแปลผล คะแนน 0-4 เครียดนอ้ ย คะแนน 5-7 เครียดปานกลาง คะแนน 8-9 เครียด มาก คะแนน 10-15 เครียดมากที่สุด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ผลการเรียนเฉลี่ยของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวรปีการศกึ ษา 2563 ชน้ั ปที ี่ 1-4 ภาคการศึกษาที่ 1
5 1.7.2 คุณภาพชวี ติ หมายถึง ความพึงพอใจทางด้านร่างกาย จติ ใจ สงั คม และด้านส่ิงแวดล้อม ของ นิสติ คณะพยาบาลศาสตร์มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ปีการศกึ ษา 2563 ช้นั ปีที่ 1-4 โดยวัดจากการใช้เครือ่ งชวี้ ดั คุณภาพชีวติ ขององค์การอนามัยโลกชุดย่อ ฉบับภาษาไทย (WHOQOL–BREF–THAI) ประกอบดว้ ย 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ นร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านความสัมพนั ธ์ทางสงั คม และด้านสง่ิ แวดลอ้ มคำถามท้งั หมด 26 ข้อ มี ตัวเลือกเปน็ แบบ rating scale 1-5 การแปลผลแบง่ เป็น 3 ระดบั ไดแ้ ก่ 26 – 60 คะแนนแสดงถึงการมี คณุ ภาพชวี ิตที่ไมด่ ี 61 – 95 คะแนนแสดงถึงแสดงถึงการมคี ุณภาพชวี ิตกลาง ๆ และ 96 – 130 คะแนนแสดง ถงึ การมคี ุณภาพชีวติ ที่ดี 1.8 ประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะไดร้ ับ 1. เข้าใจถงึ ผลลพั ธ์ของการเปลี่ยนผา่ นซง่ึ คอื คุณภาพชีวติ ของนสิ ติ คณะพยาบาลศาสตรม์ หาวทิ ยาลัย นเรศวร ปกี ารศึกษา 2563 ช้ันปีที่ 1-4 ในช่วงทม่ี ีโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 2. เพอื่ เปน็ แนวทางในการศึกษาวจิ ยั เกี่ยวกับปัจจัยอื่นๆทม่ี ีความสมั พนั ธ์ตอ่ คณุ ภาพชีวิตของนิสติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร ปกี ารศกึ ษา 2563 ช้ันปีที่ 1-4 ในช่วงท่มี โี รคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 3.ผลของการศึกษาสามารถนำไปพัฒนาและปรบั ปรงุ การดูแลคุณภาพชีวติ ของนิสติ คณะพยาบาล ศาสตร์มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ปกี ารศกึ ษา 2563 ช้ันปที ี่ 1-4 โดยการจดั การปจั จัยเง่อื นไขการเปล่ียนผ่าน ไดแ้ ก่ รายได้ ความเครียด และผลสัมฤทธิท์ างการเรียนในช่วงทีม่ ีโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019
6 บทท่ี 2 การทบทวนวรรณกรรม การศึกษาในคร้ังนีผ้ วู้ ิจัยมุง่ ศึกษาปัจจัยเงื่อนไขการเปล่ยี นผ่านท่ีมีความสัมพนั ธ์กบั คุณภาพชีวติ ของ นสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในชว่ งการระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ผ้วู จิ ัยได้ทบทวนวรรณกรรมทเี่ ก่ยี วขอ้ งและได้นำเสนอตามลำดับต่อไปน้ี 2.1 โรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 2.1.1 การติดต่อ 2.1.2 อาการ 2.1.3 การปอ้ งกัน รกั ษา การติดโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 2.1.4. ผลกระทบจากโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 2.2 แนวคดิ เกยี่ วกับคณุ ภาพชวี ิต 2.2.1 ความหมายคุณภาพชีวิต 2.2.2 องค์ประกอบคณุ ภาพชีวติ 2.2.3 การประเมนิ คุณภาพชีวิตของนิสิต/นกั ศกึ ษา 2.2.4 งานวจิ ัยทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั คุณภาพชวี ิตของนสิ ิต/นกั ศึกษา 2.3 ทฤษฎีการเปลีย่ นผา่ น 2.3.1 แนวคดิ ของทฤษฎีเปล่ยี นผา่ น 2.3.2 งานวิจัยทเ่ี กย่ี วกับทฤษฎกี ารเปล่ียนผา่ น 2.4 ปัจจยั ทมี่ ผี ลตอ่ คุณภาพชวี ิตของนิสติ /นกั ศึกษา 2.4.1 รายได้ 2.4.2 ความเครียด 2.4.3 ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น
7 2.1 โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 2.1.1 การติดตอ่ ไวรัสโคโรนา 2019(SARS-CoV-2) อยูใ่ นตระกลู Coronaviridae family มเี ปลือกหมุ้ (envelop) ลักษณะรปู รา่ งกลมหรอื มหี ลายแบบ ขนาด 80-120 nm diameter ซึ่งใหญ่ท่ีสดุ ใน RNA virus และเช้ือไวรัส โคโรนา 2019 เปน็ ไวรัสชนิด (+)ssRNA virus ซงึ่ ตดิ ต่อได้งา่ ยและพบไวรัสในกระแสเลือดไดน้ าน โดยต้นเชือ้ ของเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 มหี ลักฐานจากการถอดรหัสพันธกุ รรมพบกวา่ SARS-CoV-2 มตี ้นกำเนิดมาจาก คา้ งคาวมงกฎุ เทาแดง (Rhinolophus affinis) แต่ยังไม่ยืนยันว่า สัตว์ตัวกลางหรือสตั ว์ท่นี ำเชอ้ื มาสู่คนเปน็ สัตวป์ ระเภทใด โรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 สามารถแพรไ่ ดเ้ มื่อบุคคลมกี ารสัมผัสใกลช้ ิดเปน็ กับคนท่ีติดเชื้อไวรสั โดยทางละอองฝอยขนาดเล็กท่มี ีขนาดเล็กกวา่ 2.5 ไมครอนและทมี่ ีเชือ้ ไวรสั ปะปนอยู่ สามารถลอ่ งลอยผา่ นรู จมูก คอหอย หลอดลม ลกึ จนไปถงึ เนือ้ ปอด เกิดระหว่างการไอ จามหรอื สนทนา ละอองฝอยน้คี อ่ นขา้ งหนัก ปกติจะตกลงสพู่ ้นื ผวิ และไมป่ ลวิ ไปไกลในอากาศ เมื่อละอองฝอยทมี่ เี ชื้อตกลงสู่พนื้ หรือพืน้ ผิว ละอองฝอยนน้ั ยงั ติดเช้ือไดห้ ากบุคคลสัมผัสพื้นผิวท่ีปนเปอ้ื นแล้วนำมอื ไปสัมผัสตา จมูกหรอื ปากของตนแม้วา่ จะพบไดน้ อ้ ย (WHO, 2020) บคุ คลแพร่เช้อื ไดม้ ากทสี่ ุดเมือ่ แสดงอาการ แต่อาจแพร่เช้อื ได้จนถึงสองวนั ก่อนปรากฏอาการ และยงั คงแพรเ่ ช้ือต่ออีก 7 ถึง 12 วนั โดยประมาณในผปู้ ่วยที่ป่วยในระดบั ปานกลาง และโดยเฉล่ยี 2 สปั ดาห์ ในผู้ปว่ ยท่ปี ว่ ยในระดับรนุ แรง (ECDC, 2020) จากการศึกษาของ Gunter Kamf, Daniel Todt, Stephanie Pfander และ Eike Steinmann (2020) ไดส้ รุปไวว้ ่า เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สามารถเกาะอยบู่ นพน้ื ผิวของโลหะ แก้ว ไม้ หรือพลาสติกไดน้ าน ประมาณ 4-5 วนั ณ อณุ หภูมิหอ้ ง แต่ทอ่ี ุณหภมู ิ 4 องศา เช้อื ไวรสั จะอยู่ไดป้ ระมาณ 28 วนั และหาก อุณหภมู นิ ้อยกวา่ 30 องศา อายุของเช้อื ไวรสั จะสั้นลง ในความชน้ื มากกว่า 50% พบว่าไวรัสจะมชี วี ิตอยู่ได้ดี มากกวา่ ท่ี 30% 2.1.2 อาการ อาการเริ่มแรกของผปู้ ่วยท่ตี ดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 นน้ั สว่ นใหญจ่ ะเรม่ิ จากการมีไข้ ไอแห้ง และ ออ่ นเพลีย และอาจมอี าการอ่ืนๆเชน่ อาการปวดเมอื่ ย, คดั จมูก, ปวดหัว, เจบ็ คอ, สญู เสยี ประสาทการรับรส และการรับร้กู ลิ่น หรอื การมีผ่นื ท่ีผวิ หนัง หรือการเปลยี่ นสขี องนิ้วมือหรือน้วิ เทา้ ผ้ทู ี่ติดเชื้อบางคนอาจมกี าร แสดงอาการที่นอ้ ยมาก (WHO, 2020) ในรายทีม่ ีอาการรนุ แรงอาจเกิดปอดบวม โรคระบบทางเดินหายใจ เฉยี บพลันรา้ ยแรง ปอดอักเสบและนำ้ ท่วมปอด และไตวายได้ โดยอาการของโรคนัน้ ขึ้นกับจำนวนเชอื้ ทีส่ ามารถหลดุ ลอยเขา้ ไปถึงเนือ้ ปอดพรอ้ ม ๆ กัน หากมเี ชื้อ ลอ่ งลอยหลุดไปถึงเน้อื ปอดพร้อมกนั หลายหมนื่ หลายแสนตัว ก็จะทำให้ปอดอกั เสบพรอ้ ม ๆ กนั หลายท่จี นเนอื้ ปอดทำหนา้ ทแี่ ลกเปลยี่ นออกซเิ จนไม่เพียงพอ จนเกิดภาวะการหายใจล้มเหลวฉับพลัน ขณะเดียวกนั ภมู ิ ตา้ นทานของผูป้ ่วยยงั ไมส่ ามารถสรา้ งภูมิต้านทานมาต่อสทู้ ำลายเช้ือได้ทัน เพราะเมด็ เลือดขาวเพิ่งพบกบั เชอื้ ไวรสั เป็นครั้งแรก ผูป้ ว่ ยจงึ อาจจะเสียชีวิตได้ ข้อมูลของผู้เสยี ชวี ิตจากโรคนพี้ บว่าสว่ นมากเปน็ ผปู้ ่วยสงู อายุ จึง สร้างภูมติ า้ นทานชา้ จนมาส้เู ชื้อไมท่ นั และเปน็ ผทู้ ี่มีโรคปอดเรือ้ รงั อยู่แล้ว ทำให้ปอดอักเสบที่เกิดข้ึนจากการ ติดเช้ือรนุ แรงและรวดเรว็ ทำให้เกิดภาวะการหายใจลม้ เหลวฉับพลัน ส่วนผู้ทมี่ ีปอดแขง็ แรงก็สามารถทนตอ่ การกอ่ โรคของเชื้อทีค่ อ่ ย ๆ เพ่มิ ขนึ้ จนถึงเวลาทภี่ ูมติ า้ นทานของผปู้ ่วยเกิดมามากพอจนต่อสู้ทำลายเช้ือกอ่ โรค ได้ทนั กอ่ นทเี่ นอ้ื ปอดจะเสยี หายมากจนแก้ไขไมท่ นั ผปู้ ่วยท่ีแข็งแรงกว่าจึงปว่ ย และฟ้นื ตวั ไดจ้ ากภูมิตา้ นทาน ของตนเอง (อมร ลีลารัศมี, 2563)
8 ผูท้ ีต่ ดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 มอี าการคล้ายไขห้ วัด อาการทางเดินหายใจ เช่น มีไข้ ไอ มนี ำ้ มูก ใน ผูป้ ่วยบางรายอาจมีอาการรุนแรงทำให้เกดิ ภาวะแทรกซอ้ น เช่น ปอดบวม ปอดอกั เสบ ไตวาย หรืออาจ เสยี ชีวติ แมว้ ่าอาการหลายอยา่ งจะคล้ายคลงึ แต่เนือ่ งจากเกิดจากเชอื้ ไวรัสทแ่ี ตกต่างกัน จึงเปน็ เรอื่ งยากทีจ่ ะ สามารถระบโุ รคตามอาการเพียงอย่างเดยี ว จงึ ตอ้ งอาศัยการทดสอบทางหอ้ งปฏบิ ตั ิการเพื่อยืนยันเช้ือ (กรม ควบคมุ โรค, 2563) 2.1.3 การป้องกันการติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 การป้องกนั ตวั เองและสงั คมจากการตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 เป็นมาตราท่ปี ระชาชนทกุ คนควรทำ และใหค้ วามรว่ มมอื เพื่อลดความเสย่ี งในการเกดิ โรค รวมทง้ั ลดการแพรก่ ระจายเชื้อในสังคม WHO,2020 ได้ กลา่ วถงึ วิธกี ารปอ้ งกนั ดงั นี้ 1.ล้างมือด้วยสบแู่ ละน้ำสะอาดอยา่ งนอ้ ย 20 วนิ าที หรือลบู มอื ดว้ ยเจลแอลกอฮอล์แล้วรอจนเจลแหง้ 2.สวมหนา้ กากอนามยั อย่างถูกต้อง โดยสเี ข้มอยูด่ ้านนอก สอี ่อนอยูด่ ้านใน ปิดปากและจมกู 3.เลือกประเภทหน้ากากให้เหมาะสมกับสถานะการทำงานและบริบทในชวี ติ ประจำวัน เชน่ หน้ากาก อนามยั เหมาะสำหรบั คนป่วยและคนดูแลผปู้ ว่ ย หน้ากาก N95 เหมาะสำหรับบุคลากรทางการแพทย์ 4.หลกี เลย่ี งการสมั ผัสใบหน้า ขยีต้ า แคะจมกู และสัมผสั ปาก 5.ไอ จาม ใส่แขนพบั หัวไหล่ หรือลงคอเสือ้ 6.หลีกเล่ียงการใช้มอื ปอ้ งปากและจมูก ถ้าใชม้ ือป้องปากและจมูกต้องลา้ งมอื ให้สะอาดทุกคร้งั 7.หลกี เลย่ี งการใช้สงิ่ ของเคร่อื งใช้กับผ้อู นื่ เพ่ือลดการแพรโ่ รค 8.ไมใ่ กลช้ ดิ กับผมู้ ีอาการของโรคระบบทางเดินหายใจ (ไอ จาม) 9.รกั ษาระยะห่างอยา่ งนอ้ ย 1-2 เมตร เพ่ือให้พ้นระยะสมั ผสั ละอองเสมหะ 10. เช็ดทำความสะอาดพืน้ ผวิ ท่หี ยบิ จบั สัมผัสบอ่ ยๆ เช่น ลูกบิด ท่ีจบั ประตู ราวบันได ดว้ ย แอลกอฮอล์หรอื สบู่ 11.ปิดฝาชักโครกทกุ ครัง้ ทกี่ ดล้าง เพ่ือลดโอกาสการฟงุ้ กระจายของไวรสั ซ่งึ ถูกขบั ออกทางอจุ จาระได้ 12.หลกี เล่ียงการไปสถานที่ทีผ่ ู้คนหนาแน่น เช่น โรงหนัง ห้างสรรพสนิ ค้า สนามบิน 13.ควรฉดี วคั ซนี ปอ้ งกนั ไข้หวดั ใหญ่ เพอื่ ลดโอกาสการป่วยท่ีมอี าการและอาการแสดงคล้ายกับการตดิ เชอ้ื SARS-CoV-2 สำหรบั การทำความสะอาดพนื้ ผวิ สมั ผัส ให้ใช้แอลกอฮอล์ (≥ 70% Alcohol) เชด็ พ้ืนผวิ ท่ีเปน็ โลหะ ผงซกั ฟอกผสมน้ำรอ้ น 70 องศาเซลเซยี สใช้กับสงิ่ แวดลอ้ มหรอื วัสดุที่เป็นผ้า นำ้ ยาฆา่ เช้ือเดทตอล (4.8% Chloroxylenol) นำ้ ยา 1: น้ำ 39 ส่วน ใช้ซักผ้าหรือเชด็ พ้นื ผวิ ทั่วไป และในอตั ราสว่ น น้ำยา 1: 70%Alcohol 19 ส่วน ใช้เชด็ เคร่อื งใชใ้ นครัวเรือน สว่ นน้ำยาฟอกขาว(5% Na hypochloride) น้ำยา 1: น้ำ 99 สว่ น ใช้ในการเชด็ พื้นผิวทวั่ ไป และอัตราส่วนนำ้ ยา 1: น้ำ 9 สว่ น ใช้เชด็ พน้ื ผวิ ท่ีมีละอองเสมหะ สารคดั หลั่ง การใชไ้ ฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์(3% H2O2) ในการเช็ดพนื้ ผิวควรระวังการกดั กร่อน โดยใชใ้ นอัตราสว่ น สารเคมี 1: น้ำ 5 ส่วน ทำความสะอาดพนื้ ผวิ สมั ผัสควรใช้วธิ ีการเช็ด หา้ มพ่นเพราะจะเกดิ ละอองทำใหเ้ สมหะ นำ้ มกู นำ้ ลายท่ีตกอยู่บนพน้ื ผิวกระจายขึ้นมา (กรมควบคุมโรค, 2563) 2.1.4 การรักษาการตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 จากสถานการณต์ ิดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ท่มี ีการระบาดทว่ั โลก ในชว่ งระยะที่ผา่ นมา ขณะนย้ี งั ไมม่ ี ยารกั ษาเฉพาะสำหรบั เป็นเพียงการรกั ษาตามอาการ และเป็นการรักษาด้วยยาเดมิ ทม่ี อี ยู่ และไดม้ ีการศกึ ษา ค้นควา้ ทำการวิจัยในหลอดทดลองว่ายาหลายๆชนดิ มฤี ทธ์ิในการยับย้งั โควดิ -19 โดยมกี ลไกยับย้ังไวรสั ท่ี
9 แตกตา่ งกนั มากกวา่ 1 ชนิด มาใช้รว่ มกันในการรักษาผปู้ ่วยทต่ี ิดเชื้อไวรัสโควิด-19 สามารถแบ่งกลุ่มตาม อาการได้ 4 กรณี ดงั นี้ (กรมการแพทย์, 2563) 1. Confirmed case ไมม่ อี าการ (asymptomatic) - แนะนำให้นอนโรงพยาบาล หรอื ในสถานท่ีรัฐจัดให้ 2-7 วนั เมอ่ื ไม่มภี าวะแทรกซอ้ น พจิ ารณาให้ไป พักตอ่ ท่ีโรงพยาบาลเฉพาะ(designed hospital/ หอผูป้ ่วยเฉพาะกจิ COVID-19) อยา่ งน้อย 14 วัน นบั จาก วันเริ่มป่วยหลังจากน้ันใหพ้ ักฟื้น และสวมหนา้ กากอนามยั ระมัดระวงั สุขอนามัย จนครบ 1 เดอื น นบั จากวันท่ี เรมิ่ ป่วย - ให้ดูแลรกั ษาตามอาการ ไม่ใหย้ าต้านไวรสั เน่ืองจากสว่ นมากหายได้เอง รวมทัง้ อาจได้รบั ผลข้างเคยี งจากยา 2. Confirmed case with mild symptoms and no risk factors: (ภาพถา่ ยรังสีปอดปกติ ทไี่ มม่ ีภาวะ เสย่ี ง/โรคร่วมสำคญั ) - แนะนำให้นอนโรงพยาบาล 2-7 วัน ดูแลรกั ษาตามอาการ พิจารณาให้ยา 2 ชนดิ นาน 5 วัน 1) Chloroquine หรือ hydroxychloroquine ร่วมกับ 2) Darunavir + ritonavir หรอื lopinavir/ritonavir หรือ azithromycin - เม่ืออาการดขี ้ึนและผลถ่ายภาพรงั สีปอดยังคงปกติ พิจารณาใหไ้ ปพกั ต่อทโ่ี รงพยาบาลเฉพาะอย่าง น้อย 14 วัน นับจากวนั เรม่ิ ป่วย หลังจากนนั้ แนะนำใหพ้ กั ฟ้นื และสวมหน้ากากอนามัย ระมัดระวงั สขุ อนามัย จนครบ 1 เดอื น นบั จากวนั ทีเ่ ริ่มปว่ ย - หากภาพถ่ายรงั สีปอดแย่ลง (progression of infiltration) ให้พิจารณาเพม่ิ favipiravir เป็นเวลา 5-10วนั ขนึ้ กับอาการทางคลินิก 3. Confirmed case with mild symptoms and risk factors: ภาพถ่ายรังสีปอดปกติ แต่มปี จั จยั เสยี่ ง/โรค รว่ มสำคญั ข้อใดข้อหนึง่ ต่อไปนี้ ได้แก่ อายมุ ากกว่า 60 ป,ี โรคปอดอดุ กัน้ เรอ้ื รงั (COPD), รวมโรคปอดเรื้อรัง อืน่ ๆ, โรคไตเร้อื รงั (CKD), โรคหวั ใจและหลอดเลอื ด รวมโรคหัวใจแตก่ ำเนิด, โรคหลอดเลอื ดสมอง, เบาหวานท่ี ควบคมุ ไมไ่ ด้, ภาวะอว้ น(BMI≥35 กก./ตร.ม.), ตับแข็ง, ภาวะภูมคิ ้มุ กนั ต่ำ และ lymphocyte น้อยกวา่ 1000 เซลล์/ลบ.มม. - แนะนำให้ใชย้ าอย่างน้อย 2 ชนดิ นาน 5 วนั 1) Chloroquine หรอื hydroxychloroquine ร่วมกับ 2) Darunavir + ritonavir หรอื lopinavir/ritonavir - อาจพจิ ารณาใหย้ าชนดิ ที่ 3 ร่วมดว้ ยคอื azithromycin - หากภาพรังสีปอดแย่ลง (progression of infiltration) ใหพ้ ิจารณาเพ่มิ favipiravir เปน็ เวลา 5- 10 วัน ข้ึนอยกู่ บั อาการทางคลนิ ิก 4.Comfirmed case with pneumonia หรอื ถ้าเอกซเรยป์ อดปกติ แตม่ ีอาการหรืออาการแสดงเขา้ ไดก้ ับ pneumonia และ SpO2 ที่ room air นอ้ ยกว่า 95% - แนะนำให้ใช้ยาอย่างน้อย 3 ชนิด นาน 10 วนั ยกเวน้ favipiravir 1) Favipiravir เป็นเวลา 5-10 วัน ขน้ึ กบั อาการทางคลินกิ รว่ มกับ 2) Chloroquine หรอื hydroxychloroquine ร่วมกับ 3) Darunavir + ritonavir หรอื lopinavir/ritonavir อาจพิจารณาใหย้ าชนิดที่ 4 รว่ มดว้ ยคือ azithromycin - เลือกใช้ respiratory support ดว้ ย HFNC กอ่ นใช้ invasive ventilation
10 - พจิ ารณาใช้ organ support อนื่ ๆ ตามความจำเป็น 2.1.5 ผลกระทบจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ผลกระทบต่อภาคเศรษฐกจิ โรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ในชว่ งเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ถึงเดอื นมนี าคม มีแรงงานท่ีถกู พัก/หยดุ งานชว่ั คราวจาก มาตราการ Lock Down และ Social Distancing ทำให้ประชากรจำนวนมากได้รบั ผลกระทบจากสถานการณ์ การแพร่ระบาดของติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ในครงั้ นี้. (ยงยทุ ธ แฉลม้ วงษแ์ ละเกศินี ธารีสงั ข,์ 2563) โดย จากการวิจยั ของกรุงศรีอยุธยากรุงศรีอยธุ ยา, 2563) ได้ประเมนิ ผลกระทบของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 วา่ จะทำให้เศรษฐกิจโลกหดตวั 3.2% และเศรษฐกิจอาเซียนจะลดลงราว 2.1-5.4% จากสถานการณ์ปกติ หาก มีการบังคบั ใชม้ าตรการ ล็อกดาวน์ 2 เดือน โดยประเทศไทยจะได้รบั ผลกระทบมากที่สุดในบรรดาประเทศ สมาชกิ อาเซยี น จากการทีน่ กั ท่องเท่ยี วคาดวา่ จะลดลง 60% จากปีท่ีแลว้ การขาดตอนของห่วงโซก่ ารผลิตท้ัง ในและต่างประเทศ ทำใหก้ ารเติบโตของเศรษฐกจิ ไทยในปีน้ีอาจหดตวั 5.4% จากกรณีทีไ่ มม่ โี รคระบาด ผลกระทบดา้ นรายไดจ้ ากสถานการณ์โรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ทีเ่ กิดขน้ึ ในชว่ งการแพร่ระบาด นั้น ทำให้นสิ ติ นกั ศึกษาต้องเดนิ ทางกลบั ภมู ิลำเนาของตนเองในชว่ งทีเ่ กดิ การแพร่ระบาด ทำให้ตอ้ งเสียคา่ ที่ พักไปโดยไม่ไดอ้ ยู่พกั รวมทัง้ การเสยี ค่าใช้จา่ ยให้กับค่าอนิ เตอรเ์ นต็ ที่เพ่มิ ข้ึน เน่อื งจากตอ้ งเรียนผา่ นส่ือ ออนไลน์ (สมติ านัน หยงสตาร์, 2563) ผลกระทบตอ่ การศึกษา การเรียนการสอนได้ถกู ปรับเปลี่ยนในการช่วงการระบาดของโรค กล่าวคือ ในสถานการณ์ปกติจะใช้ รปู แบบการเรยี นการสอนในชนั้ เรยี น แต่ในชว่ งสถานการณ์โรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 ตอ้ งเปล่ียนการเรียน การสอนมาเปน็ แบบออนไลน์ จากขอ้ มูลของกรมสุขภาพจิต (2563) พบวา่ เดก็ และเยาวชนตอ้ งเรยี นผ่านสอื่ ออนไลน์เพอ่ื เสรมิ ความร้แู ละทกั ษะระหวา่ งที่โรงเรยี นปิดและตอ้ งอยแู่ ต่ในบา้ น ทำใหช้ ว่ งระยะเวลาน้ตี ้องมี การปรบั ตัวและรับมือกับสถานการณท์ ่ีเปลี่ยนแปลงไป (เกยี รติภมู ิ วงศ์รจติ , 2563) สรปุ ได้ว่าการระบาดของโรคติดเชอื้ โคโรนาไวรสั ผลกระทบด้านผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน กลา่ วคือ การ เรียนออนไลน์มผี ลใหน้ สิ ิตมสี มาธิและสนใจในบทเรยี นน้อยลง เนื่องจากสง่ิ แวดล้อมและสถานทเี่ รยี นของนสิ ิต ไมเ่ หมาะสมกบั การเรียน เช่น มีเสียงรบกวนมาก หรืออปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกและสัญญาณอนิ เตอรเ์ นต็ ของนสิ ติ ไมพ่ รอ้ มทำใหม้ ีปญั หาขณะเรียนได้ 2.2 แนวคิดเกีย่ วกับคณุ ภาพชีวติ 2.2.1 ความหมายคุณภาพชวี ิต ในปัจจุบนั มีการให้ความหมายของคำว่า “คุณภาพชีวิต” อยา่ งกวา้ งขวางหลากหลายและแตกตา่ ง กนั ออกไป โดยผูว้ ิจยั ไดร้ วบรวมความหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับงานวิจัยไว้ ดงั น้ี องคก์ รอนามัยโลก (WHO), 2541 ใหค้ ำจำกัดความวา่ เป็นการรบั รู้ของบคุ คลต่อสถานะในชวี ติ ของ ตน ขึน้ อย่กู ับบรบิ ทของวฒั นธรรมรวมทัง้ ระบบในสังคมทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับบคุ คลนั้นโดยสมั พันธก์ บั เป้าหมาย ความ คาดหวัง มาตรฐานของสังคม และส่ิงอ่นื ๆท่ีเก่ียวข้อง ด้วยแนวคดิ นี้รวมไปถงึ สุขภาพกาย สภาวะจติ ใจ ความ เป็นอสิ ระสมั พนั ธภาพทางสงั คม ความเชอื่ และความสัมพันธ์ทมี่ ตี อ่ สภาพแวดล้อม องค์การศกึ ษาวิทยาศาสตร์และวฒั นธรรมแหง่ สหประชาชาติ (UNESCO), 1981 ให้ความหมายวา่ ประสบการณ์ในชีวิตของบุคคล รวมทง้ั ระดับความเป็นอยแู่ ละระดบั ความพึง่ พอใจในความตอ้ งการพ้นื ฐานโดย มีความแตกตา่ งกนั ออกไปแตล่ ะสังคม Wallace (1974) ให้ความหมายวา่ ส่ิงท่ีนำไปสูค่ วามพึงพอใจแกบ่ คุ คลทั้งร่างกายและจิตใจ ในช่วง ระยะเวลาหน่ึง
11 George and B. Berson (1980) ให้ความหมายว่า ด้านของการมชี วี ิตท่ีดี ประกอบดว้ ย ความสุข ความพอใจในชีวิต ความนับถอื ตวั เอง สขุ ภาพและสภาพการทำงานของรา่ งกายและสภาวะทางเศรษฐกิจทด่ี ี Young and Longman (1983) ใหค้ วามหมายว่า เป็นระดับความพึงพอใจในปัจจุบนั เกดิ จากการ รับรขู้ องตวั บุคคลน้นั ทรงศักด์ิ ทองพันธ์ (2555) ใหค้ วามหมายว่า ความต้องการของบุคคลนัน้ คอื ปัจจัย 4 และรวมทง้ั สภาพการเมอื ง เศรษฐกิจ และสภาพแวดล้อม ภัทรพล มหาขันธ์ (2550) ให้ความหมายวา่ การมชี วี ิตที่ดีเกิดจากการเรียนร้จู ากประสบการณ์ทีผ่ ่าน มาจงึ มอี ิทธิพลทำให้เกดิ การรับรู้ในปจั จุบนั จากแนวคิดการให้ความหมายของคุณภาพชวี ติ ข้างต้นสรุปไดว้ ่า คณุ ภาพชีวิต คือ ความพงึ พอใจใน การดำเนินชวี ิตของบคุ คลเอง ซงึ่ มคี วามเกี่ยวข้องกับ 4 ด้าน ได้แก่ สขุ ภาพกาย สภาวะจิตใจ ความเปน็ อสิ ระ สมั พันธภาพทางสังคม ความเชื่อและความสัมพนั ธท์ ี่มีต่อสภาพแวดลอ้ ม 2.2.2 องคป์ ระกอบคณุ ภาพชีวิต เนื่องจากนักวิชาการไดม้ ีการศึกษาความหมายและองค์ประกอบของคณุ ภาพชวี ติ ไวใ้ นมุมมองท่ี แตกต่างกัน ดงั น้ี องค์การอนามยั โลก (WHO) กล่าวไว้วา่ องคป์ ระกอบของคณุ ภาพชีวิตมี 4 ดา้ น ดังน้ี 1. ดา้ นรา่ งกาย (physical domain) คือ การรับรู้สภาพทางดา้ นร่างกายของบคุ คล ซง่ึ มีผลตอ่ ชวี ิตประจำวนั เชน่ การรบั รู้สภาพความสมบรู ณ์แข็งแรงของร่างกาย การรบั รู้ถงึ ความรสู้ กึ สขุ สบาย ไม่มคี วาม เจบ็ ปวด การรับรูถ้ งึ ความสามารถทจี่ ะจัดการกับความเจ็บปวดทางรา่ งกายได้ 2. ดา้ นจิตใจ (psychological domain) คอื การรบั รสู้ ภาพทางจติ ใจของตนเอง เช่น การรับรู้ ความรสู้ ึกทางบวกทีบ่ ุคคลมีต่อตนเอง การรับร้ภู าพลกั ษณ์ของตนเอง การรับรู้ถึงความร้สู ึกภาคภมู ใิ จในตนเอง การรับรถู้ งึ ความม่นั ใจในตนเอง การรบั รู้ถึงความคิด ความจำ สมาธิ การตัดสนิ ใจ และความสามารถในการ เรียนรูเ้ รื่องราวตา่ งๆ ของตน การรบั ร้ถู งึ ความสามารถในการจดั การกับความเศรา้ หรือกงั วล 3. ด้านความสัมพันธท์ างสงั คม (social relationships) คือ การรบั รู้เรื่องความสัมพนั ธ์ของตนกับ บุคคลอนื่ การรบั รู้ถึงการท่ีไดร้ ับความช่วยเหลือจากบุคคลอนื่ ในสังคม การรับรูว้ ่าตนไดเ้ ปน็ ผใู้ ห้ความช่วยเหลือ บคุ คลอนื่ ในสังคมดว้ ย รวมทง้ั การรับรู้ในเรอ่ื งอารมณท์ างเพศ หรือการมเี พศสัมพันธ์ 4. ดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม (environment) คอื การรบั รเู้ กย่ี วกบั สง่ิ แวดลอ้ ม ทม่ี ีผลต่อการดำเนินชวี ติ เช่น การรับรวู้ ่าตนมีชวี ิตอยอู่ ย่างอสิ ระไม่ถูกกกั ขงั มีความปลอดภัยและมน่ั คงในชีวิต การรบั รูว้ า่ ได้อยูใ่ น สงิ่ แวดลอ้ มทางกายภาพที่ดี ปราศจากมลพิษต่างๆ การคมนาคมสะดวก มีแหล่งประโยชน์ดา้ นการเงิน นิศารตั น์ ศิลปเดช (2540, อา้ งถึงใน กฤตธชั อันช่ืน, 2557,หนา้ 8-9) ได้สรปุ วา่ องคป์ ระกอบท่ีจะทำ ให้บคุ คลมีคณุ ภาพชีวิตท่ดี ีได้นน้ั ควรประกอบดว้ ยปัจจยั พ้นื ฐาน คอื 1. ปจั จยั ด้านความสมบรู ณ์ด้านรา่ งกายและสตปิ ัญญา หมายถึง การท่มี นุษยม์ ีคณุ ภาพชีวติ ทีด่ ไี ดน้ ้ัน จะต้องมคี วามเปน็ ปกติของร่างกายและสติปัญญาเปน็ พน้ื ฐาน ซงึ่ ได้แก่ การมีอวัยวะตา่ งๆของรา่ งกายสมบรู ณ์ ครบถว้ น มสี ุขภาพอนามัยแขง็ แรง มพี ละกำลงั ทส่ี ามารถทำกิจการงานไดด้ เี ชน่ เดยี วกบั คนอ่ืนๆ มีระดับ พฒั นาการของสติปัญญาเปน็ ปกตสิ ามารถศกึ ษาเลา่ เรียนคดิ ไตร่ตรองหาเหตุผลตา่ งๆ รวมท้งั สามารถแกป้ ญั หา ทเ่ี กิดข้นึ ได้ 2. ปจั จยั ด้านความสมบรู ณด์ า้ นจิตใจและอารมณ์ หมายถึง การเป็นผูท้ ี่มีจติ ใจทีด่ ี มอี ารมณแ์ จ่มใส มน่ั คง ไมแ่ ปรปรวน หงุดหงดิ โมโหงา่ ย จิตใจมีคุณธรรม ไม่อิจฉาริษยา หรอื เคยี ดแค้นพยาบาทผู้อ่ืน เปน็ ผมู้ อง
12 โลกในแง่ดี มคี วามโอบออ้ มอารีพร้อมท่ีจะช่วยเหลอื ผู้ท่ีตกทกุ ขไ์ ดย้ าก หรือเดือดร้อนเสมอ การมีพื้นฐานดา้ น จติ ใจและอารมณ์ที่ดจี ะชว่ ยให้บคุ คลเกิดความสุขและความสงบในการดำรงชีวิต 3. ปจั จัยด้านความสมบูรณ์สงั คมและสง่ิ แวดล้อม หมายถึง การเป็นคนทไ่ี ดร้ บั การยอมรับจากคน ทวั่ ไป อันเนื่องมาจากการมมี นษุ ยสัมพันธอ์ ันดี มคี วามสามารถในการปรบั ตัว ยอมรบั ความสามารถและ ความสำคญั ของผู้อ่ืน ตลอดจนส่งิ อนื่ ๆ ที่อยรู่ อบตัว ดังน้ันจึงเปน็ ผูท้ ่เี หน็ คุณค่าของบคุ คลและสงิ่ แวดล้อม และ คิดทจี่ ะปรับปรงุ พฒั นาให้สงิ่ แวดล้อมเหล่านั้นคงคุณค่าและประโยชนอ์ ยู่ตลอดไป จะยอมให้เกิดความเสียหาย หรือมลภาวะตอ่ สง่ิ แวดล้อมบา้ งกเ็ ปน็ เพียงสว่ นน้อยท่สี ดุ การมคี วามสมบรู ณด์ า้ นสังคมและส่งิ แวดลอ้ มจะช่วย ให้บุคคลมีชีวติ ทีเ่ หมาะสม กลมกลืน และเข้ากนั ได้ดกี บั สังคมและส่งิ แวดล้อมของตน 4. ปัจจยั ด้านความสมบูรณข์ องส่งิ ทีจ่ ำเป็นในการดำรงชวี ติ หมายถงึ ความสามารถท่ีจะจัดหา สิ่งจำเป็นตา่ งๆ ท่ีจะช่วยใหช้ ีวิตดำรงอยู่ไดอ้ ยา่ งดตี ามฐานะของตนเอง ตลอดจนสภาพของสังคม เศรษฐกิจ และยคุ สมัย ปัจจยั จำเป็นเหลา่ นไี้ ด้แก่ ปัจจยั 4 ซึ่งมีอาหาร เสอื้ ผ้า ทอ่ี ยูอ่ าศัย ยารักษาโรค และสง่ิ อำนวย ความสะดวกสบายตา่ งๆ ตลอดจนการไดร้ บั การศึกษา การพกั ผ่อน ฯลฯ ซ่งึ บุคคลจำเปน็ ตอ้ งจัดหรือจดั ให้มขี ้ึน ตามความจำเปน็ ในสภาพสงั คมและสิ่งแวดล้อมของตน การมปี จั จยั จำเปน็ ในการดำรงชวี ิตท่ดี แี ละพอเพยี ง ย่อมชว่ ยให้บุคคลมีความสะดวกสบาย ไมล่ ำบากขัดสนและยอ่ มนำมาซง่ึ ความสขุ และความพงึ พอใจในชีวิต Ferrans and Powers (1978, อา้ งถึงในกฤตธชั อันชื่น, 2557,หนา้ 10-11) ได้วเิ คราะหป์ ัจจยั (Factor Analysis) ขององคป์ ระกอบของคณุ ภาพชีวติ ของ George และ Bearson แล้วจงึ ไดส้ รปุ องคป์ ระกอบ ของคุณภาพชีวติ เปน็ 4 องค์ประกอบ คอื 1. ด้านสุขภาพและหนา้ ท่ี (Health and Functioning) เก่ยี วกบั สถานภาพของรา่ งกายและ ความสามารถในหน้าท่ที ่ีจะดำเนนิ กจิ กรรมตา่ งๆ กจิ วัตรประจำวนั และการแสดงออกทางบทบาทสังคม ประกอบด้วยสุขภาพของตนเอง ความเครียด การดูแลสุขภาพ การพงึ่ พาตนเองทางด้านร่างกาย เพศสัมพนั ธ์ ความรับผิดชอบตอ่ ครอบครวั การบำเพ็ญประโยชน์กจิ กรรมในยามว่าง ความสามารถในการเดนิ ทาง การสรา้ ง ความสุขในวยั สูงอายุและการมอี ายยุ ืน 2. ดา้ นสงั คมและเศรษฐกิจ (Social Economic) เป็นสถานภาพทางสังคมและเศรษฐกิจของบุคคล เพราะบคุ คลต้องอยูร่ ว่ มกนั ในสังคม ตอ้ งการเพื่อนช่วยแนะแนวทางแก้ปญั หาซง่ึ กันและกัน ต้องการกำลงั ใจ การได้รบั การเช่อื ถอื ไว้วางใจ ตอ้ งการบ้านอยอู่ าศัยเป็นหลกั แหลง่ มีงานทำและมีเงิน ใช้ในการดำรงชวี ติ ประกอบด้วย มาตรฐานการดำรงชีวติ การพงึ่ พาตนเองดา้ นการเงนิ ทพี่ กั อาศัย การทำงาน เพอื่ น เพ่ือนบา้ น สภาพการณ์ของบา้ นเมือง การไดร้ ับการสนับสนุนทางจิตใจ และ การศึกษา 3. ด้านจิตใจและวิญญาณ (Psychological/Spiritual) เปน็ สภาพของการรับรูก้ ารตอบสนองทาง อารมณห์ รือทางวิญญาณต่อสิ่งเร้าท่มี ากระทบในชีวติ ประกอบด้วย ความพอใจในชีวติ ความสุขทวั่ ไป ความ พอใจในตนเอง จุดม่งุ หมายในชีวิต ความสงบสขุ ของจติ ใจความศรทั ธาในศาสนา และรูปร่างหน้าตาของตน 4. ด้านครอบครัว (Family) เป็นสภาพความสมั พันธ์ระหวา่ งบคุ คลภายในครอบครัว ซงึ่ ประกอบด้วย ความสุขในครอบครวั ภาวะสุขภาพของสมาชิกในครอบครวั บตุ ร และความสัมพันธ์กบั ผู้สมรส วนิ ทิ รา นวลละออง (2555) กล่าวไว้ว่า “คณุ ภาพชีวิต” ตามแนวคิดขององค์การอนามัยโลก ประกอบ ไปดว้ ย 4 องคป์ ระกอบ ได้แก่ 1. คุณภาพชวี ิตด้านร่างกาย หมายถงึ บุคคลน้นั สามารถรับรไู้ ดว้ า่ ตนมีสขุ ภาพรา่ งกายแขง็ แรง ไม่ เจบ็ ปว่ ย มพี ละกำลงั ในการดำเนินชีวติ ไดอ้ ยา่ งเปน็ อสิ ระโดยไมต่ ้องพงึ่ พาผูอ้ ื่น และสามารถดำเนิน ชวี ติ ประจำวันได้
13 2. คุณภาพชวี ติ ดา้ นจิตใจ หมายถึง บุคคลน้นั รับรู้ถงึ ความรู้สึกทางบวกท่ีมตี ่อตนเอง เชน่ อารมณ์ ความภูมิใจ ภาพลกั ษณ์ ความคดิ สมาธิ ความจำ ความเชื่อในทางสร้างสรรค์ นอกจากนัน้ ยงั สามารถรบั มือกบั ความรสู้ ึกในทางลบ เชน่ ความเศร้า หรือวิตกกงั วลท่ีเกดิ ขนึ้ ได้ด้วย 3. คุณภาพชีวิตดา้ นสงั คม หมายถงึ บุคคลนนั้ รบั รถู้ งึ การมีปฏสิ ัมพนั ธ์กับผู้อ่นื ทงั้ การเป็นผู้ใหแ้ ละผู้รับ 4. คุณภาพชีวติ ดา้ นสิ่งแวดล้อม หมายถึงบุคคลนนั้ รับรวู้ า่ สามารถเขา้ ถึงปัจจัยทม่ี ีผลตอ่ การดำรงชวี ติ เชน่ สภาพแวดลอ้ มท่ีปลอดภัย ฐานะ การเงนิ ม่ันคง มบี ริการสาธารณะเพยี งพอ และมีกิจกรรม สนั ทนาการ ตามความเหมาะสม ดังน้นั องค์ประกอบของคณุ ภาพชวี ิต ประกอบดว้ ยความสมบูรณ์ด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และการ ดำรงชีวิต รวมไปถึงความสขุ และความพงึ พอใจในชีวติ 2.2.3 การประเมนิ คุณภาพชีวิตของนสิ ติ /นกั ศึกษา เนือ่ งจากคณุ ภาพชวี ติ ไดถ้ กู ใหค้ วามหมายทค่ี รอบคลุมในหลายมิติ จากการทบทวนวรรณกรรม พบว่า การประเมนิ คุณภาพชีวติ ในกลุม่ นสิ ิต/นกั ศกึ ษามีการประเมินโดยใชแ้ บบประเมนิ ดังน้ี 1. แบบวดั คุณภาพชวี ิตขององคก์ ารอนามัยโลกชุดยอ่ ฉบบั ภาษาไทย WHOQOL-BREF (Thai- version) จำนวน 26 ขอ้ (สุวัฒน์ มหตั นริ ันดรก์ ลุ , 2540) เครอื่ งมอื วัดคุณภาพชีวิต WHOQOL - BREF -THAI ประกอบด้วยข้อ คำถาม 2 ชนิด คอื แบบภาวะวสิ ัย (Perceived objective) และอตั วสิ ัย (self-report subjective) จะประกอบด้วย 5 องคป์ ระกอบของคณุ ภาพชีวิต 4 ดา้ น ดังนี้ 1. ด้านรา่ งกาย (physical domain) 2. ดา้ นจิตใจ (psychological domain) 3. ด้านความสมั พันธท์ างสังคม (social relationships) 4. ด้านสง่ิ แวดลอ้ ม (environment) การใหค้ ะแนนแบบวัดคณุ ภาพชีวติ WHOQOL-26 ขอ้ คำถามทีม่ ี ความหมายทางบวก 23 ขอ้ และข้อคำถามที่มีความหมายทางลบ 3 ข้อ คือ ขอ้ 2 9 11 แต่ละข้อเปน็ มาตรา ส่วนประมาณคา่ 5 ระดับ ให้ผตู้ อบเลอื กตอบ กลุ่มที่ 1 ข้อความทางลบ 3 ข้อ กลุ่มท่ี 2 ข้อความทางบวก 23 ขอ้ การแปลผล คะแนนคุณภาพชีวิตมีคะแนน ตัง้ แต่ 26 - 130 คะแนน โดยเมื่อผตู้ อบรวม คะแนนทกุ ข้อได้ คะแนนเท่าไร สามารถเปรยี บเทยี บกับเกณฑป์ กติท่ีกำหนดดงั น้ี คะแนน 26 - 60 แสดงถงึ การมคี ุณภาพชีวติ ที่ไม่ดี คะแนน 61 - 95 แสดงถึงการมีคณุ ภาพชวี ติ กลางๆ คะแนน 96 - 130 แสดงถงึ การมคี ุณภาพชวี ติ ที่ดี แบง่ ระดับคะแนนคณุ ภาพชีวิต แยกออกเปน็ องค์ประกอบตา่ งๆ ไดด้ งั นี้ องคป์ ระกอบ การมีคุณภาพชวี ิตทีไ่ มด่ ี คุณภาพชีวิตกลางๆ คุณภาพชวี ติ ทด่ี ี 1.ดา้ นสขุ ภาพกาย 7-16 17-26 27-35 2.ด้านจิตใจ 6-14 15-22 23-30 3.ด้านสมั พันธภาพทาง 3-7 8-11 12-15 สงั คม 4.ด้านส่งิ แวดลอ้ ม 8-18 19-29 30-40 คุณภาพชีวิตโดยรวม 26-60 61-95 96-130
14 2.2.4 งานวิจัยท่ีเกี่ยวขอ้ งกับคุณภาพชีวิตของนิสติ /นกั ศกึ ษา กฤตธัช อันช่ืน (2557) ได้ศกึ ษาระดบั คุณภาพชวี ิตของนกั ศกึ ษามหาวิทยาลยั เทคโนโลยีสุรนารีท่ี กำลังศึกษาในระดบั ปรญิ ญาตรีและเปรยี บเทียบคุณภาพชวี ิตของนักศกึ ษาทีม่ ีปัจจยั บุคคลแตกต่างกนั ซ่งึ แบง่ เป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ ตามแหล่งท่พี ักอาศยั ของนักศึกษา คอื กลุ่มนกั ศกึ ษาทีพ่ ักอาศัยในหอพักนักศกึ ษาของ มหาวทิ ยาลัย จำนวน 253 คน และกลุม่ นกั ศึกษาทพ่ี กั อาศัยอยู่นอก มหาวทิ ยาลัย จำนวน 154 คน รวม จำนวน 407 คน ระดบั คุณภาพชวี ิตของนักศกึ ษามหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสรุ นารี จากการวิจัยพบวา่ นักศึกษา หอพักมีค่าเฉลีย่ ของคณุ ภาพชีวิตท่สี งู กวา่ นักศึกษาหอนอก เป็นสว่ นใหญ่กลา่ วคือ มีคณุ ภาพชวี ิตทีด่ ีกวา่ 5 ด้านประกอบดว้ ยด้านการเรียน ด้านบรกิ ารพนื้ ฐาน ด้านความปลอดภยั ในชีวิตและทรพั ย์สิน ดา้ นจิตใจ และ ดา้ นความสัมพนั ธท์ างสังคมและเศรษฐกจิ ส่วนนักศึกษาหอนอกมีค่าเฉลี่ยของคณุ ภาพชีวติ ที่สูงกวา่ 3 ดา้ นคอื ดา้ นอาหารและโภชนาการ ด้านทพ่ี ักอาศัย และด้านสขุ ภาพอนามัย วินทิ รา นวลละออง (2555) ศึกษาเกีย่ วกบั ปัจจยั ที่สมั พันธก์ ับระดบั คุณภาพชวี ติ ของนกั ศึกษาแพทย์ ช้นั ปีที่ 1 มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ จำนวน 145 คน เปน็ เพศชาย 65 คน และเพศหญิง 80 คน จากการวิจยั พบวา่ คณุ ภาพชวี ิตนกั ศึกษาสว่ นใหญ่อยูใ่ นระดบั ปานกลาง โดยความกงั วลเป็นปัจจัยเดยี วที่มผี ลต่อการ ปรบั ตวั เข้ากบั บุคคลใหมๆ่ มีความสัมพนั ธก์ บั คณุ ภาพชีวิตนกั ศกึ ษาทุกด้าน รวมทัง้ ส่งิ แวดลอ้ มรอบข้าง อนันต์ศรี สมทิ ธิน์ ราเศรษฐ์ และศภุ ามณ จันทร์สกุล (2561) ศึกษาคุณภาพชวี ติ ดา้ นสขุ ภาพกาย ดา้ นความสัมพนั ธท์ างสงั คม และดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 1-4 มหาวิทยาลยั อีสเทิร์นเอเชยี จำนวน 280 คน จากการวจิ ัยพบว่า คุณภาพชีวติ นักศึกษาโดยรวมอยู่ระดบั ปานกลาง โดยในนกั ศึกษา พยาบาลชั้นปีที่ 2 มีคุณภาพชีวติ ดา้ นสุขภาพกาย ดา้ นสุขภาพจิต ด้านสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตโดยรวมดี ทส่ี ุด นกั ศกึ ษาพยาบาลชน้ั ปีที่ 3 มีคุณภาพชวี ิตด้านความสมั พนั ธท์ างสังคมมากท่ีสุด สว่ นนกั ศกึ ษาพยาบาล ชนั้ ปที ่ี 1 มีคณุ ภาพชวี ิตดา้ นสขุ ภาพจติ ด้านความสมั พันธท์ างสงั คม ด้านสงิ่ แวดลอ้ ม และคุณภาพชีวิตโดยรวม นอ้ ยที่สดุ และนักศึกษาพยาบาลชนั้ ปีท่ี 4 มคี ุณภาพชวี ติ ด้านสุขภาพนอ้ ยทส่ี ุด และเม่อื พิจารณาสิง่ รบกวน คณุ ภาพชวี ิตของนกั ศกึ ษาพบวา่ สง่ิ รบกวนคณุ ภาพชวี ิตของนกั ศึกษาเป็นอันดับแรกคือ ความเครยี ดจากการ เรียนภาคทฤษฎี (ร้อยละ 26.8) อันดับที่สองคือ ความเครียดจากการเรยี นภาคปฏิบัติ (ร้อยละ 25) และอนั ดบั ทส่ี ามคือ การเงิน (รอ้ ยละ 20.4) 2.3 ทฤษฎีการเปลี่ยนผา่ น 2.3.1 แนวคดิ ของทฤษฎีการเปลีย่ นผา่ น 2.3.1.1ประวัตคิ วามเปน็ มาของทฤษฎีการเปลีย่ นผ่านโดยย่อ ทฤษฎกี ารเปล่ียนผ่าน (Transition theory) เร่มิ ตน้ ในปี ค.ศ. 1975 โดยเมลสิ (Afaf Ibrahim Meleis or Meleis) เป็นผู้คดิ ค้นทฤษฎกี ารเปล่ียนผา่ นข้ึนเปน็ ครง้ั แรก แตเ่ ดิมเรมิ่ ตน้ มาจากทฤษฎีบทบาท (Role theory) และไดพ้ ัฒนามาอย่างตอ่ เนอื่ งจากการนำรากฐานของทฤษฎีทางสงั คมอน่ื ๆ รวมถึงการนำ ทฤษฎปี ฏิสมั พันธเ์ ชงิ สัญลักษณ์ (Symbolic interactionism) ต่อมาในปี ค.ศ. 1986 ชคิ และเมลสิ (Chick and Meleis) ช่วยกนั เริม่ พฒั นาทฤษฎีนี้ดว้ ยการวเิ คราะห์มโนทัศน์ของการเปลีย่ นผ่าน ตอ่ มาในปี ค.ศ. 1994 ชูแมชเชอร์และเมลิส (Schumacher and Meleis) ไดข้ ยายงานของชคิ และเมลิส (Chick&Meleis, 1986) โดยการทบทวนวรรณกรรมที่เก่ียวข้องกบั การเปล่ียนผ่านทางการพยาบาลตั้งแต่ปี ค.ศ. 1986 ถึง 1992 โดยใช้ คำวา่ “Transition” เปน็ คำสำคญั ในการค้นหาจากฐานขอ้ มูล Medline รวบรวมได้ทงั้ ส้นิ 310 เรอื่ ง และในปี ค.ศ. 200 เมลสิ และคณะผ้รู ว่ มงาน (Meleis and Colleagues) ได้นำทฤษฎีลงสสู่ ถานการณ์เฉพาะเจาะจง เพ่ือทจ่ี ะใช้ทฤษฎีในระดบั การปฏิบตั ิในการใชง้ านจริง
15 2.3.1.2 ความหมายทใ่ี ชใ้ นงานวิจัยและองค์ประกอบของทฤษฎีการเปลีย่ นผ่าน ชิคและเมลิสได้ให้ความหมายของการเปลี่ยนผ่านไว้วา่ เป็นการเคลื่อนผ่านภาวะหนงึ่ ไปสูอ่ ีกภาวะหนงึ่ ของชวี ติ หรอื หว้ งความเปน็ อยหู่ น่ึงไปสู่อกี หว้ งความเปน็ อยหู่ น่งึ ของชีวิต หรือช่วงระยะหน่งึ ไปสชู่ ่วงระยะหนึ่ง ของชีวติ (Chick and Meleis, 1986) โดยชคิ และเมลิสแบง่ การเปลี่ยนผ่านเปน็ 3 ชนิด คอื 1. การเปล่ียนผ่านตามพัฒนาการ (Developmental Transitions) เป็นการเปล่ยี นผ่านที่เกิดข้ึนใน ช่วงเวลาของชวี ติ บคุ คล เชน่ การเปลี่ยนผ่านจากหญิงธรรมดาสเู่ ปน็ หญิงทีก่ ำลงั ตัง้ ครรภ์ การเปลีย่ นผา่ นของ วยั รนุ่ ส่วู ยั ผ้ใู หญ่ 2. การเปล่ยี นผ่านตามสถานการณ์ (Situational Transitions) เป็นการเปล่ียนผ่านท่ีเกิดขน้ึ จาก สถานการณ์ที่เขา้ มาในชีวิต เชน่ เมอ่ื เรยี นหนังสอื จบแลว้ ได้เรม่ิ ทำงานถือเป็นการเปลยี่ นผา่ นตามสถานการณ์ 3. การเปล่ยี นผ่านตามภาวะสุขภาพและ การเจบ็ ปว่ ย (Health-Illness Transitions) เป็นการเปล่ียน ผ่านทีส่ ัมพนั ธก์ ับความเจ็บปว่ ย และสง่ ผลกระทบต่อบุคคลและครอบครัว ชูแมชเชอร์และเมลิส (Schumacher and Meleis, 1994) ได้เพมิ่ ชนดิ ของการเปล่ียนผ่านอกี หนึ่ง ชนิด คอื การเปล่ียนผ่านท่ีเกดิ ขึ้นกับองคก์ ร (organizational transitions) เปน็ การเปลย่ี นผ่านท่ีมีผลต่อ องคก์ รการทำงาน หรอื ผูใ้ ชบ้ ริการขององค์กรนนั้ รวมถงึ ส่งผลต่อบุคคลและสงั คมในองคก์ รนั้นดว้ ย เชน่ การ เปลี่ยนโครงสรา้ งองคก์ รใหมท่ ้ังระบบ การเปล่ียนผูน้ ำขององคก์ ร เปน็ ต้น ดังน้ันเมลสิ และคณะผรู้ ว่ มงานในปี ค.ศ. 2000 (Meleis, et al., 2000) ไดส้ รปุ กรอบแนวคดิ ของ ทฤษฎีการเปล่ียนผา่ นประกอบไปดว้ ยมโนทศั น์ 4 ด้านได้แก่ 1. มโนทศั น์ด้านท่ี 1 ธรรมชาตขิ องการเปลี่ยนผ่าน (Nature of transition) 1.1 ชนิดของการเปลยี่ นผา่ นมี 4 ชนิด คอื 1) การเปลี่ยนผ่านตามพฒั นาการ (Developmental Transitions) 2) การเปลย่ี นผ่านตามสถานการณ์ (Situational Transitions) 3) การเปลย่ี นผ่านตามภาวะสขุ ภาพและ การเจ็บปว่ ย (Health-Illness Transitions) 4) การเปลยี่ นผ่านทีเ่ กิดข้ึนกับองคก์ ร (organizational transitions) 1.2 รปู แบบของการเปล่ยี นผ่าน มที ง้ั การเปลี่ยนผ่านเดยี ว(single transition) เกิดข้ึนหลาย การเปล่ยี นผ่านในเวลาเดยี วกนั (multiple transitions) การเปล่ยี นผา่ นเกิดขน้ึ ตอ่ มาอีกเรอ่ื ง หนง่ึ ตามลำดบั (sequential transitions) การเปลีย่ นผ่านท่ีมีขน้ึ พรอ้ มกนั (simultaneous transitions) การเปล่ียนผา่ นท่ี เกดิ ความเกยี่ วข้องกนั (related transitions) 1.3 คณุ สมบตั ิของประสบการณ์การเปล่ยี นผ่านประกอบด้วย 5 คุณสมบตั ิดังน้ี 1) การตระหนักรู้ (Awareness) คอื การรบั รู้(Perception) ความรู้ (Knowledge) และ การ สำนกึ รู้ (Recognition) ของตัวบคุ คลตอ่ การเปล่ียนผา่ นและบคุ คลมีความตระหนกั รตู้ อ่ การเปลย่ี นแปลง 2) การเข้าไปเกี่ยวข้องกบั การเปลยี่ นผา่ น (Engagement) คือ บคุ คลมีความเกย่ี วขอ้ งกับ กระบวนการการเปล่ียนผ่าน จุดของการตระหนกั ร้มู อี ทิ ธพิ ลต่อจุดของการเขา้ ไปเกย่ี วข้องกบั การเปล่ียนผ่าน และจะเกดิ ขน้ึ ไม่ไดห้ ากไม่มีการตระหนกั รู้ 3) การเปลยี่ นแปลงและความแตกตา่ ง (Change and Difference) การเปล่ียนผา่ นทุกชนดิ จะเก่ียวข้องกบั การเปลยี่ นแปลง แต่ไม่ใช่ทกุ อยา่ งของการเปลีย่ นแปลงจะเกยี่ วกับการเปล่ยี นผ่าน เชน่ อารมณท์ ี่เปล่ียนแปลงไมใ่ ช่การเปลย่ี นผา่ น 4) ระยะเวลาของการเปล่ยี นผา่ น (Transition Time Span) การเปล่ยี นผ่านทุกชนิดจะไม่ หยุดนง่ิ และจะเคลอื่ นตัวไปตลอดเวลา มองท่รี ะยะเวลากบั จุดจบทเ่ี กิดขึ้น การรบั รู้ หรือการแสดงออกของการ
16 เปล่ียนแปลงไปยงั ระยะเวลาท่ีไม่แนน่ อน สับสนและไม่สขุ สบาย และดำเนินตอ่ ไปยงั จุดจบจบทีเ่ กิดขึ้นของ สถานการณน์ นั้ โดยบุคคลจะเกดิ ความพรอ้ มกับการเร่มิ สง่ิ ใหม่หรือเข้าสรู่ ะยะเวลาท่นี ง่ิ สงบของชวี ติ 5) จดุ วกิ ฤตและเหตกุ ารณ์ (Critical Points and Events) อาจมกี ารเปลี่ยนผ่านทีม่ ีความ เก่ียวข้องกับเหตุการณท์ ่ีเป็นจดุ วกิ ฤตและตา่ งๆของเหตกุ ารณ์ ในทางท่ีดีหรอื ไมก่ ็ตาม เช่น การตาย การเกิด ระยะแสดงอาการของโรค จุดระเบิดอารมณต์ อ่ เหตุการณ์นั้น การผา่ ตัด เป็นต้น 2. มโนทศั น์ดา้ นท่ี 2 เงื่อนไขของการเปล่ียนผา่ น (Transition Conditions) โดยการเปลี่ยนผ่านจะผ่านพน้ การเปล่ียนผ่านไปได้ง่ายหรอื ยากตอ้ งอาศัยเงอ่ื นไขของการเปลี่ยนผ่าน (Transition Conditions) (Meleis, et al., 2000) ซง่ึ ประกอบดว้ ย 1) เงือ่ นไขดา้ นบคุ คล (community conditions) ความหมายคือ วัฒนธรรม ความเชอื่ และทศั นคติ(cultural beliefs and attitudes) สถานภาพ ทาง สงั คมเศรษฐกจิ (socioeconomic status) การเตรียมตัวและความรู้ (preparation & knowledge) 2) เง่ือนไขด้านชุมชน (community conditions) ส่งิ ทีส่ ่งเสรมิ ต่อประสบการณก์ ารเปล่ียนผา่ น ประกอบด้วย การไดร้ บั การสนบั สนนุ จากคคู่ รอง ครอบครัว และชมุ ชน 3) เง่ือนไขด้านสังคม (society conditions) สังคม เป็นเงอ่ื นไขหนงึ่ ทส่ี ามารถเป็นส่งิ สง่ เสรมิ หรือเปน็ ส่ิงยบั ย้ังตอ่ การเปล่ียนผา่ นได้ 3. มโนทศั น์ด้านที่ 3 รูปแบบของการตอบสนอง (Pattern of response) 3.1 ตวั ชีว้ ดั ดา้ นกระบวนการ (Process indicators) ประกอบดว้ ย 1) มีความรู้สึกท่เี ชือ่ มกัน (Feeling connected) 2) การมีปฏิสมั พนั ธ์ (Interaction) 3) มีความคงทแ่ี ละการขยับให้เข้าที่ (Locating and being situated) 4) มีความม่ันใจและการเผชิญปญั หาท่ดี ีขึน้ (Developing confidence and coping) 3.2 ตัวช้วี ดั ดา้ นผลลพั ธ์ (Outcome indicators) ประกอบด้วย 1) ความสามารถในการกำกับดูแล สถานภาพใหม่ (Mastery) 2) เอกลักษณ์ท่ีมีความเป็นบูรณาการ (Fluid integrative identities) 4. มโนทศั นด์ า้ นที่ 4 การบำบัดทางการพยาบาล (Nursing therapeutics) สำคัญ คือ หากพยาบาล จะช่วยเหลือ บุคคล ครอบครวั ชมุ ชนได้ ตอ้ งทำการประเมนิ ความพรอ้ มของบุคคล ครอบครัว ชุมชน ในการ เปลีย่ นผ่านเข้าสู่สภาวะใหม่ ซง่ึ จะตอ้ งประเมนิ ทกุ เง่ือนไขของการเปลย่ี นผ่าน 2.3.1 งานวจิ ัยทเ่ี ก่ียวขอ้ งโดยใชท้ ฤษฎกี ารเปลี่ยนผ่าน กนกพร นทีธนสมบตั ิ (2555) ได้ทำการวิจัยเก่ยี วกบั ทฤษฎีการเปลยี่ นผ่าน : กรณศี ึกษาสตรตี งั้ ครรภ์ ปกติ สรปุ ผลได้ว่า การตั้งครรภ์การต้งั ครรภ์เปน็ การเปล่ียนผา่ นทางพัฒนาการ (Developmental Transitions)การชวี ติ คู่ชว่ งน้ีจะใหค้ วามสนใจกันแค่สามภี รรยา การเปลีย่ นผ่านจะเกิดขึ้นในชว่ งที่สตรตี ง้ั ครรภ์ รบั รถู้ งึ การตงั้ ครรภข์ องตน และการเปลย่ี นผ่านในการตั้งครรภจ์ ะดำเนินไปไดด้ ว้ ยดีจะขึ้นอยู่กับคุณสมบัติ เง่อื นไข และรปู แบบของการตอบสนองในการเปล่ียนผ่านของการตัง้ ครรภ์ และพยาบาลจำเป็นต้องมีความรู้ ทฤษฎีการเปลยี่ นผา่ น เพราะเปน็ ทฤษฎีการพยาบาลทฤษฎีหน่ึงทพ่ี ยาบาลสามารถนำมาประยกุ ตใ์ ช้ในการให้ การพยาบาลผู้รับบรกิ ารได้ ซูจิ คุมาแรนและแมรี่ คาร์นี (2557) ไดศ้ ึกษาวจิ ยั เรอื่ ง การเปลย่ี นบทบาทจากนิสิตพยาบาลเปน็ พยาบาลประจำการ : ปัจจยั ท่ีชว่ ยในชว่ งการเปลี่ยนผา่ น โดยใช้ทฤษฎีการเปล่ยี นผ่านของชคิ และเมลิส ความ เป็นมาคอื พยาบาลจบใหมจ่ ะตื่นเตน้ ในการทำงานและในขณะเดยี วกันกร็ ูส้ กึ ผิดหวังในการทำงานในบางเรอื่ ง เเพราะไมไ่ ดร้ ับการสง่ เสรมิ สนุนอย่างเพยี งพอในช่วงการเปลี่ยนผา่ น (Suji kumaran&Marie carney, 2014) สรุปผลการวิจยั ว่าการทีน่ สิ ติ พยาบาลจะกา้ วผา่ นต้องอาศัยความร้ปู ระสบการณ์ในการฝกึ ปฏิบตั ิงาน โดยมี อทิ ธิพลแฝงคอื ระดับการศกึ ษาขอบเขตการปฏบิ ตั ิงาน ซ่ึงควรทำกอ่ นจบระดบั การศึกษาปรญิ ญาตรี บุญมี ภูด่านงัว (2556) ได้ทำการศึกษา ทฤษฎีการเปลี่ยนผา่ น : การประยุกต์ใช้ในการพยาบาล ครอบครวั สรุปผลว่าพยาบาลครอบครัวสามารถนำทฤษฎีการเปล่ยี นผา่ นมาเป็นแนวทางในการประเมิน
17 วิเคราะห์ วางแผน การบำบัดทางการพยาบาล และการวจิ ยั ทางการพยาบาล โดยประเมนิ ความพรอ้ มของ บคุ คลในการเปลย่ี นผา่ นเขา้ สู่สภาวะใหม่ มคี วามจำเป็นที่พยาบาลตอ้ งเข้าใจในตวั ของผู้รับบรกิ ารกอ่ น เป็น การเตรยี มเพื่อการเปลีย่ นผ่านการเข้าสู่ภาวะใหม่ ทง้ั น้กี ารเตรยี มคือใหม้ กี ารเตรียมดา้ นการศกึ ษา หรือให้ ข้อมูลความร้แู ละทกั ษะ และเตรียมการดา้ นส่งิ แวดลอ้ ม พยาบาลครอบครวั มีความสำคญั ในการดแู ลให้ ครอบครวั สามารถเปล่ียนผ่านไดอ้ ย่างดี ผลลัพธด์ ้านดจี ะเป็นประสบการณเ์ ชิงบวก ซงึ่ การตอบสนองจะ แตกตา่ งกนั ข้นึ อยูก่ บั แต่ละบุคคลหรือครอบครัวและต้องอาศัยทฤษฎีอน่ื ชว่ ยใชใ้ นการประกอบการประเมนิ การวางแผน หรือการวเิ คราะห์ร่วมดว้ ย อรทัย บุญชูวงศ,์ จงจิต เสน่หา, วนั เพ็ญ ภญิ โญภาสกุล,และ ยงชัย นิละนนท์ (2560) ปจั จยั ทมี่ ี อทิ ธพิ ลตอ่ ความพร้อมของผู้ดูแลผู้ปว่ ยโรคหลอดเลอื ดสมองกอ่ นจำหนา่ ยออกจากโรงพยาบาล เปน็ การศึกษา เชงิ ทำนายความสมั พนั ธ์ กลุม่ ตวั อย่างผปู้ ่วยโรคหลอดเลือดสมองคร้งั แรก จำนวน 108 คน ทม่ี ารับการรักษา ในโรงพยาบาลระดับตตยิ ภูมแิ ห่งหนึง่ กรงุ เทพมหานคร โดยบอกในการอภปิ รายผลตอนหนงึ่ วา่ ประเดน็ ของ ความวิตกกงั วลในการรักษา ความวติ กกังวลเป็นเงอื่ นไขหนงึ่ ของการเปลยี่ นผา่ น (transition condition) ใน ดา้ นความสุขทางอารมณ์ (emotional well-being) และการเปล่ียนผา่ นในด้านน้มี ีอทิ ธผิ ลส่งผลกระทบตอ่ ความสำเร็จการเปล่ยี นผา่ นของผดู้ แู ล จากผทู้ ี่ผทู้ ่ีมีสุขภาวะดีมาเป็นผู้ตอ้ งคอยดูแลผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดสมอง คร้งั แรก รวมถงึ มีผลกระทบต่อการดูแลผู้ปว่ ยโรคหลอดเลอื ดสมองกอ่ นจำหนา่ ยออกจากโรงพยาบาล จูลี เอ ฮารด (2558) การทำความเขา้ ใจการเปลีย่ นแปลงเพอื่ สง่ เสรมิ ความสำเรจ็ ของนักเรียน: การ วิเคราะหแ์ นวคดิ โดยการติดตามฐานข้อมูลของนกั ศกึ ษาพยาบาลในมหาวทิ ยาลยั แห่งหนงึ่ และได้ใช้ทฤษฎกี าร เปลี่ยนผ่านในวจิ ยั ของตนกล่าวว่าการเปลยี่ นผา่ นถือเปน็ หวั ใจสำคญั ในการพยาบาลเนอื่ งจากมุ่งเนน้ ไปทบี่ คุ คล และประสบการณข์ องพวกเขาและเน่ืองจากพยาบาลมีความสามารถในการอำนวยความสะดวกในการ เปลยี่ นแปลงสุขภาพและความเป็นอยทู่ ดี่ ี สรปุ ผลการศึกษาวิจัยจากนกั ศกึ ษาธรรมดาไปเป็นนักศึกษาพยาบาล พร้อมกับเริม่ เรยี นพยาบาลเม่อื นักเรียนเริม่ ประสบการณ์ทางคลินกิ ครง้ั แรกความรู้สกึ ใหม่ของตนเองจะเริ่มข้ึน ประสบการณท์ างคลินิกเป็นหนึ่งในองค์ประกอบท่ีสร้างความเครยี ดและวติ กกังวลมากทีส่ ดุ ในการศึกษา พยาบาลของพวกเขา และจากวิจัยชใ้ี ห้เหน็ ว่าประสบการณท์ างคลนิ กิ เบ้อื งตน้ มคี วามสำคญั ตอ่ ความสำเร็จของ นกั ศกึ ษาพยาบาล นักศึกษาทมี่ ีประสบการณท์ างคลินิกในเชิงลบอาจเลอื กทจี่ ะออกจากการศึกษาพยาบาล ในทางกลับกนั นักศึกษาทีม่ ปี ระสบการณ์ทางคลนิ กิ ในเชงิ บวกและประสบความสำเรจ็ ในการเปลย่ี นแปลงต่อไป มแี นวโน้มท่ีจะเปน็ พยาบาลทม่ี คี วามสามารถซง่ึ สามารถใหก้ ารดูแลทมี่ ีคณุ ภาพสงู ท่จี ำเปน็ เพื่อตอบสนองความ ต้องการทีเ่ พม่ิ ขึน้ ของอตุ สาหกรรมการดูแลสุขภาพ 2.4 ปจั จัยทมี่ ผี ลต่อคณุ ภาพชีวติ ของนสิ ิต/นกั ศึกษา 2.4.1 รายได้ ภัทรพล มหาขันธ์(2550) เพ่ือศึกษาระดับคุณภาพชีวิต นักศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ช้ันปีท่ี 2 โดยรวมและเปน็ รายด้าน ได้แก่ ด้านชวี ิตการเรียน (Academic Life) ชวี ิต สงั คม (Student Social Life) ที่อยู่อาศยั (Housing) ความสมั พันธก์ ับบคุ คลอ่นื (Relationships) และบรกิ าร ที่ได้รับจากมหาวิทยาลยั (Student Services) จาํ แนกตามตวั แปร เพศ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน รายได้ของ นกั ศกึ ษา เเละเพ่อื เปรียบเทยี บคุณภาพชีวิต นักศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัย ศิลปากร ชั้นปีที่ 2 โดยรวม ประชากรทใ่ี ช้ในการศึกษาเป็นนักศกึ ษาทีก่ ําลงั ศึกษาอยใู่ นชน้ั ปีท่ี 2 คณะ ศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้แก่ การสอนภาษาไทย ภาษาอังกฤษ สงั คมศึกษา การศกึ ษาปฐมวัย ประถมศกึ ษา การศึกษาตลอดชวี ิต จิตวทิ ยา เทคโนโลยีทางการศกึ ษา วิทยาศาสตรก์ ารกฬี า จํานวน 299 คน
18 จากการศึกษา พบว่าจำเเนกตามรายไดข้ องนกั ศกึ ษาตอ่ เดือนโดยภาพรวมไมเ่ เตกตา่ งกนั เเตถ่ ้าพจิ ารณาเปน็ รายดา้ นนักศกึ ษาทีม่ ีรายได้ระหว่าง 3,000-4,500 บาท มีคณุ ภาพชวี ติ ที่ดมี ากที่สุด ทร่ี ะดับนยั สำคัญท่ี .05 จันทรา อุ้ยเอ้ง (2558) ศกึ ษาเก่ียวกับระดับคุณภาพชีวิตของนักศกึ ษาคณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยีการประมงมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรวี ชิ ัย วิทยาเขตตรงั และเปรยี บเทยี บระดบั คุณภาพ ชวี ติ ของนกั ศกึ ษาคณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารประมงมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรวี ิชยั วทิ ยา เขตตรงั ประชากรนักศึกษาคณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีการประมงมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรี วชิ ยั วทิ ยาเขตตรงั ชั้นปีท่ี 1-4 จำนวน 310 คน จากการศึกษาพบว่ารายได้ที่ได้รับต่อเดือน เป็นปัจจัยท่ไี ม่ ส่งผลต่อความแตกต่างของคณุ ภาพชีวิตนักศกึ ษา ท้ังในภาพรวมและรายดา้ นได้เเก่ ปจั ยั สว่ นบุคคล เพศ คะเเนนเฉลี่ยสะสม เเละลักษณะหอพัก ท่รี ะดบั นยั สำคญั .05 สุพรรณกิ าร์ มาศยคง (2554) เพือ่ ศึกษาคุณภาพชีวิตในโรงเรียนของนกั เรยี นมธั ยมศึกษาตอนปลายใน กรุงเทพมหานคร ซ่งึ ประกอบด้วย 6 ด้าน ได้แก่ ดา้ นรา่ งกาย ด้านอารมณ์และจิตใจ ดา้ นสิ่งแวดล้อมใน โรงเรยี น ด้านวชิ าการ ดา้ นสมั พนั ธภาพระหว่างนกั เรยี นกับครู และด้านสัมพันธภาพระหว่างนกั เรยี นกับเพ่ือน ในโรงเรียน และเพอื่ เปรียบเทียบคณุ ภาพชีวติ ในโรงเรียนของนักเรียนมธั ยมศึกษาตอนปลายใน กรงุ เทพมหานครทงั้ 6 ด้าน ประชากรคือนกั เรียนระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลายท่ีศกึ ษาในโรงเรียน สงั กดั สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษาในกรุงเทพมหานคร ประกอบดว้ ย โรงเรียนสังกดั สำนักงานเขต พืน้ ท่ี การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 1 และ โรงเรียนสงั กัดสำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา 2 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2553 จำนวนทง้ั สนิ้ 113,837 คน (สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา มธั ยมศึกษาเขต 1, 2554 : สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษาเขต 2, 2554) จากการศึกษาพบว่า นกั เรยี นมธั ยมศึกษาตอนปลายใน กรุงเทพมหานครที่ผปู้ กครองมรี ายได้เฉลยี่ ต่อเดอื นต่างกัน มีคุณภาพชวี ติ ในโรงเรียนไมแ่ ตกต่างกนั 2.4.2 ความเครียด วฒั นีย์ เยน็ จิตร, พัชรนิ ทร์ พลอยสทิ ธิ์, โทน แห้วเพช็ , และเอกชัย โภไคยศสวรรค, (2558) ศกึ ษา ระดบั ความเครียด คณุ ภาพชีวติ แหล่งสนับสนุนทางการเงนิ และคา่ ใชจ้ ่ายของนกั ศึกษา ทัศนมาตรศาสตร์ ปีท่ี 1-6 ของมหาวทิ ยาลัยรงั สิต และความสมั พันธข์ องความเครียด คณุ ภาพชีวติ ค่าใช้จ่ายต่อเดอื น ผลการเรยี น ของนักศึกษา ทศั นมาตรศาสตร์ ปีท่ี 1-6 ของมหาวทิ ยาลยั รงั สิต ประชากรท่ใี ช้ในการวจิ ยั คร้งั นคี้ ือ ใน นกั ศึกษา ทัศนมาตรชัน้ ปที ี่ 1-6 ที่กำลังศึกษาอย่ทู ่ีมหาวทิ ยาลัยรังสิต จากการศกึ ษาพบวา่ ความเครียดมี ความสัมพันธต์ อ่ คุณภาพชวี ติ อยา่ งมีนัยสำคัญ คอื นกั ศกึ ษาทม่ี ีคุณภาพท่ีดี จะมผี ลการเรยี นดี เมอื่ ควบคมุ ปจั จยั เรอ่ื งความเครยี ดเเละค่าใชจ้ า่ ย วิลาวลั ย์ วีระอาชากุล,วิบูลย์ วีระอาชากุล (2557) ศกึ ษาปัจจยั ท่ีสมั พนั ธ์กบั ความเครยี ดของนกั ศึกษา ทันตแพทย์คณะทันตแพทยศาสตรม์ หาวิทยาลัยขอนแกน่ ชัน้ ปีที่4-6ปีการศึกษา 2557 กลุม่ ตวั อยา่ งเปน็ นักศกึ ษา ทันตแพทย์ช้นั ปีท่ี4-6 ทั้งหมด 237 คน จากการศึกษาพบวา่ ปัจจัยการได้รับการเลีย้ งดูแบบควบคมุ และเกรดเฉล่ยี มคี วามสัมพนั ธก์ บั ความเครยี ดอย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติท่รี ะดับ p - value < 0.05 วนิ ทิ รา นวลละออง (2555) คน้ หาปจั จยั ทส่ี ัมพนั ธก์ บั ระดบั คุณภาพชวี ติ ของนกั ศกึ ษาแพทยช์ ั้นปที ี่ 1 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ นกั ศึกษาแพทย์ช้นั ปีที่ 1 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ จำนวน 145 ราย จากการศกึ ษาพบว่านกั ศกึ ษาท่มี ีความเครยี ดเรื่องปญั หาส่วนตัว ทำให้คุณภาพชีวิตโดยรวมเเยก่ ว่า เมือ่ เปรยี บเทยี บกับความเครยี ดจากการเรียนคือ นักศึกษาทม่ี ีความเครยี ด เร่อื งการปรบั ตัวกับเพ่อื นใหมส่ งู จะมีระดับคุณภาพชีวิตต่ำกวา่ นกั ศึกษาทีม่ ีความเครยี ดต่ำอย่างมีนัยสำคัญ
19 โดยระดับความเครยี ดในนสิ ิตนกั ศึกษาสามารถวดั ได้โดยใช้แบบประเมินดังนี้ 1. แบบทดสอบความเครียดสวนปรุง(Mahatnirunkul et al., 1998) Suanprung Stress Test–20, SPST- 20 ซ่ึงสร้างขึน้ มาเพ่ือวัดความเครยี ดที่เหมาะสมสำหรับคนไทย จากกรอบแนวคิดทางด้านชวี ภาพ จิตใจ และ สงั คมของความเครียด ซง่ึ เครอื่ งมือเท่าท่มี ใี ชอ้ ยูข่ ณะน้ี สว่ นใหญ่เป็นแบบวัดบุคลิกภาพ วดั ความวติ กกงั วล วัด อาการทางกายและจติ ทีส่ มั พันธ์กับความเครยี ด ดังนนั้ เครื่องมือชดุ น้ี จึงเหมาะทีจ่ ะนำมาใช้เพือ่ หาขอ้ มูล เกยี่ วกับความเครียดของผู้ทจี่ ะมารบั บรกิ าร ทราบท่มี าของความเครียด การใช้ชวี ิตประจำวนั ทม่ี ีผลต่อการเกดิ ความเครียดหรือการปรับตัวรับกับความเครยี ด และอาการของ ความเครยี ดทเ่ี กดิ ข้ึนได้ เหมาะจะใชใ้ นการ ให้บรกิ ารปรึกษาและแนะนำในเรือ่ งนี้ วิธกี ารนำไปใช้ แบบวัดความเครยี ดสวนปรุง เปน็ แบบวดั ทผ่ี ู้ตอบสามารถตอบได้ด้วยตนเองตามข้อความที่ตรงกบั ความรู้สกึ หรือประสบการณ์จริงทเี่ กิดขึ้นกบั ผ้ตู อบโดยผู้ตอบต้องอา่ นหนงั สอื ได้จะเหมาะกบั คนในวยั ทำงาน หรือวัยเรียน (โดยคำถามทเ่ี กีย่ วกบั งาน จะเปลยี่ นเป็นเร่ืองเรียนแทน) แบบวดั ความเครียดสวนปรุงจะมี 3 ชดุ คือ ชุด 102 ข้อ 60 ขอ้ และ 20 ข้อ แต่ละข้อมี 5 คำตอบ การใหค้ ะแนน ใหผ้ ู้ตอบอ่านคำถามแลว้ สำรวจดวู ่าในระยะ 6 เดือนทผี่ า่ นมามีเหตุการณใ์ นขอ้ ใดเกิดขน้ึ กับผู้ตอบบ้าง ถา้ ขอ้ ไหนไมไ่ ด้เกิดขน้ึ ให้ขา้ มไปไมต่ อ้ งตอบ แตถ่ ้ามีเหตุการณใ์ นข้อใดเกดิ ข้นึ กับผู้ตอบให้ประเมนิ ว่าผูต้ อบ มี ความ รู้สกึ อยา่ งไรตอ่ เหตกุ ารณ์นัน้ แลว้ ใหเ้ ครื่องหมายในชอ่ ง นั้นๆ การให้คะแนนของแบบวดั ความเครียด สวนปรุง เปน็ มาตราสว่ นประมาณค่า 5 ระดับให้คะแนน 1 – 2 – 3 – 4 – 5 ) ดงั น้ี ตอบไมร่ ้สู กึ เครียด ให้ 1 คะแนน ตอบเครยี ดเลก็ นอ้ ย ให้ 2 คะแนน ตอบเครยี ดปานกลาง ให้ 3 คะแนน ตอบเครียดมาก ให้ 4 คะแนน ตอบเครียดมากที่สุด ให้ 5 คะแนน ไม่ตอบ ให้ 0 คะแนน การแปลผล แบบวัดความเครียดสวนปรงุ ชุด 20 ขอ้ มี คะแนนรวมไม่เกนิ 100 คะแนน โดยผลรวมทีไ่ ด้ แบ่ง ออกเป็น 4 ระดบั ดังนี้ คะแนน 0 – 24 เครียดนอ้ ย คะแนน 25 – 42 เครียดปานกลาง คะแนน 43 – 62 เครียดสงู คะแนน 63 ข้ึนไป เครียดรุนแรง โดยมีรายละเอยี ดการแปรผล ดังน้ี 1) ความเครยี ดในระดับต่ำ (Mild Stress) หมายถึงความเครียดขนาดน้อยๆ และหายไปในระยะ เวลา อนั ส้นั เป็นความเครยี ดที่เกดิ ข้ึนในชวี ิตประจำวนั ความเครยี ดระดบั นีไ้ ม่คกุ คามต่อการดำเนินชวี ติ บุคคลมกี าร ปรับตัวอยา่ งอตั โนมัติ เปน็ การปรับตวั ด้วยความเคยชินและการปรบั ตวั ตอ้ งการพลังงานเพียงเล็กนอ้ ยเป็น ภาวะท่รี ่างกายผอ่ นคลาย 2) ความเครียดในระดับปานกลาง (Moderate Stress) หมายถงึ ความเครียดที่เกิดข้นึ ใน ชีวิตประจำวันเน่ืองจากมีสิ่งคกุ คาม หรือพบเหตกุ ารณส์ ำคัญๆ ในสงั คม บุคคลจะมปี ฏิกริ ยิ าตอบสนองออกมา
20 ในลักษณะความวติ กกังวล ความกลวั ฯลฯ ถอื วา่ อยูใ่ นเกณฑป์ กตทิ ่วั ๆไปไมร่ ุนแรงจนก่อใหเ้ กิดอันตรายแก่ รา่ งกาย เป็นระดับความเครยี ดทท่ี ำให้บุคคลเกิดความกระตอื รอื รน้ 3) ความเครียดในระดับสูง (Height Stress) เป็นระดบั ที่บุคคลได้รบั เหตกุ ารณ์ทกี่ ่อให้เกดิ ความเครียด สูง ไมส่ ามารถปรบั ตวั ใหล้ ดความเครียดลงได้ในเวลาอนั สนั้ ถือว่าอยู่ในเขตอนั ตราย หากไมไ่ ดร้ ับการบรรเทาจะ นำไปสคู่ วามเครียดเร้ือรังเกิดโรคต่างๆ ในภายหลังได้ 4) ความเครยี ดในระดบั รนุ แรง (Severe Stress) เป็นความเครยี ดระดับสูงทด่ี ำเนินติดตอ่ กนั มาอยา่ ง ต่อเนื่องจนทำใหบ้ คุ คลมีความล้มเหลวในการปรบั ตวั จนเกิดความเบื่อหน่าย ท้อแท้ หมดแรง ควบคุมตวั เอง ไม่ได้ เกดิ อาการทางกายหรือโรคภยั ต่างๆ ตามมาได้ง่าย 2.4.3 ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน สุทธิรกั ษ์ ไชยรกั ษ์ (2556) เพ่อื ศึกษาปัญหาการปรับตวั ของนกั ศึกษาชน้ั ปีที่ 1 มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสรุ นารี และเพ่ือเปรียบเทียบปัญหาการปรบั ตัวของนักศกึ ษาชน้ั ปที ่ี 1 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี สุรนารกี บั ปัจจยั ส่วนบุคคล ประชากรนกั ศกึ ษาช้ันปที ่ี 1 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีปีการศึกษา 2554 จาํ นวน 2,549 คน จากการศกึ ษาปจั จัยด้านการเรยี น ด้านกจิ กรรมทางสังคมเเละนนั ทนาการ ดา้ นอารมณ์ เเละส่วนตวั ด้านความสมั พันธ์ทางสงั คม ด้านการเงิน ดา้ นเพศ พบว่า นักศึกษาช้ันปีท่ี 1 มหาวทิ ยาลัย เทคโนโลยีสรุ นารมี ีปญั หาอันดับท่ี 1 คอื ด้านการเรยี น กิตตพิ ัฒน์ ทาวงศษ์ า,ประดิษฐ์ ศรโี นนยาง,พลภทั ร อภัยโส,บรรจบ โชติชยั , และวันชยั สาริยา (2561) เพ่ือศกึ ษาระดับปัจจัยที่มีผลตอ่ คณุ ภาพชีวติ ของนกั ศึกษาในมหาวิทยาลัยมหามงกุฎราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตศรีลา้ นชา้ ง และเพือ่ ศึกษาความสัมพันธร์ ะหวา่ งปจั จัย ด้านสถานภาพสว่ นบคุ คล ดา้ นครอบครัว และ ด้านสภาพแวดล้อมในมหาวทิ ยาลัย กบั คุณภาพชีวติ ของนักศึกษาในมหาวทิ ยาลัยมหามกฎุ ราชวทิ ยาลยั วิทยา เขตศรลี ้านชา้ ง ประชากรที่ศึกษา ได้แก่ นกั ศึกษาภาคปกติของมหาวิทยาลัยมหามกฎุ ราชวิทยาลัย วิทยาเขต ศรลี า้ นช้างท่ีกำลงั ศึกษาอยูใ่ นชน้ั ปีที่ 2-4 ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา2560จำนวน 123 คน จากผลการวิจัย พบว่า ปัจจยั ต่อไปน้ี คอื สถานภาพ เพศ สาขาวิชาที่กำลังศึกษา ระดบั ผลการเรียน ค่าใช้จ่ายรายเดือน การ กู้ยืม กยศ. ท่ีพักอาศัยของนักศึกษา สภาพการพักอาศยั ในครอบครัว สถานภาพสมรสของบิดามารดา อาชพี ของบิดา อาชีพของมารดา รายไดเ้ ฉลี่ยของผู้ปกครอง ไม่มีความสัมพันธ์และไม่มผี ลตอ่ คุณภาพชีวิตของ นักศึกษาในมหาวิทยาลยั มหามกฎุ ราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรลี า้ นช้าง กฤตธัช อันชื่น(2557) ศึกษาระดับคณุ ภาพชีวิตของนักศกึ ษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี เปรยี บเทียบคุณภาพชวี ติ ของนกั ศกึ ษาทม่ี ปี ัจจยั บุคคลแตกต่างกนั และศึกษาความตอ้ งการในการพัฒนา คณุ ภาพชีวิตของนกั ศกึ ษามหาวิทยาลยั เทคโนโลยีสรุ นารี กล่มุ ตวั อยา่ ง นกั ศึกษาทไ่ี มไ่ ด้พักอาศยั ในหอพกั นกั ศกึ ษาและกลุม่ นักศกึ ษาทพ่ี ักในหอพักนักศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั ท่ไี ด้จากการส่มุ ตวั อย่าง จำนวน 407 คน จากผลการวิจัยพบวา่ ระดับคุณภาพชวี ิตด้านการเรียนโดยภาพรวมของทง้ั 2 กลุม่ อยใู่ นเกณฑ์ดี โดยนักศึกษา หอพัก มีคา่ เฉล่ยี 3.75 สงู กว่านักศกึ ษานอกหอพกั คา่ เฉลี่ย 3.64 ซงึ่ มีระดบั คณุ ภาพชวี ิตท่ตี ่างกนั 1 ข้อ คือ นักศกึ ษาทพ่ี กั อาศยั ในหอพักนอกมหาวทิ ยาลยั จะมีความสามารถในการช่วยเพอ่ื นในการเรยี นดกี ว่านักศึกษาท่ี พักอาศยั ในหอพกั ของมหาวทิ ยาลยั
21 บทท่ี 3 วิธกี ารดำเนินการ การวิจยั ครง้ั นเี้ ปน็ วิจยั เชิงปรมิ าณ โดยเป็นการศึกษาแบบตัดขวางและเชงิ ความสมั พนั ธ์ (cross sectional -correlational design) เพือ่ ศึกษาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งปัจจยั เงอ่ื นไขการเปลีย่ นผ่านกับคณุ ภาพ ชีวิตของนิสติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ในช่วงการระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 3.1 ลักษณะประชากรเเละกลมุ่ ตวั อยา่ ง ประชากรทศ่ี ึกษาในคร้งั น้ี คือ นสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ช้ันปีท่ี 1-4 มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศกึ ษา 2563 จำนวน 505 คน (นับจากจำนวนรายชื่อชัน้ ปี) โดยมีนกั ศึกษาชัน้ ปีที่ 1 จำนวน 121 คน, นกั ศกึ ษาชั้นปีท่ี 2 จำนวน 134 คน, นกั ศกึ ษาชน้ั ปที ่ี 3 จำนวน 125 คน และนกั ศึกษาชน้ั ปีท่ี 4 จำนวน 125 คน ขนาดกลุม่ ตัวอย่าง กล่มุ ตัวอย่างท่ใี ช้ในการศกึ ษา คือ นสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ชนั้ ปีท่ี 1-4 มหาวิทยาลัยนเรศวรจากการ คำนวณกลมุ่ ตวั อย่างโดยใชห้ ลักการของยามาเน่ (Yamane, 1973 อ้างถงึ ใน จุฑาทิพย์ ตาสุสี, 2561) กำหนดค่าความคลาดเคล่ือนของการสมุ่ กลุม่ ตัวอยา่ ง 0.05 นำมาคำนวณตามสูตร ดังน้ี n= ������ 2) 1+(������������ n หมายถงึ ขนาดจำนวนตวั อย่าง N หมายถงึ จำนวนประชากรทั้งหมดทศี่ กึ ษา e หมายถงึ ความผิดพลาดท่ีสามารถยอมรบั ได้(ในการศกึ ษากำหนดให้ 0.05) แทนค่าสูตรคำนวณขนาดกลุม่ ตัวอย่าง n= 505 1+(505×0.052) n = 223.2044 นสิ ติ ประชากร จำนวนตวั อย่าง รวมความคลาดเคล่อื น 10% ชน้ั ปที ี่ 1 121 58 ชน้ั ปที ่ี 2 134 65 ชั้นปที ี่ 3 125 61 ช้ันปีที่ 4 125 61 รวม 505 245 โดยขนาดกลมุ่ ตวั อยา่ งมีจำนวนทงั้ หมด 245 คน(เพ่ิมจำนวนกลุ่มตวั อยา่ งรอ้ ยละ 10 จาก 223 เปน็ 245 คน เพอ่ื ป้องกันความไมส่ มบูรณข์ องแบบสอบถาม) และจำนวนตวั อย่างรวมความคลาดเคลอื่ น 10% ของ แตล่ ะชั้นปคี ิดจากการเอากล่มุ ตัวอยา่ งทั้งหมดหารด้วยประชากรทงั้ หมดแลว้ คูณด้วยประชากรแต่ละช้ันปี คดั เลอื กกลุม่ ตัวอย่าง โดยพิจารณาจากเกณฑ์ในการคัดเลือกกล่มุ ตวั อย่าง (inclusion criteria) ดงั นี้ 1. เปน็ นกั ศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ช้ันปีท่ี 1-4 ปกี ารศกึ ษา 2563 2. สตสิ มั ปชัญญะดี มีความเข้าใจและสามารถสอื่ สารด้วยภาษาไทยได้ 3. มคี วามสมัครใจเขา้ รว่ มการวจิ ยั
22 กล่มุ ตัวอย่างจำนวน 245 คน ผวู้ จิ ยั คดั เลือกกลมุ่ ตัวอยา่ งแบบไมใ่ ช้ความนา่ จะเปน็ (Non- Probability Sampling) ด้วยวิธกี ารการเลือกกลุ่มตวั อยา่ งแบบโควต้า (Quota sampling ) เป็นการเลือก กลมุ่ ตวั อย่างโดยคำนึงถงึ สดั สว่ นองคป์ ระกอบของประชากร ซ่ึงได้กำหนดขนาดของกลมุ่ ตวั อย่างนิสิตพยาบาล ศาสตรแ์ ตล่ ะช้ันปไี วด้ งั นี้ ชั้นปีที่ 1 จำนวน 58 ราย ชัน้ ปีที่ 2 จำนวน 65 ราย ชน้ั ปีท่ี 3 จำนวน 61 ราย และ ช้นั ปีที่ 4 จำนวน 61 ราย แล้วกเ็ ลือกแบบบงั เอญิ (Accidental sampling) ใหค้ รบตามจำนวนกลุ่มตวั อย่างท่ี คำนวณในแต่ละชน้ั ปี 3.2 สถานท่ีเก็บข้อมูล การวจิ ยั ครง้ั น้ีไม่มีสถานท่เี กบ็ ข้อมลู เน่ืองจาก ใช้วธิ กี ารแจ้งคำอธิบายชีแ้ จงโครงการวิจัย การขอ ความยินยอมเข้ารว่ มโครงการวจิ ัย และการเก็บข้อมลู ดว้ ยวิธกี ารออนไลน์ ผา่ น Google form application 3.3 เครอ่ื งมอื ในการวิจัย เครอื่ งท่ใี ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยครั้งน้ี มีท้ังหมด 3 ชุด ประกอบด้วย 1. ข้อมลู ทวั่ ไป ได้แก่ เพศ อายุ ระดบั การศกึ ษา ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น รายได้ 2. แบบประเมินคณุ ภาพชีวิต ผวู้ ิจัยประเมินจากแบบวัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกชดุ ย่อ ฉบับภาษาไทย (WHOQOL-BREF- Thai) เป็นแบบทดสอบทศ่ี ึกษาจากการทบทวนวรรณกรรม ประกอบดว้ ย ข้อคำถามประเมินคุณภาพชวี ิตดงั น้ี 2.1 ด้านสขุ ภาพกาย ประกอบดว้ ยขอ้ คำถามจำนวน 7 ข้อ โดยเปน็ คำถามด้านบวกจำนวน 5 ข้อ ได้แก่ ขอ้ 3,4,10,12 และ 24 ข้อคำถามด้านลบจำนวน 2 ขอ้ ไดแ้ ก่ ขอ้ 2 และ 11 2.2 ดา้ นจติ ใจ ประกอบดว้ ยข้อคำถามจำนวน 6 ขอ้ โดยเป็นคำถามด้านบวกจำนวน 5 ขอ้ ไดแ้ ก่ ขอ้ 5,6,7,8 และ 23 ขอ้ คำถามดา้ นลบจำนวน 1 ข้อ ไดแ้ ก่ ขอ้ 9 2.3 ดา้ นสัมพันธภาพทางสังคม ประกอบด้วยข้อคำถามจำนวน 3 ขอ้ โดยเป็นคำถามด้าน บวกทง้ั สิ้นได้แก่ ขอ้ 13,14 และ 25 2.4 ด้านส่งิ แวดลอ้ ม ประกอบดว้ ยขอ้ คำถามจำนวน 8 ขอ้ โดยเป็นคำถามด้านบวกทัง้ ส้นิ ไดแ้ ก่ ขอ้ 15,16,17,18,19,20,21 และ 22 ลกั ษณะคำตอบเป็นมาตราสว่ นประมาณคา่ 5 ระดบั (Likert scale) ซง่ึ มีรายระเอยี ดของคำตอบและ การใหค้ วามหมายดงั น้ี ไมเ่ ลย หมายถึง ท่านไม่มคี วามร้สู ึกเชน่ น้นั เลยรูส้ ึกไมพ่ อใจมาก หรอื รสู้ ึกแย่มาก เล็กน้อย หมายถึง ทา่ นมีความรู้สึกเช่นนนั้ นานๆครั้งร้สู กึ เชน่ นัน้ เล็กน้อยรสู้ กึ ไมพ่ อใจ หรอื รู้สกึ เเย่ ปานกลาง หมายถงึ ท่านมคี วามรู้สึกเช่นนนั้ ปานกลางรสู้ กึ พอใจระดับกลางๆ หรอื รสู้ ึกแย่ ระดับกลางๆ มาก หมายถงึ ทา่ นมคี วามรู้สึกเช่นนั้นบอ่ ย ๆ รู้สึกพอใจหรือรูส้ กึ ดี มากที่สดุ หมายถงึ ท่านมีความรู้สึกเชน่ นน้ั เสมอ รู้สกึ เช่นนน้ั มากทสี่ ุด หรือรู้สึกว่าสมบรู ณ์ รสู้ กึ พอใจมาก รู้สกึ ดีมาก ข้อคำถามดา้ นบวก มี 23 ข้อ ตอบ ไมเ่ ลย ให้ 1 คะแนน ตอบ เล็กน้อย ให้ 2 คะแนน ตอบ ปานกลาง ให้ 3 คะแนน ตอบ มาก ให้ 4 คะแนน
23 ตอบ มากทส่ี ุด ให้ 5 คะแนน ข้อคำถามด้านลบ มี 3 ข้อ ตอบ ไม่เลย ให้ 5 คะแนน ตอบ เลก็ นอ้ ย ให้ 4 คะแนน ตอบ ปานกลาง ให้ 3 คะแนน ตอบ มาก ให้ 2 คะแนน ตอบ มากท่สี ุด ให้ 1 คะแนน การแปลผลมเี กณฑก์ ารคิดคะแนน โดยนำคะแนนรวมกนั แบ่งสเกลอันตรภาคชนั้ ของข้อมูลเปน็ 3 สเกล ดังน้ี คะแนน 26-60 หมายถงึ การมคี ุณภาพชวี ติ ท่ไี มด่ ี คะแนน 61-95 หมายถงึ การมคี ณุ ภาพชวี ิตปานกลาง คะแนน 96-130 หมายถงึ การมีคุณภาพชีวิตที่ดี องคป์ ระกอบ การมคี ณุ ภาพชวี ิตทไ่ี มด่ ี การมคี ณุ ภาพชวี ิตปานกลาง การมคี ณุ ภาพชีวติ ทด่ี ี 1.ด้านสขุ ภาพกาย 7-16 17-26 27-35 2.ดา้ นจิตใจ 6-14 15-22 23-30 3.ดา้ นสัมพันธภาพทาง 3-7 8-11 12-15 สงั คม 4.ด้านส่ิงแวดล้อม 8-18 19-29 30-40 คุณภาพชวี ิตโดยรวม 26-60 61-95 96-130 3. ความเครยี ด ผู้วจิ ยั ใชแ้ บบวัดความเครยี ดSPST - 20 ลักษณะคำตอบเป็นมาตราสว่ นประมาณคา่ 5 ระดบั (Likert scale) ซงึ่ มรี ายระเอียดของคำตอบและ การใหค้ วามหมายดังน้ี ระดับความเครียด 1 หมายถงึ ไมร่ ูส้ กึ เครียด ระดบั ความเครียด 2 หมายถงึ ร้สู กึ เครยี ดเล็กน้อย ระดบั ความเครียด 3 หมายถงึ รู้สกึ เครียดปานกลาง ระดบั ความเครียด 4 หมายถงึ รสู้ ึกเครยี ดมาก ระดบั ความเครียด 5 หมายถงึ รสู้ กึ เครียดมากท่ีสดุ การแปลผลมีเกณฑ์การคิดคะแนน โดยนำคะแนนรวมกัน แบง่ สเกลอันตรภาคช้นั ของข้อมูลเปน็ 4 สเกล ดงั นี้ คะแนน 0 - 23 มีระดับความเครยี ดน้อย คะแนน 24 – 41 มรี ะดับความเครียดปานกลาง คะแนน 42 – 61 มีระดบั ความเครียดสงู คะแนน 62 ข้นึ ไป มีระดบั ความเครยี ดรนุ แรง 3.4 การตรวจสอบคุณภาพเครอื่ งมอื วจิ ัย งานวจิ ัยน้ีใชเ้ คร่อื งมือมาตรฐานในการประเมินความเครียดและคุณภาพชีวิตของนิสิตคณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ชั้นปที ่ี 1-4 ปีการศึกษา 2563 โดยเคร่อื งมอื มาตรฐานนไี้ ด้ถูกพฒั นาใหเ้ หมาะสม และเฉพาะเจาะจงกบั คนไทย และไดถ้ กู เผยแพรใ่ ห้กับประชาชนไดใ้ ชอ้ ยา่ งแพร่หลาย โดยกรมสุขภาพจติ
24 ได้แก่ แบบวดั คุณภาพชวี ิตขององคก์ ารอนามัยโลกชุดย่อ ฉบบั ภาษาไทย และ แบบประเมนิ ความเครียด SPST-20 โดยคณุ ภาพของเคร่อื งมือมี ดงั นี้ 1. ความเชอื่ ม่ันของเครื่องมือ(Reliability) 1.1 แบบวดั ความเครยี ด (SPST - 20) ถูกนำไปใช้วดั ความเครียดในกลุม่ นักเรียน/นกั ศึกษาอยา่ ง แพร่หลายและมีค่าความเช่อื มนั่ สัมประสิทธแิ์ อลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) อยใู่ น เกณฑ์สูง กล่าวคือ ค่าความเชอ่ื มั่นสัมประสทิ ธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) เท่ากบั 0.82 เมอ่ื ถูกนำไปใช้ในการประเมนิ ความเครยี ดของนสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ บุรรี มั ย์ มหาวิทยาลัยเวสเทริ น์ (ณรงค์กร ชยั วงศ์, 2559) และค่าความเชือ่ มน่ั สัมประสิทธแิ์ อลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) เทา่ กบั 0.92 เมื่อใช้ประเมินความเครยี ดของไดห้ าความเชื่อม่ันของ นกั ศึกษาชน้ั ปที ่ี 1 หลักสูตร สาธารณสขุ ศาสตรบัณฑติ วิทยาลยั การสาธารณสุขสริ ินธร จังหวดั พิษณโุ ลก (ช่อ ทพิ ย์ จนั ทรา, 2561) 1.2 แบบสอบถามคุณภาพชวี ติ ขององค์การอนามยั โลกชุดยอ่ ฉบับภาษาไทย (WHOQOL-BREF- Thai) มคี ่าความเชื่อมัน่ สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) อยู่ในเกณฑ์สงู กล่าวคอื คา่ ความเชือ่ มนั่ สมั ประสิทธ์แิ อลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) เทา่ กับ 0.8406 โดยแบบสอบถามคณุ ภาพชวี ิตขององค์การอนามัยโลกชุดย่อ ฉบบั ภาษาไทย (WHOQOL-BREF- Thai)ได้ถูกพัฒนา โดย สวุ ัฒน์ มหัตนิรันดร์กุล, วริ ะวรรณ ตันติพิวฒั นส์ กลุ , วนดิ า พมุ่ ไพศาลชยั , กรองจติ วงศ์ สุวรรณ และวราณี พรมานะรงั กุล (2545) ซง่ึ ได้ทบทวนและปรับปรงุ ภาษาในเคร่ืองมอื WHOQOL-BREF จาก ผูเ้ ชย่ี วชาญทางภาษา แลว้ นำไปทดสอบความเขา้ ใจภาษากับคนที่มพี ื้นฐานแตกต่างกนั และนาํ มาปรับปรงุ แลว้ ทดสอบซำ้ จำนวน 3 รอบ โดยภายหลงั การปรับปรุงเคร่อื งมือ พบว่าคา่ ความเชอื่ ม่ันสมั ประสิทธแิ์ อลฟา ของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) เท่ากับ 0.8406 3.5 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลผวู้ ิจยั ได้ดำเนินการตามข้นั ตอน ดงั น้ี 1.ผวู้ ิจัยเสนอโครงการวิจยั เพอ่ื ขอรบั การพิจารณารับรองจากคณะกรรมการจรยิ ธรรมการวจิ ัยในคน ของมหาวทิ ยาลัยนเรศวร 2. เมื่อได้รบั พจิ ารณารบั รองจากคณะกรรมการจรยิ ธรรมการวิจยั ในคน มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ผู้วิจยั นำหนงั สอื ขอความอนเุ คราะหใ์ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล เสนอต่อคณบดคี ณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย นเรศวร เพ่ือช้แี จงวตั ถปุ ระสงค์การวจิ ยั ขออนญุ าตดำเนินการวจิ ยั และการเกบ็ รวบรวมข้อมลู 3.เมอ่ื ไดร้ บั การพจิ ารณารับรองจากคณะกรรมการจริยธรรมในคน มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ผ้วู จิ ัย ประชาสัมพนั ธ์โครงการวิจยั กับนิสติ คณะพยาบาลศาสาสตรแ์ ต่ละช้ัน โดยการสง่ ลงิ ค์ประชาสมั สัมพันธ์ โครงการวจิ ยั ผ่านชอ่ งทางส่อื สารออนไลน์ ไดแ้ ก่ Facebook, Line application ของแตล่ ะชัน้ ปีโดยมี รายละเอยี ดดังตอ่ ไปนี้ 3.1 ผ้วู จิ ยั สรา้ งเอกสารข้อมูลคำอธบิ ายสำหรบั อาสาสมัครโครงการวจิ ยั และเอกสารยินยอม เขา้ ร่วมโครงการวิจยั บน Google form application ซง่ึ กลุ่มตวั อย่างทีส่ นใจเขา้ รว่ มโครงการวิจยั ภายหลงั ไดร้ ับการประชาสมั พนั ธ์ทางช่องทางสอื่ สารออนไลนท์ กี่ ล่าวไว้ขา้ งต้น จะสามารถเขา้ ถึงและอ่านข้อมูลเกีย่ วกับ โครงการวจิ ยั โดยกลุ่มตวั อย่างท่ีสนใจจะไดร้ ับการชี้แจงเกยี่ วกับ ช่อื การวจิ ยั วัตถุประสงคก์ ารวจิ ัย วิธีดำเนนิ การวิจัย การพทิ กั ษ์สิทธิของกลุ่มตวั อย่าง
25 3.2 เม่อื กลุ่มตวั อยา่ งรบั ทราบข้อมูลเกีย่ วกับโครงการวิจัย ซกั ถาม และได้รับคำตอบจาก ผู้วิจัยจนส้นิ ข้อสงสยั แลว้ ประสงค์เข้าร่วมโครงการวจิ ัย กล่มุ ตวั อย่างสามารถแสดงความยินยอมผ่านเอกสาร ยินยอมเขา้ ร่วมวจิ ัยทาง Google form application ภายหลังจากเข้าร่วมวจิ ัย กลุ่มตัวอย่างสามารถออกจาก การทำวิจยั ไดท้ กุ เมือ่ ตามความตอ้ งการ โดยไมม่ ีการบงั คับจากผ้วู ิจยั ในกรณที ีก่ ลมุ่ ตวั อยา่ งอายนุ อ้ ยกว่า 20 ปี ประสงค์เขา้ ร่วมการวจิ ัย ผู้วจิ ัยจะขอความรว่ มมอื จากกลุ่มตวั อยา่ งดาวนโ์ หลดเอกสารหนังสือแสดงความยนิ ยอมเข้าร่วมโครงการวิจยั เพอื่ ให้ผปู้ กครองพจิ ารณา และ ลงนามยินยอมแลว้ สง่ กลับมายังผู้วิจัยทางจดหมายอิเล็กทรอนกิ ส์ (email) ที่ผู้วิจยั ได้แจ้งไว้ในเอกสาร คำอธบิ ายสำหรบั อาสาสมัครโครงการวจิ ัย ผูว้ จิ ยั จะขอนดั รับใบยินยอมคนื อกี 1 สัปดาห์ โดยหากกลุ่มตัวอยา่ ง และผู้ปกครองมีขอ้ สงสัยสามารถติดต่อผวู้ ิจยั ไดต้ ามเบอร์โทรศพั ท์ติดตอ่ ท่แี จ้งไวใ้ นเอกสารคำอธิบายสำหรับ อาสาสมัครโครงการวจิ ยั 3.3 หลังจากกลุ่มตัวอย่าง และ/หรือผปู้ กครองของกลุ่มตวั อยา่ ง (กรณกี ลุ่มตัวอย่างอายนุ อ้ ย กว่า 20 ปี) ลงนามยนิ ยอมการเขา้ ร่วมโครงการวจิ ัย กลมุ่ ตวั อยา่ งจะตอบแบบสอบถามท่ีสร้างบน google form application ภายหลงั จากทำแบบสอบถามออนไลน์เสรจ็ กลุม่ ตัวอย่างกดยืนยนั คำตอบในแบบสอบถาม เพือ่ ส่งแบบสอบถามออนไลนก์ ลบั มายังผวู้ ิจัย ภายหลงั จากลงนามยินยอมเขา้ รว่ มโครงการวิจยั กลุ่มตวั อยา่ ง สามารถถอนตวั ออกจากงานวจิ ัยไดต้ ลอดเวลาโดยไมต่ อ้ งอธิบายเหตุผลใดๆ และจะไมม่ ีผลใดๆกับกลุม่ ตวั อยา่ ง ทั้งสิ้น หากมขี ้อสงสัยภายหลงั เขา้ ร่วมวิจัย สามารถติดตอ่ ผ้วู ิจยั ตามเบอร์โทรศพั ท์ที่ได้แจง้ ไว้ 3.4 หลงั จากกลมุ่ ตวั อย่างลงนามยินยอมการเข้ารว่ มโครงการวิจยั กลมุ่ ตวั อยา่ งจะตอบ แบบสอบถามออนไลน์ จำนวน 3 ชดุ ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลสว่ นบคุ คล แบบประเมินคุณภาพชีวิต แบบ ประเมินความเครียดกรมสขุ ภาพจิต (SPST - 20) ทีส่ รา้ งบน google form application ภายหลงั จากทำ แบบสอบถามออนไลน์เสรจ็ กลมุ่ ตวั อยา่ งกดยนื ยันคำตอบในแบบสอบถามเพ่ือส่งแบบสอบถามออนไลน์ กลบั มายงั ผู้วิจยั กลมุ่ ตวั เองสามารถตอบแบบสอบถามไดต้ อบความสมัครใจ และไม่มีการจำกดั เวลาในการ ตอบแบบสอบถาม โดยการสง่ แบบสอบถามคืนผูว้ ิจัยจะไมม่ กี ารกดดันภายใตเ้ งอื่ นไขของเวลา 3.5 ผู้วจิ ยั จะทำการรวบรวมข้อมลู จากแบบสอบถามออนไลนจ์ นครบจำนวนกลมุ่ ตัวอย่างใน แตล่ ะช้นั ปที ี่ไดก้ ำหนดไว้ คือ ชนั้ ปีท่ี 1 จำนวน 58 ราย ช้ันปที ี่ 2 จำนวน 65 ราย ชัน้ ปีท่ี 3 จำนวน 61 ราย และช้ันปที ี่ 4 จำนวน 61 ราย ภายหลังจากครบตามจำนวนดังกล่าว ผู้วจิ ยั จะปิดระบบแบบสอบถามออนไลน์ ทันที 3.6 การวิเคราะห์ขอ้ มลู 1. เพศ อายุ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น รายได้ ระดับการศึกษาวเิ คราะห์โดยการใชเ้ ป็นค่าความถี่ และ รอ้ ยละ 2. คุณภาพชวี ติ ความเครยี ดวเิ คราะหโ์ ดยการใช้เปน็ คา่ ความถ่ี รอ้ ยละ ค่าเฉลีย่ ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานและพสิ ัย 3. หาความสมั พันธ์ระหวา่ งรายได้ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น ความเครียดและคุณภาพชวี ติ วเิ คราะห์โดย หาคา่ ความสมั พันธโ์ ดยใช้สมั ประสทิ ธิ์สหสมั พันธเ์ พียร์สนั (Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient) หากพบว่าขอ้ มลู ไม่เป็นไปตามขอ้ ตกลงเบ้อื งต้นของสหสัมพนั ธเ์ พยี รส์ ัน จะใช้สหสมั พันธ์ของ สเปยี รแ์ มน (Spearman correlation) 3.7 การพทิ กั ษส์ ทิ ธิ์ ผวู้ ิจัยคำนงึ ถงึ การพิทักษ์สิทธขิ องกลุม่ ตัวอย่างโดยได้นำโครงร่างวิจยั เสนอ คณะกรรมการพิจารณา จรยิ ธรรมการวจิ ัยในคน มหาวิทยาลัยนเรศวร เพื่อขออนญุ าตในการเก็บรวบรวมข้อมูล เม่ือได้รบั อนุญาตจาก
26 คณะกรรมการพิจารณาจรยิ ธรรมการวจิ ัยในมนุษย์ มหาวิทยาลยั นเรศวร ต่อจากนั้นผู้วจิ ยั ได้ส่งลงิ ค์ ประชาสมั พนั ธ์โครงการวจิ ัยผ่านทางชอ่ งทางสื่อสารออนไลน์ ไดแ้ ก่ Facebook, Line application ของแต่ละ ช้ันปีของกล่มุ ตวั อย่าง โดยในลิงคอ์ ธิบายวัตถุประสงค์ ข้ันตอนการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ให้กลมุ่ ตวั อย่างทราบว่า การเข้าร่วมการวจิ ัยครัง้ นเ้ี ป็นไปดว้ ยความสมคั รใจจะให้กล่มุ ตัวอยา่ งเปน็ ผตู้ ัดสนิ ใจดว้ ยตนเอง และใหก้ ด ยนิ ยอมในการเข้ารว่ มการวจิ ยั และแจ้งให้ทราบว่าเมื่อเขา้ รว่ มโครงการวิจัยแลว้ หากกลุ่มตัวอยา่ งต้องการออก จากการวจิ ยั สามารถกระทำได้ตลอดเวลา โดยไมม่ ผี ลกระทบใด ๆ ต่อกลมุ่ ตัวอย่าง และขอ้ มูลทไ่ี ด้จากกลมุ่ ตัวอยา่ งจะถอื เป็นความลับ และในการรวบรวมขอ้ มลู จะไมร่ ะบชุ อ่ื หรือทอ่ี ย่ขู องกลุ่มตัวอยา่ ง โดยจะนำไปใช้ ในประโยชนท์ างวชิ าการเทา่ นัน้ ส่วนผลการวิจยั จะนำเสนอในภาพรวม และข้อมลู ทัง้ หมดจะถกู ทำลายภายใน 5 ปี ภายหลงั จากที่ผลการวจิ ยั ไดร้ บั การเผยแพร่แลว้
27 บทที่ 4 ผลการวิจยั การศึกษาคร้ังนี้เป็นการวจิ ัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research) คือใช้แบบสอบถาม เกบ็ ข้อมลู โดยวธิ ีการเก็บขอ้ มูลคร้ังเดยี ว เพือ่ ศึกษาปจั จยั ส่วนบคุ คลท่ีมีผลต่อคุณภาพชีวิตของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวรในชว่ งท่มี ีการระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 ไดแ้ ก่ รายได้ ความเครยี ด และ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลเสนอเป็นลำดับ ดังน้ี สว่ นท่ี 1 ขอ้ มูลส่วนบคุ คลของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ สว่ นท่ี 2 ความเครยี ดของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ ส่วนท่ี 3 คุณภาพชีวิตของนสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ สว่ นที่ 4 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งรายได้ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และความเครยี ด กับคุณภาพชวี ิต ส่วนที่ 1 ขอ้ มลู ส่วนบุคคลของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูลส่วนบคุ คล ได้แก่ อายุ เพศ ช้ันปีทก่ี ำลังศกึ ษา ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของปี การศึกษา 2563 เทอมที่ 1 และรายไดข้ องนกั ศกึ ษาต่อเดอื น ผู้วิจัยดำเนนิ การวิเคราะห์โดยแจกแจงความถี่ หา ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ดงั ตาราง 1 ตาราง 1 แสดงจำนวนและรอ้ ยละของกลุ่มตวั อยา่ ง จำแนกตาม เพศ อายุ ชนั้ ปีทก่ี ำลังศกึ ษา ผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรียนของปกี ารศึกษา 2563 เทอมที่ 1 และรายไดข้ องนักศึกษาต่อเดอื น ขอ้ มูลท่วั ไป จำนวน ร้อยละ เพศ (n= 256) 27 10.5 ชาย 229 89.5 หญิง ข้อมูลท่ัวไป จำนวน รอ้ ยละ อายุ (n=256) 14 5.5 18 42 16.4 19 79 30.9 20 59 23.0 21 49 19.1 22 10 3.9 23 3 1.2 24
28 ช้ันปีท่ีกำลังศกึ ษา (n= 256) 64 25.0 ชน้ั ปที ี่ 1 67 26.2 ชั้นปีท่ี 2 63 24.6 ชนั้ ปที ี่ 3 62 24.2 ช้นั ปีที่ 4 ข้อมูลทว่ั ไป จำนวน ร้อยละ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของปีการศึกษา 2563 เทอมท่ี 1 (n= 255) 0 0.4 1.00-1.49 0 1.6 19.9 1.50-1.99 1 34.0 43.8 2.00-2.49 4 0.4 2.50-2.99 51 0.8 25.0 3.00-3.49 87 25.4 20.7 3.50-4.00 112 11.7 13.7 รายไดข้ องนักศึกษาตอ่ เดอื น (n= 250) ต่ำกวา่ 1,500 บาท 1 ระหวา่ ง 1,500-2,900 บาท 2 ระหวา่ ง 3,000-4,499 บาท 64 ระหว่าง 4,500-5,999 บาท 65 ระหวา่ ง 6,000-7,999 บาท 53 ระหว่าง 8,000-9,999 บาท 30 ตัง้ แต่ 10,000 บาท ข้ึนไป 35 จากตาราง 2 ข้อมูลท่ัวไปของนิสติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวรจำนวน 256 คน พบว่านสิ ิตคณะพยาบาลศาสตรซ์ ่งึ เปน็ กลุ่มตัวอย่างสว่ นใหญ่ เปน็ เพศหญิง 229 คน (รอ้ ยละ89.5) อยใู่ นช่วง อายุส่วนใหญ่ 20 ปี (ร้อยละ30.9) รองลงมาอยูใ่ นชว่ ง 21 ปี (รอ้ ยละ23) ผลสัมฤทธท์ิ างการศึกษาของช้นั ปีที่ 1-4 ส่วนใหญ่อยู่ในช่วง 3.50-4.00 (ร้อยละ 43.8 ) รองลงมาอยใู่ นชว่ ง 3.00-3.49 (ร้อยละ 34.0) เม่อื พจิ ารณาเป็นรายชนั้ ปพี บว่าชั้นปีที่ 1 ( = 3.76, SD= 0.02) มคี ่าเฉล่ยี มากท่ีสดุ รองลงมาได้แกช่ ้นั ปี 4 ( = 3.41, SD= 0.05) รองลงมาได้แกช่ น้ั ปี 3 ( = 3.13, SD= 0.04) สว่ นช้ันปที ีม่ ีค่าเฉล่ียตำ่ กว่าทกุ ชน้ั ปีไดแ้ ก่ ชั้นปที ่ี 2 ( = 3.07, SD =0.05) รายไดข้ องนกั ศกึ ษาสว่ นใหญ่อยู่ในช่วง ระหวา่ ง 4,500-5,999 บาทตอ่ เดอื น (รอ้ ยละ 25.4 ) รองลงมาอยู่ในช่วง ระหว่าง 3,000-4,499 บาทต่อเดอื น (รอ้ ยละ25 ) เม่ือพิจารณาเป็น รายชน้ั ปี รายไดค้ า่ เฉลย่ี ชั้นปีท่ี 4 อยู่ในช่วง 8,000-9,999 บาทตอ่ เดือน ( =8057.38, SD= 458.68) ชนั้ ปีที่ 3 อยใู่ นช่วง 6,000-7,999 บาทต่อเดอื น ( = 6775.0, SD= 363.29) รองลงมา ชนั้ ปที ี่ 2 อยู่ในช่วง 4,500- 5,999 บาทต่อเดอื น ( =5377.61, SD= 214.75) และชนั้ ปที ี่ 1 อยใู่ นช่วง 4,500-5,999 บาทต่อเดือน ( = 4774.19, SD= 185.99)
29 ส่วนที่ 2 ความเครียดของนิสติ คณะพยาบาลศาสตร์ ผลการวิเคราะห์ระดับความเครยี ด ผู้วจิ ัยดำเนนิ การวิเคราะห์ โดยหาการคา่ เฉลย่ี และ สว่ นเบยี่ งเบน มาตรฐาน ดังตาราง 2 ตาราง 2 แสดงคา่ เฉล่ยี และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานและระดับความเครียดของนิสิตคณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร ชน้ั ปีที่ 1-4 ปกี ารศึกษา 2563 (n=247) ความเครียด ชั้นปี 43.25 SD ระดับ ความเครียดโดยรวม รวม (n=246) 45.29 18.93 สงู ปี 1 (n=64) 41.35 15.49 สงู ปี 2 (n=67) 43.77 18.14 ปานกลาง ปี 3 (n=63) 42.61 20.40 สงู ปี 4 (n=62) 21.60 สงู จากตาราง 2 พบวา่ ความเครยี ดของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ โดยภาพรวมมคี า่ เฉล่ียอยู่ในระดับสงู ( = 43.25 , SD = 18.93) โดยในชน้ั ปีที่ 1 พบว่าความเครียดมีคา่ เฉลี่ยอยู่ในระดบั สงู ( = 45.29 , SD = 15.49) ชั้นปีที่ 2 มีคา่ เฉลยี่ อยูใ่ นระดบั ปานกลาง ( = 41.35 , SD = 18.14) ชนั้ ปีที่ 3 มีคา่ เฉล่ยี อยู่ใน ระดับสูง ( = 43.77 , SD = 20.40) และชัน้ ปีที่ 4 มีคา่ เฉล่ยี อยู่ในระดบั สงู ( = 42.61 , SD = 21.60) ส่วนที่ 3 คณุ ภาพชวี ิตของนสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ ผลการวเิ คราะหร์ ะดับคุณภาพชีวิต ผวู้ ิจัยดำเนินการวเิ คราะห์ โดยหาการคา่ เฉลีย่ และ สว่ นเบี่ยงเบน มาตรฐาน ดงั ตาราง 3 ตาราง 3 แสดงค่าเฉล่ีย และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานและระดบั คณุ ภาพชีวติ ของนิสติ คณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ชัน้ ปีท่ี 1-4 ปกี ารศกึ ษา 2563 จำแนกตามราย ด้านและภาพรวม (n=256) คณุ ภาพชีวิต ชนั้ ปี 25.63 SD ระดบั ดา้ นร่างกาย 26.05 รวม (n=256) 25.72 3.27 ปานกลาง ปี 1 (n=64) 25.00 3.45 ปานกลาง ปี 2 (n=67) 25.77 3.68 ปานกลาง ปี 3 (n=63) 3.15 ปานกลาง ปี 4 (n=62) 2.68 ปานกลาง
30 ด้านจิตใจ รวม (n=256) 21.64 3.11 ปานกลาง ด้านสัมพันธภาพทางสังคม ปี 1 (n=64) 21.86 2.71 ปานกลาง ดา้ นส่งิ แวดลอ้ ม คุณภาพชวี ติ โดยรวม ปี 2 (n=67) 21.70 3.25 ปานกลาง ปี 3 (n=63) 20.15 3.45 ปานกลาง ปี 4 (n=62) 22.02 2.98 ปานกลาง รวม (n=256) 11.95 1.99 ปานกลาง ปี 1 (n=64) 11.98 1.84 ปานกลาง ปี 2 (n=67) 11.94 2.04 ปานกลาง ปี 3 (n=63) 11.76 2.29 ปานกลาง ปี 4 (n=62) 12.13 1.80 ดี รวม (n=256) 28.96 4.67 ปานกลาง ปี 1 (n=64) 29.02 3.95 ปานกลาง ปี 2 (n=67) 29.07 5.40 ปานกลาง ปี 3 (n=63) 28.27 4.89 ปานกลาง ปี 4 (n=62) 29.50 4.30 ปานกลาง รวม (n=256) 95.96 12.73 ปานกลาง ปี 1 (n=64) 97.17 11.47 ดี ปี 2 (n=67) 96.52 15.06 ดี ปี 3 (n=63) 92.89 12.77 ปานกลาง ปี 4 (n=62) 97.26 10.84 ดี จากตาราง 3 พบวา่ คณุ ภาพชวี ิตของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ โดยภาพรวมมีคา่ เฉลย่ี อยู่ในระดับปาน กลาง ( = 95.96 , SD = 12.73) เมอื่ พจิ ารณารายดา้ น พบว่า ด้านสัมพนั ธภาพทางสงั คม ( = 11.95 , SD = 1.99) มคี า่ เฉล่ยี มากสดุ ดา้ นส่ิงแวดล้อม ( = 28.96 , SD = 4.67) รองลงมา ดา้ นรา่ งกาย ( = 25.63 , SD = 3.27) รองลงมา และ ด้านจติ ใจ ( = 21.64 , SD = 3.11) มคี ่าเฉลย่ี ตำ่ กว่าทกุ ดา้ น โดยในช้ันปีท่ี 1 พบว่าคุณภาพชวี ติ ของนิสติ คณะพยาบาลศาสตร์ช้ันปที ี่ 1 เมอื่ พิจารณารายด้าน พบว่าด้านสัมพันธภาพทาง สังคม ( = 11.98, SD = 0.22) มีค่าเฉล่ยี มากสุด และด้านจิตใจ ( = 21.85, SD = 0.33) มีค่าเฉล่ียน้อย สุด ชัน้ ปีท่ี 2 รายด้านสมั พนั ธภาพทางสงั คม ( = 11.94 , SD = 0.24 ) มีคา่ เฉล่ียมากท่ีสุด และด้านจติ ใจ ( =21.70 , SD = 0.39 ) มคี า่ เฉลยี่ นอ้ ยสุด ชนั้ ปีท่ี 3 รายด้านสมั พนั ธภาพทางสังคม ( = 11.76, SD = 0.28 ) มีค่าเฉล่ยี มากทีส่ ุด และด้านจิตใจ ( = 21.01 , SD = 0.43 ) มีคา่ เฉลย่ี น้อยสุด ชน้ั ปีท่ี 4 รายดา้ น สัมพนั ธภาพทางสังคม ( = 12.12 , SD = 0.22 ) มคี า่ เฉล่ยี มากท่ีสดุ และดา้ นร่างกาย ( = 25.77 , SD =0.33 ) มีคา่ เฉล่ยี นอ้ ยสุด สว่ นท่ี 4 ความสัมพันธร์ ะหวา่ งรายได้ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน และความเครยี ด กับคุณภาพชีวิต การวเิ คราะห์ระดับความสมั พนั ธร์ ะหว่างรายไดก้ บั คุณภาพชวี ติ ดำเนนิ การหาคา่ สมั ประสิทธ์ิ สหสัมพันธ์สเปยี ร์แมนดงั แสดงในตาราง 4
31 ตาราง 4 แสดงค่าสัมประสทิ ธิส์ หพนั ธ์สเปยี ร์แมนระหว่างปจั จยั สว่ นบคุ คลกับคุณภาพชีวิต ตัวแปร 1 23 4 1.รายได้ (n= 249) 1.00 1.00 2.ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น (n= 255) -.076 1.00 3.ความเครียด (n= 246) -.095 -.042 1.00 4.คุณภาพชวี ิต (n= 255) .006 .067 -.433** **p < 0.05 ผลการศึกษา พบวา่ ความสมั พนั ธ์ระหว่างความเครียดมคี วามสัมพันธ์ทางลบกับคุณภาพชวี ติ โดยรวม อยใู่ นระดบั ปานกลาง ท่รี ะดบั นัยสำคัญทางสถิติ (r=0.433, p < 0.05) อย่างไรก็ตาม ไม่พบความสัมพันธ์ ระหว่างรายได้ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น เเละ ความเครียดกับคุณภาพชวี ติ
32 บทที่ 5 บทสรปุ การศกึ ษาครงั้ นีเ้ ปน็ การวจิ ยั เชงิ พรรณนา (Descriptive Research) เพือ่ ศึกษา 1) คุณภาพชีวิตของ นิสติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2563 ชน้ั ปีท่ี 1- 4 ในช่วงทม่ี โี รคติดเช้ือไวรสั โคโร นา 2019 2) รายได้ของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปกี ารศึกษา 2563 ชน้ั ปีท่ี 1- 4 ในช่วงท่มี ีโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 3) ความเครียดของนสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร ปี การศกึ ษา 2563 ชั้นปีท่ี 1- 4 ในช่วงทม่ี ีโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 4) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2563 ช้ันปีที่ 1- 4 ในชว่ งทมี่ ีโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 5) ความสมั พันธ์ระหว่างรายได้ ความเครียด เเละผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น กับคุณภาพชีวิตของนสิ ติ คณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร ปกี ารศึกษา 2563 ชน้ั ปที ี่ 1- 4 ในช่วงทีม่ โี รคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 กลุ่มตวั อย่างคือ นสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ ชัน้ ปที ี่ 1- 4 มหาวิทยาลยั นเรศวร จำนวน 242 คน ดำเนนิ การ เพอ่ื ใหไ้ ดก้ ลุม่ ตัวอย่างโดยการสมุ่ แบบไมใ่ ชค้ วามน่าจะเปน็ (Non-Probability Sampling) เครื่องมือที่ใช้ใน การเก็บรวบรวมข้อมูลในการวจิ ัยคร้ังนี้ มีทงั้ หมด 3 ชดุ ประกอบด้วย 1) ข้อมูลท่ัวไป ได้แก่ เพศ อายุ ระดบั การศึกษา ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น รายได้ เปน็ คำถามปลายเปิด 2) แบบประเมนิ คุณภาพชวี ิต ผ้วู ิจัยประเมิน จากแบบวัดคุณภาพชีวติ ขององค์การอนามยั โลกชุดย่อ ฉบบั ภาษาไทย (WHOQOL-BREF- Thai) ประกอบดว้ ยข้อคำถามประเมิน 4 ด้าน ไดแ้ ก่ ด้านสุขภาพกาย ประกอบด้วยข้อคำถามจำนวน 7 ข้อ โดยเป็น คำถามด้านบวกจำนวน 5 ข้อ ด้านจติ ใจ ประกอบดว้ ยขอ้ คำถามจำนวน 6 ขอ้ โดยเปน็ คำถามดา้ นบวกจำนวน 5 ข้อ ด้านสัมพันธภาพทางสังคม ประกอบด้วยข้อคำถามจำนวน 3 ข้อ ด้านสิง่ แวดล้อม ประกอบดว้ ยขอ้ คำถามจำนวน 8 ขอ้ คา่ ความเช่ือมั่นสมั ประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) อยใู่ นเกณฑส์ ูง (0.8406) 3) ความเครยี ด ผวู้ จิ ัยใช้แบบวดั ความเครียด SPST-20 มคี ่าความเชื่อมัน่ สมั ประสทิ ธ์ิ แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) เทา่ กับ 0.82 ผวู้ ิจัยเก็บรวบรวมขอ้ มลู ด้วย แบบสอบถามออนไลน์ โดยผวู้ จิ ัยสร้างเอกสารข้อมลู คำอธบิ ายสำหรับอาสาสมคั ร โครงการวิจัย และเอกสาร ยนิ ยอมเข้าร่วมโครงการวิจัยบน Google form application ซึง่ กล่มุ ตวั อย่างที่สนใจเข้าร่วมโครงการวจิ ัย ภายหลังได้รับการประชาสมั พนั ธ์ทางช่องทางส่อื สารออนไลน์ ไดแ้ ก่ Facebook, Line application จะ สามารถเขา้ ถึงและอา่ นขอ้ มูลเกี่ยวกับโครงการวิจัย เม่อื กลุ่มตวั อย่างทราบขอ้ มลู เกี่ยวกบั โครงการวจิ ยั ซักถาม และไดร้ ับคำตอบจากผูว้ จิ ัยจนส้นิ ข้อสงสัยแล้วประสงคเ์ ข้ารว่ มโครงการวจิ ัย กลมุ่ ตวั อยา่ งทค่ี วามยินยอมเข้า ร่วมวจิ ยั ทาง Google form application ได้แบบสอบถามท่ีสมบูรณ์ทง้ั หมด 256 ชดุ จากนนั้ มาวิเคราะห์ ข้อมูล โดยใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ ำเรจ็ รปู SPSS (Statistics package for the social sciences) version 17 ใชส้ ถติ ิ ความถี่ รอ้ ยละ คา่ เฉล่ยี และสว่ นเบ่ียงเบนมาตราฐาน สมั ประสทิ ธ์สิ หสัมพันธส์ เปียรแ์ มน (Spearman rank correlation coefficient) ทดสอบนยั สำคญั ทางสถิติทีร่ ะดับ 0.05
33 สรุปผลการวจิ ยั 1. รายไดข้ องนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร ชน้ั ปีที่ 1-4 ปกี ารศกึ ษา 2563 สว่ น ใหญ่อยูใ่ นช่วงระหว่าง 4,500-5,999 บาทตอ่ เดอื น (ร้อยละ 25.4 ) เม่ือพิจารณาเป็นรายได้คา่ เฉลย่ี ช้ันปที ี่ 4 อย่ใู นชว่ ง 8,000-9,999 บาทตอ่ เดอื น ( = 8057.38, SD= 458.68) ช้นั ปที ่ี 3 อยู่ในชว่ ง 6,000-7,999 บาท ตอ่ เดอื น ( =6775.0, SD= 363.29) รองลงมา ชั้นปีที่ 2 อยู่ในช่วง 4,500-5,999 บาทตอ่ เดอื น ( = 5377.61, SD= 214.75) ชนั้ ปีท่ี 1 อยใู่ นช่วง 4,500-5,999 บาทตอ่ เดอื น ( = 4774.19, SD= 185.99) 2. ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของปกี ารศึกษา 2563 เทอมที่ 1 ของนสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ชน้ั ปที ่ี 1-4 ปกี ารศกึ ษา 2563 สว่ นใหญอ่ ยใู่ นช่วง 3.50-4.00 (ร้อยละ 43.8) เม่ือ พจิ ารณาเปน็ รายชั้นปพี บวา่ ชนั้ ปีท่ี 1 ( = 3.76, SD= 0.02) มคี ่าเฉลย่ี มากท่ีสุด รองลงมาไดแ้ ก่ชัน้ ปี 4 ( = 3.41, SD= 0.05) รองลงมาไดแ้ ก่ชน้ั ปี 3 ( = 3.13, SD= 0.04) ส่วนชน้ั ปีท่มี คี ่าเฉลี่ยตำ่ กวา่ ทกุ ช้ันปไี ดแ้ ก่ ชั้นปีท่ี 2 ( = 3.07, SD =0.05) 3. ความเครยี ดของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ชัน้ ปีที่ 1-4 ปกี ารศกึ ษา 2563 โดยภาพรวมมคี ่าเฉล่ยี อยู่ในระดบั สงู ( = 43.25, SD= 18.93) เม่อื พิจารณาเปน็ รายช้ันปี พบว่าชั้นปที ี่ 1 ( = 45.30, SD = 15.49) มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ชัน้ ปีที่ 3 ( = 43.77, SD = 20.40) รองลงมา ได้แก่ ชั้นปที ี่ 4 ( = 42.61, SD = 21.60) ส่วนช้ันปีท่มี คี ่าเฉล่ยี ต่ำกวา่ ทกุ ชนั้ ปีไดแ้ ก่ ช้นั ปที ่ี 2 ( = 41.64, SD = 18.14) 4. คุณภาพชวี ติ ของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร ชั้นปีที่ 1-4 ปีการศึกษา 2563 โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดบั ปานกลาง ( = 95.96 , SD = 12.73) เมือ่ พิจารณารายด้านของคุณภาพ ชีวติ ของนสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ช้ันปีที่ 1-4 ปีการศกึ ษา 2563 พบว่าด้าน สมั พนั ธภาพทางสงั คม ( = 11.95 , SD = 1.99) มีค่าเฉล่ียมากสุด รองลงมาคือ ด้านส่ิงแวดลอ้ ม ( = 28.96 , SD = 4.67), ดา้ นรา่ งกาย ( = 25.63 , SD = 3.27) และ ด้านจติ ใจ ( = 21.64 , SD = 3.11) ตามลำดับ 5.ความเครยี ดมีความสัมพนั ธท์ างลบกับคณุ ภาพชีวิต โดยรวมอยใู่ นระดบั ปานกลาง (r=0.433) ที่ ระดบั นยั สำคญั ทางสถติ ิ .05 อยา่ งไรก็ตาม ไมพ่ บความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งรายได้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น กับ คณุ ภาพชวี ิต ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ช้ันปีที่ 1-4 ปกี ารศกึ ษา 2563 อภปิ รายผล จากการวจิ ยั ในครั้งนผ้ี ู้วิจยั มีประเดน็ ในการนำมาอภิปรายตามวัตถปุ ระสงค์ดังนี้ 1.คณุ ภาพชีวิตของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร ชน้ั ปีที่ 1-4 ปกี ารศกึ ษา 2563 โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง ( = 95.96 , SD = 12.73) ทงั้ ในภาพรวมและรายดา้ นทกุ ดา้ น สว่ นใหญอ่ ยใู่ นระดบั ปานกลาง มเี พยี งด้านสมั พันธภาพทางสังคมทอ่ี ยใู่ นระดบั ดี สอดคล้องกบั งานวิจัยของ อนันตศ์ รี สมิทธน์ิ ราเศรษฐ์ และศภุ ามณ จนั ทร์สกุล (2561) การศกึ ษาคุณภาพชีวติ ของนักศกึ ษาพยาบาล มหาวิทยาลยั อีสเทิร์นเอเชยี ทพ่ี บวา่ ด้านความสมั พันธภาพทางสังคมเป็นด้านท่มี ีคณุ ภาพชวี ติ มเี ฉลี่ยมากท่ีสุด
34 นักศึกษามีการปรบั ตัวและเรยี นรู้วธิ กี ารสรา้ งสัมพันธภาพกับผ้อู นื่ ท้งั กับเพอ่ื นนักศกึ ษาชน้ั ปเี ดยี วกนั รนุ่ พ่ีรนุ่ น้องในคณะ รวมถึงอาจารยแ์ ละบุคลากรอน่ื ดว้ ย นอกจากนี้ผลการวจิ ยั ยังสอดคล้องกับการศกึ ษาของกฤตธชั อนั ชื่น (2557) พบวา่ คณุ ภาพชีวติ ของนกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสรุ ีนารโี ดยภาพรวมและรายด้านทุก ด้านส่วนใหญอ่ ยใู่ นระดบั ปานกลาง เมอื่ พิจารณารายด้าน พบวา่ กล่มุ ตัวอย่างมีคุณภาพชีวิตดา้ นสัมพนั ธภาพ ทางสังคมมากท่ีสุดและอยู่ในระดับดี ( = 11.95 , SD = 1.99) นอกจากน้ี จากสถานการณท์ ่มี ีการระบาดของ โรคไวรัสโคโรนา 2019 ทำให้กลุม่ ตวั อย่างเกิดการรบั รู้เร่อื งความสมั พนั ธ์ของตนกบั บุคคลอื่นเพมิ่ ขน้ึ เน่อื งจาก มกี ารตดิ ต่อกนั ผ่านทางสังคมออนไลนเ์ พ่มิ ขึน้ การแชร์ข่าวสารขอ้ มูลเก่ยี วกับสถานการณ์ที่เกิดขึน้ และรับร้วู ่า ตนได้เปน็ ผู้ให้ความช่วยเหลือบคุ คลอ่นื ในสงั คมดว้ ย ส่วนด้านคณุ ภาพชีวิตส่งิ แวดลอ้ มมีคา่ เฉล่ียรองลงมา ( = 28.96 , SD = 4.67) อยใู่ นระดับปานกลาง กลมุ่ ตวั อย่างรบั รู้เกยี่ วกับสงิ่ แวดลอ้ มทีม่ ีผลต่อการดำเนินชีวิต คือ สถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 มผี ลตอ่ การดำเนนิ ชีวติ รบั ร้วู า่ ตนมีชีวติ อยไู่ ม่อยา่ งอิสระเท่าท่เี คย รวมถึงความปลอดภยั และมนั่ คงใน ชีวติ ไมเ่ หมือนเดมิ เช่น การเดินทางออกไม่ขา้ งนอกไมส่ ะดวกต้องคอยระวงั ตวั เองจากสถานการณ์การแพร่ ระบาด การอยู่อาศยั ในบริเวณท่ีจำกัด รวมถึงสภาพแวดลอ้ มการเรยี นที่เปล่ยี นไป (กรรณกิ าร์ แสนสุภา, เอือ้ ทพิ ย์ คงกระพันธ์, อมุ าภรณ์ สขุ ารมณ์ และผกาวรรณ นนั ทะเสน, 2563) สอดคลอ้ งกับการวิจยั ของ อนนั ต์ศรี สมทิ ธนิ์ ราเศรษฐ์ และศุภามณ จันทร์สกุล (2561) การศึกษาคุณภาพชวี ิตของนกั ศึกษาพยาบาล มหาวทิ ยาลัย อสี เทิร์นเอเชยี พบว่า คุณภาพชีวิตด้านส่ิงแวดล้อมอย่ใู นระดบั ปานกลาง การท่สี ิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไปจาก การทีเ่ คยอยู่ หากปรับตัวไม่ได้อาจสง่ ผลต่อคุณภาพชวี ิตของนกั ศึกษาในทา้ ยท่ีสุดได้ เชน่ สงิ่ แวดล้อมเดิมมัธยม และต้องเปล่ยี นเปน็ สงิ่ แวดล้อมแบบมหาวิทยาลัย หรอื การเปล่ยี นชั้นปจี ะตอ้ งเจอกับสภาพแวดล้อม หรอื สถานการณ์ใหมๆ่ ตอ้ งอาศยั การปรบั ตัวอย่างมาก เพือ่ เผชิญกบั ส่ิงแวดล้อมท่ีเปล่ยี นแปลงไป ส่วนด้านคณุ ภาพชีวติ ร่างกาย ( = 25.63 , SD = 3.27) อยู่ในระดับปานกลาง กล่มุ ตัวอยา่ งรับรไู้ ด้ ว่าตนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ไม่เจบ็ ป่วย คอื จากสถานการณท์ ีม่ กี ารระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 มี ผลทำให้กลุ่มตวั อยา่ งร่างกายไม่แข็งแรง เนือ่ งจากนิสิตบางรายไม่สามารถไปออกกำลังกายเหมอื นเดิม รวมถึงมี ข้อจำกัดของพน้ื ทีอ่ อกกำลงั กายทล่ี ดลง และการใช้ชวี ิตประจำวันในรปู แบบเดมิ ๆอาจส่งผลให้ไม่มีพละกำลงั ในการดำเนินชีวิตได้อย่างเป็นอสิ ระ จึงทำใหน้ สิ ิตบางรายร้สู ึกไม่มพี ละกำลังเหมอื นเมือ่ กอ่ น (วนิ ทิ รา นวล ละออ, 2555) สอดคล้องกับกับการวิจยั ของอนนั ต์ศรี สมทิ ธน์ิ ราเศรษฐ์ และศุภามณ จันทรส์ กุล (2561) การศกึ ษาคุณภาพชวี ิตของนักศึกษาพยาบาล มหาวทิ ยาลัยอีสเทิรน์ เอเชีย พบว่า คุณภาพชวี ิตด้านรา่ งกายอยู่ ในระดับปานกลาง การทีน่ กั ศกึ ษาต้องเปลยี่ นสิ่งแวดลอ้ ม เชน่ การขึน้ ฝึกปฏิบตั งิ านควบคู่ไปกบั การเรียน ภาคทฤษฎี สง่ ผลให้เกิดความเหน่ือยลา้ จากการเรียนทำใหเ้ กิดปญั หาทางสขุ ภาพได้ เชน่ ปวดศีรษะ ปวดท้อง และการไมไ่ ดอ้ อกกำลงั กายเป็นประจำวนั ซึ่งเปน็ ผลกระทบตอ่ คุณภาพชวี ติ ทางด้านรา่ งกยของนักศึกษา ส่วนดา้ นคณุ ภาพชวี ิตดา้ นจิตใจ ( = 21.64 , SD = 3.11) มีคา่ เฉล่ยี ตำ่ กวา่ ทกุ ด้านและอยใู่ นระดับ ปานกลาง จากสถานการณ์ที่มีการระบาดของโรคไวรสั โคโรนา 2019 นิสติ มีการรบั รสู้ ภาพทางจิตใจของตนเอง โดยนิสติ มกี ารรบั รู้ความรสู้ ึกทางบวกที่บคุ คลมีต่อตนเอง มีการรับรภู้ าพลักษณข์ องตนเองเพิ่มขน้ึ และยังมี ความรสู้ กึ ภาคภูมิใจในตนเองไดพ้ อสมควร ทำให้สามารถปรับตัวได้ในชว่ งที่มีการระบาดของโรคไวรสั โคโรนา 2019 สามารถในการจดั การกบั ความเศรา้ กังวล หรอื ความเครยี ดได้บ้างตามสถานการณ์ทเี่ ผชญิ ไดบ้ ้าง แต่ นสิ ิตก็อาจจะมีความจำ สมาธิ การตัดสนิ ใจ และความสามารถในการเรยี นรเู้ รอ่ื งราวตา่ งๆ ไดไ้ ม่มากนกั
35 สอดคลอ้ งกบั กับการวจิ ยั ของอนันต์ศรี สมทิ ธ์นิ ราเศรษฐ์ และศภุ ามณ จันทร์สกุล (2561) การศึกษาคุณภาพ ชีวติ ของนักศกึ ษาพยาบาล มหาวิทยาลัยอสี เทิร์นเอเชีย พบว่า คณุ ภาพชีวิตดา้ นจติ ใจอยใู่ นระดับปานกลาง สภาพแวดลอ้ มท่ีเปลย่ี นแปลงไป เช่น สง่ิ แวดล้อมเดมิ แบบมธั ยมและต้องเปลี่ยนเป็นสงิ่ แวดล้อมแบบ มหาวิทยาลัย หรือการเปล่ยี นชั้นปีจะต้องเจอกับสภาพแวดล้อมหรือสถานการณใ์ หมๆ่ นกั ศึกษาบางราย สามารถปรบั ตัว หาวิธผี ่อนคลาย รวมไปถึงการใช้ชีวิตในส่งิ แวดลอ้ มท่อี ยใู่ นมหาวิทยาลยั ได้อยา่ งมีคุณภาพ บางรายประสบปญั หากบั การปรบั ตวั ค่อนข้างมาก ทำใหน้ กั ศึกษาเกิดภาวะเครียด ประสบปญั หาด้านการเรยี น ท้ายท่ีสดุ ก็สง่ ผลตอ่ คุณภาพชีวติ 2.รายได้ของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร ปีการศกึ ษา 2563 ช้นั ปีที่ 1- 4 ในช่วงท่ี มโี รคไวรสั โคโรนา 2019 โดยภาพรวมอยใู่ นชว่ ง 4,500 – 5,999 บาทต่อเดอื น ( = 6217.20, SD=178.06) อภปิ รายไดว้ า่ ในสถานการณ์ทมี่ ีการระบาดของโรคไวรสั โคโรนา 2019 ทำให้นิสติ ยังคงตอ้ งมีภาระค่าใช้จ่าย ได้แก่ หอพักรายเดือน ถึงแมน้ ิสิตบางสว่ นจะเดินทางกลับภูมิสำเนาก็ตาม ซึ่งยงั ต้องชำระคา่ หอพกั ตามเดิม โดยนิสิตบางส่วนเลือกที่จะยา้ ยออกจากหอพกั เน่ืองจากไม่ตอ้ งการเสียค่าเช่าหอ้ งพกั ในชว่ งทีก่ ลับภมู ิลำเนา และมนี ิสิตทยี่ งั พกั อาศยั บรเิ วณหอพกั รอบมหาวิทยาลยั นเรศวรก็ยังคงไดร้ ับรายไดจ้ ำนวนเทา่ เดิม รวมทั้งนิสิต ท่กี ยู้ มื กองทนุ การศกึ ษายงั ไดร้ บั เงนิ ตามเดมิ ไม่มกี ารลดจำนวนเงินลงแต่อย่างใด สง่ ผลให้รายได้ของนสิ ิตคณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ปกี ารศกึ ษา 2563 ช้นั ปีที่ 1- 4 ในช่วงที่มีโรคไวรัสโคโรนา 2019 โดย ภาพรวมอยใู่ นระดบั ดี 3.ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ชน้ั ปีที่ 1-4 ปี การศึกษา 2563 โดยภาพรวมมคี ่าเฉล่ียอยู่ในช่วง 3.50-4.00 ( = 3.34 , SD=0.43) อภปิ รายได้วา่ ในแตล่ ะ ช้นั ปีมกี ารเรยี นคอ่ นข้างหนกั และเนื้อหาบทเรยี นค่อนข้างเขม้ ขน้ โดยชั้นปีที่ 1-2 จะเน้นทฤษฎีเพอื่ นำไป ประยุกต์ในการฝกึ ปฏิบตั จิ ริง และชั้นปีที่ 3-4 จะเนน้ ปฏบิ ัตจิ รงิ โดยมีการฝกึ ตามโรงพยาบาลต่างๆโดยอยู่ใน ความควบคมุ ของคณะอาจารย์ เมอ่ื พิจารณาแต่ละชนั้ ปี พบว่า ชัน้ ปีที่ 1 ( = 3.76, SD= 0.02) จาก สถานการณท์ ่ีมีการระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 ทำใหน้ ิสิตชั้นปีท่ี 1 มกี ารเรยี นในรูปแบบออนไลนใ์ น บ้านของตนเอง ซึ่งสามารถกลับมาทบทวนบทเรียนที่ไม่เข้าใจหรอื สงสัย ทำใหเ้ กิดการเรียนรทู้ ่เี ข้าใจขึ้น สง่ ผล ให้ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนมีคา่ สูงขึ้น อา้ งองิ จากการศึกษาของธนชั ชา บินดุเหลม็ (2561) แตกตา่ งกบั การศึกษาของอนนั ตศ์ รี สมทิ ธิน์ ราเศรษฐ์ และศุภามณ จันทร์สกุล (2561) พบวา่ นักศกึ ษาช้ันปีที่ 1 คณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยอีสเทิรน์ เอเชีย มกี ารเปลยี่ นแปลงการเรียนเปน็ รูปแบบใหม่แตกต่างจากมัธยม มี การเปลยี่ นแปลงสิง่ แวดล้อม และการเปลีย่ นแปลงทางสงั คม รวมท้งั การเปลีย่ นแปลงเพื่อนใหมใ่ น มหาวิทยาลัย ส่งผลตอ่ นักศกึ ษามปี ญั หาด้านการปรบั ตัวทำให้มีปญั หาทางการเรียน สว่ นช้ันปที ี่ 2 ( = 3.07, SD =0.05) จากสถานการณท์ ่มี กี ารระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 นิสติ ชั้นปีท่ี 2 มีประสบการณ์การเรยี นในหอ้ งเรียนในมหาวทิ ยาลัย ทำใหม้ กี ารปรบั ตวั ในการเรียนไดด้ ี จงึ อาจจะไมส่ ง่ ผลใหผ้ ลสัมฤทธท์ิ างการเรียน สอดคล้องกับการศกึ ษาของอนันตศ์ รี สมิทธ์นิ ราเศรษฐ์ และศุภามณ
36 จันทรส์ กุล (2561) พบวา่ นักศึกษาช้นั ปีที่ 2 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั อสี เทิร์นเอเชีย มีการเรียนรทู้ ี่ จะคอ่ ยๆปรบั ตัวกบั สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป จากการทำกจิ กรรมต่างๆ ร่วมกับคณะและมหาวิทยาลยั สง่ ผลต่อนักศกึ ษามีความสุขกบั การเรียนทำใหน้ กั ศึกษาประสบความสำเร็จทางการศึกษา สว่ นชัน้ ปที ี่ 3 ( = 3.13, SD= 0.04) และชน้ั ปีท่ี 4 ( = 3.41, SD= 0.05) จากสถานการณ์ทีม่ ีการ ระบาดของโรคไวรสั โคโรนา 2019 ทำใหน้ สิ ิตช้ันปีที่ 3-4 มกี ารเปลี่ยนแปลงแผนการเรียนจากการฝึกปฏิบตั ิ จริงมกี ารปรบั เปลย่ี นโดยการนำวิชาทฤษฎีในภาคเรียนถดั ไปมาเรียนกอ่ นและย้ายวชิ าปฏิบัตไิ วท้ ่ีหลัง ส่งผลตอ่ นสิ ติ ชัน้ ปที ี่ 3-4 ตอ้ งมกี ารปรับตัว แตไ่ มส่ ่งผลกระทบตอ่ ผลการเรียนมากนกั เน่อื งจากมปี ระสบการณก์ าร เรยี นในหอ้ งเรยี นและรูปแบบการเรียนการสอนในมหาวทิ ยาลยั ซึ่งสอดคลอ้ งกับการศกึ ษากมลรัตน์ ทองสว่าง (2560) พบวา่ นักศกึ ษาชนั้ ปีท่ี 3 มปี ระสบการณใ์ นการเรยี นในห้องเรยี นในมหาวิทยาลัยจงึ สามารถปรบั ตัวกับ การเรียนและบริบทในการเรียนได้ ทำให้การเปล่ียนแปลงไม่ส่งผลกระทบตอ่ ผลการเรยี นของนกั ศึกษาชัน้ ปที ่ี 3 4.ความเครยี ดของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ช้นั ปที ี่ 1-4 ปีการศึกษา 2563 โดย ภาพรวมมีคา่ เฉล่ียอยู่ในระดับสูง ( = 43.25, SD= 18.93) ผลการศึกษานี้แตกต่างจากการศึกษาของณรงค์ กร ชัยวงศ์ (2559) พบวา่ ระดับความเครยี ดของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตรบ์ ุรรี มั ย์ มหาวิทยาลัยเวสเทิรน์ ส่วน ใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 55.12 อภิปรายได้ว่า แม้ว่าการเรียนการสอนทางการพยาบาลทั้ง ภาคทฤษฎแี ละภาคปฏิบตั ิจะยงั คงมกี ารเรยี นการสอนในชว่ งการระบาดของโรคติดเชอ้ื โคโรนา่ ไวรสั 2019 แต่ บริบทต่างไปจากการเรียนการสอนในสถานการณ์ปกติ ซึ่งบริบทที่ต่างไปอาจส่งผลทำให้ความเครียดอยู่ใน ระดับที่สูงขึน้ จากปจั จัยดา้ นความแข็งแกรง่ ทางจิตใจ, การเรียนการฝกึ งาน, สัมพันธภาพและการสื่อสารของ อาจารย์, ความสามารถในการปรบั ตัวและการยดื หยนุ่ ตอ่ สถานการณ์, การมสี ่วนร่วมต่อกิจกรรมเสริมหลกั สูตร และปัจจัยดา้ นครอบครัว (พักตรว์ ไิ ล ศรแี สง, อมั พรพรรณ ธีรานุตร, จุฬาภรณ์ โสตะ, จุฬาภรณ์ ต้ังภักดี และ จารณุ ี สรกฤช, 2020) ในช่วงสถานการณร์ ะบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 ซึง่ ปจั จยั ด้านความแขง็ แกร่งทาง จติ ใจเปน็ ความสามารถของบุคคลในการปรับตวั และฟืน้ ตวั ภายหลังท่พี บกับสถานการณ์ทกี่ ่อให้เกดิ ความความ ยากลำยาก ปัจจัยด้านการเรียนและการฝึกงาน มีการเปล่ียนรปู แบบการเรยี นการสอนเป็นแบบออนไลนแ์ ละ งดการขึ้นฝึกปฏิบัติงาน ปัจจัยการมีส่วนร่วมต่อกจิ กรรมเสริมหลักสูตร มีการงดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เช่น การออกกำลงั กาย การจัดกจิ กรรมดนตรี กีฬา การจดั ชมรมตา่ งๆ ปัจจยั ดา้ นจติ วญิ ญาณ นกั ศึกษาต้องมีความ เข้าใจกับหลักของไตรลักษณ์ที่มุ่งสอนให้เข้าใจชีวิตที่เป็นไปตามธรรมดาตามความเป็นจริง ทำให้ตระหนักรู้ และเกิดความเข้าใจว่าชีวิตเป็นอย่างไร เกิดความรู้เท่าทัน และรับรู้ต่อทุกอาการของการปฏบิ ัติตนเผื่อเผชิญ สถานการณก์ ารเจ็บป่วยและเสียชีวติ ของผ้รู บั บรกิ ารไดอ้ ย่างเหมาะสม ปจั จัยด้านครอบครวั นักศกึ ษาแต่ละคน มีปัจจัยด้านครอบครัวที่แตกต่างกัน เช่น รายได้ไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่ายต่อเดือน ไม่ได้รับการสนับสนุนจาก ครอบครัวในการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ปัจจัยด้านการสื่อสารของอาจารย์ ในการเรียนการสอนแบบ ออนไลนท์ ำให้มกี ารส่ือสารกันได้ยากลำบากทำให้เกิดความเข้าใจในบทเรียนไดน้ ้อยการเรียนการสอนแบบปกติ ด้วยการเปลยี่ นแปลงของปัจจัยดังกล่าวจงึ อาจทำใหค้ วามเครยี ดของนิสิตพยาบาลมหาวทิ ยาลัยนเรศวรสูงกว่า ปกติเมอ่ื เทยี บกบั นิสิตพยาบาลท่ีเรียนอย่ใู นชว่ งสถานการณป์ กติ เม่อื พิจารณาเปน็ รายช้ันปี พบวา่ ช้นั ปีที่ 1 ( = 45.30, SD = 15.49) มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมา ไดแ้ ก่ ชั้นปีท่ี 3 ( = 43.77, SD = 20.40) รองลงมาได้แก่ ชั้นปีที่ 4 ( = 42.61, SD = 21.60) ส่วนช้ันปีท่ี มคี า่ เฉล่ียตำ่ กว่าทุกชนั้ ปไี ดแ้ ก่ ชั้นปที ่ี 2 ( = 41.64, SD = 18.14) ซ่ึงผลการวิจัยแตกตา่ งจากการศึกษาของ
37 อนันต์ศรี สมิทธิ์นราเศรษฐ์ และศุภามณ จันทร์สกุล (2561) พบว่า นักศึกษาพยาบาลมหาวิทยาลัยอีสเทิร์น เอเชีย มีความเครียดจากการเรียนภาคทฤษฏีมากที่สุด (ร้อยละ 26.8) อันดับที่สองคือ ความเครียดจากการ เรียนภาคปฏิบัติ (ร้อยละ 25) และอันดับที่สามคือ การเงิน (ร้อยละ 20.4) อภิปรายว่า จากการศึกษาใน หลกั สตู รพยาบาลศาสตรบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั อสี เทริ ์นเอเชีย มรี ะบบการเรยี นการสอนที่คอ่ นขา้ งเขม้ ข้นทุกช้ัน ปี โดยช้ันปีที่ 1 และ 2 เปน็ ช้ันปีทเ่ี รยี นเนน้ ภาคทฤษฎเี พ่อื ให้นกั ศึกษามีความรใู้ นการนำไปใชห้ รือข้ึนฝึกปฏิบัติ จริงบนหอผู้ป่วยในชั้นปีถัดไปหรือชั้นปีที่ 3 และ 4 ซึ่งเป็นการจัดการเรียนการสอนปกติ แตกต่างจากมีการ เปล่ียนรปู แบบการเรยี นการสอนเป็นแบบออนไลนข์ องนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ช้ันปีที่ 1-4 ปีการศึกษา 2563 ในสถานการณ์ที่มีการระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 ส่งผลให้มีความเครียดอย่ใู น ระดับสูง ( = 43.25, SD= 18.93) 5. ความสัมพันธ์ระหว่างความเครียดกับคุณภาพชีวิต มีความสัมพันธ์กันในทิศทางลบอยู่ระดับปาน กลาง (r= .433) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐานที่กำหนดไว้ ผลการวิจัย สอดคล้องกับการศึกษาของ วินิทรา นวลละออง (2555) ศึกษาเกี่ยวกับปจั จัยที่สัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของ นักศึกษา แพทยช์ ัน้ ปที ่ี 1 พบวา่ ความเครยี ดมีความสมั พนั ธ์กับคุณภาพชีวติ อย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งคุณภาพชีวิตโดยรวม ทางกาย ทางใจ และทางสังคมในนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 1 แย่ลง เนื่องจาก นักศึกษาต้องมีการปรับตัวเข้ากับเพื่อนใหม่ นักศึกษาที่เครยี ดมากที่สุด จะมีคุณภาพชวี ติ ระดับปานกลาง ใน ระหว่างทน่ี ักศกึ ษาท่ีไม่เครียดเลยหรือเครยี ดเล็กน้อย จะมคี ุณภาพชีวติ ทีด่ ี (วนิ ิทรา นวลละออง, 2555) ทัง้ นีจ้ ากการศึกษาคร้ังนี้ ความเครียดของนิสิตโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับสูง ซง่ึ ความเครียดของนิสิตน้ีอาจ เกิดจากสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 ซึ่งทำให้เกิดมาตรการต่างๆ เช่น การรักษา ระยะห่างทางสังคม ทำให้คนรู้สึกโดดเดี่ยว สามารถเพิ่มความเครียดและความวิตกกังวล ความเครียดที่พบ เช่น ความกังวลเกี่ยวกับสุขภาพ ความกังวลในการปรับตัวกับการเรียนการสอนแบบออนไลน์ เป็นต้น (กฤช กันทร สุวรรณพันธุ์ และคณะ, 2563) เมือ่ ความเครยี ดมากขึน้ จงึ ส่งผลกระทบตอ่ จิตใจของนิสติ ทำให้คณุ ภาพ ชีวติ เปลย่ี นแปลงไป ผลการวิจัยสามารถถูกอธิบายภายใต้กรอบแนวคิดทฤษฎีการเปล่ียนผ่าน ชูเมคเคอร์และ เมลิส (Schumacker and Meleis, 1994) กล่าวว่า ความผาสุกด้านอารมณ์ (emotional well-being) ซ่ึง เป็นปัจจัยเงื่อนไขของการเปลี่ยนผ่าน (transition condition) หมายถึง ถ้าบุคคลมีความผาสุกทางด้าน อารมณ์และมีความสุขสบายทางด้านร่างกายในช่วงระหว่างที่มีการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สภาวะใหม่ก็จะช่วยให้ บุคคลนั้นสามารถเปล่ียนเข้าสู่สภาวะใหม่ไดง้ า่ ยขึ้น การวิจัยนี้ความเครียดของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ คือ ปัจจัยความผาสุกด้านอารมณ์ (emotional well-being) ซึ่งเป็นปัจจัยเดียวในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ที่มีผล เชื่อมโยงการเปล่ียนผา่ นของนสิ ิตพยาบาล กล่าวคือ นิสิตพยาบาลมคี วามเครียดภาพรวมเฉลี่ยอยู่ในระดบั สูง ( = 43.25, SD= 18.93) ส่งผลให้การเปลี่ยนผ่านที่ไม่สมบูรณ์ของนิสิตพยาบาลในช่วงการระบาดของโรค ไวรัสโคโรนา 2019 ตัวบ่งชี้ผลลัพธ์การเปลี่ยนผ่าน (outcome indicator) ในวิจัยนี้คือ คุณภาพชีวิตที่แย่ลง ซึ่งจะเห็นได้จากผลการวิจัยนี้ที่พบว่า คุณภาพชีวิตของนิสิตพยาบาลโดยรวมทุกชั้นปีเฉลี่ยอยู่ในระดับปาน กลาง ( = 95.96 , SD = 12.73) บง่ บอกถงึ การเปล่ียนผา่ นท่ยี งั ไมส่ มบูรณ์ การเปลีย่ นผา่ นทสี่ มบรู ณน์ ั้น จะ สามารถอยู่ในบทบาทใหม่ได้อย่างแข็งแกร่ง สุขสบาย (role mastery) เป็นความสามารถของบุคคลในด้าน ทักษะ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้สอดคล้องกับสถานการณ์ใหม่ และสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้ มีการ ปรับตวั ไดอ้ ย่างเหมาะสม (fluid integrative identities) (Schumacker and Meleis, 1994) 6. ความสัมพันธ์ระหว่างรายได้กับคุณภาพชีวิต ไม่มีความสัมพันธ์กัน ไม่เป็นไปตามสมมุติฐานที่ กำหนดไว้ สอดคล้องกับการศึกษาของ จันทรา อุ้ยเอ้ง (2558) ศึกษาเกี่ยวกับคุณภาพชวี ติ ของนักศึกษาคณะ
38 วทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลยั ราชมงคลศรีวชิ ัย วทิ ยาลยั ตรัง พบว่า รายไดไ้ มม่ คี วามสมั พันธ์ กับคุณภาพชีวิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่อย่างไรก็ตามผลการวิจัยนี้ก็แตกต่างกบั การศึกษา ของกิตติพัฒน์ ทาวงศ์ษา, ประดิษฐ์ศรี โนนยาง, พลภัทร อภัยโส, บรรจบ โชติชัย และวันชัย สาริยา (2561) ซึ่งศึกษา ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวติ ของนกั ศึกษาในมหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้าน ช้าง พบว่าการสนับสนุนด้านการเรียนของผูป้ กครอง ได้แก่ การให้ค่าใช้จ่ายอยา่ งสม่ำเสมอเปน็ รายเดือน ให้ ค่าใช้จ่ายด้านการเรียนอย่างเต็มที่ ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหนังสือตำราเรียน อุปกรณ์การศึกษารวมถึงชุด และ เครื่องแต่งกายตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด มีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตของนักศึกษา อย่างมี นัยสำคญั ทางสถติ ิท่รี ะดับ .01 และจากการศึกษาของสุภาพ ฉัตราภรณ์ ,ชพี สุมน รงั สยาธร ,อภิญญา หริ ัญวงษ์ และนฤมล ศราพันธุ์ (2552) ซึ่งศึกษาคุณภาพชีวิตของนิสิต นักศึกษามหาวิทยาลัยที่ทำงานระหว่างเรียน พบว่าค่าใช้จา่ ยต่อเดือน มีความสัมพันธเ์ ชงิ บวกกับคุณภาพชีวติ ในระดับต่ำ อย่างมีนยั สำคัญทางสถิติที่ระดบั .01 ทั้งนีเ้ นื่องจากการศึกษาในครั้งนี้รายไดข้ องนสิ ิตส่วนใหญ่อยู่ในช่วงระหว่าง 4,500-5,999 บาท (ร้อย ละ 25.4 ) ซ่งึ ปริมาณเงนิ รายได้ที่ได้รับนี้ นสิ ติ อาจจะไมม่ คี วามจำเปน็ ต้องใช้มากนัก เน่อื งจากสถานการณ์การ ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 การเรียนการสอนส่วนใหญ่ในมหาวิทยาลัยนเรศวรเป็นแบบออนไลน์ เพื่อ ควบคุมการระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ทำให้นิสิตไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งมรี ายจ่ายสำหรับการซื้อหนังสือหรือตำรา เรียนมากนัก ประกอบกบั ในช่วงที่มกี ารระบาดของไวรสั โคโรนา 2019 ทางมหาวิทยาลัย ได้มีการประกาศงด การเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย (อ้างองิ ประกาศมหาวิทยาลัยนเรศวร, 2563) นสิ ิตบางสว่ นมีการกลับบ้าน และใช้ชวี ติ ร่วมกับครอบครวั ซึ่งรายได้ต่อเดอื นอาจไม่มีความจำเปน็ สำหรับนิสิตมากนัก เนื่องการที่ได้อยู่บ้าน และสิง่ แวดล้อมทมี่ ีการสนับสนนุ เปน็ อย่างดี ดังจะเห็นได้จากผลการวิจัยด้านสมั พนั ธภาพทางสังคมมีค่าเฉล่ีย มากสุด ( = 11.95 , SD = 1.99) อาจจะเป็นตวั แปรท่ีมีความสัมพนั ธม์ ากกวา่ รายได้ตอ่ เดอื น ผลการวิจัยสามารถถกู อธิบายภายใต้กรอบแนวคิดทฤษฎีการเปลี่ยนผ่าน Meleis, อ้างอิงใน ภทั รมนัส มณีจิระปราการ (2560) ได้เสนอเงื่อนไขของการเปลี่ยนผ่าน (transition conditions) ประกอบด้วยเงื่อนไข ด้านบุคคล ชุมชน และสังคมที่เอื้ออำนวยหรือยับยั้งการเปลี่ยนผ่านที่เกิดขึ้นหรือกำลังเกิดขึ้นนั้น ให้เปลี่ยน ผ่านไปได้โดยง่าย หรือมีความยากลำบาก โดยเงื่อนไขด้านบคุ คลประกอบด้วยการให้ความหมาย วัฒนธรรม ความเชือ่ และทัศนคติ สถานะเศรษฐกจิ ทางสงั คม และการเตรยี มตวั และความรู้ ปจั จยั เง่ือนไขดังกล่าวไม่ได้ถูก ทำการศึกษาในวิจยั นี้ ซงึ่ ปจั จยั น้นั ๆอาจจะมผี ลเชื่อมโยงกบั คณุ ภาพชีวิตได้ 7. ความสัมพนั ธร์ ะหว่างผลสัมฤทธิด์ ้านการเรียนกบั คุณภาพชีวิต ไมม่ ีความสมั พนั ธก์ ันไม่เป็นไปตาม สมมุติฐานที่กำหนดไว้ สอดคล้องกับการศึกษาของ จันทรา อุ้ยเอ้ง (2558) ศึกษาเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตของ นักศึกษาคณะวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยีการประมง มหาวทิ ยาลยั ราชมงคลศรีวชิ ยั วิทยาลัยตรัง พบว่าผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนไม่สมั พันธ์กับคุณภาพชวี ิตทนี่ ัยสำคัญ .05 และสอดคล้องกับการศกึ ษาของกิตติพัฒน์ ทาวงศ์ษา (2561) ศกึ ษาปัจจัยทม่ี ีผลต่อคณุ ภาพชวี ิตของนกั ศกึ ษาในมหาวิทยาลัยมหามกฎุ ราชวิทยาลยั วิทยาเขตศรลี ้าน ช้าง พบว่า ระดับผลการเรียนไม่มคี วามสัมพนั ธ์และไม่มผี ลต่อคุณภาพชีวติ ของนักศึกษาในมหาวิทยาลยั มหา มกฎุ ราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตศรีลา้ นช้าง ทนี่ ยั สำคัญ .05 ท้งั นี้เนอื่ งจากการศึกษาในครั้งนีผ้ ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของนสิ ิตส่วนใหญอ่ ยใู่ นชว่ ง 3.50-4.00 (ร้อย ละ 43.8) ซึ่งไม่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิต เป็นช่วงการระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 ทำให้มีการ จดั ระบบการเรียนทเี่ ปล่ียนแปลงไป เช่น การเรียนโดยใช้ระบบออนไลน์ หรือตอ้ งงดการขน้ึ ฝึกปฏิบัติในช้ันปีท่ี 3-4 ดังนั้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจึงอาจจะไม่เป็นตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตมากนัก ในช่วงที่มีการ ระบาดของโรคไวรสั โคโรนา 2019 ทำใหน้ สิ ิตพยาบาลมกี ารกลับบ้านและเรียนผา่ นทางออนไลน์ ณ ท่อี ยู่อาศัย
39 ของนิสติ ทำใหไ้ ด้เรียนในสิง่ แวดลอ้ มที่ไม่เอือ้ อำนวยเหมือนในอยู่ในมหาวทิ ยาลัย ดังจะเหน็ ได้จากผลการวิจัย ด้านสิง่ แวดล้อมมคี ่าเฉลี่ยปานกลาง ( = 28.96, SD = 4.67) ดงั นน้ั ปจั จัยด้านสง่ิ แวดล้อมอาจจะเป็นตัวแปร ที่มีความสมั พันธ์มากกว่าผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น ผลการวิจัยสามารถถูกอธิบายภายใต้กรอบแนวคิดทฤษฎีการเปลี่ยนผ่าน Meleis กล่าวว่า เงื่อนไข ของการเปล่ยี นผ่าน (transition conditions) ประกอบด้วยเงอ่ื นไขด้านบุคคล ชมุ ชน และสังคมทเี่ อ้ืออำนวย หรือยับยั้งการเปลี่ยนผ่านที่กำลังจะเกิดขึ้นนั้นให้ผ่านไปได้โดยง่ายหรือมีความยากลำบาก ซึ่งผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนไม่พบในเงื่อนไขของการเปลี่ยนผ่าน จึงไม่ส่งผลให้เกิดรูปแบบการตอบสนอง (pattern of response) ในทนี่ ้ีคอื การมีคุณภาพชวี ิตท่ีดขี ้นึ ได้ ขอ้ เสนอแนะในการนำผลวิจัยไปใช้ 1. จากผลการวิจยั พบว่าความเครียดของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2563 โดยภาพรวมมคี า่ เฉลีย่ อยใู่ นระดับสูง ผบู้ รหิ ารควรประยกุ ตใ์ ชท้ ฤษฎีเปลี่ยนผ่าน มโนทัศน์ท่ี 4 การบำบดั โดยการพยาบาล โดยการประเมินความพร้อมของบุคคลในการเปลีย่ นผ่าน (assessment of readiness) ให้ นิสิตทำแบบประเมินความเครียด SPST-20 ทุก 6 เดือน เพื่อตรวจคัดกรองและใหค้ ำปรึกษา การเตรียมเพ่ือ การเปลย่ี นผา่ นเข้าสู่สภาวะใหม่ (preparation for transition) ท้ังทางรปู แบบปกติและระบบออนไลน์ ได้แก่ จัดโครงสร้างงานบริการสุขภาพให้คำปรึกษาแก่นิสิตสามารถเข้าถึงบริการได้ จัดสื่อเพื่อช่วยผ่อนคลาย ความเครยี ด จดั อบรมผู้ปกครองในการสงั เกตและการให้คำปรึกษาเม่อื นิสิตมีความเครียด รวมถึงสถานที่ เช่น พนื้ ทสี่ ีเขยี ว การจดั มุมพกั ผอ่ นใหม้ ากขึน้ บทบาทเสรมิ (role supplementation) 2. จากผลการวิจยั พบว่าคุณภาพชีวิตของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2563 โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง ควรส่งเสริมคุณภาพชวี ิตให้ดีขึ้น โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ด้าน จิตใจ ดังนั้น จึงควรมีการประเมินคุณภาพชีวิตโดยเฉพาะคุณภาพชีวิตด้านจิตใจ แบบวัดคุณภาพชีวิตของ องค์การอนามัยโลกชุดย่อ ฉบับภาษาไทย (WHOQOL-BREF- Thai) ทุก 6 เดือน ซึ่งเป็นการประเมินความ พร้อมและติดตามการเปลี่ยนผ่าน (assessment of readiness) ของนิสิต ในส่วนของการเตรียมนิสิตสู่การ เปลี่ยนผ่านเข้าสู่สภาวะใหม่ (preparation for transition) ควรมีจัดเตรียมกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการ รับมือกับการเปลี่ยนแปลงจากสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 กิจกรรมที่ควรจัดให้นิสิตมี จติ ใจท่ีดี เชน่ กจิ กรรมแลกเปลยี่ นความคิดเห็นเกยี่ วกับการดำรงชีวิต การเรียน และความเครียด เพ่ือให้นิสิต คณะพยาบาลศาสตร์มีความพร้อมกับการเปลี่ยนผ่าน นอกจากนี้ควรมีการสร้างบทบาทเสริม (role supplementation) อาจารย์ที่ปรึกษาคอยสงั เกตนิสิตเกี่ยวกับความเครียด การปรบั ตัว และการเรียนและให้ ความชว่ ยเหลือเมือ่ นสิ ิตตอ้ งการ ขอ้ เสนอแนะในการวจิ ยั ครงั้ ต่อไป 1.จากการศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของนิ สิตคณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรในช่วงที่มีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พบว่าความสัมพันธ์ ระหวา่ งความเครียดกับคุณภาพชีวิตมที ิศทางลบในระดับปานกลาง ดงั นนั้ ควรศกึ ษาตวั แปลอน่ื ๆ ควรศึกษาตัว แปรอื่นๆ ที่อยู่ในเงื่อนไขของการเปลี่ยนผ่าน เช่น การเตรียมตัวและความรู้ (preparation & knowledge) การได้รับการสนับสนุนจากครอบครัวและชุมชน เพื่อนำผลวิจัยมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของนสิ ิตคณะ พยาบาลศาสตร์ และสามารถนำวิจัยมาพฒั นางานตอ่ ไป
40 ขอ้ จำกดั จากการศึกษาวจิ ัยในครงั้ น้ไี ดใ้ ช้วิธกี ารเลือกกลมุ่ ตัวอยา่ งแบบไมใ่ ช้ความน่าจะเป็น (Non-Probability Sampling) ซึง่ อาจทำให้เกดิ ความคลาดเคลอ่ื นของข้อมลู ได้ ดงั นัน้ ในการศึกษาคร้ังต่อไปควรเลือกใช้การเลือก กลมุ่ ตวั อยา่ งแบบใชค้ วามนา่ จะเปน็ (Probability Sampling)
41 บรรณานุกรม กนกพร นทีธนสมบัติ. (2255). ทฤษฎกี ารเปลีย่ นผา่ น : กรณีศึกษาสตรตี ัง้ ครรภป์ กติ. วารสารวิทยาลัย พยาบาลบรมราชชนนี อุตรดติ ถ,์ 16(31), 103-116. สบื คน้ 31 กรกฎาคม 2563, จาก http://journal.hcu.ac.th/pdffile/jn1631/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%97%E0%B 8%B 5%E0%B9%88%208.pdf กมลรตั น์ ทองสวา่ ง. (2560). คุณภาพชีวิตของนกั ศกึ ษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏ ชัยภมู ิ. วารสารสาระคาม, 8(2),4-5 . สบื คน้ 9 กรกฎาคม 2563, จาก http://research.msu. 8NMHyWNZBGfamt2 x4Zt7ffC3HN7RaqbrD CrlhqynR1sDt1Fw กิตติพฒั น์ ทาวงศ์ษา. (2562). ปัจจัยทมี่ ีผลตอ่ คุณภาพชีวิตของนกั ศึกษาในมหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราช วิทยาลยั วิทยาเขตศรลี า้ นช้าง. วารสารบัณฑิต, 16(74), 141-153. สืบค้น 29 มถิ นุ ายน 2563 ,จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/SNGSJ/article/view/112769/151694 กิตตพิ ฒั น์ ทาวงศษ์ า, ประดิษฐ์ ศรีโนนยาง, พลภทั ร อภัยโส, บรรจบ โชติชยั และวันชัย สาริยา. (2561). ปจั จัยที่มีผลตอ่ คณุ ภาพชวี ิตของนักศกึ ษาในมหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตศรีลา้ น ช้าง. วารสารศกึ ษาศาสตร์ มมร, 6(1), 545-565. สบื ค้นเม่ือ 14 มิถุนายน 2563, จาก http://ojs.mbu.ac.th/index.php/edj/article/view/353 กฤตธัช อนั ชืน่ . (2557). คณุ ภาพชีวิตของนักศึกษามหาวิทยาลยั เทคโนโลยีสุรนารี. สืบค้น 14 มถิ นุ ายน 2563, จาก http://sutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/5043/2/Fulltext.pdf กรรณิการ์ ทรัพยส์ มบรู ณ์. (2560). การเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นวรรณคดีเรอ่ื งรามเกียรต์ิ ตอน นารายณ์ปราบนนทกของนักเรยี นระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ระหวา่ งการเรียนด้วยวธิ กี ารสอนแบบ รว่ มมอื เทคนิคจ๊กิ ซอว์กับวธิ ีการสอนแบบปกติ. (วิทยานพิ นธป์ ริญญามหาบัณฑิต) .กรงุ เทพมหานคร. มหาวิทยาลยั รามคำเเหง. สบื ค้น 10 กรกฎาคม 2563, จาก http://www.edujournal.ru.ac.th/AbstractPdf/2561-4-1_1527742857_5912610019.pdf กรมการแพทย์. (2563). แนวทางเวชปฏบิ ัติ การวินิจฉยั ดูแลรักษา และป้องกนั การตดิ เชอ้ื ในโรงพยาบาล กรณโี รคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)ฉบบั ปรับปรงุ 8 เมษายน 2563. สบื ค้น 9 กรกฎาคม 2563, จาก https://www.mhesi.go.th/home/index.php/pr/all- media/55-covid- 19/covid-km/1429-2019-covid-19-8-2563?fbclid=IwAR1yXjy6Am_I6xtyu6O3sDviq FZg0g73T-FbsfKf9o3_s46N28F8h44r4bI กรมควบคุมโรค. (2563). โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19). สืบค้น 9 กรกฎาคม 2563, จาก https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/faq_more.php กรมตรวจบัญชสี หกรณ์. (2554). รายได้. สืบค้น 10 กรกฎาคม 2563, จาก https://www.cad.go.th/cadweb_client/ewt_news.php?nid=2469&filename=index กรมสุขภาพจิต. (2559). เครอ่ื งช้วี ัดคุณภาพชวี ิตขององคก์ ารอนามยั โลกชดุ ย่อ ฉบบั ภาษาไทย (WHOQOL– BREF THAI). สืบค้น 28 กรกฎาคม 2563, จาก https://www.dmh.go.th/test/whoqol/ กรมสขุ ภาพจิต. (2559). แบบประเมินความเครยี ด (ST-5). สืบคน้ 14 สงิ หาคม 2563, จาก https://www.dmh.go.th/test/qtest5/?fbclid=IwAR0wDTwcYPANe2QbBAOHDEx_37Zd3J L1iyTwrzkXXpwr4PezOGcMrHdoDzA กรมสุขภาพจิต. (2563). เด็กไทยเครยี ดผลกระทบโควิด-19. สืบค้น 28 กรกฎาคม 2563, จาก https://www.dmh.go.th/news-dmh/view.asp?id=30307
42 กอบหทยั สิทธริ ณฤทธิ์, นนทภรณ์ รักศลิ ธรรม,กมลเนตร วรรณเสวกและสุชรี า ภัทรายุตวรรตน์. (2561). ความเครียดในการทำงาน กลวธิ ีการเผชิญปญั หาความเครียดและคณุ ภาพชีวิตการ ทำงานของ บคุ ลากรในโรงพยาบาลทวั่ ไป. วารสารการศนู ย์การศึกษาแพทยศาสตร์คลินคิ โรงพยาบาล พระปกเกล้า, 35(2), 163-176. สบื คน้ เมอ่ื 14 มิถุนายน 2563, จาก file:///C:/Users/NITRO/Downloads/104805-Article%20Text-343701-1-10-20180625.pdf เกยี รตภิ มู ิ วงศ์รจิต. (2563). เปิดแนวทางการฟน้ื ฟจู ิตใจในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ชีก้ ารดำเนนิ งานเชงิ รกุ ดา้ นสขุ ภาพจิตจะเปน็ หนึ่งในกุญแจสำคัญ หลังจากน้ี. สบื คน้ 28 กรกฎาคม 2563, จาก https://www.dmh.go.th/covid19/news2 /view.asp?id=17 จุฑาทิพย์ ตาสุสี. (2561). ปัจจัยที่มีความสมั พนั ธ์กับคุณภาพชีวิตของผปู้ ว่ ยมะเร็งปากมดลกู ในจงั หวัด กำแพงเพชร. พิษณุโลก: มหาวทิ ยาลัยนเรศวร จุฬารตั น์ คนเพยี ร. (2558). คุณภาพชีวติ ประชาชนในเขตพ้นื ทีอ่ งค์การบรหิ ารส่วนตำบลสองคลอง อำเภอบาง ปะกง จังหวดั ฉะเชิงเทรา (ปรญิ ญามหาบญั ฑติ หลักสูตรรฐั ประศาสนศาสตร์ สาขาบริหารท่วั ไป). มหาวิทยาลยั บูรพา. สืบคน้ 8 กรกฎาคม 2563, จาก http://www2.gspa.buu.ac.th/library/is/mpa56/56930050.pdf จนั ทรา อุย้ เอ้ง. (2553). คุณภาพชวี ติ ของนกั ศึกษาคณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีการประมง มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรวี ิชยั วิทยาเขตตรงั . วารสารวิชาการและวิจยั มทร.พระนคร ฉบับ พเิ ศษ การประชมุ วชิ าการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งท่ี 5, 5(พเิ ศษ), 141-148. สืบคน้ 25 มิถนุ ายน 2563, จากfile:///C:/Users/User/Desktop/%E0%B8%9B%E0%B8% B52%20%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%A2/httpohrs.nr ct.go.thE-learningLesson%23/IRD_58_152.pdf จูลี เอ ฮารด. (2558).การทำความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงเพือ่ ส่งเสรมิ ความสำเรจ็ ของนักเรยี น: การ วิเคราะหแ์ นวคิด. วารสารพยาบาลไวล่ี เพอรอดิคอล การประชุมวิชาการพยาบาล, 51(1), 180- 185. สบื คน้ 29 สิงหาคม 2563, จาก https://onlinelibrary.wiley.com/doi/pdf/10.1111/nuf. 12136 ชอ่ ทิพย์ จนั ทรา. (2561). ความเครียด ภาวะซมึ เศรา้ และวธิ จี ัดการความเครยี ดของนกั ศกึ ษาชั้นปที ี่ 1. หลักสตู ร สาธารณสุขศาสตรบณั ฑิต วิทยาลยั การสาธารณสขุ สิรินธร จงั หวดั พิษณุโลก. วารสารการ ประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 10, 10(1),1,492-1,504. สืบค้น 17 กันยายน 2563, จากhttp://www.hu.ac.th/conference/conference2019/proceedings2019 /FullText/02%20-%20ระดับชาติ%20-%20ภาคโปสเตอร์/G9-He/1-009He-NP(ชอ่ ทพิ ย์%20%2 0จันทรา)%201492-1504.pdf ธนติ า ชรี้ ตั น์.(2554). ปจั จัยทม่ี ีผลตอ่ คณุ ภาพชีวติ ของนสิ ิตมหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ องครกั ษ์. (วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญามหาบณั ฑิต). ปทุมธานี. มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี. สบื คน้ 14 มิถนุ ายน 2563 ,จากhttp://www.repository.rmutt.ac.th/bitstream/handle/123456789 /845/124379.pdf?sequence=1
43 นกพร นทธี นสมบตั ิ. (2555). ทฤษฎีการเปล่ียนผา่ น : กรณศี ึกษาสตรีตงั้ ครรภ์ปกติ. วารสารมหาวิทยาลยั หวั เฉียวเฉลิมพระเกียรติวิชาการ, 16(31), 103-116. สืบคน้ 10 กรกฎาคม 2563 , จาก http://journal.hcu.ac.th/pdffile/jn1631/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8% 97%E0%B8%B5%E0%B9%88%208.pdf นยิ ม เลก็ ชผู ล. (2556). ประสบการณก์ ารเปลีย่ นผา่ นส่กู ารเป็นผู้สูงอายุในชนบททีม่ คี ุณภาพชีวิตดี จังหวัด พิจติ ร. พษิ ณุโลก: มหาวทิ ยาลยั นเรศวร. บญุ มี ภดู า่ นงวั . (2556). ทฤษฎกี ารเปลย่ี นผ่าน : การประยกุ ต์ใช้ในการพยาบาลครอบครัว. วารสารสภาการ พยาบาล, 28(4), 107-120. สืบคน้ 31 กรกฎาคม 2563, จาก https://he02.tci-thaijo.org /index.php/TJONC/article/view/1701 ภทั รพล มหาขันธ์. (2550). การศึกษาคุณภาพชีวิตนกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัย ศิลปากร. (ปรญิ ญานิพนธ์ปรญิ ญาดษุ ฎีบัณฑิต). นครปฐม. มหาวทิ ยาลัยศิลปากร. สืบค้น 9 กรกฎาคม 2563,จาก http://www.educ.su.ac.th/2013/images/stories/100755 _06.pdf?fbclid=IwAR0i1WhFADplDAxIaJK0NMbn1Z8TEUWyHixoWpmifd-FslpMDKD dbsTv5UE ภัทรมนสั มณีจิระปราการ. (2560). ทฤษฎกี ารเปลีย่ นผา่ นการประยุกต์ใช้ในการบรหิ ารทางการพยาบาล. วารสารการพยาบาลและสขุ ภาพ, 11(2),52-60. สบื ค้น 10 กรกฎาคม 2563 ,จาก http://www.nurse.nu.ac.th/Journal/data/Vol.11%20No.2S/006.pdf มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช. (2554). (พมิ พค์ ร้งั ที่ 10). สถติ ิและการวจิ ยั สำหรับวทิ ยาศาตรส์ ขุ ภาพ หนว่ ยท่ี 8-15. นนทบรุ ี: สำนักพิมพ์มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช. ยงยุทธ แฉล้มวงษ์ และเกศินี ธารสี งั ข.์ (2563). ผลกระทบ โควิด-19 ต่อตลาดแรงงานไทย: ข้อมลู เชงิ ประจกั ษ์. สืบคน้ 9 กรกฎาคม 2563, จาก https://tdri.or.th/2020/06/covid-19-labour- market-impact-in-thailand/?fbclid=IwAR2m3JCojIgKiDLXf1E3RbG4zNVurqprx JD6VX05Nr6YH3I0GV9ko6LjqEQ วินิทรา นวลละออง. (2555). ปัจจัยท่ีสัมพนั ธ์กบั คุณภาพชวี ิตของนักศึกษาแพทย์ชน้ั ปีท่ี 1. วารสาร สมาคม จิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 57(2), 225-234. สบื ค้น 14 มถิ นุ ายน 2563, จาก http://www.psychiatry.or.th/JOURNAL/57-2/09-Winitra.pdf วัฒนยี ์ เย็นจติ ร, พชั รนิ ทร์ พลอยสทิ ธ์ิ, โทน แห้วเพชรและเอกชัย โภไคยศสวรรค์. (2559). ความสัมพันธ์ ระหวา่ งความเครยี ด คุณภาพชีวิต คา่ ใชจ้ า่ ย กับผลการศึกษาของนักศกึ ษาทัศนมาตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยรังสิต.วารสารวิชาการสาธารณสขุ . 25(3),478-486. สืบคน้ 14 มิถุนายน 2563, จาก https://rsucon.rsu.ac.th/files/proceedings/nation2015/G6-01.pdf วิสญั อ่างเฮา้ . (2551). คุณภาพชีวติ ของนิสิตทอี่ ยู่หอพักในจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . (ปรญิ ญานิพนธ์ ปรญิ ญา มหาบัณฑติ ). กรุงเทพฯ. จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. สืบคน้ 8 กรกฎาคม 2563, จาก http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58629 วปิ ณา จนั ทรว์ ัฒนเดชากุล.(2556). การเปลยี่ นผา่ นในระบบการศึกษาจากระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายสู่ ระดบั อุดมศกึ ษา สาํ หรับนักศกึ ษาท่มี ีความบกพรอ่ งทางการเหน็ ในประเทศไทย(ปริญญานพิ นธ์ ปรญิ ญามหาบณั ฑิต). กรงุ เทพฯ. มหาวิทยาลยั มหิดล. สืบค้น 8 กรกฎาคม 2563, จาก file:///C:/Users/Acer/Downloads/Fulltext%231_165205.pdf
44 วิลาวลั ย์ วรี ะอาชากุล และวิบูลย์ วรี ะอาชากุล. (2561). ปจั จยั ทีส่ ัมพันธ์กับความเครียดในนักศกึ ษาทนั ต แพทย์ ชนั้ ปที ี่ 4-6 คณะทนั ตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ . วารสารสมาคมประสาท วทิ ยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื , 13(3). สืบคน้ 26 มิถุนายน 2563, จาก https://neurosci.kku.ac.th/wp-content/uploads/2018/12/Original-Article.pdf สุพรรณกิ าร์ มาศยคง. (2554). คุณภาพชวี ติ ในโรงเรียนของนกั เรียนมัธยมศกึ ษาตอนปลายใน กรุงเทพมหานคร (ปริญญานิพนธป์ รญิ ญามหาบัณฑิต).กรงุ เทพฯ. สถาบันบณั ฑติ พฒั นบรหิ าร ศาสตร์. สืบคน้ 14 มิถนุ ายน 2563, จากhttp://libdcms.nida.ac.th/ สภุ าพ ฉตั ราภรณ์,ชพี สุมน รงั สยาธร, อภิญญา หิรญั วงษ์ และนฤมล ศราพันธุ์. (2552). คุณภาพชีวติ ของนิสิต นกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลยั ทท่ี ำงานระหว่างเรียน. (ปรญิ ญานพิ นธป์ รญิ ญามหาบณั ฑิต). กรุงเทพฯ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สืบค้น 14 มิถนุ ายน 2563 ,จากfile:///C:/Users/User/Downloads /EDU030005-1.pdf สมประวณิ มันประเสรฐิ . (2563). ผลกระทบของโรคระบาดโควิด-19 ตอ่ เศรษฐกิจไทย. สืบค้น 9 กรกฎาคม 2563, จาก https://www.krungsri.com/bank/th/plearn-plearn/economic-covid- impact.html สมิตานนั หยงสตาร์. (2563). โควดิ -19 : เลื่อนเปิดเทอม นักเรียน-ครู-กระทรวงศึกษาฯรบั มอื อย่างไร. สบื ค้น 9 กรกฎาคม 2563, จาก https://www.bbc.com/thai/thailand-52471757 ?fbclid=IwAR25W3NcmSgnBWQcsIbFX9hA0eTF5EAQif7ZGSeLlI5cWqvuzu8WwBMV1l8 สทุ ธิรกั ษ์ ไชยรักษ์. (2556). ปัญหาการปรบั ตวั ของนกั ศึกษาช้ันปีที่ 1 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. (ปรญิ ญานพิ นธป์ รญิ ญามหาบัณฑิต). นครราชสมี า. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี. สบื ค้น 27 มิถนุ ายน 2563,จากhttp://sutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/6017 /2/Fulltext.pdf อรทัย บญุ ชวู งศ์, จงจติ เสน่หา, วันเพญ็ ภญิ โญภาสกลุ และยงชัย นลิ ะนนท์. (2560). ปจั จยั ทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ ความพรอ้ มของผู้ดูแลผู้ปว่ ยโรคหลอดเลือดสมองกอ่ นจำหนา่ ยออกจากโรงพยาบาล, วารสารพยาบาล ศาสตร์, 35(3), 46-57. สบื คน้ 31 กรกฎาคม 2563 จาก https://he02.tcithaijo.org/index.php /ns/article/view/116093/89453 อนันตศ์ รี สมิทธน์ิ ราเศรษฐ์ และศภุ ามณ จนั ทร์สกุล. (2561). การศึกษาคุณภาพชีวติ ของนักศึกษา พยาบาลมหาวิทยาลยั อีสเทริ ์นเอเชยี . วารสารมหาวทิ ยาลยั คริสเตยี น, 24(4), 571. สืบค้น 9 กรกฎาคม 2563,จากhttps://he01.tcithaijo.org/index.php/CUTJ/article/view/1 71095/122939 อมร ลลี ารศั มี. (2563). ความรู้ของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา่ สายพันธุ์ใหม่ สำหรบั แพทย์. สืบคน้ 28 กรกฎาคม 2563, จาก https://tmc.or.th/pdf/tmc_knowlege-26.pdf อาภา หวังสขุ ไพศาล. ( 2562). ประสบการณก์ ารเปล่ยี นผา่ นของนกั ศึกษาพยาบาลท่ฝี ึกปฏบิ ัตงิ านคร้งั แรกใน หอผ้ปู ่วย. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา, 27(3), 32-42. สืบคน้ 10 กรกฎาคม 2563, จาก https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jnatned/article/view/30591/26401 Kumaran S, Carney M. Role transition from student nurse to staff nurse: facilitating the transition period. Nurse Educ Pract. 14(6), 605-11. doi: 10.1016/j.nepr.2014.06.002
45 World Health Organization. (2020). Q&A on coronaviruses (COVID-19). Retrieved July, 9 2020, from https://www.who.int/emergencies/diseases/novel-coronavirus-2019/question- and-answers-hub/q-a-detail/q-a-coronaviruses#:~:text=symptoms World Health Organization. (2020). Coronavirus disease (COVID-19) questions and answers. Retrieved June, 14 2020, from https://www.who.int/thailand/emergencies/novel- coronavirus-2019/q-a-on-covid-19
Search
Read the Text Version
- 1 - 50
Pages: