โ ค ร ง ก า ร ย ก ร ะ ดั บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม ร า ย ตำ บ ล แ บ บ บู ร ณ า ก า ร ( ม ห า วิ ท ย า ลั ย สู่ ตำ บ ล ) พื้ น ที่ ตำ บ ล ส้ า น อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน องค์ความรู้ เกี่ยวกับผ้าทอมือ ในตำบลส้าน
(หน้า 1 ) U2T SAN พื้นที่ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน สถานการณ์ผ้าทอมือ ในปัจจุบัน ก่อนหน้านี้ จากนโยบายส่งเสริมการจำหน่ายผ้าทอของภาครัฐ ที่เปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการผ้าทอ มือในต่างจังหวัด ทั่วประเทศไทยได้นำผลงานผ้าทอมือของตัวเองเข้าประกวดในเวทีต่างๆ นำชิ้นงานจัด แสดงและจำหน่ายในกรุงเทพฯ ทำให้ผ้าทอมือกลายเป็นสินค้าที่ทำรายได้เข้าจังหวัดน่านเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งผ้าทอมืออำเภอเวียงสา เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่มีความปราณีตและรูปแบบลวดลายที่ ประยุกต์จากผ้าทอลายโบราณ ที่มีทั้งรูปแบบที่สวยงามเรียบง่าย สวมใส่ได้ทุกสถานการณ์ มาเป็นลวดลาย ที่สวย สง่าทรงคุณค่า ด้วยการประยุกต์ใช้วัสดุที่ให้สี และเนื้อผ้าเป็นมันวาว กระแสผ้าทอมือ --- สื่อโซเชียล และละครโทรทัศน์ ศิลปินดารา มีผลต่อความต้องการ จากสื่อต่างๆ ผ้าทอมือของอำเภอเวียงสา เป็นอย่างมาก ในช่วงที่ผ่านมา ผ้าซิ่น ชุดผ้าทอที่ศิลปินดาราสวมใส่ทั้งในละครและในชีวิตประจำวันของ ผ้าทอมือในยุค ศิลปิน จะได้รับการสั่งซื้อสั่งทอเข้ามาในปริมาณมาก ในเวลาอันสั้น โควิด19 สร้างงานสร้างรายได้ให้คนในตำบลส้านเป็นกอบเป็นกำ --- ในช่วงเหตุการณ์วิกฤตการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ปริมาณการสั่งทอ สั่งซื้อ ผ้าทอก็ลดลงค่อนข้างมาก รวมทั้งยังมีอุปสรรคของการขนส่งเข้ามาเป็นปัจจัยร่วม อีกด้วย แต่อย่างไรก็ตาม ผ้าทอมือจากตำบลส้าน อำเภอเวียงสา ก็ได้รับความนิยม และความสนใจอีกครั้งเมื่อ อแมนด้า ออปดัม ได้เลือกผ้าทอจากช่างทอตำบลส้าน สวม ใส่อวดโฉมความงดงาม เมื่อครั้งไปเข้าร่วมประกวดมิสยูนิเวิร์ส2021 ที่สหรัฐอเมริกา ผ้าทอลายอะแมนด้าคำเคิบ ผ้าทอลายอะแมนด้าคำเคิบ ข้อมูลอ้างอิง: อาจารย์ส้มโอ หิรัญกฤษฏิ์ ภัทรบริบูรณ์กุล (นักออกแบบอิสระ / อาจารย์พิเศษด้านการออกแบบ) FB: Hirankrit Pattaraboriboonkul
U2T SAN พื้นที่ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา (จัหงหน้วาัดที่น่า2น ) รูปแบบการทอผ้าในตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ผ้าพื้นเมืองน่าน นั้นมีหลากหลายรูปแบบ แต่ที่นิยมทอในตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่านนั้น ส่วนใหญ่นิยมทอเป็นผ้าซิ่น หรือผ้าถุง ที่พร้อมนำไปเย็บเป็นผ้าถุง กระโปรง หรือชุดเสื้อกับผ้าถุง ผ้าที่ทอส่วนใหญ่จึงทอออกมาเป็นผืนผ้าที่มีลวดลาย ต่างๆ ตามที่สืบทอดกันมา ตั้งแต่โบราณกาลและทั้งที่ประยุกต์คิดค้นขึ้นใหม่ ลักษณะผ้าซิ่นเมืองน่านในอดีต แบ่งได้ 7 ประเภทใหญ่ 1.ซิ่นเชียงแสน 2.ซิ่นม่าน 3.ซิ่นป้อง 4.ซิ่นก่าน 5.ซิ่นตีนจก 6.ซิ่นแบบเมืองเงิน 7.ซิ่นนาหมื่น ผ้าซิ่น
(หน้าที่ 3) U2T SAN พื้นที่ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ความเป็นมาของผ้าทอมือ ก า ร ผ้ า ท อ พื้ น เ มือ ง น่ า น มี ทั้ ง ผ้ า ที่ ท อ ขึ้ น โ ด ย ช า ว พื้ น เ มือ ง เ มือ ง น่ า น ดั้ ง เ ดิ ม แ ล ะ ผ้ า ท อ พื้ น เ มือ ง ที่ ม า จ า ก พื้ น ที่ อื่ น ร า ว พุ ท ธ ศ ต ว ร ร ษ ที่ 1 0 - 2 5 ก ลุ่ ม ช น เ ผ่ า ที่ สำ คั ญ ไ ด้ แ ก่ ไ ท ลื้ อ แ ล ะ ช า ว ไ ท ย ภู เ ข า เ ผ่ า ต่ า ง ๆ ผ้ า พื้ น เ มือ ง น่ า น ดั้ ง เ ดิ ม ไ ด้ แ ก่ ผ้ า พื้ น ( ผ้ า สี ล้ ว น เ ป็ น ผื น ก ว้า ง สำ ห รับ ตั ด เ ย็ บ เ ป็ น เ สื้ อ ห รือ ผ้ า ปู เ ป็ น ต้ น ) ผ้ า ข า ว ม้ า ถุ ง ย่ า ม ผ้ า ห่ ม ( ผ้ า ต า แ ส ง ห รือ ผ้ า ต า โ ก้ ง ) ผ้ า ล า ย ค า ด ก่ า น แ บ บ น่ า น ผ้ า พื้ น เ มือ ง จ า ก แ ห ล่ ง อื่ น เ ช่น ผ้ า ตี น จ ก จ า ก เ มือ ง พิ ชัย ซิ่น ม่ า น ซิ่น เ ชีย ง แ ส น จ า ก เ ชีย ง ตุ ง ผ้าพื้นสีฟ้ าน้ำทะเล ผ้ า ล า ย ลื้ อ จ า ก เ มือ ง เ งิ น เ มือ ง ค ง เ มือ ง ฮุ น เ มือ ง ล้ า แ ล ะ สิ บ ส อ ง ปั น น า ผ้ า ไ ห ม ซิ่น ล า ว จ า ก เ มือ ง ห ล ว ง พ ร ะ บ า ง แ ล ะ เ วีย ง จั น ท ร์ ซิ่น ก่ า น ค อ ค ว า ย แ ล ะ ซิ่น ต า ม ะ น า ว จ า ก แ พ ร่ ซิ่น ล า ย ข ว า ง จ า ก เ มือ ง เ ชีย ง ใ ห ม่ เ ป็ น ต้ น เ ป็ น เ ห ตุ ห นึ่ ง ที่ ทำ ใ ห้ ผ้ า ท อ เ มือ ง น่ า น มี ห ล า ก ห ล า ย รู ป แ บ บ มี ลั ก ษ ณ ะ ผ ส ม ผ ส า น ใ น อ ดี ต นั้ น จ ะ ใ ช้ฝ้ า ย ที่ มี ใ น ท้ อ ง ถิ่ น โ ด ย เ ริ่ม จ า ก ก า ร ป ลู ก ฝ้ า ย แ ล ะ เ ข้ า สู่ ข บ ว น ก า ร ผ ลิ ต เ ป็ น เ ส้ น ด้ า ย โ ด ย ภู มิ ปั ญ ญ า ข อ ง ท้ อ ง ถิ่ น ทั้ ง ห ม ด ร ว ม ทั้ ง ก ร ร ม วิธีย้ อ ม สี ธ ร ร ม ช า ติ เ ช่น สี ดำ จ า ก ผ ล ม ะ เ ก ลื อ สี แ ด ง จ า ก ค รั่ง สี เ ห ลื อ ง จ า ก ข มิ้ น แ ก่ น ข นุ น แ ล ะ สี น้ำ ต า ล ไ ด้ จ า ก เ ป ลื อ ก ต้ น สุ น เ ป็ น ต้ น ก า ร สื บ ท อ ด ท า ง วัฒ น ธ ร ร ม พ บ ว่า ผู้ ที่ มี อ า ชีพ ท อ ผ้ า ส่ ว น ใ ห ญ่ สื บ เ ชื้ อ ส า ย ม า จ า ก ช า ว ไ ท ย ลื้ อ โ บ ร า ณ ซิ่่นม่านเชียงแสน ซิ่่นต๋ามะนาว ซิ่่นก่านคอควาย
(หน้าที่ 4) U2T SAN พื้นที่ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน สตรีที่ทอผ้าในตำบลส้านส่วนใหญ่จะทอด้วยกี่พื้นเมืองเพื่อใช้ในครัวเรือน เป็นผ้าทอลายน้ำ ไหลแบบโบราณ ซึ่งมีความงดงามและมีเอกลักษณ์เฉพาะที่โดดเด่น แตกต่างจากผ้าทอถิ่นอื่น วิธีการทอผ้า ให้เกิดลวดลายพิเศษอีกอย่างหนึ่งคือ การล้วง ซึ่งทอให้เกิดลายโดยใช้ด้านเส้น พุ่งย้อมสีสลับพุ่งจากริมผ้าด้านหนึ่งไปยังอีกด้านหนึ่งตามวิธีการทอแบบธรรมดา ชาวบ้าน นิยมเรียกลายชนิดนี้ว่า \"ลายน้ำไหล\" ในปัจจุบันกระแสความนิยมการนุ่งผ้าซิ่นทอมือ สินค้าแฮนด์เมด ทำให้ความต้องการสินค้ามีปริมาณ มากกว่ากำลังการผลิต นั่นทำให้ชาวบ้านหันมาใช้กี่กระตุกแทนกี่พื้นเมืองดั้งเดิม มีการใช้นวัตกรรม ต่างๆเข้าประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตผ้าทอให้ได้จำนวนมากๆ ทันตามความต้องการของ ตลาด แต่ยังคงความปราณีตงดงามในชิ้นงาน
(หน้าที่ 5) U2T SAN พื้นที่ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ประเภทของลายผ้าทอในตำบลส้าน 1 . ล า ย ม่ า น แ ต่ เ ดิ ม เ ป็ น ซิ่น ที่ มี ล า ย ข ว า ง ส ลั บ ริ้ว สี พื้ น ไ ม่ เ กิ น 3 สี สี ที่ ใ ช้ เ ช่น สี ดำ สี แ ด ง ช ม พู มี ลั ก ษ ณ ะ ที่ เ ด่ น คื อ มี ป้ า น ก า ร จั ด ช่อ ง ข น า ด ข อ ง ล า ย ไ ม่ เ ท่ า กั น ตี น ซิ่น ( ส่ ว น ป ล า ย ข อ ง ผ้ า ซิ่น ) จ ะ ต้ อ ง มี สี แ ด ง แ ล ะ ป้ า น ใ ห ญ่ ( ป้ า น คื อ แ ถ บ สี ที่ มี ข น า ด ใ ห ญ่ ก ว่า แ ถ บ อื่ น ๆ ข อ ง ตั ว ซิ่น ) ซึ่ง ต่ อ จ า ก ตี น ซิ่น ขึ้ น ไ ป จ ะ ใ ช้สี น้ำ เ งิ น เ ข้ ม ห รือ สี ม่ ว ง เ พี ย ง สี เ ดี ย ว แ ล ะ คั่ น ด้ ว ย ริ้ว ไ ห ม เ งิ น ไ ห ม ท อ ง ท อ ส ลั บ ทั้ ง ผื น ปั จ จุ บั น มี ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ห้ มี โ ด ย เ พิ่ ม เ ท ค นิ ค ขิ ด ท ด แ ท น ใ น ส่ ว น ข อ ง ป้ า น ด้ ว ย สี ต่ า ง ๆ ผ้าถุงลายม่านโบราณ ผ้าถุงลายม่านโบราณ ผ้าถุงลายม่านโบราณประยุกต์ ป้าน 2 . ล า ย ป้ อ ง ( ห รื อ ป ล้ อ ง ) เ ป็ น ซิ่น ท อ ด้ ว ย เ ท ค นิ ค ก า ร ขิ ด ล า ย ข ว า ง ส ลั บ ริ้ว สี พื้ น มี ช่ว ง ข น า ด เ ท่ า กั น ต ล อ ด ลั ก ษ ณ ะ เ ด่ น คื อ ท อ เ ป็ น ริ้ว เ ล็ ก ท อ ส ลั บ กั บ ล า ย มุ ก คั่ น ด้ ว ย ริ้ว ไ ห ม เ งิ น ห รือ ไ ห ม ท อ ง ส ลั บ นั้ น เ ป็ น สี เ ดี ย ว กั น ทั้ ง ผื น เ ช่น พื้ น แ ด ง พื้ น เ ขี ย ว พื้ น สี น้ำ ต า ล ส ลั บ ล า ย มุ ก
(หน้า6) U2T SAN พื้นที่ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน 3.ลายคำเคิบ ผ้าที่ทอด้วยลายคำเคิบ เป็นผ้าซิ่นที่ปราณีตและงดงามที่สุดของจังหวัดน่าน ในอดีตเป็นซิ่นที่ใช้ เฉพาะในราชสำนัก (ผ้าซิ่นที่ทอด้วยลายนี้ จึงเรียกว่า ซิ่นพญาคำเคิบราชสำนักน่าน ) ถือเป็นซิ่นที่มี ราคาสูง ด้วยศิลปะการทอที่ใช้เส้นทองและเส้นเงินเป็นเส้นพุ่งในการทอ ประกอบลวดลาย ที่ทอ ด้วยเทคนิคการเก็บขิดขนาดเล็ก และเชิงซิ่น (เชิงผ้าถุง) ต่อด้วยตีนจก ซิ่นคำเคิบนี้จะมีทั้งคำเคิบ ไหมคำ และคำเคิบไหมเงิน นักสะสมผ้าส่วนใหญ่จะไม่พลาดที่จะมีผ้าซิ่นลายนี้ไว้ในครอบครอง ผ้าถุงลายคำเคิบ(พญาคำเคิบราชสำนักน่าน) ผ้าถุงลายคำเคิบ (พญาคำเคิบราชสำนักน่าน) ตีนจก ปัจจุบัน มีผ้าลายคำเคิบที่ทอด้วยวัสดุที่มีราคาถูกกว่าเงินและทอง นั่นคือ ใช้ไหมทอง ไหมเงิน และไหมหลากสี จึงทำให้มีผ้าทอลายคำเคิบที่เป็นคำเคิบไม่แท้ หรือคำเคิบเลียนแบบลาย \"พญาคำ เคิบราชสำนักน่าน\" แต่แตกต่างตรงที่ตีนซิ่น
(หน้า 7) U2T SAN พื้นที่ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน 4.ลายน้ำไหล “ผ้าทอลายน้ำไหล” เป็นศิลปะการทอผ้าด้วยมือ โดยลายผ้ามีลักษณะหยักๆ เหมือนคลื่นของสายน้ำที่กำลังไหลเป็นทางยาว จึงถูกเรียกว่า <ผ้าทอลายน้ำไหล> การทอผ้าลายน้ำไหลในสมัยแรกๆ นิยมใช้ไหมเงินและไหมทองตรงลายผ้าที่เป็น หยักเหมือนลายน้ำ ซึ่งทอด้วยเทคนิคที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ เรียกว่า \"การเกาะ ล้วง\" คือการใช้มือจับเส้นด้ายหรือไหมต่างสีสอด (ล้วง) ให้เกิดลายที่ต้องการขณะ ทอ เป็นเทคนิคที่พบในการทอผ้าของเมืองน่านเท่านั้น ปัจจุบันมีการพัฒนาลายน้ำ ไหลเป็นรูปแบบ ต่าง ๆ เช่น ลายจรวด ลายกาบ ลายธาตุ ลายใบมีด ลายน้ำไหล สายรุ้ง เป็นต้น มีการประยุกต์เข้ากับยกดอกมุก หรือเก็บมุก เป็นการทอด้วยเทคนิค ที่ภาคอีสานเรียกว่า \"ขิด\" ผ้าแต่ละผืนต้องใช้หลายเทคทิคในการถักทอ ผ้าจึงมี ความปราณีต ละเมียดละไม เป็นผ้าทอที่เป็นเอกลักษณ์ของเมืองน่าน เป็นผ้าทอลายแรกๆที่กลุ่มสตรีในตำบลส้านทอเพื่อจำหน่าย ปัจจุบันมีการประยุกต์ ลายน้ำไหลเข้ากับผ้าทอลายอื่น เป็นผ้าทอลายผสมผสาน เช่น อแมนดาคำเคิบ (ผสมผสานระหว่างการเกาะล้วง และการเก็บขิด )
(หน้า 8) U2T SAN พื้นที่ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน อุปกรณ์ที่ใช้ในการทอผ้า แบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ ดังนี้ 1 . อุ ป ก ร ณ์ ที่ ใ ช้ใ น ขั้น ต อ น ก า ร เ ต รีย ม ก่ อ น ท อ 2 . อุ ป ก ร ณ์ ที่ ใ ช้ขั้น ต อ น ก า ร ท อ ผ้ า 1.อุปกรณ์ในขั้นการเตรียมก่อนทอ ได้แก่ 1.1 เผื่อน (ภาษาพื้นเมืองเหนือ) บางพื้นที่เรียกว่า ไน หรือ หลา ใช้สำหรับกรอเส้น ด้าย มีลักษณะเป็นช่องสำหรับใส่แกนม้วนด้าย ซึ่งผูกโยงกับก่งกว๊าง* (ต้องใช้คู่ กัน) ปัจจุบันมีการนำมอเตอร์ไฟฟ้ามาเป็นตัวช่วยหมุน เมื่อมอเตอร์ไฟฟ้าทำงาน เส้นด้ายในก่งกว๊าง จะหมุนด้ายมาเก็บไว้ในแกนม้วนด้าย ทำให้ประหยัดเวลาใน การกรอเส้นด้าย เผื่อน เผื่อน ก่งกว๊าง 1.2 ก่งกว๊าง (ภาษาพื้นเมืองเหนือ) บางพื้นที่เรียกว่า ระวิง หรือดอกหวิง สำหรับ หมุนเพื่อกรอเส้นด้ายสีต่างๆ เข้าหลอดด้าย มีลักษณะคล้ายกังหันลมมีแกนกลาง วางบนฐานไม้สองข้าง ส่วนกลางของก่งกว๊าง ช่องสำหรับใส่เส้นด้าย ใช้คู่กับเผื่อน เสมอ ก่งกว๊าง
(หน้า 9) U2T SAN พื้นที่ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน 1.3 หลอดด้าย เส้นด้ายทุกเส้นจะถูกม้วนเก็บในหลอดด้าย เพื่อนำไปใช้ใส่กระสวย สำหรับขั้นตอนการทอต่อไป แต่เดิมเป็นหลอดที่ทำด้วยไม้ไผ่ ปัจจุบันมีหลอดที่ทำจาก พลาสติกและโลหะ ทำให้มีอายุการใช้งานที่นานขึ้น 1.4 รางคัน เป็นอุปกรณ์สำหรับเรียงหลอดด้ายค้น เพื่อเตรียมไว้สำหรับขั้นตอน การเดินเส้นด้ายที่จะทำเป็นเส้นยืนต่อไป รางค้นมีลักษณะเป็นแถว 2 แถว มีแกน สำหรับใส่หลอดด้าย อยู่บนเสาสูงประมาณ 1.5 เมตร รางคัน
(หน้าที่10) U2T SAN พื้นที่ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน 1.5 หลักคัน ( ก้างหวี ภาษาเหนือ หมายถึง รางสำหรับจัดเรียงเส้นด้ายที่จะใช้ เป็นเส้นยืนให้เรียงตัวเป็นระเบียบและง่ายสำหรับการทอ ) รางค้นมีลักษณะเป็น แถว ซึ่งแต่เดิมสามารถหวี หรือจัดเรียงเส้นด้ายได้ประมาณ 50 เมตร ปัจจุบัน สามารถทำได้ที่ความยาว 300 เมตร 1.6 ฟืม หรือฟันหวี มีลักษณะคล้ายหวี ยาวเท่ากับความกว้าง ของหน้าผ้าทำ ด้วยโลหะ มีลักษณะเป็นซี่เล็ก ๆ มีกรอบทำด้วยไม้หรือโลหะ แต่ละซี่ของฟืมจะ เป็นช่องสำหรับสอดด้ายยืนเข้าไปเป็นการจัดเรียงด้ายยืนให้ห่างกันตามความ ละเอียดของเนื้อผ้า เป็นส่วนที่ใช้กระทบให้เส้นด้ายที่ทอเรียงติดกันแน่นเป็นผืน ผ้า ฟืมสมัยโบราณทำด้วยไม้แกะสลักเป็นรูปนกหรือเป็นลวดลายต่างๆ สวยงาม มาก ฟืม หรือ ฟันหวี
(หน้าที่11) U2T SAN พื้นที่ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน 1.7 เบ็ดเข้าฟืม หรือ ตะขอเกี่ยวด้าย เป็นอุปกรณ์สำหรับเกี่ยวเส้นด้ายเข้าฟืม ทำด้วยเหล็กยาวประมาณ 8 นิ้ว ส่วนปลายทำเป็นตะขอไว้สำหรับเกี่ยวเส้นด้าย เข้าฟืม ซึ่งเส้นด้ายทุกเส้นจะต้องใช้ตะขอเกี่ยวด้ายสอดไว้ในฟืมจนเต็มทุกช่อง 1.8 เครื่องรองตอนเข้าฟืม (ภาษา เหนือ เรียกว่า ก้างว้น ก้างหรือ ค้าง สำหรับนำเส้นด้ายที่หวีเสร็จ แล้วมาจัดเรียงใส่ในฟืมแล้วม้วน เก็บใน ระหัด * 1.9 ลูกหัด ( ระหัด ) เป็นอุปกรณ์ สำหรับม้วนเก็บเส้นด้ายที่ค้นเสร็จ แล้ว มีลักษณะคล้ายระหัดวิดน้ำ ซึ่งอยู่ที่ด้านปลายของแกนระหัด ทั้งสองด้าน โดยหมุนม้วนเส้นด้าย เ ก็ บ ไ ว้เ พื่ อ เ ต รีย ม ใ ส่่ ใ น กี่ ท อ ผ้ า เครืองรองสำหรับเข้าฟื ม
(หน้าที่12) U2T SAN พื้นที่ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน 2.อุปกรณ์สำหรับขั้นตอนการทอ 2.1 กี่ทอผ้า หรือเรียกส้ั้นๆว่า กี่ กี่มีหลายรูปแบบ แต่ที่นิยมใช้ทอผ้าในตำบล ส้าน คือ กี่กระตุก ทำด้วยไม้ เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้ในการทอผ้า พัฒนามาจาก หลักการที่ว่าต้องการให้การทอผ้าต้องมีการขัดกันระหว่าง เส้นยืนและเส้นพุ่ง แ ล ะ กี่ ก็ เ ป็ น อุ ป ก ร ณ์ สำ ห รับ ขึง เ ส้ น ยืน เ ป็ น จำ น ว น ม า ก เ พีย ง พ อ ที่ จ ะ ทำ ใ ห้ เ กิ ด เป็นผืนผ้าขึ้นได้ มีการม้วนเก็บในแกน ทำให้สะดวกต่อการใช้งานมากขึ้นกว่ากี่ สมัยโบราณ กี่ทอผ้าแบบโบราณ กี่กระตุก
(หน้าที่ 13) U2T SAN พื้นที่ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน 2.2 กระสวย เป็นอุปกรณ์สำหรับใช้บรรจุหลอดด้ายเส้นพุ่งที่ใช้ในการทอผ้า มีหน้าที่ส่งด้ายพุ่งเข้าไปในด้ายเส้นยืนที่ขึงอยู่บนหูกทอผ้า ซึ่งหากเป็นกระ สวยมือจะใช้มือพุ่งกระสวยกลับไปมาระหว่างเส้นยืนสลับกับการกระทบฟืม เพื่อให้เนื้อผ้าแน่น แต่หากเป็นกระสวยสำหรับกี่กระตุก กระสวยจะพุ่งกลับ ไ ป ม า ด้ ว ย แ ร ง ก ร ะ แ ท ก ข อ ง ก า ร ก ร ะ ตุก จ น ก ว่า จ ะ ไ ด้ เ นื้ อ ผ้ า ต า ม ที่ ต้ อ ง ก า ร กระสวยสำหรับใช้มือพุ่ง กระสวยสำหรับใช้ในกี่กระตุก กระสวยสำหรับใช้ในกี่กระตุก 2.3 ตะกอ หรือ เขาหูก เป็นส่วนประกอบของกี่ทอผ้า ส่วนใหญ่จะใช้เส้นเชือกจัด กลุ่มด้ายเส้นยืนเพื่อเปิดช่องด้ายยืน โดยมีไม้สอดเป็นโครง 2 อันเรียกว่าเขาหูก เวลาสอดด้ายต้องสอดสลับกันไปเส้นหนึ่งเว้นเส้นหนึ่ง และมีเชือกผูกเขาหูก แขวนไว้กับโครงกี่ด้านบนสามารถเลื่อนไปมาได้ ส่วนด้านล่างผูกเชือกติดกับคาน เหยียบ เมื่อต้องการดึงด้ายให้เป็นช่องจะใช้เท้าเหยียบที่คานเหยียบทำให้เขาหูก เลื่อนขึ้น-ลง เกิดเป็นช่องสำหรับใส่ด้ายพุ่ง หากต้องการทอผ้าเป็นลวดลายที่ งดงาม จะต้องใช้ตะกอและคานเหยียบจำนวนหลายอัน ใช้สำหรับแยกด้ายเส้นยืนให้ขึ้นลงสลับกัน เช่น ในผ้าลายขัด เส้นยืนที่ 1 ขึ้น เส้นยืนที่ 2 ลง เส้นยืนที่ 3 ขึ้น เส้นยืนที่ 4 ลง สลับกันไปจนหมดจำนวนเส้นยืน โดยการเหยียบไม้เหยียบหูกขึ้น-ลงในขณะทอ ซึ่งในขณะที่เส้นยืนแยกจากกันจะ พุ่งกระสวยผ่านตลอดแนวเกิดเป็นผ้าลายขัดขึ้น วิธีการเก็บตะกอหรือเก็บเขาจะ แตกต่างกันไปตามลักษณะของผ้าและลวดลายของผ้าที่จะทำการทอ ตะกอ
(หน้า 14) U2T SAN พื้นที่ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน 2.4 ไม้สำหรับเกาะล้วง คืออุปกรณ์ทีทำให้เกิดลวดลาย นั่นคือลายน้ำไหล มีขนาดยาวกว่าหลอดด้าย ทำจากไม้ไผ่ เส้นด้ายที่จะนำมาเกาะล้วงเป็น ลายน้ำไหล จะถูกเก็บม้วนในหลอดไม้ ไม้สำหรับเกาะล้วง 2.5 ไม้หลาบ คืออุปกรณ์ทีทำให้เกิดลวดลาย คือลายขิด (ยกมุก)ใช้จัดแยก ด้ายยืนขณะทอ ไม้สอด ใช้เก็บลาย ลายขิด หรือ ดอกมุก ไม้หลาบ
(หน้า 15) U2T SAN พื้นที่ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน 2.6 เส้นด้าย และเส้นไหมสำหรับใช้เป็นเส้นพุ่ง ผ้าทอส่วนใหญ่ทอด้วยด้ายเทโรหลากสี มีความเหนียว เรียบ เส้นเล็กกว่าเส้นฝ้าย ไหมที่ใช้เพิ่มความเงางาม เป็นประกายให้ผ้า ทอ คือไหมประดิษฐ์ ไม่ใช่ไหมแท้ ดังนั้น ความนุ่มลื่นจึงไม่เท่ากับไหมแท้ แต่มีความ เงางาม และราคาถูกกว่าไหมแท้ ไหมประดิษฐ์ ด้ายเทโร ด้ายเทโร ไหมประดิษฐ์ เกร็ดความรู้เพิ่มเติม เส้นพุ่ง กับเส้นยืน ต่างกันอย่างไร ? 1. เส้นยืน คือ เส้นด้ายชุดหนึ่งที่ขึงไว้กับกี่ตามแนวตั้ง หรือม้วนไว้ในระหัดที่ยึด ติดกับกี่ โดยสอดผ่านช่องฟืมและตะกอที่ผูกไว้กับกี่ และไม้เหยียบ ถ้าเป็นไหม เรียก ไหมยืนหรือไหมเส้นยืนหรือไหมเครือ ในการทอผ้า ช่างทอจะต้องเตรียมเส้นด้ายยืนเอาไว้ก่อนเสมอ โดยอาจมีความ ยาวหลายสิบเมตร ปัจจุบันในตำบลส้านนิยมเตรียมที่ความยาว 300 เมตร ด้าย สำหรับทำเส้นยืน มีความสําคัญในการทอผ้าไม่น้อยไปกว่าด้ายเส้นพุ่ง เมื่อเริ่มทอ แล้วจะไม่สามารถเปลี่ยนด้ายเส้นยืนได้จนกว่าจะทอไปตลอดผืนเสร็จ
(หน้า 16) U2T SAN พื้นที่ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน เส้นยืนที่อยู่ในกี่ทอผ้า พร้อมสำหรับการทอ เส้นยืนที่ยังไม่ได้ผ่าน การเรียงเข้าฟืม เส้นยืนมีหลายสี เช่น สีแดง ขาว เส้นยืนสีแดง น้ำเงิน ม่วง เป็นต้น แต่ที่นิยมใช้ทอ ผ้าในตำบลส้าน ส่วนใหญ่ คือสีดำ และขาว
(หน้า 17) U2T SAN พื้นที่ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน 2.เส้นพุ่ง คือ เส้นด้าย หรือไหมที่พุ่งผ่านกระสวยที่ถูกกรอไว้บนหลอดด้ายบรรจุ ในกระสวย โดยเส้นพุ่งจะพุ่งในแนวนอนจากซ้ายไปขวา และจากขวามาซ้ายผ่าน เ ส้ น ยืน ที่ ย ก ส ลั บ กั น เ มื่ อ เ ห ยี ย บ ค า น เ ห ยี ย บ การเตรียมเส้นพุ่งไม่ยุ่งยากเหมือนเส้นยืน ไม่ต้องลงแป้งเนื่องจากไม่ต้อง เสียดสีกับฟันหวีมากเหมือนเส้นยืน การเตรียมเส้นพุ่ง มีขั้นตอนดังนี้ กรอเส้นด้าย หรือด้ายไหมที่ย้อมสีเรียบร้อยแล้วเข้าระวิงและก่งกว๊างตามลำดับ จากนั้นกรอจาก ระวิงเข้าหลอดโดยใช้หลาหรือไนเป็นอุปกรณ์ช่วยในการกรอด้ายเข้าหลอด (ซึ่งจะ ทำให้เส้นกลมเรียบมากขึ้นไปในตัว)หรืออาจนำเส้นด้ายหรือเส้นไหมที่ย้อมสีแล้ว มาควบและตีเกลียวก่อนกรอเข้าหลอด ควรกรอด้ายเข้าหลอดพอประมาณ นั่นคือ ไม่เต็มเกินไป จะทำให้ลำบากในการเข้ากระสวยและติดขัดได้ในการพุ่งสอดด้าย ขณะทอผ้า
(หน้า 18) U2T SAN พื้นที่ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน รายชื่อสมาชิก กลุ่มวิสาหกิจทอผ้าบ้านไผ่งาม นางนันทินี วงค์กองแก้ว ประธานกลุ่มวิสาหกิจทอผ้าบ้านไผ่งาม นางณัฐภาพร ทิพย์ศักดิ์ รองประธานกลุ่ม นางนิตยา แก้วยอด เลขานุการ นางแสงเดือน นันทะปิน เหรัญญิก นางราตรี คำป้อง ผู้ช่วยเหรัญญิก นางโสภา แก้วยอด กรรมการ นางปทุมพร ทิพย์ศักดิ์ กรรมการ นางทาวรรณ์ ทิพย์ศักดิ์ กรรมการ นางหวั่น ปันยศ กรรมการ นางอำพี ไชยผล กรรมการ นางปวงคำ คำลือ กรรมการ นางบัวลัย นวลภา กรรมการ นางพัฒนา อภิชัย กรรมการ
(หน้า 19) U2T SAN พื้นที่ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน บรรณานุกรม - กรมหม่อนไหม (ข้อมูลซิ่นน่าน) -https://identitynan.com (หออัตลักษณ์น่าน) -https://qsds.go.th/silkcotton/knowledge.php (สำนักอนุรักษ์และตรวจสอบมาตรฐานหม่อนไหม กรมหม่อนไหม กระทรวง เกษตรและสหกรณ์) -กลุ่มวิสาหกิจทอผ้าบ้านไผ่งาม ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
จัดทำโดย ทีมที่ปรึกษาโครงการมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตะวัน ฉัตรสูงเนิน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรศิลป์ มาลัยทอง อาจารย์ ดร.เกษราพร ทิราวงศ์ อาจารย์ ดร.อำนวยพร ใหญ่ยิ่ง นายสิทิไวกูล ทิราวงศ์ นายกิติพงษ์ วุฒิญาณ องค์การบริหารส่วนตำบลส้าน นายด่านชัย ด่านธนะทรัพย์ นายชิน พัฒนา นางสาวบุศราภรณ์ สมบัติปัน นางสาววัชรี วรรณภพ นายสมชาย สิทธิกา ทีม U2T ส้าน นางธนันธรณ์ วุฒิญาณ หัวหน้าโครงการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย พื้นที่ตำบลส้าน นางแอน สีสวรรค์ นางสาวกมลนิตย์ บุรินรัมย์ นางสาวอภิสรา สุคำ นายเนติพงศ์ ต่างใจ นางสาวสุภาลักษณ์ เตชา นางสาวสุตาภัทร วงค์กองแก้ว นางสาวขวัญฤทัย กันใจ นายเสกสิทธิ์ แก้วใส นางเพียรจิต ทานะ นางสาวกัญญารัตน์ ป้องตัน นายกษิดิศ กองตานพคุณ ว่าที่ร้อยตรีหญิงปรางทิพย์ นรินทร์สกุล นายปรมินทร์ วงศ์กองแก้ว นายรัชพล ดอนจันทร์ ขอขอบคุณ วิสาหกิจกลุ่มทอผ้าบ้านไผ่งาม และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน
Search
Read the Text Version
- 1 - 22
Pages: