Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คำไวพจน์

คำไวพจน์

Published by Guset User, 2022-09-01 14:02:37

Description: คำไวพจน์หรรษา

Search

Read the Text Version

คำไวพจน์

คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน ตรงกัน หรือคล้ายกันมาก แต่เขียน และออกเสียงต่างกัน เรียกอีกอย่างว่า \"คำพ้อง\" เช่น คน และ มนุษย์, บ้าน และ เรือน, รอ และ คอย เป็นต้น

คำไวพจน์ คำไวพจน์ เรียกอีกอย่างว่า คำพ้อง ความ การหลากคำ คำพ้องรูป คำ พ้องความหมาย

ประเภทของคำไวพจน์ ปัจจุบัน มีการศึกษาคำที่พ้อง และแบ่งออกเป็น ๓ กลุ่ม คือ ๑. คำพ้องรูป ๒.คำพ้องเสียง ๓.คำพ้องความ

๑คำพ้องรูป คือ คำที่มีรูปเขียนเหมือนกัน มีความหมายต่างกัน ออกเสียงต่างกัน หรือเหมือนกันก็ได้ ตัวอย่าง คำว่า ชิน - แปลว่า คุ้นจนเจน - แปลว่า ผู้ชนะ - แปลว่า เนื้อโลหะเจือชนิดหนึ่ง

๒คำพ้องเสียง คือ คำที่เขียนต่างกัน มีความหมายต่างกัน ออกเสียงเหมือนกัน ตัวอย่าง - ใจ กับ ไจ - จร กับ จอน

๓คำพ้องความ คือ คำต่างรูป ต่างเสียง แต่มีความหมาย เหมือนหรือใกล้เคียงกัน ตัวอย่าง - กิน กับ รับประทาน - กัลยา กับ นารี

คำไวพจน์

พระอาทิตย์ ตะวัน สุริยน สุริย์ สุริยะ สุริยัน รวิ อโณทัยทินกร ประภากร ทิวากร สุริยา

ดอกไม้ บุษบา บุปผา บุปผชาติ บุหงาบุษบง บุษบัน ผกา มาลาผกามาศ มาลี สุมาลี สุคันธชาติ

ช้าง หัสดี กุญชร คช กรี ดำริ คชินทร์คชาธาร หัตถี คเชนทร์ หัสดินทร์ กรินทร์ ไอยรา สาร วารณ คชา

ราชา ภูมี นฤบดี นราธิป นฤบาล

น้ำ คงคา นที สินธุ์ สาคร สมุทร ชลาลัย อุทก ชโลทร อาโป หรรณพชลธาร ชลาศัย ชลธี ธาร ธารา สลิล อรรณพค สิ

หนู ชวด ตะเภา พุก มุสิก มูสิกะ หริ่ง

ม้า พาชี ดุรงค์ หัย สินธพ อัศวะ

ไฟ อัคคี เตโช เพลิง อัคนี บาพก

ดวงดาว ชุติ ดารกะ ดารา นักษัตร ผกาย มฆะ มฆามหาอุจ มาฆะ มูล

ทหาร กองทัพ กองหนุน ทหารกองเกิน ทหารเกณฑ์ ทหารเลว ทเมิน ทแกล้ว น นาวิน ปัตติก พลรบ มหาดเล็ก รี้พล

เรือ ข้างกระดาน ฉลากบาง ดารณี ตูก นาวา นาวี นาเวศ ยวดยาน สะเภา อีแปะ

หมู ศูกร กุน วราหะ สุกร

ตา นัยนา เนตร

นก สกุณา ปักษา สุโนก วิหค ทิชากร

พระ กนิษฐภาดา กระทาชาย กระผมกระหม่อม กะกัง ขันที ทิด คนดิบ

เมือง บุรี ธานินทร์ ราชธานี ธานี นคร นครินทร์ นคเรศ สถานิย

ภูเขา คีรี สิงขร บรรพต ไศล ศิขรินทร์

เมฆ ขี้เมฆ ปัชชุน ปโยชนม์ ปโยธร พยับเมฆ พลาหก วลาหก วาริท วาริธร หมอก อัมพุท เมฆา เมฆินทร์ เมฆี

ลม วาโย มารุต พระพาย

ปลา มัจฉา มัสยา มัจฉาชาติ มิต ชลจร วารีชาติ อัมพุชา มีน

ป่า ดง พง พงพนา พงไพร พนัส พนา ชัฏ

ดอกบัว กมล กมลาศ กมเลศ กระมล จงกล นิลุบล นิโลตบลบงกช ปัทมา บุณฑริกบุษกร ปทุม สาโรช

ใจ กมล มโน มน ดวงใจ ดวงหทัย ดวงแด ฤทัย ฤดี

พระจันทร์ รัชนีกร แข บุหลัน นิศากร ศศิธร

พระอินทร์ โกสีย์ โกษี อินทรา มรุตวาน เทพาธิบดี อมรินทร์ มัฆวาน วชิราวุธ

ท้องฟ้า อัมพร ทิฆัมพร เวหาศ คคนางค์ โพยม เวหา นภาลัย

คน มนุษย์ มรรตย นร นคร มานพ ชน บุรุษ

กระบือ กระบือ กาสร มหิงส์ มหิงสา มหิษ ลุลาย

ศัตรู ข้าศึก คนโกง คู่จองเวร คู่อริ ดัสกร ปรปักษ์ ปัจจามิตร ปัจนึก ริปุ ริปู วิปักษ์ อมิตร เสี้ยนหนาม ไพรินทร์ ไพรี

ทายซิ อะไรเอ่ย ?

ข้อใดมีความหมายต่างกับ \"พนา\" ก.ไพสณฑ์ ข.นภดล ค. พนัส ข้อใดมีความหมายตรงกับ \"กระบือ\" ก.กระบี่ ข.กาสร ค. นิลุบล ข้อใดมีความหมายต่างจากข้ออื่น ก.มยุรี ข.ชลธาร ค. ชลาลัย

คำไวพจน์ใดแปลว่า \"ม้า\" ก.พาชี ข.สุร ค. บาพก ข้อใดมีความหมายต่างจากข้ออื่น ก.ปฐพี ข.หล้า ค. บรรพต คำไวพจน์ใดแปลว่า \" ศัตรู\" ก.ริปู ข.ไคลคลา ค. เถื่อน

คำไวพจน์ใดแปลว่า \"คน\" ก.ปรัตยา ข.เอารส ค. มรรตย คำไวพจน์มีกี่ประเภท ? ก.๒ ประเภท ข.๓ ประเภท ค.๔ ประเภท คำไวพจน์มีประพจน์ในด้านใด มากที่สุด ก.แต่งกาพย์ยานี ๑๑ ข.การหาที่มาของคำ ค. การเชื่อมประโยค

ข้อใดคือคำตอบที่มีความหมาย เหมือนกันทุกคำ ก.เอราวัณ คชาธาร ข.สกุณา จิตรจุล ค. ปักษา กุญชร คำไวจน์ข้อใด แปลว่า \"ดอกบัว\" ก.สาโรช ข.พาฬ ค.ชัฏ คำไวพจน์ ข้อใดแปลว่า \"ท้องฟ้า\" ก.พฤกษ์ ข.ตรุ ค.มหิงสา

คำในข้อใดต่างจากข้ออื่น ก.พฤกษ์ ข.ตรุ ค.มหิงสา คำไวพจน์ใดต่างจากข้ออื่น ก.มาศ ข.ฑาหก ค.กุณฑ์ คำไวพจน์ ข้อใดแปลว่า \"พระอินทร์\" ก.โกสีย์ ข.ตักษัย ค.ศิศุ

ท้าทาย สมอง

\"ดอกไม้\" คำไวพจน์คืออะไร \"พระ\" คำไวพจน์คืออะไร \"เมือง\" คำไวพจน์คืออะไร

\"ดาว\" คำไวพจน์คืออะไร \"ดอกบัว\" คำไวพจน์คืออะไร \"ม้า\" คำไวพจน์คืออะไร

\"ตา\" คำไวพจน์คืออะไร \"ไฟ\" คำไวพจน์คืออะไร \"ช้าง\" คำไวพจน์คืออะไร

\"ลม\" คำไวพจน์คืออะไร \"พระจันทร์\" คำไวพจน์คืออะไร \"นก\" คำไวพจน์คืออะไร

\"ปลา\" คำไวพจน์คืออะไร \"พระอาทิตย์\" คำไวพจน์คืออะไร \"ภูเขา\" คำไวพจน์คืออะไร

เฉลย ทายซิ อะไรเอ่ย ?


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook