Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PPTแนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนและการวั1

PPTแนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนและการวั1

Published by t.yupa56, 2021-09-16 16:55:21

Description: PPTแนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนและการวั1

Keywords: ผล

Search

Read the Text Version

แนวทางการจดั การเรยี นการสอน และการวดั ผลประเมินผล ให้มีความยืดหยุน่ ในช่วงสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) วนั ท่ี 27 สงิ หาคม 2564 เวลา 9.00-12.00 น. ดร.รตั นา แสงบวั เผ่ือน ผอู้ านวยการสานักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ดร.วิษณุ ทรัพย์สมบัติ ผอู้ านวยการสานักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.



แนวปฏิบัตกิ ารจัดประสบการณ์ และการประเมนิ พฒั นาการเด็ก (ระดบั อนุบาล)

แนวปฏิบตั ิการจดั ประสบการณ์และการประเมินพฒั นาการเดก็ ให้มีความยดื หยนุ่ ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 การสอนอนุบาลปกติ การสอนอนุบาล ในสถานการณ์ COVID - 19 การออกแบบและการจดั ประสบการณ์ On site ผสมผสานรปู แบบ สอดแทรกใน สอน 6 กิจกรรมหลกั วิถีชีวิตของเดก็ (เคล่ือนไหว/วงกลม/ ศิลปะ/มมุ /กลางแจง้ / เกม สอนกิจกรรมหลกั ท่ีเน้นบรู ณา การพฒั นาการและวิถี การศึกษา) ชีวิตประจาวนั ท่ีบา้ นเดก็ การบา้ น/แบบฝึ ก การบา้ น ส่วนใหญ่เน้น เน้นความรบั ผิดชอบ ด้านสติปัญญา ง่ายๆ/การบนั ทึกความดี การนับเวลาเรียน ของเดก็ นับเมอื่ เข้าเรียน การนับเวลาเรียน ในชนั้ เรียน นับเมือ่ มีการเรียนร้*ู *เรยี น 5 on ช่วยงานบ้าน ออกกาลงั กาย ฯลฯ การประเมินพฒั นาการ ประเมินจากกิจกรรมหลกั และ ประเมินรว่ มกนั ระหว่างครแู ละผปู้ กครอง ระหว่างการจดั ประสบการณ์รายวนั เหมาะสมตามสภาพบริบท (เช่น แบบบนั ทึกความดีง่ายๆ สาหรบั เดก็ ) สานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน 10 สิงหาคม 2564

1. การออกแบบและการจัดประสบการณ์ 1.1 จัดรปู แบบการเรยี นร้ทู ่ีหลากหลาย สอดแทรกในวิถชี วี ติ ของเด็ก และจดั จานวนชวั่ โมงให้เหมาะสมตามชว่ งวยั (1) การเรยี น On Hand จดั สง่ ใบงาน/ใบกจิ กรรม ท่ีโรงเรยี นจดั ทาขน้ึ ไปยังเด็กผา่ นผู้ปกครอง ใหน้ บั จานวนชั่วโมงตามกจิ กรรมทีจ่ ัดผา่ นใบงาน/กจิ กรรม (2) การเรียนทางไกลผา่ นดาวเทียม หรอื ครตู ู้ (On-Air) ออกอากาศผา่ น DLTV เรียนได้ 2 ชอ่ งทาง คือ ผ่านช่องทางจานดาวเทยี ม ช่อง 195-197 ผา่ นช่องทางดิจทิ ลั ทวี ี ชอ่ ง 37-39 และดาวโหลด เอกสาร ใบงาน จากเวบ็ ไซต์ www.dltv.ac.th (DLTV ชอ่ ง 10 – 12) ใหน้ บั จานวนช่วั โมงเรียนตามตารางการเรียนการสอนของ DLTV (3) การเรยี นผา่ นออนไลน์ (On Line) ผ่านช่องทางออนไลน์ตา่ ง ๆ เชน่ ช่องทาง Group Line ของแต่ละห้องเรยี นเป็นช่องทางติดตอ่ สอ่ื สารระหว่างครูกบั ผ้ปู กครองและเด็ก รวมถงึ ใช้เป็นช่องทางการมอบหมายงาน/กจิ กรรม ให้นับจานวนชัว่ โมงตามกจิ กรรมทีจ่ ดั ไม่ควรใหเ้ ดก็ อยหู่ นา้ จอนานเกนิ 1 ชว่ั โมง และตอ้ งอยู่ในความ ดแู ลของผปู้ กครอง (4) การเรยี นรปู แบบผสมผสาน ใหน้ บั จานวนชว่ั โมงตามกจิ กรรมท่ีจัด นอกจากกจิ กรรมท่จี ดั ตามข้อ 1-4 ครูสามารถจดั กจิ กรรมโดยใช้รูปแบบการเรยี นรู้ทห่ี ลากหลาย สอดแทรกอยใู่ นวถิ ชี ีวิตประจาวัน เน้นให้เดก็ เรียนรูผ้ า่ น ประสาทสัมผัส และมปี ฏสิ ัมพันธ์ทางบวก เพือ่ ใหเ้ ดก็ เรียนรอู้ ย่างมีความสุข เชน่ ให้เด็กเคลื่อนไหว สารวจ เลน่ สังเกต สืบค้น ทดลอง เล่านิทาน รอ้ งเพลง ทอ่ งคาคล้องจอง

ราชวิทยาลยั กุมารแพทย์แห่งประเทศไทย และ งานวจิ ยั ท่จี ิตแพทย์เด็ก และวยั รุ่นเคยทาเอาไวใ้ นประเทศไทย ก็คอื ไม่ควรใช้เกนิ 1 ช่วั โมงตอ่ วัน จึงจะเหมาะสมและไมท่ าใหเ้ กดิ ผลกระทบตา่ งๆ ไมว่ ่าจะเปน็ สมอง หรอื ภาวะเสพติดหน้าจอและเด็กจะได้มเี วลาท่จี ะทากจิ กรรมอ่ืนเพิ่มดว้ ย

1. การออกแบบและการจัดประสบการณ์ 1.2 จัดกิจกรรมประจาวันหลักทเี่ น้นการบูรณาการพัฒนาการและวถิ ีชีวิตประจาวนั ท่ีบา้ นเดก็ • กาหนดกิจกรรมหลกั ทม่ี ุ่งส่งเสรมิ และพฒั นาเดก็ ใหม้ ีพัฒนาการรอบดา้ น • กิจกรรมอ่ืนๆ ทจี่ ดั ขนึ้ ใหค้ รูกบั ผู้ปกครองรว่ มมอื กนั หรอื ให้ผปู้ กครองมสี ว่ นรว่ มกบั ครูในการวางแผน และ/หรอื จัดกิจกรรม ตา่ ง ๆ เชน่ กิจกรรมเคล่อื นไหวและจงั หวะ กจิ กรรมเสริมประสบการณ์ (วงกลม) กิจกรรมศลิ ปะสรา้ งสรรค์ • กิจกรรมเล่นตามมมุ กิจกรรมการเลน่ กลางแจง้ อาจใหเ้ ดก็ เลอื กเล่นตามความสนใจในวิถีชวี ติ ประจาวนั ท่ีบา้ น เชน่ การออก กาลงั กาย การทางานบ้าน เป็นต้น 1.3 งด/ลดการบา้ น • การจัดประสบการณใ์ นระดับปฐมวยั ครูไม่ควรใหก้ ารบา้ นเดก็ เวน้ แตเ่ ปน็ ความประสงคข์ องผู้ปกครอง • การทางานบา้ นหรือความรบั ผิดชอบงา่ ยๆ ตามวัย ในปริมาณท่เี หมาะสม เช่น การบันทึกการทาความดีของเดก็ การทา กจิ กรรมรว่ มกนั ในครอบครัว (การประกอบอาหาร การปลูกต้นไม้ เปน็ ต้น)

2. การประเมินพฒั นาการเด็ก ประเมนิ ร่วมกนั ระหว่างครูและผปู้ กครอง เหมะสมตามสภาพบริบท ประเมนิ ให้เชือ่ มโยงรูปแบบการเรียนร้ทู ั้ง 4 แบบ (1) การเรยี น On Hand ครจู ดั สง่ ใบงาน/ใบกิจกรรม (2) การเรียนทางไกลผา่ นดาวเทยี ม หรือครตู ู้ (On-Air) ออกอากาศผา่ น DLTV (3) การเรียนผา่ นออนไลน์ (On Line) (4) การเรยี นรปู แบบผสมผสาน ผ้ปู กครองและครู อาจตกลงกนั ในการเก็บรวบรวมข้อมูล หลักฐานการประเมนิ ตามความจาเป็น และเหมาะสม ตามสภาพบรบิ ท • ไม่สรา้ งความเครียดในการประเมินใหก้ บั เด็ก • ผู้ปกครองร่วมประเมนิ โดยใช้เครือ่ งมอื เกบ็ รวบรวมข้อมูลง่ายๆ สาหรบั เดก็ เช่น แบบบนั ทกึ ความดี

http://academic.obec.go.th

แนวปฏิบตั กิ ารจดั การเรยี นการสอน และการวดั และประเมินผล (ระดับการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน)

แนวปฏิบตั ิการจดั การเรียนการสอนและการวดั ประเมินผลเพ่ือให้เกิด ความยดื หยนุ่ ในช่วงสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 การสอนปกติ VS การสอนในสถานการณ์ COVID - 19 จดั วิชาเฉพาะทกุ วิชา การจดั รายวิชา จดั วิชาหลกั เป็นวิชาเฉพาะ และวิชาอ่ืนบรู ณาการ ตวั ชี้วดั ตามหลกั สตู ร สอนทกุ ตวั ชี้วดั รปู แบบการสอน เน้นตวั ชี้วดั ต้องรู้ และบรู ณาการกบั วิถีชีวิต On site บทบาทคร/ู ผปู้ กครอง ผสมผสานรปู แบบ สอดแทรกในวิถีชีวิต ตารางเรียนตายตวั จดั ตารางเรียนตามรปู แบบ ครมู ีบทบาทหลกั ในการส่งเสริมและพฒั นาการเรียนรู้ ครแู ละผปู้ กครองรว่ มกนั ส่งเสริมและพฒั นาการเรียนรู้ แต่ละวิชาให้การบา้ นแยกกนั การบา้ น ให้เท่าที่จาเป็น ครบู รู ณาการรว่ มกนั นับเมื่อเข้าเรียนในชนั้ เรียน การนับเวลาเรียน นับเมื่อมีการเรียนรู้ เช่น เรยี น online ทาการบ้าน ออกกาลงั กาย ฯลฯ ผา่ นเกณฑ์ เวลาเรียนไม่ครบ 80 % กจ็ บได้ สอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค การวดั ประเมินผล เน้นหลกั ฐานการเรียนรู้ เช่น ภาระงาน การบา้ น พฤติกรรมขณะเรียน มากกว่าการสอบ ใช้ O-NET เป็นองคป์ ระกอบหน่ึงของการตดั สินผล หลกั ฐาน ปพ.1 เลิกใช้ O-NET เป็ นองคป์ ระกอบหนึ่งของการตดั สินผล ทดสอบ RT และ NT ทดสอบ RT และ NT ตามความสมคั รใจ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักทดสอบทางการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน 10 สิงหาคม 2564

1.หลกั สูตร 1.1 เน้ือหาท่จี าเปน็ จดั เปน็ “รายวิชาเฉพาะ” เน้อื หาอ่นื ๆ จดั เป็น “รายวชิ าบรู ณาการ” • สถานศกึ ษาควรเลอื กจัดรายวชิ าทม่ี ุง่ พฒั นาเครือ่ งมือการเรยี นรู้ ทักษะชีวติ หรือเป็นเนอ้ื หาสาคัญจาเปน็ สาหรับ ระดบั ช้ัน เป็นรายวชิ าเฉพาะ • ระดับประถมศกึ ษา เดิมจัดรายวิชาพ้ืนฐาน 9 วชิ า (จาก 8 กลุ่มสาระ + วิชาประวัตศิ าสตร์) • ป.1-3 จัดรายวชิ าภาษาไทย คณิตศาสตร์ เนน้ การอา่ นออกเขยี นได้ ใชภ้ าษาเป็น และคดิ คานวณได้ ส่วน เนื้อหาอืน่ ๆ ให้จัดเป็นรายวิชาบรู ณาการ หรือหนว่ ยบรู ณาการ • ป.4-6 ให้ยดึ 5 กลมุ่ สาระการเรียนรู้หลักเป็นรายวชิ าเฉพาะ กลมุ่ สาระท่เี หลือเปน็ วชิ าบรู ณาการ หรอื หน่วย บูรณาการ • ระดบั ประถมศึกษา ตดั สนิ ผลการเรยี นเปน็ รายปี อาจจัดบางเนอ้ื หาสาระไวใ้ นภาคเรียนท่ี 2 • ระดบั ม.ตน้ และ ม.ปลาย ใหเ้ รยี นรายวชิ าพน้ื ฐานเป็นหลัก ไมค่ วรจดั วชิ าเพ่ิมเติมมากเกินไป • ทกุ ระดบั ชน้ั ต้องไม่สรา้ งความกดดนั ท่ที าใหผ้ ู้เรยี นเกิดความเครยี ด หรอื เปน็ ภาระใหผ้ เู้ รยี นเกนิ ความจาเปน็

1.หลักสูตร 1.2 “ตัวชีว้ ัดต้องร”ู้ ต้องสอนให้ครบถว้ น “ตวั ชว้ี ัดควรร”ู้ บรู ณาการในวถิ ชี ีวติ • เน้ือหาสาระทป่ี รากฏในหลักสูตรในตัวชว้ี ัดตอ้ งรู้ เปน็ ความรู้ หลกั การ ทกั ษะ เจตคตทิ สี่ าคัญ จาเปน็ สาหรบั ผู้เรยี นแต่ละระดับชน้ั จาเป็นตอ้ งจดั กระบวนการเรยี นรูป้ ระเดน็ นน้ั ๆ อยา่ งเป็น รูปธรรม • เน้อื หาสาระในตัวชวี้ ัดควรรู้ เปน็ ความรู้ ทักษะ เจตคติ ทีผ่ เู้ รยี นมีพ้ืนฐานความรู้ความเขา้ ใจ ตอ่ เนอ่ื งจากเรอื่ งที่เคยเรยี นมาแลว้ จงึ อาจมอบหมายผ้เู รยี นใหศ้ กึ ษาสบื ค้นดว้ ยตนเอง ให้ฝกึ ปฏิบัตจิ ากวถิ ีชวี ิต เรียนรู้จากครอบครวั ชมุ ชน ท้องถิ่น • แหล่งสบื ค้น : http://academic.obec.go.th/images/official/1622514876_d_1.pdf

สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน 10 สิงหาคม 2564

2.การจดั การเรียนการสอน 2.1 จดั การเรียนการสอนดว้ ยรปู แบบทีห่ ลากหลาย หลายทางเลอื ก และจดั ตารางสอนให้สอดคลอ้ งกับรปู แบบ (1) การเรียนรจู้ าก DLTV ผา่ นจานดาวเทยี ม ชอ่ ง 186-191 (ป.1-6) และชอ่ ง 192-194 (ม.1-3) และผ่าน ดจิ ิทัลทวี ี ช่อง 40-45 (ป.1-6) และช่อง 46-48 (ม.1-3) (2) การเรียนออนไลน์ ควรเปน็ รายวชิ าหลักตามข้อ 1.1 • พจิ ารณาใหเ้ หมาะสมกบั วยั สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ และความพร้อมของผ้เู รยี น • ใหผ้ ูเ้ รยี นสนกุ กับการเรยี นรู้ ลดการบรรยาย ลดการเรยี นหน้าจอ ใหเ้ รยี นรู้ดว้ ยตนเอง เนน้ การปฏิบัติ จริง (Active Learning) เชน่ จดั การเรยี นรู้แบบโครงงาน จดั การเรยี นรผู้ ่านสถานการณจ์ รงิ เรียนรู้ ผ่านปรากฏการณ์ • จัดตารางเรยี น/ตารางสอนใหส้ อดคล้องกับรปู แบบการจดั การเรยี นรู้ (3) การเรียน ON HAND ในกรณที ่ผี ู้ปกครองหรอื นักเรยี นไม่สามารถเข้าถงึ DLTV หรอื Digital TV ให้ เรยี นรผู้ ่านใบงาน ใบกจิ กรรม ตามแนวทางของ DLTV สว่ น ม.ปลายขึ้นกบั สถานศกึ ษา

2.การจดั การเรยี นการสอน 2.2 งด/ลดการบา้ น ใหเ้ ท่าท่จี าเปน็ และบรู ณาการภาระงาน/การบา้ น • มอบหมายภาระงาน/การบ้าน เฉพาะที่สาคัญจาเปน็ ตอ่ การพฒั นาเคร่อื งมือการเรยี นรู้ ทักษะ หรอื เนือ้ หาสาคญั ของระดับช้นั • มอบหมายในปริมาณทีเ่ หมาะสม อาจบูรณาการประเดน็ ในรายวชิ าเดยี วกนั หรือข้าม รายวิชา ใหเ้ ปน็ ภาระงาน/การบ้านเพยี งชน้ิ เดียว

2.การจดั การเรียนการสอน 2.3 ปรบั เปลีย่ นบทบาทของครู และผู้ปกครอง (1) ครู • เป็นผูส้ นบั สนุน ผู้สง่ เสริม ผูอ้ านวยความสะดวก ผู้ประสานงาน ระหวา่ งครกู ับผู้เรยี น ระหว่างครูกบั ผปู้ กครอง ใหส้ อดคลอ้ งและ เชอื่ มโยงกับรูปแบบการเรียนการสอนท่กี าหนดไว้ เหมาะสมตามสภาพบรบิ ท (2) ผู้ปกครอง • มีบทบาทในการสง่ เสริมการเรียนรู้รว่ มกับครู ท้งั ในการเรียนรู้ และการวดั ประเมนิ ผล • ให้คาปรกึ ษาแนะนา ประสานงาน และปรกึ ษาหารือกับครู เพ่อื ให้ผเู้ รยี นมพี ัฒนาการและมีความก้าวหนา้ ในการเรยี นร้อู ย่าง ตอ่ เนือ่ ง • จัดสภาพแวดลอ้ มให้ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรู้ตามความจาเปน็ และเหมาะสม (3) ผู้บริหาร • วางแผน สนับสนุน ส่งเสรมิ และอานวยความสะดวกใหค้ รกู ับผปู้ กครองทางานร่วมกนั อยา่ งมีความสุข • กากับ ตดิ ตาม และให้คาปรึกษา โดยไมส่ รา้ งภาระใหก้ บั ครู • ร่วมมือกบั เขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาในการวางแผนและบรหิ ารจัดการใหเ้ ป็นไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ

3.การวดั และประเมนิ ผล 3.1 การนับเวลาเรียนใหส้ อดคลอ้ ง และเชอ่ื มโยงกบั รูปแบบการเรียนรู้ • สามารถกาหนดแนวทางการนบั เวลาเรยี นที่เกดิ จากการจัดการเรียนการสอนในทุกรปู แบบ ทง้ั จานวนชัว่ โมงทส่ี อน โดยครูผสู้ อน และจานวนช่วั โมงทผ่ี ู้เรยี นได้เรียนรู้ และฝึกปฏบิ ตั ผิ ่านกจิ กรรมในวถิ ชี วี ิตประจาวัน หรือเรยี นรดู้ ้วย ตนเองตามทค่ี รูมอบหมาย • การนบั เวลาเรียน ตามเกณฑก์ ารตัดสินผลการเรยี น (ระดบั ประถมศึกษา กาหนดให้ผ้เู รียนต้องมเี วลาเรียนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนตลอดปีการศกึ ษา ระดบั มัธยมศกึ ษา ตัดสินผลการเรียนเปน็ รายวชิ า มเี วลาเรยี นตลอดภาคเรียน ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80 ของ เวลาเรียนทงั้ หมดในรายวิชาน้นั ๆ) • กรณีมีความจาเป็น สาหรับนักเรียนบางคนท่ีมีผลการประเมนิ การเรียนรู้ผา่ นเกณฑ์ท่ีกาหนด แต่มีเวลาเรียนหรือมี จานวนช่ัวโมงเรียนไม่เพียงพอ อนุโลมใหน้ กั เรียนมีสิทธ์สิ อบ และเลอื่ นชัน้ ได้ (ได้รบั การอนุมตั จิ ากคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ในการประชมุ คร้งั ที่ 8/2564 วนั ท่ี 13 สงิ หาคม 2564)

3.การวัดและประเมินผล 3.2 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้วยวิธีการทหี่ ลากหลาย • สามารถกาหนดแนวทางการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรูไ้ ด้ตามความเหมาะสม สอดคล้องกบั สถานการณ์และรปู แบบการสอน • ไมจ่ าเป็นตอ้ งใชค้ ะแนนจากการสอบโดยข้อสอบเทา่ นน้ั คานึงถึงคณุ ภาพของผูเ้ รียนเปน็ สาคัญ (1) คะแนนกลางภาค - การประเมนิ กิจกรรมการเรียนที่ครูจัดขนึ้ และไม่เนน้ การทดสอบโดยใชข้ ้อสอบเพยี งอยา่ งเดียว - เป็นความรว่ มมอื ในการประเมนิ ระหว่างครแู ละผ้ปู กครอง ตามความจาเปน็ และเหมาะสม - การตรวจสอบภาระงานท่ีมอบหมายให้ผูเ้ รยี นปฏิบัติ - การสังเกตพฤตกิ รรมระหว่างการเรียน Online เช่น การถาม - ตอบ การนาเสนอผลงาน เป็นต้น - การให้ข้อมลู ย้อนกลบั (Feedback) (2) คะแนนปลายภาค/ ปลายปี - การทดสอบ การประเมนิ จากแฟ้มสะสมผลงาน การประเมินภาคปฏิบัติ การนาเสนอผลงานปลายภาค/ปลายปี การสอบ ปากเปล่าออนไลน์ หรือรปู แบบอ่นื ใดที่เหมาะสมกบั บริบทของสถานศกึ ษา

3.การวดั และประเมนิ ผล 3.3 หลกั ฐานการจบของผ้เู รียน (ปพ.1) การทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้ันพืน้ ฐาน (O-NET) • ชน้ั ป.6 เปน็ ไปตามความสมัครใจของผเู้ รียนแตล่ ะคน • ช้นั ม.3 เปน็ ไปตามความสมัครใจของผ้เู รยี นแตล่ ะคน • ชนั้ ม.6 (ทปี่ ระชุมอธกิ ารบดแี หง่ ประเทศไทย (ทปอ.) ไดม้ หี นงั สือที่ ทปอ.64/0396 ลงวันท่ี 16 สิงหาคม 2564 เรื่อง แจ้งการไม่ใช้ผลคะแนนการสอบรายวิชา O-NET ในระบบการคดั เลอื กกลาง บคุ คลเขา้ ศกึ ษาในสถาบันอดุ มศึกษา ตงั้ แตป่ กี ารศกึ ษา 2565 เป็นตน้ ไป) • ไมน่ าผล O-NET มากรอกในระเบยี นแสดงผลการเรยี น (ปพ.1)

3.การวดั และประเมินผล 3.4 การทดสอบความสามารถด้านการอา่ น (RT) ช้ัน ป.1 และการทดสอบความสามารถ พ้นื ฐานดา้ นภาษาไทยและคณิตศาสตร์ (NT) ชนั้ ป.3 ปกี ารศึกษา 2564 • ใหเ้ ปน็ ไปตามความสมคั รใจของผู้เรยี น • สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานใหบ้ รกิ ารต้นฉบบั แบบทดสอบ RT และ NT


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook