Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการเลี้ยงผึ้ง(โลกของผึ้ง) ปรับปรุง 9-11-64

คู่มือการเลี้ยงผึ้ง(โลกของผึ้ง) ปรับปรุง 9-11-64

Published by iamalady2021, 2021-11-10 02:20:59

Description: คู่มือการเลี้ยงผึ้ง(โลกของผึ้ง) ปรับปรุง 9-11-64

Search

Read the Text Version

โครงการยกระดบั เศรษฐกิจและสงั คมรายตาบลแบบบรู ณาการ (มหาวิทยาลยั ส่ตู าบล) พ้ืนที่ตาบลสา้ น อาเภอเวียงสา จงั หวดั น่าน

สารบญั หนา้ 1. ความสาคญั และประโยชนข์ องการเลยี้ งผึ้ง -1- 2. ประโยชนข์ องการเลย้ี งผ้ึง -2- 3. ชนิดของผงึ้ ทพี่ บทัว่ ไป -4- 4. วงจรชีวิตของผึ้ง -8- 5. วรรณะของผ้ึง -9- 6. การเล้ียงผึ้งในตาบลส้าน -10- 7. อุปกรณ์ในการเล้ยี งผงึ้ -11- 8. ศัตรูสาหรับการเลย้ี งผงึ้ -12- 9. ช้ันตอนการเลี้ยงผงึ้ -13- 10. วธิ ีการเก็บนา้ ผึ้ง -17- 11. ผลติ ภัณฑจ์ ากผง้ึ -20-

หน้ำ 1 U2T ตำบลส้ำน อำเภอเวียงสำ จงั หวดั น่ำน ความสาคัญและประโยชน์ของการเล้ยี งผ้งึ ผ้ึงเป็นแมลงท่มี คี ณุ ค่าต่อมวลมนษุ ย์ และสรา้ งความ สมดุลใหแ้ กส่ ภาพแวดลอ้ มใน ธรรมชาติ ท้ังทางตรงและ ทางอ้อม การเลย้ี งผ้ึงพันธ์กุ อ่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ ดังน้ี ทางดา้ นการเกษตร ช่วยผสมเกสรเพมิ่ ผลผลิตพชื เศรษฐกจิ หลายชนิด เชน่ เงาะ ลาไย ลน้ิ จ่ี สม้ มะพร้าว มะม่วง กาแฟ ท้อ สตรอวเ์ บอรี่ มะม่วงหมิ พานต์ ทานตะวัน พชื ตระกูลแตง ขา้ วโพด ฝา้ ย ถ่วั เหลือง ถวั่ เขยี ว และพชื ที่ตอ้ งการผลติ เมลด็ พันธ์ุ นอกจากน้ี ยังช่วย ลดการใช้ยาและสารเคมแี ละลดตน้ ทุนการผลิตไดอ้ ีกดว้ ย

หน้ำ 2 U2T ตำบลส้ำน อำเภอเวียงสำ จงั หวดั น่ำน ผลผลิตท่ีได้จากการเลี้ยงผึง้ 1. นา้ ผ้ึง ( honey) คอื น้าหวานที่ผง้ึ งาน อายุตงั้ แต่ 22 วนั ไปเกบ็ สะสมมาจากดอกไม้ และตามใบของพชื บาง ชนิด ผา่ นกระบวนการภายในตัวผง้ึ และไลค่ วามชน้ื ใหเ้ ป็นน้าผง้ึ ท่ีดี 2.รอยัลเยลลี่ ( royal jelly) คอื อาหารทีผ่ ึ้งงานอายุ 4-11 วัน ผลิตเพอ่ื ปอ้ นตวั หนอน และนางพญา 3. เกสรผ้งึ ( bee pollen) คอื ละอองเกสรเพศผูข้ องดอกไม้ ผึ้งงานจะออกไปเก็บมาไว้ เพ่อื เป็นอาหารและผลติ เปน็ อาหารป้อนหนอน และนางพญา 4. โปรโปลสิ ( propolis) คือ ยางไม้ทผ่ี ้ึงงานอายุ 12-17 วนั ไปเก็บจากต้นไม้ เพอื่ นามาใชป้ ้องกนั ไมใ่ ห้เกิดโรค ภายในรัง 5. ไขผึ้ง ( bee wax) คือ รังผ้งึ ท่ี ผง้ึ งานอายุ 18-21 วนั จะกินนา้ หวานและผลติ ไขผึ้ง สาหรบั สร้างรังผ้งึ 6. พษิ ผ้ึง ( venom) คือ สารท่ผี ง้ึ งานอายุต้ังแต่ 14 วนั ผลิตเกบ็ ไวใ้ นถุงน้าพิษและปลอ่ ยออกมาพรอ้ มกบั เหล็กในเวลาตอ่ ยศัตรู

หน้ำ 3 U2T ตำบลส้ำน อำเภอเวียงสำ จงั หวดั น่ำน ประโยชน์ทางดา้ นอ่ืนๆ 1. กอ่ ให้เกดิ อาชพี การทาอปุ กรณก์ ารเล้ียงผึง้ กลอ่ งรงั ผ้งึ คอนแผน่ รงั เทยี ม กระป๋องพ่นควัน เปน็ ต้น 2. สามารถนาผลผลิตจากผง้ึ ไปสู่กระบวนการแปรรปู เช่น ยาแผนโบราณ สบู่ แชมพู ครมี โลชัน่ ลปิ บาลม์ เทยี นไข ยาหมอ่ ง เปน็ ตน้ 3. การเลีย้ งผง้ึ สามารถสร้างความเพลดิ เพลินใหแ้ ก่ผเู้ ล้ยี ง และเปน็ ประโยชน์ทางด้านการศกึ ษา

หน้ำ 4 U2T ตำบลส้ำน อำเภอเวียงสำ จงั หวดั น่ำน ชนิดของผงึ้ ทีพ่ บทัว่ ไป 1. ผงึ้ หลวง (Apis dorsata) เป็นผึง้ ท่ีมขี นาดใหญ่ที่สดุ ในท้ัง 4 ชนดิ มลี ักษณะลาตวั ใหญ่ ลาตัวยาวรี ประชากรสว่ นใหญ่จะอยปู่ ก คลุมรัง เพื่อทาหน้าท่ปี ้องกนั รงั รวงผง้ึ มีขนาดใหญ่ มปี ระชากร ประมาณ 10,000-80,000 ตวั /รัง สร้างรวงรังเพยี งรวง เดยี ว รงั รีเปน็ รูปครึง่ วงกลม ขนาดรังอาจมคี วามกว้างถึง 2 เมตร ชอบทารงั ในท่ีโล่งแจง้ และอยทู่ ่ีสูง มีรม่ เงาท่ี ไม่รอ้ นเกนิ ไปบางครั้งในทเ่ี ดียวกนั อาจ มีผง้ึ เกาะรวมกันมากกว่า 50 รัง ผ้ึงหลวงจะดุรา้ ย เมื่อถกู รบกวนหรือ ทาลายและจะรมุ ตอ่ ยศัตรู เปน็ รอ้ ยตวั เหลก็ ในมพี ิษมาก ผงึ้ หลวงสามารถบินไปหาอาหารไดไ้ กล บางรังอาจจะมี การเก็บสะสมนา้ ผงึ้ ถงึ 15 กโิ ลกรัม ผ้ึงหลวงไมส่ ามารถนามาเลี้ยงได้ แต่ควรอนุรกั ษใ์ หม้ อี ยใู่ นธรรมชาติ เพราะ ต้นไม้หลายชนิดตอ้ งการผึ้งหลวงชว่ ยผสมเกสรเพ่ือดารงเผา่ พนั ธ์ุ

หน้ำ 5 U2T ตำบลส้ำน อำเภอเวียงสำ จงั หวดั น่ำน ชนิดของผง้ึ ท่ีพบท่วั ไป 2. ผง้ึ มิ้ม (Apis florea) เป็นผึ้งทม่ี ขี นาดเลก็ ที่สุด มีขนาดใกล้เคยี งกับแมลงวัน ประชากรสว่ นใหญ่จะอย่ปู กคลมุ รงั รวงผง้ึ มีขนาดเล็ก มปี ระชากรประมาณ 3,000-15,000 ตวั /รัง รังมขี นาด ตง้ั แต่ 10-30 เซนตเิ มตร รวงผึง้ จะทาติดอยู่กบั กิ่งไม้ บินหาอาหารได้ไม่ไกลมาก ทาใหน้ ้าผ้งึ มนี อ้ ย มีการอพยพทง้ิ รังบอ่ ย ไม่สามารถนามาเลยี้ งได้เช่นเดยี วกันกบั ผึง้ หลวง

หน้ำ 6 U2T ตำบลส้ำน อำเภอเวียงสำ จงั หวดั น่ำน ชนิดของผ้งึ ทพ่ี บทว่ั ไป 3. ผงึ้ โพรง (Apis cerana) เปน็ ผ้งึ ที่มขี นาดกลาง ตวั เลก็ กวา่ ผงึ้ พันธแ์ุ ต่ใหญก่ วา่ ผง้ึ มิ้ม เปน็ ผ้ึงท่มี วี วิ ัฒนาการท่สี ูงกว่าผ้ึงมม้ิ และผึ้งหลวง สรา้ งรงั อยใู่ นทม่ี ดื และมีจานวนรวงหลายรวง ตัง้ แต่ 5-15 รวง มีประชากรประมาณ 5,000-30,000 ตวั ผึ้งโพรงทีพ่ บในเมืองไทยจะสรา้ งรังในโพรงหิน หรือโพรงไม้ตา่ งๆ ซ่งึ ตอ่ มาเกษตรกร ผเู้ ลยี้ งได้ทากล่องไม้ให้ผงึ้ อาศัยอยู่ เพื่อสะดวกตอ่ การเกบ็ น้าผึ้งโพรงจะให้น้าผ้งึ ประมาณ 3-15 กิโลกรมั /รัง โดยเฉลีย่ ประมาณ 7 กิโลกรมั /ปี

หน้ำ 7 U2T ตำบลส้ำน อำเภอเวียงสำ จงั หวดั น่ำน ชนิดของผง้ึ ท่พี บทัว่ ไป 4. ผ้งึ พนั ธุ์ ( Apis mellifera) เป็นผง้ึ ทน่ี าเขา้ จากตา่ งประเทศ มถี ่ินกาเนิดอย่ใู นทวปี ยโุ รปและแอฟรกิ า มขี นาดลาตวั ใหญก่ ว่าผึง้ โพรง แต่ เล็กกวา่ ผงึ้ หลวง ชอบอาศยั และสร้างรงั ในทีม่ ดื ไมด่ ุร้ายมากนัก และไมค่ อ่ ยอพยพย้ายรงั ขยายพนั ธุ์ได้ง่ายและ รวดเรว็ มปี ระชากรประมาณ 20,000-60,000 ตวั /รัง สามารถเคลื่อนย้ายไปชว่ ยผสมเกสรพืชทตี่ อ้ งการได้ และ เก็บผลผลิต น้าผง้ึ รอยลั เยลล่ี เกสรผึ้ง และไขผ้งึ ในปริมาณสงู จงึ เปน็ ทน่ี ยิ มเลีย้ งในอตุ สาหกรรมการเลย้ี งผ้งึ

หน้ำ 8 U2T ตำบลส้ำน อำเภอเวียงสำ จงั หวดั น่ำน วงจรชีวิตของผึ้ง 1. ระยะไข่มลี ักษณะคลา้ ยเสน้ ดา้ ย สขี าวยาวประมาณ 5 มลิ ลเิ มตร ผ้ึงนางพญา ถ้าต้องการวางไข่เปน็ เพศเมยี กจ็ ะวางไข่ทไ่ี ด้รับการผสมกับนา้ เช้ือตัวผู้ ถา้ ต้องการวางไขเ่ ป็นเพศผจู้ ะวางไขท่ ่ไี ม่ไดร้ บั การผสมกบั น้าเช้ือตัวผู้ 2. ระยะตวั หนอน เมือ่ ไข่มอี ายุได้ 3 วัน ก็จะฟักออกมาเปน็ ตัวหนอน มสี ีขาวขนาด ลาตวั เลก็ และเจริญเติบโต ขน้ึ เรอ่ื ยๆ ในระยะดกั แด้จะมีการลอกคราบทั้งหมด 5 ครงั้ 3. ระยะดกั แด้ ในวันแรกๆจะมสี ีขาวแลว้ จะคอ่ ยๆ เปลี่ยนเปน็ สีนา้ ตาล ดกั แดข้ องผง้ึ นางพญาจะมีขนาดใหญก่ ว่า ดกั แด้ของผึง้ ตัวผู้ และผึง้ งานตามลาดับ 4. ระยะตวั เต็มวัย เมอื่ ดักแดเ้ จริญเปน็ ตัวเตม็ วยั จะใช้กรามกัดไขผึ้งท่ีปิดฝาหลอดรวงออกมา สว่ นตวั เตม็ วัยของ ผึ้งนางพญาจะมีผึง้ งานคอยชว่ ยกนั กดั หลอดรวงให้

หน้ำ 9 U2T ตำบลส้ำน อำเภอเวียงสำ จงั หวดั น่ำน วรรณะของผึง้ แบ่งออกเป็น 3 วรรณะ 1. นางพญากาเนิดมาจากไขท่ ี่ไดร้ ับการผสมกบั น้าเช้อื ตวั ผู้ และได้รบั รอยลั เยลล่ีจากผึ้งงานทาใหน้ างพญามีความสมบรู ณ์ ลาตวั ยาว อายุยนื กวา่ ผึง้ ตัวผแู้ ละผง้ึ งาน ผงึ้ นางพญามีเหล็กในเอาไวท้ าลายหลอดนางพญา และตอ่ สกู้ ับนางพญาตัวอน่ื เท่านั้น ไม่มกี ารออกไปหาอาหาร ไม่มีทเี่ กบ็ ละอองเกสร และไมม่ ีต่อมผลติ ไขผ้ึง ผ้งึ นางพญาในรงั มีเพียงตวั เดียวเท่านัน้ มีหนา้ ทสี่ าคัญ คือ ผสมพันธ์ุ จะผสมพนั ธก์ุ ลางอากาศและคร้งั เดยี วในชีวติ วางไขว่ นั ละประมาณ 1,200- 2,000 ฟอง และควบคุมสังคมของผ้งึ ให้อยูใ่ นสภาพปกติ โดยมีสารฟโี รโมนควบคมุ 2. ผงึ้ งาน เกิดจากไขท่ ่ีได้รับการผสมพันธุ์กับน้าเชื้อตวั ผู้ เปน็ ผงึ้ เพศเมยี ขนาดเลก็ ท่สี ุด ภายในรัง แต่มีปรมิ าณมากที่สดุ ผง้ึ งานมีอวยั วะตอ่ มผลิตอาหารตอ่ มผลติ ไขผงึ้ ตอ่ มพษิ ตะกร้า เก็บเกสร และเหล็กใน ผงึ้ งานมหี น้าทที่ าความสะอาดรงั ผลิตอาหารป้อนตวั หนอนและนางพญาสรา้ งและซ่อมแซมรงั ปอ้ งกนั รงั น้าหวาน เกสร ยางไม้และนา้ 3. ผึ้งตัวผู้ กาเนดิ มาจากไข่ท่ไี ม่ไดร้ บั การผสมกับน้าเชื้อตวั ผู้ มขี นาดลาตัวอว้ น ป้อม ส้ัน ไมม่ เี หลก็ ใน ไมม่ ตี ะกร้าเกบ็ เกสร มหี น้าทสี่ าคัญ คือ ผสมพันธอุ์ ย่างเดียว หลงั จากผสมพนั ธุ์เสรจ็ ผ้ึงตวั ผู้จะตาย

หน้ำ 10 U2T ตำบลส้ำน อำเภอเวียงสำ จงั หวดั น่ำน การเลีย้ งผงึ้ ในตาบลส้าน เกษตรกรผู้เล้ียงผง้ึ ในตาบลสา้ น ยงั มีจานวนไมม่ ากนกั สว่ นใหญ่ เป็นเกษตรกรรายย่อย เลี้ยงไว้เป็นอาชีพเสริม ในสวนผลไมข้ อง ตนเอง มจี านวนน้อยที่เปน็ เกษตรกรจากต่างพนื้ ทเ่ี ข้ามาใชพ้ นื้ ท่ใี น ตาบลส้านในการเลี้ยงผ้ึง

หน้ำ 11 U2T ตำบลส้ำน อำเภอเวียงสำ จงั หวดั น่ำน อปุ กรณ์ในการเลย้ี งผ้งึ 1 2 -3 11 7 1. กล่องเล้ียงผึ้ง 2. คอนหรอื กรอบวง 13 10 3. แผ่นฐานรวง 4. กระป๋องพน่ ควนั 4 5. เหล็กงัดรงั 8 6. หมวกตาขา่ ยกนั ผงึ้ ตอ่ ย 7. ขาต้งั รัง 95 8. กล่องขังนางพญา 9. กล่องดกั เกสร 10. ถังสลดั น้าผึ้ง 11. แปรงปดั ผง้ึ 12. มดี เฉือนไขผ้ึง 13. ทกี่ รองน้าผง้ึ

หน้ำ 12 U2T ตำบลส้ำน อำเภอเวียงสำ จงั หวดั น่ำน ศตั รูสาหรับการเล้ยี งผ้ึง 1. ไรทรอปลิ ิแลปส์ ไรชนิดนี้จะดดู กินนา้ เลย้ี งของผงึ้ ตง้ั แต่ระยะตัวหนอน ระยะดักแด้ และตวั เต็มวัย ทาใหผ้ ึ้งตายกอ่ น เปน็ ตัวเตม็ วัย พกิ าร หรือปกี ขาด ซึง่ พบระบาดมากในผึง้ พนั ธุ์ 2. ไรวารวั ไรชนิดนจี้ ะมีขนาดใหญก่ ว่า ไรทรอปิลิแลปส์ และพบระบาดมากในพชื พน้ื เมืองของไทย เชน่ ผึ้งโพรง สว่ นในผง้ึ พันธจ์ุ ะพบวา่ ไร จะเกาะดดู กนิ ตวั อ่อนและตัวเตม็ วัย ทาใหผ้ ง้ึ อ่อนแอและพกิ าร 3. มดแดง ชนิดตัวใหญจ่ ะจบั กินตวั ผง้ึ และเข้าทาลายผงึ้ ท่อี ่อนแอ 4. ต่อ เปน็ แมลงทจี่ บั ผงึ้ เปน็ อาหาร เชน่ ต่อหวั เสอื ตอ่ หลมุ ต่อภูเขา ตวั ต่อมักจะชุกชมุ ในฤดูฝน 5. นกทกี่ ินผ้ึงได้แก่ นกจาบคา นกแซงแซว และนกนางแอน่ 6. โรคผงึ้ สาหรบั ประเทศไทยยงั ไม่ค่อยพบโรคผ้งึ มากนัก

หน้ำ 13 U2T ตำบลส้ำน อำเภอเวียงสำ จงั หวดั น่ำน ข้นั ตอนการเล้ยี งผึ้ง 1.การจัดการรังผงึ้ การตรวจรงั ผง้ึ โดยท่วั ไปตรวจทกุ ๆ 7 วัน ตรวจดูวา่ ผ้งึ เขา้ ออกสม่าเสมอ มเี กสรตดิ เลอะเทอะหรือไม่ ผ้ึงมลี ักษณะกระปรกี้ ระเปรา่ หรือหงอยๆ เปดิ ฝารงั และพ่นควัน 2-3 ครัง้ เพอ่ื ตรวจคอนผ้งึ ทกุ คอนควรมีผ้งึ เตม็ ท้ัง 2 ดา้ น ถ้าอกี ฝ่ัง กระจายหา่ งมาก แสดงวา่ คอนมจี านวนมากเกนิ ไปตอ้ งสลัดผึ้ง แต่ถา้ ผ้ึงแน่นมากและสรา้ งรวงตามฝาปดิ รงั หรือขอบนอกคอน แสดงวา่ ผง้ึ ขอ ทอ่ี ยเู่ พ่ิม ต้องเสรมิ คอนรงั เทยี มเปลา่ ให้ ตรวจดูนางพญา ว่าในรังยังมนี างพญา อยู่หรอื ไม่ โดยดทู ่ไี ขน่ างพญาท่ดี คี วรวางไข่รนุ่ เดยี วกันสมา่ เสมอกันท้งั แผ่นรงั ไม่กระจายห่างจนเกินไป แตห่ ากพบว่าไขส่ องใบในหลอดเดยี วกัน และไม่เปน็ ระเบยี บ แสดงวา่ ผง้ึ งานไขแ่ ทนตอ้ งแช่น้าใหไ้ ขล่ อยออกหมด แต่นางพญาเอง ก็อาจไขเ่ ชน่ นไี้ ดถ้ ้าเพง่ิ ไข่ใหม่ๆ ยงั ไมช่ านาญ

หน้ำ 14 U2T ตำบลส้ำน อำเภอเวียงสำ จงั หวดั น่ำน ขัน้ ตอนการเลย้ี งผงึ้ การใหอ้ าหารผ้งึ ผ้งึ ตอ้ งการอาหาร 3 ประเภท คอื 1.น้าหวาน 2.เกสร 3.นา้ และแรธ่ าตุ การแยกรังผึ้ง การแยกรงั เปน็ การอยรู่ อดอย่างหนึ่งของผงึ้ ทาได้โดยการให้ผ้งึ แยกรังเลียนแบบธรรมชาติ และการจบั ผ้งึ มาเล้ียง ซง่ึ วธิ ีการนเ้ี ป็นวิธีที่มีขัน้ ตอนมากในการปฏบิ ัติงาน การแยกรงั ผ้ึงสามารถแยกได้ 2 วธิ ี คือ นางพญา ตวั ใหมก่ บั หลอดนางพญา จะแยกหลอดนางพญา ไว้ทเ่ี ลี้ยงผึง้ เดมิ แลว้ แยกผง้ึ งานกบั นางพญาตวั เก่าไป หรอื จะให้ นางพญาอยู่กบั ทีแ่ ยกหลอดไปในทางปฏิบตั ทิ ีก่ ล่าวมาแลว้ ซ่งึ มผี ลไม่ต่างกัน ผงึ้ สามารถเจรญิ เติบโตได้ และพัฒนา ต่อไปได้เป็นปกติ ถ้าอาหารผึ้งอุดมสมบรู ณ์ ผึ้งจะสามารถพัฒนารังให้สมบูรณ์ การแยกรังควรปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี - รงั ผ้งึ ทค่ี วรแยกเป็นรังผง้ึ ทส่ี มบูรณ์มีหลอดนางพญา - ลานเล้ียงควรมีผ้ึงตัวผูเ้ พยี งพอ - คดั เลอื กหลอดนางพญาทส่ี มบูรณไ์ ว้ 2-3 หลอด - ชว่ งนางพญาใกล้จะแยกรงั ประมาณ 2-3 วนั แยกผ้ึงออกเปน็ 2 พวก จะแยกนางพญาไป หรอื หลอดนางพญา ไปก็ได้ ให้รังหน่ึงอยู่กบั ที่ อกี รงั ใหห้ นั คนละทศิ เว้นระยะทางพอสมควร - หลังจากนัน้ ดแู ลจัดการดา้ นต่าง ๆ โดยการตรวจเชค็ ผ้ึงทกุ 10 วนั จนกว่าผ้งึ จะสมบูรณ์ตามปกติ

หน้ำ 15 U2T ตำบลส้ำน อำเภอเวียงสำ จงั หวดั น่ำน ขั้นตอนการเลี้ยงผง้ึ 1.การรวมรงั ผ้ึง ในกรณที เี่ ราตรวจพบว่ารังใดขาดนางพญา มนี างพญา แตไ่ มด่ ี หรอื เป็นรงั ท่ีออ่ นแอให้ทาลายนางพญานน้ั ทิง้ จากน้ันกน็ าไปรวมกบั รัง อนื่ วธิ ที นี่ ิยมใชก้ ันมากก็คอื การใชก้ ระดาษหนังสอื พมิ พค์ ่นั ระหวา่ งรัง ให้ปฏิบัติ ดงั น้ี 1.ใหเ้ ลอื กทาการรวมรงั ใหเ้ ป็นเวลาเย็นหรือพลบคา่ 2.เตรยี มกระดาษหนงั สือพิมพ์ 1 แผน่ ใหม้ ขี นาดความกว้างยาวเทา่ กบั ตัว กลอ่ ง รงั ผง้ึ หรือใหญ่กว่าเล็กนอ้ ย ใช้ของแหลมขนาดเลก็ เชน่ ปากกาลกู ลืน่ แทง กระดาษหนังสือพมิ พใ์ หเ้ ปน็ รเู ลก็ ๆ กระจายอยทู่ ัว่ ไป 3. เปดิ ฝารงั และแผน่ ปดิ รงั ดา้ นในออก (รงั ผึ้งที่แขง็ แรงตัง้ ไวด้ ้านบน) เอา กระดาษหนังสือพมิ พท์ ่ีจดั เตรียมไว้ วางคลุมทาบลงไปดา้ นบน 4. นารังผึ้งทจ่ี ะนาไปรวมรังซ้อนข้ึนข้างบนเหนอื แผ่นกระดาษหนังสือพมิ พแ์ ลว้ ปดิ ฝารังด้านบน 5. ประมาณ 1-2 วัน เปดิ ตรวจเชค็ รงั ผงึ้ ดู ผ้ึงท้ังสองรังจะกดั แผน่ กระดาษ หนังสือพมิ พ์ทะลุเข้าไปหากัน เก็บเศษกระดาษหนงั สอื พิมพ์ออก ผงึ้ ทง้ั สองรังจะ ยอมรบั ซ่งึ กนั และกนั และจะทางานเป็นปกติ ให้จัดการรวมผ้ึง 2 รัง เข้าดว้ ยกัน

หน้ำ 16 U2T ตำบลส้ำน อำเภอเวียงสำ จงั หวดั น่ำน ข้นั ตอนการเลย้ี งผ้ึง 2.พชื อาหารของผึ้ง ผึง้ งานเกบ็ เกยี่ วน้าหวาน และเกสรดอกไม้ ซึ่งดอกไม้มีชว่ งระยะเวลาบานแตกต่างกนั เชา้ สายบ่ายเย็น กลางคืน สว่ นใหญผ่ ้ึงบนิ ออกเกบ็ เกยี่ วเกสรตอนเช้า เก็บนา้ หวานตอนบ่าย ดอกไมพ้ ืชอาหารทีผ่ ึ้งชอบมากไดแ้ ก่ ฤดกู าล เกสร น้าหวาน หมายเหตุ ม.ค. – ก.พ. ไมยราบ ไผ่ นนุ่ ฝา้ ย ง้วิ ตาล ไผ่ มะกอกน้า ดอกไมท้ ี่ผงึ้ ชอบนอ้ ย เช่น กระถิน ข้เี หลก็ บ้าน ขนนุ มะขาม ก.พ.-มี.ค. ม.ี ค. –เม.ย. ขา้ วโพด ข้าว ชมพู่ ลน้ิ จี่ ส้ม มะนาว เม.ย. – พ.ค. ลาไย ประดู่ ม.ิ ย. – ก.ย. กระถินบา้ น ดาวกระจาย มะกอกนา้ ต.ค.- ธ.ค. ฟกั ทอง ทานตะวัน งา ธ.ค.- ม.ค. คณุ นายตื่นสาย ยูคาลิปตัส ตลอดทงั้ ปี สาบเสือ มะพรา้ ว แตง

U2T ตำบลส้ำน อำเภอเวียงสำ จงั หวดหั นน่้ำำน17 วธิ ีการเก็บนา้ ผ้งึ - อปุ กรณ์ที่ใชใ้ นการสลดั นา้ ผ้ึงท่สี าคัญมีอยู่ 2 อยา่ ง ดว้ ยกนั คือ 1) มดี เฉอื นฝารวง 2) ถังสลดั น้าผง้ึ ออกจากรวง สาหรับผทู้ ่ีเลย้ี งผงึ้ รายเลก็ ๆอาจใช้มีดทาครัวอย่างบางท่ีมขี นาดใบมีดกว้างประมาณ 1-1.5 น้ิว ยาวประมาณ 10-12 นว้ิ จมุ่ น้าร้อนและเช็ดให้แห้ง แลว้ นาเฉือนฝารวง ในขณะทยี่ ังรอ้ นอยู่กจ็ ะช่วยไดส้ ะดวกพอสมควร แต่ในกรณที ม่ี รี ังผง้ึ เปน็ จานวนมากก็ ควรจะใช้มีดเฉือนฝารวงโดยเฉพาะถังสลดั น้าผงึ้ มีต้งั แตข่ นาดเลก็ แบบใชม้ ือหมนุ ที่สลดั ไดค้ ร้งั ละ 2 รวง ไปจนถงึ ขนาดใหญ่ที่สามารถสลดั น้าผ้ึงได้พร้อมๆกนั หลายสิบรวง ซ่ึงจะใช้มอเตอรไ์ ฟฟา้ เป็นตัวหมนุ ความเรว็ ของถงั สลดั น้าผ้งึ ประมาณ 300 รอบ/นาที เกษตรกรหลายทา่ นมวี ิธกี ารที่เลย้ี งและวิธกี ารเกบ็ น้าผ้ึงทีแ่ ตกต่างกันออกไปแลว้ แต่ วา่ เกษตรท่านนน้ั ถนดั แบบไหนหรือว่าวัสดุ และอุปกรณ์ท่ีมีอยใู่ นแตล่ ะภมู ภิ าค • การเกบ็ น้าผ้งึ แบบสมยั เกา่ เกษตรกรจะตัดเฉพาะสว่ นท่เี ป็นนา้ ผง้ึ เท่านัน้ จากนน้ั ให้นารวงผึง้ ไปสบั บนตะแกรง ทมี่ ีถังสาหรบั เกบ็ นา้ ผึ้งรองอยดู่ า้ นล่าง แล้วใหท้ ง้ิ น้าผึ้งไว้ประมาณ 3 วัน เศษผงหรอื เศษ รังผ้งึ จะลอยขึน้ มาให้ทาการตกั ท้งิ เสีย ข้อควรระวงั คือ ขณะที่ทาการเกบ็ นา้ ผง้ึ เกษตรกร ไม่ควรใช้มอื บบี รวงผึ้ง เพราะจะทาให้รวงผงึ้ หรือตวั อ่อนลงไปในนา้ ผึง้ ได้ ซ่งึ อาจจะส่งผล ให้รสชาติของนา้ ผง้ึ เปลีย่ นไป

U2T ตำบลส้ำน อำเภอเวียงสำ จงั หวหดั นน่้ำำน18 • การเกบ็ นา้ ผึ้งแบบสมัยใหม่ มดี ว้ ยกนั อยู่ 2 วธิ ี คือ 1) การเกบ็ นา้ ผ้งึ โดยใชถ้ งั สกดั ก่อนทาการเกบ็ นา้ ผ้ึงเกษตรกรควรใชแ้ ปรงปัดตวั ผง้ึ ลงในรังให้หมดเสยี ก่อนจากนั้นให้ทาการใช้ มีดเฉือนไขผึง้ ที่ปดิ หลอดรวงนา้ ผง้ึ ออก นามาใสใ่ นถงั สลัดน้าผึง้ เม่ือเกษตรกรไดน้ ้าผง้ึ ในปริมาณท่ีต้องการแลว้ ให้นาน้าผ้ึงไปใส่ ในถังและบรรจขุ วดตอ่ ไป การเกบ็ นา้ ผึ้งดว้ ยวิธนี ้ีจะชว่ ยใหเ้ กษตรกรได้น้าผ้ึงที่สะอาดและบรสิ ุทธ์ิ 100 % 2) การเกบ็ นา้ ผึ้งโดยไมใ่ ชถ้ ังสกัด ควรตดั เฉพาะสว่ นของนา้ ผึ้งทั้งหมดด้านบน โดยเหลอื อาหารให้ผงึ้ 3-4 รวง การตดั แบบนผี้ ้ึง งานจะสร้างหลอดรวงใหม่ได้ชา้ หรือตดั เปน็ ช่วงๆ การตัดน้าผ้งึ วิธีนีส้ ามารถตัดได้ทุกรวงเพราะมีส่วนของน้าผง้ึ เหลือไวใ้ หเ้ ป็น สารของผึ้งและจะทาใหผ้ ้ึงซอ่ มแซมรงั ได้รวดเร็วกวา่ วธิ ีแรก

หน้ำ 19 U2T ตำบลส้ำน อำเภอเวียงสำ จงั หวดั น่ำน 1.ยกคอนทีม่ นี า้ ผ้ึงมากและมตี ัวออ่ นของผง้ึ น้อยหรอื ไม่มีเลย เขยา่ คอนใหผ้ ้งึ หลดุ จากคอนจนหมด 2.ใชม้ ีดบางแช่นา้ ร้อนปาดแผน่ ไขผึง้ ทป่ี ดิ หลอดรวงน้าผง้ึ ในคอนออกให้หมด 3.นาไปใส่ในถงั สลดั นา้ ผ้ึง ถ้าไม่มถี งั สลัดอาจทาไดโ้ ดยนาตะแกรงลวดหา่ งๆมาประกบตดิ คอนน้าผึ้งท้งั สองดา้ นก่อนที่ จะสลดั แลว้ นาภาชนะท่มี ขี นาดโตกว่าคอนผึ้งมาไวร้ องรบั น้าผง้ึ ยกคอนขน้ึ ในแนวระดบั แล้วสลัดอยา่ งแรงให้นา้ ผงึ้ ตก ลงในภาชนะ จากนน้ั นานา้ ผ้ึงท่ไี ดไ้ ปหรองด้วยผ้าขาวบาง ตั้งท้งิ ไว้ใหฟ้ องอากาศลอยขน้ึ แล้วจงึ บรรจใุ สข่ วดปิดฝาให้ สนิทสาหรับรวงผึ้งทีส่ ลดั นา้ ผง้ึ ออกแลว้ สามารถนากลบั ไปใชไ้ ด้อกี

U2T ตำบลส้ำน อำเภอเวียงสำ จงั หวดหั นน่้ำำน20 ผลติ ภัณฑจ์ ากนา้ ผ้ึง น้าผ้งึ แทจ้ ากธรรมชาติ มีประโยชน์หลากหลายและรสชาติท่หี วานหอมนอกเหนอื จากน้าผ้ึง แลว้ น้นั ส่วนประกอบอื่นๆของผง้ึ และรงั ผง้ึ ยังถกู นาเอาไปใช้กบั ผลิตภณั ฑอ์ น่ื ๆแตกตา่ งกัน ออกไป ดังน้ี 1.เกสร เกสรต่างๆมาจากการท่ผี ง้ึ เข้าไปดดู น้าหวานจากดอกไม้นานาชนดิ ผงึ้ จะนาเกสรเหล่านี้ กลับมาไวย้ ังรงั ของมนั เพ่ือใชใ้ นการเลยี้ งตัวอ่อนและเล้ียงผ้งึ งานตอ่ ไป เกสรที่ผง้ึ เกบ็ มาน้นั ประกอบดว้ ยสารอาหารมากมาย ซงึ่ มีสารอาหารหลกั นน่ั ก็คอื โปรตนี โปรตนี จากเกสรดอกไม้ เหล่านม้ี ีประโยชน์ตอ่ การเตบิ โตของตัวอ่อนผ้งึ อยา่ งมากและยงั มปี ระโยชน์ต่อร่างกายมนุษย์ อีกด้วย ดังน้นั จึงเกิดผลิตภณั ฑ์เกสรผ้งึ ทีช่ ่วยบารุงรา่ งกายและดีตอ่ การบารุงผวิ พรรณเปน็ อันมาก 2.ไขผึ้ง ไขทเ่ี ราไดม้ าจากผ้งึ นนั้ เราจะนบั เป็นไขมันจากสัตว์ โดยเราจะเก็บไขผึง้ แท้ไดจ้ ากรวงรังผ้งึ ซ่ึงไขผึง้ ในอดตี นั้นเป็นของมีคา่ อยา่ งมาก สามารถใช้แลกเปลย่ี นสนิ คา้ แทนเงินตราในสมยั นไ้ี ด้ เป็นอยา่ งดี ไขผ้ึงแทส้ ามารถนาไปทาเทยี นไขไดอ้ กี ด้วย ซง่ึ การใชไ้ ขผ้ึงเปน็ ส่วนผสมของ ผลิตภณั ฑ์ตา่ งๆไม่ว่าจะเป็นกาว หมากฝรง่ั ครมี บารุงผวิ โฟมล้างหนา้ ไขผึง้ นามาป้ันหุ่นชนิด ต่างๆได้อกี ด้วย อาทิเช่น หุ่นคน หรอื หุ่นบุคคลสาคญั และเปน็ ท่ีนยิ มมากในการป้ันพระพุทธรูป ในวัดวาอารามต่างๆ

U2T ตำบลส้ำน อำเภอเวียงสำ จงั หวหดั นน่้ำำน21 ผลติ ภณั ฑ์จากนา้ ผึ้ง 3.นมผึ้ง นมผึ้งหรอื เรียกอีกอยา่ งว่า Royal jelly นมผึ้งนั้นใช้เปน็ อาหารให้กบั ผึง้ นางพญาและผ้งึ ตัวออ่ นด่ืมกนิ เพอ่ื เจรญิ เติบโต นมผึ้งมาจากผึง้ งานท่มี ีอายุตัง้ แตห่ ้าถึงสบิ ห้าวนั ซึง่ ผลิตมาจากตอ่ มท่ีอยสู่ ่วนหวั ของผงึ้ งาน โดยผ้ึงงานจะคายลงไปในหลอด รวงให้แก่ตัวอ่อนและนามาใหผ้ ้งึ นางพญาอีกดว้ ย นมผึง้ มีลกั ษณะสีขาวๆมีรสชาตเิ ปรย้ี วเผด็ มีประโยชน์อย่างมากในการ เลีย้ งตัวอ่อนของผึ้งทุกชนดิ ผ้ึงวรรณะผึ้งงานจะไดร้ บั นมผ้งึ จนอายคุ รบสามวนั แต่หากตวั ออ่ นท่จี ะเจริญไปเปน็ ผึง้ นางพญา จะไดร้ บั นมผ้ึงมากกว่าปกติ ซึง่ จะได้รบั ตลอดชีวติ ของมัน ด้วยเหตนุ ีผ้ ้ึงนางพญาจึงตวั โตกวา่ ผงึ้ ในวรรณะอนื่ ๆ และมีความ แข็งแรงกว่ามาก ซึ่งจากการศกึ ษาโภชนาการของนมผึ้งพบสารอาหารหลากหลายชนดิ ไมว่ ่าจะเปน็ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมนั แร่ธาตแุ ละวติ ามินหลากหลายชนิด โดยมีวิตามนิ บสี ูงทสี่ ดุ จงึ ช่วยบารุงสมองใหฉ้ ลาดและมไี หวพริบดีอกี ดว้ ย ด้วยเหตุ น้จี งึ มกี ารนานมผงึ้ มาเปน็ สว่ นผสมของอาหารและใช้กินเปน็ อาหารเสริมรวมไปถงึ การนามาผสมกับเคร่อื งสาอางบารุง ผวิ พรรณใหผ้ ่องใสไดอ้ กี ด้วย 4.พิษผึง้ พิษของผง้ึ ทส่ี กัดมาจากหลายๆแหลง่ ไมว่ ่าที่ใดกต็ ามพบวา่ มีสารเคมีชนิดเดยี วกัน ไดแ้ ก่ โดพามีน ฮสิ ตามีน อะพามนี และเอนไซน์หลากหลายชนดิ ซ่ึงมอี ัตราสว่ นทีใ่ กล้เคียงกนั มาก ไม่ว่าจะเปน็ ผึง้ เลยี้ งหรือผงึ้ ปา่ จงึ สรุปได้ว่าผ้ึงสามารถ สงั เคราะห์สารเคมเี ป็นพษิ ขนึ้ มาไดเ้ องโดยไมเ่ กีย่ วกบั สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ โดยผลติ ภัณฑจ์ ากพิษผ้ึงมีประโยชนต์ ่อ สขุ ภาพเช่นกนั ไม่ว่าจะเป็นการรกั ษาโรคภมู ิแพ้ โรคมาตซิ ัม ในสมัยโบราณประเทศฝง่ั ตะวันตกใชผ้ ง้ึ ต่อยเพือ่ รกั ษาโรคปวด ไขข้อกระดูกพบวา่ พษิ ของผง้ึ แมจ้ ะทาความเจบ็ ปวดให้รา่ งกายแต่กลับทาให้หายเจบ็ ปวดจากขอ้ กระดกู ได้

U2T ตำบลส้ำน อำเภอเวียงสำ จงั หวดหั นน่้ำำน21 บรรณานกุ รม https://www.rakbankerd.com/agriculture http://forprod.forest.go.th (สานกั งานป่ าไมพ้ ษิ ณโุ ลก) https://www4.fisheries.go.th/ (ศนู ยศ์ ึกษาการพฒั นาอา่ วคงุ้ กระเบน อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ จงั หวดั จนั ทบรุ ี)

ทีมท่ีปรึกษาโครงการ จดั ทาโดย ทีม U2T ส้าน มหาวิทยาลยั แม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ นางธนันธรณ์ วฒุ ิญาณ ผชู้ ่วยศำสตรำจำรย์ ดร.ตะวนั ฉัตรสงู เนิน หวั หน้ำโครงกำร 1 ตำบล 1 มหำวิทยำลยั พืน้ ที่ตำบลส้ำน ผชู้ ่วยศำสตรำจำรย์ ดร.วรศิลป์ มำลยั ทอง นำงแอน สีสวรรค์ นำงสำวกมลนิตย์ บรุ ินรมั ย์ อำจำรย์ ดร.เกษรำพร ทิรำวงศ์ นำงสำวอภิสรำ สคุ ำ นำยเนติพงศ์ ต่ำงใจ อำจำรย์ ดร.อำนวยพร ใหญ่ย่ิง นำงสำวสภุ ำลกั ษณ์ เตชำ นำงสำวสตุ ำภทั ร วงคก์ องแก้ว นำยสิทิไวกลู ทิรำวงศ์ นำงสำวขวญั ฤทยั กนั ใจ นำยเสกสิทธ์ิ แก้วใส นำยกิติพงษ์ วฒุ ิญำณ นำงเพียรจิต ทำนะ นำงสำวกญั ญำรตั น์ ป้องตนั นำยกษิดิศ กองตำนพคณุ นำยปรชั ญำ อินอำรำม องคก์ ำรบริหำรส่วนตำบลส้ำน นำงสำววรทั ยำ สนุ ัน นำงสำวศิริวรรณ ใหม่จนั ทร์ นำยปรมินทร์ วงศก์ องแก้ว นำยศภุ กฤต สำรมะโน นำยด่ำนชยั ด่ำนธนะทรพั ย์ ว่ำที่ ร.ต.หญิง ปรำงทิพย์ ณรินทรส์ กลุ นำงสำวจีรนันท์ โนพวน นำยชิน พฒั นำ นำยรชั พล ดอนจนั ทร์ นำงสำวบศุ รำภรณ์ สมบตั ิปัน นำงสำววชั รี วรรณภพ ขอขอบคณุ นำยสมชำย สิทธิกำ กล่มุ เกษตรกรผเู้ ลีย้ งผงึ้ ตำบลส้ำน และผมู้ ีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่ำน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook