44 ตอนท่ี 3 เปรยี บเทียบพฤตกิ รรมการดแู ลผูร้ บั บรกิ ารอยางเอ้อื อาทรของนสิ ติ พยาบาล มหาวทิ ยาลัยนเรศวรชนั้ ปที่ 3 และชน้ั ปที ี่ 4 ตารางท่ี 3 เปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย างเอ้ืออาทรของนิสิตพยาบาล มหาวิทยาลยั นเรศวรชัน้ ปที่ 3 และชนั้ ปีที่ 4 พฤตกิ รรมการดแู ลผรู้ ับบริการอย่างเอ้ืออาทร ช้นั ปที ี่ 3 ชัน้ ปที ี่ 4 (N = 74) (N = 72) t/z p Mean S.D Mean S.D ด้านที่ 1 การปฏิบัตดิ ว้ ยความรกั และความเมตตาต่อ 2.76 0.26 2.79 0.26 -1.050 .294* เพอ่ื นมนษุ ย์ ดา้ นท่ี 2 การสร้างความศรัทธาและความหวงั ทีเ่ ป็นไป 2.30 0.42 2.41 0.42 -1.569 .119 ได้ ดา้ นที่ 3 การรู้จักความรู้สกึ ของตนเองและไวตอ่ 2.50 0.39 2.56 0.43 -.1217 .224* ความรสู้ กึ ของผอู้ น่ื ด้านท่ี 4 การสรา้ งและรกั ษาสัมพนั ธภาพในการ 2.75 0.28 2.76 0.32 -0.755 .450* ช่วยเหลือแบบไว้วางใจและจริงใจ ด้านท่ี 5 การยอมรับการแสดงออกด้านบวกและดา้ น 2.71 0.38 2.71 0.39 -0.132 .895* ลบ ดา้ นท่ี 6 การนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ใน 2.28 0.43 2.46 0.42 -2.577 .011 การแก้ไขปัญหาและตัดสนิ ใจอยา่ งเป็นระบบ ด้านท่ี 7 การสร้างสัมพนั ธภาพระหว่างบุคคล 2.63 0.39 2.64 0.41 -0.554 .579* ดา้ นที่ 8 การเตรยี มการสนบั สนนุ ปกปอ้ ง หรือแก้ไข 2.53 0.38 2.62 0.40 -1.644 .100* ภาวะทางกาย จิตสังคม และจิตวิญญาณ ดา้ นท่ี 9 การชว่ ยให้ไดร้ ับการตอบสนองความ 2.51 0.48 2.69 0.39 -2.537 .011* ตอ้ งการ ดา้ นที่ 10 การชว่ ยให้ยอมรับสิ่งทเี่ กิดขนึ้ และดงึ พลงั ท่ี 2.30 0.56 2.54 0.51 -3.001 .003* มีอยู่ออกมาใช้ได้ โดยรวม 2.53 0.30 2.62 0.30 1.718 .025* *ทดสอบโดยใชส้ ถิติ Mann-Whitney Test จากตารางที่ 3 พบว่า พฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอ้ืออาทรของนิสิตพยาบาล ช้ันปีท่ี 3 และชั้นปีท่ี 4 โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่รี ะดับ 0.05 และพฤติกรรมราย ด้านที่แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ ได้แก่ ดา้ นที่ 6 การนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ ในการแก้ไขปัญหาและตัดสินใจอย่างเป็นระบบ (p = .05) ด้านที่ 9 การช่วยให้ได้รับการตอบสนอง
45 ความต้องการ (p = .05) และด้านท่ี 10 การช่วยให้ยอมรับสิ่งที่เกิดข้ึนและดึงพลังที่มีอยู่ออกมาใช้ได้ (p = .01)
46 บทท่ี 5 บทสรุป การวจิ ยั ครงั้ นี้เป็นการศกึ ษาเชิงพรรณนา (Description Research) มีวัตถุประสงคเ์ พื่อศึกษา และเปรยี บเทยี บพฤติกรรมการดแู ลผรู้ ับบรกิ ารอยา่ งเอื้ออาทรของนิสิตพยาบาล มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ประชากรท่ใี ช้ในการศึกษา คือ นิสิตพยาบาล มหาวิทยาลัยนเรศวร ชัน้ ปที ี่ 3 และช้ันปที ี่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2562 หลักสตู รพยาบาลศาสตรบณั ฑิต จานวน 230 คน โดยแบ่งเปน็ ชั้นปีที่ 3 จานวน 117 คน และชั้นปีท่ี 4 จานวน 113 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นสิ ิตพยาบาล มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ช้ันปีที่ 3 จานวน 74 คน และช้นั ปีที่ 4 จานวน 72 คน รวมทั้งส้ิน 146 คน ได้มาจากการสมุ่ ตัวอย่างโดยการสุ่มอยา่ งงา่ ย โดยจบั สลากแบบ ไมแ่ ทนที่ (Sampling without replacement) กาหนดขนาดตวั อย่างได้จากการคานวณโดยใช้วธิ ขี อง ทาโร่ ยามาเน่ (Yamane, 1970 อา้ งถึงใน บญุ ใจ ศรสี ถติ นรากูล, 2553) เครอ่ื งมือท่ใี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลครั้งนเี้ ป็นแบบสอบถาม มี 2 สว่ น ส่วนที่ 1 ขอ้ มูลทัว่ ไป ของผู้ตอบแบบสอบถาม เป็นแบบสอบถามให้เลือกตอบ ซึ่งมีท้ังหมด 8 ข้อ ส่วนที่ 2แบบสอบถาม พฤตกิ รรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอ้ืออาทรของนิสติ พยาบาล มหาวิทยาลยั นเรศวร ซึง่ ผู้วิจัยสร้างขึ้น ตามแนวคิดทฤษฎีการดูแลของวัตสัน (Watson, 1997 อ้างถึงใน จอนผะจง เพ็ดจาด, 2553) มี จานวน 55 ข้อ ลักษณะแบบสอบถามใช้แบบประเมินคา่ (Rating scale) 4 ระดับ โดยแบบสอบถามท่ี สร้างขึ้นนาไปตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน ได้ค่าความตรงเชิงเน้ือหา เท่ากับ 0.91 และทดสอบความเท่ียงของเคร่ืองมือสัมประสิทธ์ิแอลฟาของครอน. บาช (Cronbach Alpha Coefficient)โดยกลุ่มที่มีลักษณะใกล้เคียงกลุ่มตัวอย่าง ได้ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามท้ัง ฉบบั เท่ากบั 0.91 การเก็บรวบรวมข้อมูลผวู้ ิจัยใช้วิธีนดั พบกลุ่มตัวอยา่ งพร้อมแนะนาตัว ชี้แจงวัตถุประสงคแ์ ละ รายละเอียดในการเข้าร่วมโครงการวิจัย เม่ือกลุ่มตัวอย่างยินดีเข้าร่วมโครงการผู้วิจัยให้กลุ่มตัวอย่าง แสดงความยินยอมเข้าร่วมโครงการวิจัย โดยลงลายมือชื่อเป็นลายลักษณ์อักษรพร้อมท้ังแจก แบบสอบถาม และผู้วิจัยอธิบายวิธีการทาอย่างชัดเจน และให้เวลาในการตอบแบบสอบถามอย่าง อิสระ สถิติท่ีใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา สถิติ Independent t-test และ Mann- Whitney U test สรปุ ผลการวจิ ัย พฤติกรรมการดูแลผรู้ ับบรกิ ารอยา่ งเอ้ืออาทรของนิสิตพยาบาลอยใู่ นระดบั สงู (Mean = 2.57, SD = 0.39) โดยพฤติกรรมดา้ นท่ี 1 การปฎบิ ตั ิด้วยความรกั และความเมตตาตอ่ เพื่อน มนษุ ย์มคี ่าเฉล่ยี สงู สุด (Mean = 2.78, SD = 0.26) และด้านท่ี 2 การสรา้ งความศรทั ธาและความหวัง ทีเ่ ปน็ ไปได้มคี ่าเฉลยี่ ตา่ สุด (Mean = 2.36, SD = 0.42)
47 พฤติกรรมการดูแลผ้รู ับบริการอย่างเออื้ อาทรโดยรวมของนิสิตพยาบาล มหาวิทยาลยั นเรศวร ระหวา่ งชน้ั ปที ่ี 3 และ ชั้นปที ี่ 4 แตกตา่ งกนั อยา่ งมีนัยสาคัญที่ระดับ 0.05 โดยด้านทีแ่ ตกต่างกันอย่าง มีนยั สาคญั คือ ด้านท่ี 6 การนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการแก้ไขปัญหาและตัดสินใจ อยา่ งเป็นระบบ (p = .05) ดา้ นท่ี 9 การชว่ ยใหไ้ ด้รับการตอบสนองความต้องการ (p = .05) และด้าน ท่ี 10 การช่วยให้ยอมรับสิ่งเกิดขึ้นและดึงพลงั ทมี่ ีอยู่ออกมาใช้ได้ (p = .01) การอภปิ รายผลการวจิ ัย จากการศกึ ษาพฤติกรรมการดแู ลผรู้ บั บริการอย่างเอื้ออาทรของนสิ ติ พยาบาล มหาวทิ ยาลัย- นเรศวร ผูว้ จิ ัยนาเสนอการอภิปรายผลตามวัตถปุ ระสงค์และสมมตฐิ านการวจิ ัย ดังน้ี 1. พฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอื้ออาทรของนิสิตพยาบาล มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยรวมอยู่ในระดับสูง (Mean =2.57,SD =0.39) สอดคล้องกับทฤษฎีของวัตสันท่ีกล่าวว่า การดูแล เป็นกระบวนการปฏิสัมพันธ์บนพื้นฐานด้านมนุษยธรรมระหว่างบุคคล คือ ผู้ดูแลและผู้ได้รับการดูแล ในวิชาชีพพยาบาลการดูแลเกิดจากคุณธรรมและจริยธรรมทางการพยาบาลทถ่ี ูกพัฒนาข้ึนจากความรู้ ทกั ษะความเชี่ยวชาญแนวคิดการดูแลแบบองค์รวม ซ่ึงสามารถพัฒนาได้ โดยการหม่ันสารวจความคิด ความเชอื่ ของตนเอง มีความพงึ พอใจในการเป็นผู้ให้คณุ คา่ และศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ซ่ึงกนั และกัน มี ความเมตตาและเห็นแก่ประโยชน์ของผู้อื่น และคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร ได้จัด กิจกรรมการเรียนการสอน ท้ังในหลักสูตร และนอกหลักสูตรท่ีเอื้อต่อการพัฒนาพฤติกรรมของนิสิต ตามทฤษฎีดังกล่าวได้แก่ 1. รายวิชาท่ีจัดการเรียนการสอน ประกอบด้วย วิชาที่มีการบรรยายเน้ือหา โดยเน้นอธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจการพยาบาลอย่างเป็นองค์รวม ครอบคลุมกาย จิต อารมณ์ สังคมและ จิตวิญญาณ และการเตรียมความพร้อมท่ีจะดูแลผู้รับบริการอย่างความเอ้ืออาทร ส่วนรายวิชาปฏิบัติ จะมีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลมุ่ เพ่อื เปน็ การสรุปปญั หาของผู้รับบริการที่นิสิตพยาบาล แต่ละคนให้การดูแลและให้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาของผู้รับบริการ รวมถึงมีการแสดง ความรู้สึกหลังจากฝึกปฏิบัติเสร็จสิ้น ประกอบกับอาจารย์นิเทศประจากลุ่มก็จะมีการประเมิน คุณลักษณะทางวิชาชีพเป็นรายบุคคล และให้คาแนะนาเพิ่มเติม จึงช่วยให้นิสิตพยาบาลสามารถนา คาแนะนานั้นไปปรบั ใช้กับการดแู ลผู้รบั บริการอย่างเอ้ืออาทรต่อไป 2.กิจกรรมนอกหลกั สูตร ประกอบ ไปด้วย โครงการปฐมนิเทศนสิ ิตใหม่ (Beginning Camp) โครงการเปิดโลกกิจกรรม โครงการบายศรสี ู่- ขวัญนิสิตใหม่ โครงการไหวค้ รูมหาวทิ ยาลยั โครงการตักบาตรพระตอ้ นรับนิสติ ใหม่ โครงการรอ้ งเพลง มหาวทิ ยาลัยภาคภูมใิ จนเรศวร(Power cheer) ซ่ึงมีการทากิจกรรมกลมุ่ ร่วมกันกับเพอ่ื นนสิ ิตต่างคณะ เช่น การร่วมฝึกฝนร้องเพลงมาร์ชเป็นการฝึกสร้างสัมพันธภาพกับผู้อ่ืน การตักบาตรทาบุญร่วมกัน การร่วมกันทากิจกรรมแข่งกีฬา รวมถึงการจัดค่ายอาสาพัฒนาชุมชน เป็นการสร้างความรัก ความ สามัคคี การแบ่งปัน และยังเปน็ การแสดงออกถึงความรัก ความเอ้ืออาทรทั้งคณะอาจารย์ เพื่อน และ บุคลากรท่ีมีส่วนร่วม สอดคล้องกับการศึกษาของสินีนุช ศิริวงศ์ (2560) ได้ศึกษาเปรียบเทียบ พฤติกรรมการดูแลผู้ป่วยอย่างเอ้ืออาทรตามการรบั ูร้ของนักเรียนพยาบาลศาสตร์ชนั้ ป่ีที่ 3 และชั้นปีที่ 4 วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ พบว่า พฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอ้ืออาทรโดยรวมตามการ รับรขู้ องนักเรยี นพยาบาลศาสตรช์ ั้นปที ่ี 3 และช้นั ปที ี่ 4 อยใู่ นระดับสงู มาก
48 เมื่อพิจารณารายด้าน พบวา่ ทุกดา้ นอยู่ในระดบั สูง และดา้ นท่มี ีค่าเฉลย่ี สูงสุดคือ ด้านที่ 1 การ ปฏิบตั ดิ ้วยความรกั และความเมตตาต่อเพอ่ื นมนษุ ย์(Mean =2.78,SD =0.26) สอดคลอ้ งกับทฤษฎีของ วัตสัน(Watson,2008 อ้างถึงในจุฬาวิทยานุกรม,2554) ท่ีกล่าวว่าการปฏิบัติด้วยความรักและความ เมตตาต่อเพื่อนมนุษย์ เป็นปัจจัยประการแรกที่สาคัญที่สุดซึ่งเน้นการให้คุณค่าและศักด์ิศรีความเป็น มนุษย์แก่กันและกัน มีความเมตตาและเห็นแก่ประโยชน์ของผู้อื่น พยาบาลควรมีพฤติกรรมท่ีแสดงถึง ความเข้าใจและยอมรับผรู้ ับบรกิ าร โดยยอมรบั ความแตกต่างของบุคคล ค่านิยม ความเชือ่ วัฒนธรรม และปรัชญาชีวิต เคารพในความเป็นบุคคลของผู้รับบริการ ซงึ่ คณะพยาบาลศาสตร์ได้จดั การเรียนการ สอนที่ช่วยส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอื้ออาทร โดยสอดแทรกในการเรียนการสอน ท้ังในและนอกหลักสูตร ด้านในหลักสูตร ทางคณะจะจัดการเรียนการสอนของนิสิตพยาบาลชั้นปีท่ี 1 คือ จิตสาธารณะ โดยใหน้ ิสติ พยาบาลจดั ทาโครงการท่เี ป็นการสร้างประโยชน์ตอ่ สาธารณะ ซ่งึ แสดงให้ เห็นถึงความเมตตาและความเอ้ืออาทรของนิสิตพยาบาล ส่วนในภาครายวิชาปฏิบัตจิ ะประเมินได้จาก การข้นึ ฝกึ ปฏิบัติการพยาบาล โดยประเมนิ จากอาจารยน์ เิ ทศ ดา้ นนอกหลกั สูตรจะมีการจัดกจิ กรรมใน ส่วนของทางมหาวิทยาลัยท่ไี ด้จัดข้นึ เช่น พิธีไหว้ครู โครงการปฐมนิเทศนิสิตใหม่ (Beginning Camp) การจัดค่ายอาสาต่างๆ ซึ่งเป็นการบ่มเพาะให้นิสิตมีพฤติกรรมความเอื้ออาทร เป็นผลทาให้นิสิต พยาบาลมีการรับรู้พฤติกรรมท่ีแสดงถึงความเข้าใจ และเคารพในความเป็นบุคคลของผู้รับบริการ ส่งผลต่อการพยาบาลผู้รับบริการด้วยความสุภาพอ่อนโยน เม่ือผู้รับบริการขอความช่วยเหลือจะ ตอบสนองทันที และให้มีส่วนร่วมตัดสินใจในกิจกรรมต่างๆ โดยเข้าใจว่าเป็นเพื่อนมนุษย์คนหนึ่งท่ี ต้องการความช่วยเหลือ ความเมตตา และความรักอย่างมาก สอดคล้องกับการศึกษาของส่วน การศึกษาของพึงพิศ การงาม, รุ่งฤทัย บุญทศ และศศิวรรณ หอมแก้ว (2560) พบว่า พฤติกรรมการ ดูแลผู้ป่วยอย่างเอ้ืออาทรของนักศึกษาพยาบาลในรายด้านที่ 1 การปฏิบัติด้วยความรักและความ เมตตาต่อเพ่ือนมนุษย์อยู่ในระดับสูงที่สุด และด้านท่ีมีค่าเฉลี่ยต่าสุด คือด้านท่ี 6 การนากระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการแก้ไขปัญหาและตัดสินใจอย่างเป็นระบบ( Mean = 2.28, SD =0.43)ซ่ึง ทฤษฎีของวัตสัน(Watson,2008 อ้างถึงใน จุฬาวิทยานุกรม,2554) กล่าวว่าเป็นการท่ีพยาบาลใช้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์อย่างเป็นระบบเพื่อค้นหาวิธีดูแล เพ่ือช่วยเหลือผู้รับบริการและ ผเู้ ก่ียวข้องให้ยอมรับการเจ็บป่วยหรือความตายอย่างสงบ กระบวนการแก้ปัญหาเร่ิมจากการประเมิน ผู้รับบริการทั้งด้านร่างกาย จิต สังคม และจิตเป็นวิญญาณโดยการพูดคุยและการสังเกตพฤติกรรม และการจัดการเรียนการสอนของคณะพยาบาลศาสตร์น้ันได้มีการสอดแทรกเนื้อหาดังกล่าวโดยผ่าน กระบวนการพยาบาลในทุกรายวิชา หลังจากนิสิตได้ผ่านการเรียนการสอนในภาคทฤษฎี นิสิตจึงนา ความรู้ท่ีได้จากการเรียนในห้องเรียนมาปรับใช้ในการฝึกฝน เพ่ือเสริมสร้างทักษะความชานาญและ อาจเกดิ ความประหม่า ขาดความม่ันใจในการนากระบวนการทางการพยาบาลมารถไช้ได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม จึงทาให้นิสิตมีพฤติกรรมในด้านนี้ต่า สอดคล้องกับการศึกษาของนรากูล พัดทอง (2558)ท่ีไดศ้ ึกษาสัมพนั ธภาพเชงิ ช่วยเหลอื อย่างเออื้ อาทรของอาจารยน์ ิเทศตามการรับรู้ของนกั ศกึ ษา พยาบาล และพฤติกรรมการดูแลอย่างเอ้ืออาทรของนักศึกษาพยาบาลตามการรับรู้ของผู้รับบริการ ขณะฝกึ ปฏิบตั ิการพยาบาล พบวา่ พฤติกรรมการดูแลอย่างเอ้ืออาทรของนักศกึ ษาพยาบาล ในดา้ นท่ี 6 การนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการแก้ไขปัญหาและตัดสินใจอย่างเป็นระบบมีคะแนน เฉลี่ยอยู่ในระดับต่าท่ีสุดจากท้ังหมด 10 ด้าน เป็นเพราะนักศึกษาพยาบาลชั้นปีท่ี 2 ได้ขึ้นฝึก
49 ปฏิบัติการพยาบาลขั้นพื้นฐานกับผู้รับบริการจริงเป็นครั้งแรกหลังจากได้ผ่านการเรียนในภาคทฤษฎี มาแล้ว จึงเป็นคร้ังแรกที่ได้นากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่สอดแทรกในกระบวนการพยาบาลมา ปรบั ใช้ ทาให้ยังไม่มคี วามชานาญเพยี งพอซึ่งทาให้มผี ลตอ่ ความม่ันใจในดา้ นดังกลา่ ว 2. การเปรียบเทียบพฤติกรรมการดแู ลผรู้ ับบรกิ ารอย่างเอ้ืออาทรโดยรวมของนสิ ติ พยาบาลช้ัน ปที ่ี 3 และชั้นปีท่ี 4 พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ซึ่งอธิบายโดยใช้ทฤษฎี ของวตั สัน(Watson,2008 อ้างถึงในจุฬาวิทยานุกรม,2554) ได้ว่า พฤติกรรมการดแู ลผู้รบั บริการอย่าง เอื้ออาทรน้ันถูกปลูกฝังและพัฒนาได้จากการเรียนการสอน กิจกรรม ประสบการณ์ และส่ิงแวดล้อม รอบตัว ดังนั้นนิสติ พยาบาลชั้นปีท่ี 4 ท่ีได้ผ่านประสบการณ์ การเรียนการสอนท้ังในหลักสตู รและนอก หลักสูตร ประกอบกับมีการเรียนการสอนในรายวิชาและระยะเวลาในการขึ้นฝึกปฏิบัติการท่ีมากกว่า ช้ันปีที่ 3 จึงถูกหล่อหลอมให้มีพฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอื้ออาทรมากกว่า ซึ่งคณะพยาบาลศาสตร์ได้จัดการเรียนการสอนท่ีมีกิจกรรมและรายวิชาเพ่ือพัฒนานิสิต ได้แก่ ปฏิบัติการพยาบาลเด็ก1 ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2 ปฏิบัติการพยาบาลมารดา ทารก และการผดุงครรภ์1 ปฏิบตั ิการพยาบาลเดก็ 1 ปฏิบัติการพยาบาลเด็ก2 ปฏิบตั ิการพยาบาลจิตเวช ซึ่ง รายวิชาปฏบิ ัติการทัง้ หมดน้ี นสิ ิตชนั้ ปีท่ี 4 ได้ผ่านการขึ้นฝึกประสบการณ์มาทั้งแลว้ สว่ นนสิ ิตช้นั ปที ่ี 3 ยังไม่ได้ผ่านการขึ้นฝึกในรายวิชาดังกล่าว จึงทาให้นิสิตพยาบาลช้ันปีท่ี 4 มากกว่าชั้นปีท่ี 3 และ สอดคล้องกับการศึกษาของ บวรลักษณ์ ทองทวี,เยาวรัตน์ มัชฌิม และศิริลักษณ์ แก้วศรีวงค์ (2561) ได้ศึกษาพฤติกรรมการดูแลแบบเอ้ืออาทรในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของ นักศึกษาพยาบาลและ พยาบาลจบใหม่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พบว่าการเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแล แบบเอ้ืออาทร ในการดแู ลผู้ป่วยระยะสดุ ท้ายของนักศกึ ษาพยาบาลชัน้ ปที ี่ 4 ท่ีกาลงั จะจบการศกึ ษา และพยาบาลจบ ใหม่ภายใน 1 ปี แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ โดยพฤติกรรมการดูแลแบบเอ้ืออาทรในการดูแลผู้ป่วย ระยะท้าย ของพยาบาลจบใหม่ 1 ปี ทงั้ ภาพรวมและรายดา้ นทกุ ด้านสูงกวา่ ของนักศกึ ษาพยาบาลชั้นปี ที่ 4 ทกี่ าลงั จะจบการศึกษา เมื่อพจิ ารณาเป็นรายดา้ นพบว่าดา้ นทม่ี ีความแตกต่างกนั อย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติ ได้แก่ ด้านท่ี 6 การนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการแก้ไขปัญหาและตัดสินใจ อย่างเป็นระบบ (P = .05) อธิบายได้ว่านิสิตช้ันปีที่ 4 หลังจากนิสิตได้ผ่านการเรียนการสอนใน ภาคทฤษฎี และนาความรู้ที่ได้จากการเรียนในห้องเรียนมาปรับใช้ในการให้การดูแลผู้รับบริการขณะ ข้ึนฝึกปฏิบัติการพยาบาลกับผู้รับบริการมากกว่าชั้นปีท่ี 3 ท่ีผ่านการฝึกปฏิบัติการพยาบาลเพียง 3 รายวิชาเท่านั้นจึงทาให้มีความชานาญในการการนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการแก้ไข ปัญหาและตัดสินใจอย่างเป็นระบบมากกว่าชั้นปีที่ 3 ทั้งนี้อาจทาให้นิสิตชั้นปีท่ี 3 เกิดความประหม่า ขาดความมั่นใจในการนากระบวนการทางการพยาบาลมารถไช้ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม จึงทาให้ นิสิตมีพฤติกรรมในด้านน้ีต่าด้านที่ 9 การช่วยให้ได้รับการตอบสนองความต้องการ (P = .05) อธิบาย ได้ว่า นิสิตพยาบาลช้ันปีท่ี 4 มีประสบการณ์การทั้งด้านการเรียนและฝึกปฏิบัติการพยาบาลมากกว่า ทาให้มีความไวต่อความรู้สึกรวมถึงมีการสังเกตความต้องการของผู้ป่วย จึงทาให้สามมารถตอบสนอง ความต้องการของผู้ป่วยได้ดีกว่า และด้านที่ 10 การช่วยให้ยอมรับส่ิงท่ีเกิดข้ึนและดึงพลังที่มีอยู่ ออกมาใช้ได้ (P = .001) อธิบายได้ว่า นิสิตพยาบาลชั้นปีท่ี 4 ได้มีการเรียนรู้กระบวนการเกิดและ พยาธิสภาพของโรค จากการแลกเปล่ียนความรู้ และเตรียมความพร้อมในการดูแลผู้ป่วย จึงทาให้มี การดูแลวางแผนให้ผู้ป่วยสามารถปรับตัวและยอมรับการเจบ็ ป่วยได้อยา่ งมีประสิทธิภาพมากกว่าและ
50 ไม่สอดคล้องกับผลการศึกษาของสินีนุช ศิริวงศ์ (2560) ท่ีศกึ ษาเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลผู้ป่วย อย่างเอื้ออาทรตามการรับรู้ของนักเรียนพยาบาลศาสตร์ชั้นปี่ท่ี 3 และช้ันปีที่ 4 วิทยาลัยพยาบาล กองทัพเรือ พบว่า พฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอ้ืออาทรโดยรวมตามการรับรู้ของนักเรียน พยาบาลศาสตร์ช้ันปีที่ 3 และชั้นปีที่ 4 ไมแ่ ตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตื ท้ังน้อี ธิบายได้ว่า อาจ เป็นเพราะ ช่วงเวลาที่ได้ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลนิสิตพยาบาล ชั้นปีท่ี 3 และช้ันปีท่ี 4 ยังไม่ได้ผ่าน การข้ึนฝึกประสบการณ์ในภาคการเรียนที่2 ขณะท่ีกลุ่มตัวอย่างของงานวิจัยนี้ นิสิตพยาบาลช้ันปีที่ 3 และชั้นปีที่ 4 ท่ีมีประสบการณ์การดูแลผู้รับบริการในหอผู้ป่วยมาแล้ว ทั้งนี้อธิบาย โดยใช้ทฤษฎีของ วัตสัน ได้ว่า พฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอื้ออาทรน้ันถูกปลูกฝังและพัฒนาได้จากการเรียน การสอน กิจกรรม ประสบการณ์ และส่ิงแวดล้อมรอบตัว ดังนั้นนิสิตพยาบาลช้ันปีที่ 4 ท่ีได้ผ่าน ประสบการณ์ การเรียนการสอนทัง้ ในหลักสูตรและนอกหลักสูตร ประกอบกับ มีการเรียนการสอนใน รายวิชาและระยะเวลาในการข้ึนฝึกปฏิบัติการที่มากกว่าชั้นปีท่ี3จึงถูกหล่อหลอมให้มีพฤติกรรมการ ดแู ลผู้รบั บรกิ ารอย่างเอ้ืออาทรมากกวา่ ขอ้ เสนอแนะ 1.ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการวจิ ัยไปใช้ 1.1 ควรมกี ารประเมนิ พฤติกรรมการดูแลผรู้ บั บริการอย่างเอ้ืออาทรของนสิ ิตพยาบาลอย่างต่อเน่อื ง โดยเฉพาะการประเมินเม่ือสน้ิ สุดการเรยี นการสอนในแต่ละชั้นปีท่นี สิ ติ ไดฝ้ กึ ปฏบิ ตั กิ บั ผรู้ ับบรกิ าร เพือ่ ใชเ้ ปน็ ข้อมูลในการพฒั นาพฤติกรรมดงั กล่าวไดส้ งู ยง่ิ ข้ึนไป 1.2 จากผลการวิจัยพบวว่า การจัดการเรียนการสอนท้ังในหลักสูตรและนอกหลักสูตรที่ดาเนินการอยู่ สามารถทาให้พฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอ้ืออาทรของนิสิตพยาบาลอยู่ในระดับสูง แต่ อย่างไรก็ตามควรมีการส่งเสรมิ กจิ กรรมเพื่อพัฒนาพฤติกรรมของนสิ ิตต่อไป และควรเปดิ โอกาสให้ นิสิตได้เข้าร่วมกิจกรรมอื่นๆที่ช่วยส่งเสริมพฤติกรรม เช่น กิจกรรมทางศาสนาและการออกค่าย อาสาต่างๆ 1.3 เผยแพร่ข้อมลู ผลการศึกษาท่ีไดใ้ ห้ผู้ทเี่ ก่ียวข้องรบั ทราบ โดยเฉพาะอาจารย์ผู้สอนและนิสติ เพ่ือ รว่ มกันพัฒนาพฤติกรรมการดูแลผรู้ บั บรกิ ารอย่างเอ้ืออาทรให้ดีย่งิ ข้นึ โดยเฉพาะพฤตกิ รรมสว่ นที่มี คา่ เฉล่ียตา่ กวา่ ด้านอ่นื ได้แก่ 1). การสรา้ งความศรัทธาและความหวังท่เี ป็นไปได้ 2). การนา กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์มาใช้ในการแกป้ ญั หาและตัดสนิ ใจอย่างเป็นระบบ และ3). การช่วย ใหย้ อมรบั ส่งิ ท่ีเกิดขึ้นและดึงพลังทม่ี ีอยู่ออกมาใช้ 2.ขอ้ เสนอแนะในการทาวิจัยครั้งต่อไป 2.1 ควรทาการวิจัยซ้าเม่ือนิสิตพยาบาลชั้นปี 3 และปี 4 สาเร็จการศึกษาในชั้นปีนั้นๆเพื่อให้ได้ พฤตกิ รรมการ ดแู ลผูร้ บั บริการอยา่ งเอื้ออาทรของนสิ ิตพยาบาลอย่างแท้จรงิ เน่ืองจากการทาการ วิจัยในคร้ังน้ีเก็บข้อมูล ในช่วงกลางเทอมต้น ซึ่งกิจกรรมการเรียนการสอนยังมีไม่หมดและยังไม่ สิ้นสุดกจิ กรรมของแต่ละชัน้ ปี
51 2.2 ควรทาวิจัยเพ่ือศึกษาปัจจัยท่ีมีผลต่อพฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอื้ออาทรของนิสิต พยาบาลชั้นปีท่ี 3 และ 4 โดยเฉพาะปัจจัยด้านอาจารย์ผูส้ อน การจัดการเรยี นการสอน กิจกรรม นอกหลกั สูตรและส่ิงแวดลอ้ ม เพ่ือนาปจั จัยเหล่าน้นั มาพฒั นาพฤตกิ รรมการดูแลผู้รับบรกิ ารอยา่ ง เอื้ออาทรของนิสิตพยาบาลใหด้ ีย่ิงข้ึนต่อไป
52 บรรณานุกรม กัลยาวานชิ ยบ์ ัญชา. 2542.การวเิ คราะห์สถิติ : สถติ ิเพ่ือการตดั สนิ ใจ.พมิ พ์ครง้ั ที่ 4. กรงุ เทพฯ :โรง พิมพแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์วทิ ยาลยั . กสุ ุมาปยิ ะศริ ิภณั ฑ์. (2556). พฤติกรรมการดูแลเอื้ออาทรของพยาบาลตามการรบั รขู้ องผู้ป่วยในหอ ผ้ปู ว่ ยหนัก. วิทยานิพนธพ์ ยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาการพยาบาลอายรุ ศาสตรแ์ ละ ศัลยศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชยี งใหม.่ คณะพยาบาลศาสตร์มหาวทิ ยาลัยนเรศวร. (2559). หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (หลักสตู ร ปรับปรงุ พ.ศ. 2559) พษิ ณโุ ลก: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร. จินดามาศ โกศลซุนวจิ ติ ร. (2556). การดูแลอยา่ งเอื้ออาทรหวั ใจสาคญั ของการบริการดว้ ยหวั ใจความ เปน็ มนษุ ย์. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมรานี29(2), 1-9 จฬุ าวทิ ยานุกรม. (2554). ทฤษฎกี ารดูแลของวัตสนั (Watson’s Caring Theory). สืบคน้ เมอ่ื 21 สิงหาคม 2562. จาก http://www.chulapedia.chula.ac.th เจาะลกึ ระบบสุขภาพ. (2562). ชี้แนวโนม้ การฟอ้ งร้องการแพทยส์ งู ขนึ้ เรอ่ื ยๆ. สบื คน้ เมอ่ื 6 สิงหาคม 2562. จาก https://www.hfocus.org จอนผะจง เพ็งจาด. (2553). การใช้ทฤษฎกี ารดแู ลมนุษย์ของวตั สันในการพยาบาลผปู้ ว่ ยแบบ ประคบั ประคอง. วารสารการพยาบาลสภากาชาดไทย.3(1), 1-17. เตชทัตอัครธนารักษ.์ (2557). การเตรยี มความพร้อม ความรู้ และพฤติกรรมการดูแบบเอ้ืออาทร แก่ผปู้ ว่ ยระยะสดุ ทา้ ยของพยาบาลจบใหม่. วทิ ยานพิ นธ์ปริญญามหาบณั ฑติ , มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร.์ เทพพิภพ พลมว่ ง. (2557). การรบั รภู้ าพลกั ษณ์และความพึงพอใจในการสื่อสารของผู้รบั บริการต่อ ศูนย์การพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดฯ สยามบรมราชกุมารี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ. วทิ ยานิพนธ์ปริญญานิพนธ์,มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ วิโรฒ. บวรลกั ษณ์ ทองทวี, เยาวรตั น์ มัชฌิมและศิรลิ ักษณ์ แกว้ ศรวี งค.์ (2561).พฤติกรรมการดูแลแบบ เอื้ออาทรในการดูแลผูป้ ว่ ยระยะสดุ ท้ายของนักศึกษาพยาบาลและพยาบาลจบใหม่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร.์ วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์.38(4), 35-48 บุญตา สขุ วดี. (2554). พฤติกรรมการดูแลเอือ้ อาทรของนักศึกษาพยาบาลและการรบั รู้ของผ้ปู ว่ ย ต่อพฤติกรรมการดูแลเอ้ืออาทรของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จกั รรี ัช (รายงานวจิ ยั ). วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จกั รีรชั .ราชบุรี. ปรัศนยี าภรณ์ฤกษดายถทธ์, วงจันทร์ เพชรพเิ ชฐเชยี ร และโขมพักตร์ มณวี ตั .(2556). พฤติกรรมกา ดูแลแบบเอ้ืออาทรของพยาบาลหอ้ งผา่ ตัด.การประชมุ หาดใหญ่วิชาการ: 4(1), 153-160 พิมพรรณ รตั นโกมล และมณฑาทิพย์ สรุ ินทร์อาภรณ์. (2553). พฤติกรรมการดูแลอย่างเอ้ืออาทร ของนักศึกษาพยาบาลวทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชยั นาท. รายงานวิจยั ของวิทยาลัย พยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท: เอกสารประกอบประชุมวิขาการ. คร้ังท่ี6. (น.66). พงึ พิศ การงาม รุง่ ฤทัย บญุ ทศ และศศวิ รรณ หอมแก้ว. (2560).พฤติกรรมการดูแลผ้ปู ว่ ยอยา่ ง เออื้ อาทรของนักศึกษาพยาบาลชน้ั ปที ่ี 3 ทีผ่ ่านการฝกึ ประสบการณม์ หาวิทยาลัยเฉลิม กาญจนาจังหวดั ศรสี ะเกษ. วารสารวิชาการเฉลิมกาญจนา:4(2), 77-91.
53 ร่งุ ทพิ ย์ พรหมบุตร, วัชรี อมรโรจนว์ รวฒุ ิ, วชิรศกั ด์ิ อภิพัฒนก์ านต์ และ ธติ พิ ร เกยี รตกิ ังวาน. (2552) การพยาบาลดว้ ยความเอ้ืออาทรของนัก ศึกษาพยาบาล ชัน้ ปีที่ 3 วทิ ยาลัยพยาบาลบรมรา ชนนีขอนแกน่ ในการเรียนการสอนวิชาปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลบุคคลทม่ี ปี ญั หา สขุ ภาพ 3 ตาม การรบั รขู้ องผรู้ บั บริการ. วารสารการศกึ ษาพยาบาล. 13(1), 19-25. วลั ทณี นาคศรสี ังข์, สุพัตรา ไตรอุดมศรี และตรติ าภรณ์ สร้อยสังวาลย.์ (2560). การสง่ เสริม คุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาพยาบาลใน ศตวรรษที่21. วารสารพยาบาลกระทรวง สาธารณสุข.27(1), 32-45. ศศิกาญจน์ สกุลปญั ญวัฒน.์ (2557).พฤติกรรมการดูแลแบบเอ้ืออาทรของอาจารย์พยาบาลทสี่ อน รายวชิ าภาคปฏิบตั ิการพยาบาลพ้ืนฐาน ตามการรับรู้ของอาจารย์ผู้สอนกบั นักศกึ ษา สถาบันการศึกษาเอกชน. วารสารเกือ้ การุณย์: 21(ฉบับพิเศษ). 108-123. มหาวิทยาลยั นเรศวร. (2560). ชีวติ ในมหาวทิ ยาลยั นเรศวร. สืบคน้ 26 สงิ หาคม 2562. จากhttps://www.nu.ac.th มหาวิทยาลยั นเรศวร. (2560). ชมรมพุทธศาสน์ ม.นเรศวร จัดงานตักบาตรพระ 300 รูป รวมใจ ต้อนรบั นิสติ ใหมล่ ูกนเรศวร. สืบคน้ 26 สิงหาคม 2562.จากhttps://www.nu.ac.th สนิ ีนุช ศิรวิ งศ. (2560). การศึกษาเปรยี บเทียบพฤตกิ รรมการดแู ลผู้ปว่ ยอยา่ งเอ้ืออาทรตามการ รับรู้ของนักเรียนพยาบาลศาสตร์ช้ันปี่ที่ 3 และชั้นปีท่ี 4 วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ. วารสารแพทยน์ าวี:44(3), 35-49. สิวลี ศริ ิไล. (2548). จรยิ ศาสตรส์ าหรับพยาบาล. พมิ พ์ครั้งท่ี 9. กรงุ เทพฯ:สานกั พิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . สุดา เทพกาเนดิ . (2552). พฤติกรรมทางเพศของนกั เรียนอาชีวศกึ ษา วทิ ยาลัยเทคนิคในอาเภอ เมอื งจงั หวดั นราธิวาส. วทิ ยานพิ นธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบรู พา. สุพติ รา เศลวัตนะกลุ และธิดารตั น์ คณึงเพียร. (2556).พฤตกิ รรมความเอ้ืออาทรของพยาบาลเวช ปฏิบัติที่สาเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสุรินทร์. วารสารวิจัยทาง วทิ ยาศาสตร์สุขภาพ. 7(1), 50-56. สุมาลี เอี่ยมสมยั , นอี อน พณิ ประดษิ ฐ์ และก่ิงฟา้ สินธุวงษ.์ (2553).การพฒั นารูปแบบการเรยี นการ สอนเพื่อส่งเสริพฤตกิ รรมดูแลอยา่ งเอ้อื อาทรของนักศึกษาหลกั สตู รพยาบาลศาสตรบัณฑิต วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พระพุทธบาท. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น: 33(4), 131-172. สุมลวดี แสนโยชน์. (2555).ปจั จยั ท่สี ่งผลต่อพฤตกิ รรมมนษุ ย์. สืบค้นเมือ่ 21 สิงหาคม 2562. จาก https://sanyod019.blogspot.com สานักงานปลัดกระทรวงวสาธารณสุข. (2560). กองกฎหมาย สานกั งานกระทรวงสาธารสุข. สบื คน้ เม่ือ 6 สงิ หาคม 2562. จาก http://www.legal.moph.go.th สมพศิ สุขแสน. (2556). เทคนคิ การทางานให้มีประสทิ ธิภาพ.สืบคน้ เม่ือ 26 สิงหาคม. จาก https://bongkotsakorn.wordpress.com
54 อารีญา ดา่ นผาทอง. (2552). พฤติกรรมการดูแลผู้ปว่ ยระยะสุดทา้ ยอย่างเอื้ออาทรตามการรบั รูข้ อง พยาบาลวชิ าชพี โรงพยาบาลแพร่. วารสารกองการพยาบาล: 36(1), 15-26. องค์การนสิ ติ มหาวิทยาลัยนเรศวร. (2555).โครงการบายศรีสู่ขวัญนิสติ ใหม่ มหาวิทยาลยั - นเรศวร ประจาปี การศึกษา 2555สบื คน้ 26 สงิ หาคม 2562, จากhttps://www.nu.ac.th Novabizz. (2561). พฤติกรรมมนษุ ย์-ปจั จัยพื้นฐานดา้ นจติ วิทยา. สบื คน้ เม่อื 21 สิงหาคม 2562. จากhttps://www.novabizz.com/ Polit, D.F. & Beck, C.T. (2004).Nursing Research: Principles and Methods.7th Edition, Lippincott Williams & Wilkins, Philadelphia
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก รายนามผ้ทู รงคณุ วุฒทิ ี่ตรวจสอบความตรง ตามเน้อื หาของแบบสอบถาม ผู้ทรงคุณวฒุ ิ สังกัด ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. นภสั นันท์ ปิยะศริ ิภัณฑ์ อาจารย์พยาบาลกลุ่มวิชาการพยาบาลผใู้ หญ่และ ผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ผู้ชว่ ยผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. จริ ารตั น์ หรือตระกูล อาจารยพ์ ยาบาลกลุม่ สาขาการบรหิ ารการ พยาบาลและการพัฒนาวิชาชพี คณะพยาบาล มหาวิทยาลยั นเรศวร ศาสตราจารย์ ดร. คทั รยี า รตั นวมิ ล อาจารยพ์ ยาบาลกลุม่ วิชาการพยาบาลผู้ใหญ่และ ผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร
ภาคผนวก ข เครอ่ื งมือท่ีใช้ในการวจิ ัย แบบสอบถามพฤตกิ รรมการดูแลผ้รู บั บริการอย่างเออ้ื อาทร ของนิสติ พยาบาล มหาวิทยาลัยนเรศวร สว่ นที่ 1 ข้อมูลทวั่ ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม คาชแี้ จง โปรดทาเคร่อื งหมาย ลงใน และเติมขอ้ ความลงไปในชอ่ งวา่ งตามความเปน็ จริง 1.ชั้นปที ีก่ าลงั ศึกษา ชั้นปที ี่ 3 ชน้ั ปีท่ี 4 2.เพศ หญงิ ชาย 3.อายุ 20 – 21 ปี 22 – 23 ปี 24 ปีขนึ้ ไป 4.เกรดเฉลย่ี สะสม 2.00 – 2.50 2.51 – 3.00 3.01 – 3.50 3.51 – 4.00 5.รายได้ครอบครัว น้อยกว่า 5,000 บาท 5,000 – 20,000 บาท 20,000 – 40,000 บาท มากกว่า 40,000 บาท 6.ความเพียงพอของรายได้ตอ่ เดอื น เพยี งพอต่อการใชท้ ุกเดือน เพยี งพอต่อการใชเ้ ป็นบางเดือน ไม่พอใช้ 7.โรงพยาบาล/หอผูป้ ว่ ยทท่ี า่ นมีประสบการณใ์ นการขึ้นฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารกับผู้รับบรกิ าร โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบล โรงพยาบาลสวนปรงุ ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ แผนกฝากครรภ์ แผนกผู้ป่วยนอก หอผู้ปว่ ยอายรุ กรรม หอผูป้ ่วยศลั ยกรรม หอผู้ปว่ ยออรโ์ ธปิดกิ ส์ อน่ื ๆ ระบุ………………………
60 8.กิจกรรมนอกหลักสตู รที่ท่านได้เขา้ ร่วม โครงการปฐมนิเทศนิสิตใหม(่ Beginning Camp) โครงการเปิดโลกกิจกรรม โครงการบายศรสี ขู่ วัญนสิ ติ ใหม่ โครงการไหว้ครมู หาวทิ ยาลยั โครงการตักบาตรพระตอ้ นรับนิสติ ใหม่ โครงการรอ้ งเพลงมหาวิทยาลยั ภาคภมู ใิ จนเรศวร(Power cheer) อ่นื ๆ ระบ.ุ ........................... ส่วนที่ 2 พฤติกรรมการดูแลผู้รบั บรกิ ารอย่างเอื้ออาทรของนสิ ิตพยาบาล คาชี้แจง แบบสอบถามนี้ต้องการทราบระดับพฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอ้ืออาทรของท่าน ตามประสบการณ์ที่ท่านได้ข้ึนฝึกปฏิบัติการพยาบาลกับผู้รับบริการในรายวิชาต่างๆ คาตอบของท่าน ในแตล่ ะขอ้ ไม่มีการตัดสนิ วา่ ถกู หรอื ผิด หรือมผี ลกระทบใด ๆ เพราะเป็นข้อเท็จจรงิ เฉพาะตัวของท่าน ซ่ึงไม่มีจาเป็นต้องตรงกับผู้อื่น และจะไม่มีการนาไปเปิดเผยที่ใด ผู้วิจัยจะนาไปศึกษาโดยภาพรวม เท่านั้น ขอให้ท่านอ่านข้อความในแต่ละข้อและทาเครื่องหมาย ลงในช่องที่ตรงกับระดับพฤติกรรม การดแู ลผรู้ ับบริการอยา่ งเอ้ืออาทรของท่านมากทส่ี ุด 3 หมายถึง ปฏิบตั ิพฤตกิ รรมนัน้ เปน็ ประจา 2 หมายถงึ ปฏบิ ตั พิ ฤตกิ รรมนัน้ บ่อยครั้ง 1 หมายถึง ปฏิบตั พิ ฤตกิ รรมนน้ั เป็นบางครงั้ 0 หมายถงึ ไม่เคยปฏบิ ตั ิพฤตกิ รรมนัน้ เลย
61 พฤตกิ รรมการดแู ลผู้รับบรกิ าร ระดบั พฤติกรรม 3 210 การปฏิบตั ดิ ้วยความรกั และความเมตตาตอ่ เพ่ือนมนุษย์ 1.เรยี กชื่อหรอื สรรพนามของผู้รับบริการอย่างใหเ้ กยี รติและเหมาะสม 2.ดูแลผู้รบั บริการทุกๆคนอยา่ งเทา่ เทียม ปราศจากอคติ 3.บอกหรอื ขออนญุ าตผู้รับบริการก่อนให้การพยาบาล 4.ไม่แสดงสหี นา้ ท่าทางหรอื คาพูดท่แี สดงความรงั เกยี จ หรือดูถกู ผู้รับบริการ 5.กล่าวขอโทษผู้รบั บริการทุกคร้ังเมอ่ื ต้องเอื้อมมอื ขา้ มลาตวั หรือศรี ษะขณะให้การ พยาบาล 6.ดแู ลช่วยเหลือผูร้ บั บริการด้วยท่าทีกระตือรือร้น เต็มใจ การสร้างความศรัทธาและความหวงั ท่เี ป็นไปได้ 7.ใหเ้ วลาพดู คุยซักถามขอ้ สงสยั ของผู้รับบริการจนผูร้ บั บริการเกดิ ความ เข้าใจ 8.ใหข้ ้อมูลท่เี ปน็ ประโยชน์แก่ผู้รบั บริการและสามารถนาไปปฏิบัตไิ ดจ้ ริง 9.ช่วยอธิบายใหผ้ ู้รบั บรกิ ารมีความเขา้ ใจโรคและอาการเจ็บป่วย 10.ตอบคาถามในสงิ่ ท่ผี ู้รับบริการสงสัยได้ตรงกับปญั หาและความต้องการ 11.ปฏิบตั ิกจิ กรรมพยาบาลได้ถกู ต้อง 12.ช่วยให้ผ้รู บั บริการมนั่ ใจวา่ ไดร้ ับการรักษาท่ีเป็นประโยชน์ตอ่ ตวั ผ้รู ับบรกิ ารเอง 13.สนทนากบั ผรู้ ับบริการดว้ ยความเชอื่ มนั่ ในตนเอง การรูจ้ ักความร้สู กึ ของตนเองและไวตอ่ ความรสู้ ึกของผอู้ ื่น 14.เข้าใจและรบั ร้อู ารมณท์ เ่ี ปลย่ี นแปลงของผู้รบั บริการ
62 พฤตกิ รรมการดูแลผูร้ ับบรกิ าร ระดบั พฤตกิ รรม 3 210 15.ใหก้ ารชว่ ยเหลอื ที่นุ่มนวลและทนั เวลา 16.ใหก้ ารตอบสนองอยา่ งรวดเรว็ เมอื่ ผู้รบั รกิ ารเรียก 17.ใหค้ วามสาคัญกบั ปัญหาและอปุ สรรคที่ขัดขวางการปฏิบตั ติ วั ของ ผู้รบั บรกิ าร 18.สนใจสอบถามอาการเปลี่ยนแปลงของผู้รับบริการ การสร้างและรักษาสมั พนั ธภาพในการชว่ ยเหลือแบบไว้วางใจและ จรงิ ใจ 19.แนะนาตวั เองกับผู้รบั บริการขณะให้การพยาบาล 20.รักษาความลบั ของผรู้ บั บริการ 21.ทักทายพดู คุยกับบริการด้วยสหี นา้ ยิ้มแย้ม นา้ เสยี งนุม่ นวล 22.พดู คุย สอบถามความต้องการหรือแนะนาผรู้ บั บริการขณะให้การ บริการ การยอมรับการแสดงออกดา้ นบวกและดา้ นลบ 23.รบั ฟงั ความคิดเหน็ และยอมรบั ในการตัดสินใจของผู้รบั บริการ 24.ใหโ้ อกาสผู้รบั บรกิ ารแสดงความคิดเหน็ เก่ยี วกบั สุขภาพตามการรบั รู้ ของผรู้ บั บรกิ าร 25.เคารพในความเป็นส่วนตวั ของผูร้ ับบริการ 26.ไม่ตาหนผิ ู้รบั บริการเม่ือผู้รบั บริการแสดงอารมณ์ การนาวิธีการทางวทิ ยาศาสตร์มาใช้ในการแก้ปญั หาและตัดสินใจอย่าง เป็นระบบ
63 พฤติกรรมการดูแลผ้รู ับบรกิ าร ระดบั พฤติกรรม 3 210 27.ใชว้ ธิ กี ารแก้ปัญหาและตดั สนิ ใจอย่างเปน็ ระบบ 28.ใหข้ ้อมลู และอธบิ ายความผดิ ปกตทิ เ่ี กิดขนึ้ แกผ่ ู้รบั บรกิ ารได้ 29.เลือกใชก้ ิจกรรมการพยาบาลได้สอดคลอ้ งกับปญั หาและความต้องการ ของผรู้ ับบรกิ าร 30.อธิบายเหตผุ ลของการพยาบาลให้ผรู้ บั บริการได้ 31.ปฏิบัตกิ ารพยาบาลตามแผนการพยาบาลทวี่ างไว้ การสร้างสัมพนั ธภาพระหวา่ งบคุ คล 32.แนะนา สอนหรือสาธติ ให้ผู้รบั บรกิ ารและญาติสามารถดูแลตนเองได้ 33.พูดคยุ หรอื แนะนาผรู้ บั บริการดว้ ยภาษาทีเ่ หมาะสม 34.รับฟงั ประสบการณ์ท่ผี ูร้ บั บริการตอ้ งการแลกเปลีย่ นอย่างตงั้ ใจ 35.หาวิธีการสอ่ื สารกับผู้รับบรกิ ารที่เหมาะสมเพือ่ ให้เขา้ ใจตรงกนั การเตรียมการเพอ่ื สนบั สนุน ปกปอ้ ง หรือแก้ไขภาวะทางกาย จติ สังคม และจติ วิญญาณ 36.เอาใจใส่และดูแลสง่ิ ที่เปน็ ความปลอดภัยของผู้รบั บรกิ าร 37.ประเมนิ ปัญหาของผูร้ บั บริการได้ถูกต้อง ครอบคลุม ด้านกาย จติ สงั คม จิตวิญญาณ 38.รายงานปญั หากบั อาจารย์นิเทศหรือทีมสขุ ภาพเพ่ือชว่ ยแก้ไขปัญหา ของผรู้ บั บริการ 39.ดูแลผู้รับบรกิ ารอย่างมีสติ ใหผ้ ู้รบั บริการมีความปลอดภัยโดยการระวงั ความเส่ยี งและสงั เกตภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขน้ึ กบั ผ้รู ับบรกิ าร
64 พฤตกิ รรมการดูแลผู้รับบรกิ าร ระดับพฤติกรรม 3 210 40.จดั ส่ิงแวดล้อมท่ที าให้ผูร้ บั บรกิ ารสขุ กาย สบายใจ เช่น เปดิ พดั ลมให้ ปิดไฟขณะนอนหลบั การชว่ ยให้ได้รบั การตอบสนองความต้องการ 41.ดแู ลให้ไดร้ ับส่ิงจาเป็นในการดารงชวี ติ เช่น อาบน้า,อาหาร, นา้ และ อากาศ 42.ชว่ ยใหผ้ ู้รับบริการได้ปฏิบัตติ ามความเช่ือ โดยไม่ขัดต่อแผนการรักษา 43.ชว่ ยเหลือในการปรับเปล่ียนการประกอบกจิ วัตรประจาวนั ทส่ี อดคล้อง กบั แผนการรักษา 44.สนับสนุนผู้รับบริการใหป้ ระกอบกจิ กรรมตามความสามารถ โดยไมข่ ดั ตอ่ โรค 45.หม่นั ตรวจเยยี่ มผูร้ ับบรกิ าร ซกั ถามอาการหรือความตอ้ งการโดยไม่ ต้องให้ผ้รู บั บริการรอ้ งขอ การช่วยให้ยอมรับส่ิงที่เกิดขึ้นและดงึ พลงั ท่ีมีอยู่ออกมาใช้ได้ 46.ชว่ ยให้ผู้รบั บรกิ ารได้ปฏบิ ัติตามความเช่ือ/ศาสนา ตามทีต่ อ้ งการ โดย ไมข่ ัดตอ่ แผนการรักษา 47.เป็นกาลงั ใจและชว่ ยเหลอื ผู้รบั บริการเมอื่ มีเหตกุ ารณ์ไม่พงึ ประสงค์ เกดิ ข้ึน 48.ชว่ ยพูดคยุ และใหข้ ้อมลู เพ่ือให้ผรู้ บั บริการยอมรบั ความเจบ็ ปว่ ยได้ 49.วางแผนการดูแลล่วงหนา้ ร่วมกบั ผู้รับบริการ 50.ชว่ ยผ้รู ับบริการกาหนดเป้าหมายชีวิตตามสภาพที่เป็นจริง
ภาคผนวก ค เอกสารทใ่ี ช้ในการวจิ ยั
66
67
68 วิเคราะหข์ ้อมูล NPar Tests One-Sample Kolmogorov-Smirnov Test sum1 sum2 sum3 sum4 N 146 146 146 146 Normal Parametersa,,b Mean 2.7751 2.3571 2.5288 2.7562 Std. Deviation .26012 .42420 .41406 .30034 Most Extreme Differences Absolute .226 .095 .164 .243 Positive .194 .067 .128 .208 Negative -.226 -.095 -.164 -.243 Kolmogorov-Smirnov Z 2.725 1.143 1.984 2.936 Asymp. Sig. (2-tailed) .000 .147 .001 .000 a. Test distribution is Normal. b. Calculated from data.
69 One-Sample Kolmogorov-Smirnov Test sum5 sum6 sum7 sum8 N 146 146 146 146 Normal Parametersa,,b Mean 2.7140 2.3699 2.6318 2.5753 Std. Deviation .37942 .43348 .40492 .39202 Most Extreme Differences Absolute .295 .091 .245 .152 Positive .226 .088 .182 .139 Negative -.295 -.091 -.245 -.152 Kolmogorov-Smirnov Z 3.565 1.094 2.959 1.839 Asymp. Sig. (2-tailed) .000 .182 .000 .002 a. Test distribution is Normal. b. Calculated from data.
70 One-Sample Kolmogorov-Smirnov Test sum9 sum10 totalsum N 146 146 146 Normal Parametersa,,b Mean 2.6010 2.4123 2.5722 Std. Deviation .44584 .54796 .30088 Most Extreme Differences Absolute .219 .155 .142 Positive .185 .142 .078 Negative -.219 -.155 -.142 Kolmogorov-Smirnov Z 2.642 1.868 1.718 Asymp. Sig. (2-tailed) .000 .002 .005
71 NPar Tests Mann-Whitney Test
72 sum1 id Ranks sum3 1.00 N Mean Rank Sum of Ranks sum4 2.00 sum5 Total 74 70.03 5182.00 sum7 1.00 72 77.07 5549.00 sum8 2.00 146 sum9 Total 74 69.36 5132.50 1.00 72 77.76 5598.50 2.00 146 Total 74 71.03 5256.00 1.00 72 76.04 5475.00 2.00 146 Total 74 73.08 5408.00 1.00 72 73.93 5323.00 2.00 146 Total 74 71.66 5303.00 1.00 72 75.39 5428.00 2.00 146 Total 74 67.89 5023.50 1.00 72 79.27 5707.50 2.00 146 74 65.08 4816.00 72 82.15 5915.00
73 Total 146 74 63.27 4682.00 sum10 1.00 72 84.01 6049.00 2.00 146 74 65.77 4867.00 Total 72 81.44 5864.00 totalsum 1.00 146 2.00 Total Test Statisticsa sum1 sum3 sum4 sum5 sum7 sum8 Mann-Whitney U 2407.000 2357.500 2481.000 2633.000 2528.000 2248.500 Wilcoxon W 5182.000 5132.500 5256.000 5408.000 5303.000 5023.500 Z -1.050 -1.217 -.755 -.132 -.554 -1.644 Asymp. Sig. (2-tailed) .294 .224 .450 .895 .579 .100 a. Grouping Variable: id
74 Test Statisticsa sum9 sum10 totalsum Mann-Whitney U 2041.000 1907.000 2092.000 Wilcoxon W 4816.000 4682.000 4867.000 Z -2.537 -3.001 -2.239 Asymp. Sig. (2-tailed) .011 .003 .025 a. Grouping Variable: id T-Test Group Statistics id N Mean Std. Deviation Std. Error Mean sum2 1.00 74 2.3031 .42428 .04932 2.00 sum6 1.00 72 2.4127 .41980 .04947 2.00 74 2.2804 .42644 .04957 72 2.4618 .42410 .04998
75 Independent Samples Test Levene's Test for Equality of t-test for Equality of Means Variances sum2 Equal variances assumed F Sig. t df Equal variances not assumed .026 .871 -1.569 144 -1.569 sum6 Equal variances assumed .044 .835 -2.577 143.959 Equal variances not assumed -2.577 144 143.930 Independent Samples Test t-test for Equality of Means Sig. (2-tailed) Mean Difference Std. Error Difference sum2 Equal variances assumed .119 -.10961 .06987 Equal variances not assumed .119 -.10961 .06986 sum6 Equal variances assumed .011 -.18140 .07040 Equal variances not assumed .011 -.18140 .07040
76 Independent Samples Test t-test for Equality of Means 95% Confidence Interval of the Difference Lower Upper sum2 Equal variances assumed -.24771 .02849 Equal variances not assumed -.24769 .02847 sum6 Equal variances assumed -.32055 -.04225 Equal variances not assumed -.32054 -.04226 ช้ีนปปี ี 3 Statistics N Valid sum1 sum2 sum3 sum4 sum5 sum6 Missing Mean 74 74 74 74 74 74 Std. Deviation 222222 Percentiles 25 2.7568 2.3031 2.5000 2.7486 2.7128 2.2804 50 .26053 .42428 .39483 .27906 .37627 .42644 75 2.6667 2.0000 2.2000 2.6000 2.5000 2.0000 2.8333 2.2857 2.6000 2.8000 3.0000 2.2500 3.0000 2.6071 2.8000 3.0000 3.0000 2.6250
77 Statistics sum7 sum8 sum9 sum10 totalsum N Valid 74 74 74 74 74 Missing Mean 22222 Std. Deviation 2.6250 2.5347 2.5101 2.2892 2.5261 Percentiles 25 50 .39959 .38279 .47621 .56096 .29752 75 2.4375 2.2500 2.2500 2.0000 2.3793 2.7500 2.5714 2.5000 2.4000 2.5868 3.0000 2.8571 3.0000 2.6500 2.7465 ชั้นปที ่ี 4 Statistics N Valid all1 all2 all3 all4 all5 all6 Missing Mean 72 72 72 72 72 72 Std. Deviation 000000 2.7940 2.4127 2.5583 2.7639 2.7153 2.4618 .26015 .41980 .43370 .32254 .38526 .42410
78 N Valid Statistics Missing all7 all8 all9 all10 total Mean Std. Deviation 72 72 72 72 72 00000 2.6389 2.6171 2.6944 2.5389 2.6195 .41301 .39965 .39411 .50756 .29896
79 ประวัตผิ ู้วจิ ยั หวั หนา้ โครงการวิจยั ชอื่ -สกุล (ภาษาไทย) นางสาวกนกรัตน์ วงษ์หีบทอง (ภาษาอังกฤษ) Miss Kanokrat Wonghipthong หมายเลขบตั รประจาตัวประชาชน 1-2001-01812-12-1 สถานท่ีติดตอ่ ทอี่ ยู่ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร 99 หมู่ 9 ตาบลทา่ โพธิ์ อาเภอเมือง จงั หวัด พษิ ณโุ ลก โทรศพั ท์เคล่ือนท่ี 091-7617166 E-mail [email protected] ประวัตกิ ารศกึ ษา ปี คณุ วุฒิ สถาบนั การศกึ ษา การศึกษา 2560-ปัจจบุ ัน กาลังศึกษาระดับปรญิ ญาตรี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 2559 มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสว่ นบญุ โญปถมั ภ์ ลาพูน
80 ผรู้ ่วมโครงการวจิ ัย ช่ือ-สกุล (ภาษาไทย) นางสาวกทลี กล่อมอู่ (ภาษาอังกฤษ) Miss Kuttalee Khom-u หมายเลขบัตรประจาตัวประชาชน 1-6704-00207-47-1 สถานทต่ี ิดตอ่ ท่อี ยู่ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร 99 หมู่ 9 ตาบลทา่ โพธ์ิ อาเภอเมอื ง จังหวดั พิษณุโลก โทรศัพทเ์ คลือ่ นที่ 091-8371629 E-mail [email protected] ประวัติการศกึ ษา ปี คุณวุฒิ สถาบนั การศึกษา การศึกษา 2560-ปจั จบุ นั กาลงั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2559 มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลัย เพชรบรู ณ์
81 ผู้รว่ มโครงการวจิ ัย ช่ือ-สกุล (ภาษาไทย) นางสาวกนกวรรณ ดา่ นจติ ติศิริ (ภาษาองั กฤษ) Miss Kanokwan Danjittisiri หมายเลขบัตรประจาตวั ประชาชน 1-6699-00365-19-7 สถานทตี่ ดิ ตอ่ ทอ่ี ยู่ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 99 หมู่ 9 ตาบลทา่ โพธ์ิ อาเภอเมอื ง จังหวดั พิษณโุ ลก โทรศพั ท์เคล่อื นท่ี 063-3580007 E-mail [email protected] ประวัตกิ ารศกึ ษา ปี คณุ วุฒิ สถาบนั การศึกษา การศกึ ษา 2560-ปจั จุบัน กาลงั ศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2559 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรียนพจิ ติ รพิทยาคม
82 ผูร้ ว่ มโครงการวจิ ัย ช่ือ-สกุล (ภาษาไทย) นางสาวกมลรชั ต์ เท่ียงตรง (ภาษาองั กฤษ) Miss Kamonrat Thiangtrong หมายเลขบตั รประจาตัวประชาชน 1-5399-00656-76-1 สถานทต่ี ิดตอ่ ทอี่ ยู่ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 99 หมู่ 9 ตาบลท่าโพธิ์ อาเภอเมือง จงั หวัด พิษณุโลก โทรศพั ท์เคลอื่ นท่ี 093-3054513 E-mail [email protected] ประวัตกิ ารศกึ ษา ปี คุณวุฒิ สถาบนั การศึกษา การศกึ ษา 2560-ปจั จบุ นั กาลังศึกษาระดับปรญิ ญาตรี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2559 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรียนอตุ รดติ ถ์
83 ผู้ร่วมโครงการวจิ ัย ชือ่ -สกุล (ภาษาไทย) นางสาวนลิ วรรณ เท่ียงจันทร์ (ภาษาองั กฤษ) Miss Ninlawan Thiangjan หมายเลขบัตรประจาตัวประชาชน 1-6599-01907-80-5 สถานที่ติดตอ่ ท่ีอยู่ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 99 หมู่ 9 ตาบลท่าโพธิ์ อาเภอเมอื ง จงั หวัด พิษณุโลก โทรศพั ท์เคลอ่ื นท่ี 094-7511511 E-mail [email protected] ประวตั กิ ารศึกษา ปีการศกึ ษา คุณวฒุ ิ สถาบันการศกึ ษา 2559 -ปัจจบุ นั กาลังศึกษาระดับปริญญาตรี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร 2558 มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนผดุงราษฎร์
84 ผรู้ ่วมโครงการวิจัย ชื่อ-สกุล (ภาษาไทย) นางสาววราภรณ์ ทองดอนง้าว (ภาษาอังกฤษ) Miss Waraporn Thongsonngaw หมายเลขบัตรประจาตวั ประชาชน 1-6599-00836-60-2 สถานที่ตดิ ตอ่ ที่อยู่ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 99 หมู่ 9 ตาบลทา่ โพธ์ิ อาเภอเมือง จังหวดั พิษณุโลก โทรศัพทเ์ คลอื่ นท่ี 063-4689261 E-mail [email protected] ประวัตกิ ารศึกษา ปีการศึกษา คณุ วุฒิ สถาบนั การศึกษา 2559-ปจั จบุ นั กาลังศึกษาระดับปรญิ ญาตรี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร 2558 มธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นบางระกาวทิ ยศกึ ษา
85 ผรู้ ว่ มโครงการวิจัย ช่อื -สกุล (ภาษาไทย) นางสาวอาภาภรณ์ เตมยี เ์ จริญถาวร (ภาษาองั กฤษ) Miss Apapron Thamicharoenthawon หมายเลขบัตรประจาตัวประชาชน 1-6401-00258-975 สถานท่ีติดตอ่ ที่อยู่ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 99 หมู่ 9 ตาบลท่าโพธ์ิ อาเภอเมือง จังหวดั พษิ ณุโลก โทรศัพท์เคลอ่ื นท่ี 088-1516256 E-mail [email protected] ประวตั ิการศกึ ษา ปี คุณวฒุ ิ สถาบนั การศกึ ษา การศกึ ษา 2559 - กาลังศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ปจั จบุ นั 2557 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นสโุ ขทัยวิทยาคม
86 ผรู้ ่วมโครงการวจิ ัย ช่อื -สกุล (ภาษาไทย) - (ภาษาองั กฤษ) Miss Yangden Kinzang หมายเลขบตั รประจาตวั ประชาชน/passport G090111 สถานทีต่ ดิ ต่อ ที่อยู่ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 99 หมู่ 9 ตาบลท่าโพธิ์ อาเภอเมือง จังหวดั พษิ ณโุ ลก โทรศัพท์เคลอ่ื นท่ี 064-3185596 E-mail [email protected] ประวัติการศึกษา ปี คณุ วุฒิ สถาบันการศึกษา การศึกษา 2560-ปจั จบุ นั กาลังศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 2559 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย Kuengaa High school.
Search