Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการเพาะเลี้ยงไส้เดือนดิน

คู่มือการเพาะเลี้ยงไส้เดือนดิน

Published by iamalady2021, 2021-09-14 03:19:45

Description: คู่มือการเพาะเลี้ยงไส้เดือนดิน จัดทำโดย U2T SAN ฉบับปรับปรุง

Search

Read the Text Version

การเพาะเล้ ียงไสเ้ ดือนดนิ -1- เพอื่ ผลติ ป๋ ุยอินทรีย์ คณุ ภาพสูง โดยทวั่ ไปในธรรมชาติ ไส้เดือนดิน มีอายุท่ี ภาพท่ี 1 ทมี ยูททู สี ้าน เพาะเลีย้ งไส้เดอื น ยาวนาน ต้งั แต่ 4 - ดิน 10 ปี ข้ ึนอยู่กบั ชนิด ของไส้เดื อนดิน แต่ จดั อยูใ่ นกลุม่ ผูย้ อ่ ย เมอื่ นามาเพาะเล้ ียงมกั สลายซากอินทรียใ์ นระบบนิเวศ แบ่ง พบว่าไส้เดื อนดิ นมี ออกเป็ น 2 กลุม่ ใหญ่ ตามท่ีอยอู่ าศยั อายุสน้ั ลง โดยทวั่ ไปจะ และนิสยั ในการกินอาหารคือ ไสเ้ ดือน มอี ายุเฉลี่ยไมเ่ กิน 2 ปี ดินที่อาศยั อยูต่ ามผิวดินหรือ ใตซ้ าก อินทรียแ์ ละไสเ้ ดือนดิน ที่อาศยั อยใู่ ต้ ภาพที่ 2 กะละมงั สาหรับเพาะเลยี ้ ง ดินโดยการขดุ รูอยู่ โดยไสเ้ ดือนดินท่ี อยตู่ ามผิวดินหรือใตซ้ ากอินทรียจ์ ะมี วั ส ดุ อุ ป ก ร ณ์ ท่ี ต้ อ ง ประสิทธิภาพในการย่อยสารอินทรีย์ จดั เตรยี ม ในดิน ไดด้ ีกวา่ และมกี ารขยายพนั ธุ์ วงบอ่ หรอื ที่รวดเร็วกวา่ ดว้ ย กะละมงั - พลาสติก ท่อนไมไ้ ผ่ บวั รดน้า มลู ววั ตะกรา้

-2- ภาพท่ี 3 กะละมังเจาะรูแล้ว ข้ันตอนท่ี 1 การเตรียมสถานท่ีและ อุปกรณเ์ ล้ ียง สถานที่เล้ ียง ตอ้ งเป็ นท่ีร่ม ไม่โดนแดดแรง อุปกรณ์เป็ นวงบ่อท่ีมีรู ระบายน้าออก 80-100 เซนติเมตร ถา้ เป็ นกะละมงั ใชข้ นาด 50 เซนติเมตร เจาะ รูประมาณ 20-30 รู เพ่ือระบายน้าออก ข้นั ตอนที่ 2 การเตรียมเบดด้ ิง หรือเรียกวา่ ท่ีนอน เพื่อไวเ้ ล้ ียงไสเ้ ดือน โดย การนาข้ ีววั มาแช่น้า 1-2 คืน แลว้ ถ่ายน้าท้งั หมด 3 คร้งั รวมระยะเวลา เตรียมเบดด้ ิงอยูท่ ี่ประมาณ 7 วนั วตั ถุประสงคข์ องการแช่ข้ ีววั เพื่อทาใหข้ ้ ีววั เย็นลงและเหมาะสมต่อการ อยู่อาศัย ของไสเ้ ดือน หลังจากที่แช่ข้ ีววั ครบตาม กาหนดแล้ว จึงปล่อยน้าออกให้ข้ ีวัว หมาดๆ แล้วตักใส่กะละมัง ใหร้ ะดับ ค ว า ม สู ง ข อ ง ข้ ี วั ว อ ยู่ ที่ 15-20 เซนติเมตร เพื่อเตรียมปล่อยตวั ไสเ้ ดือน ภาพท่ี 4 เบดดงิ้ ลงไปเล้ ียง

-3- ข้นั ตอนท่ี 3 ชว่ งปล่อยตวั ไสเ้ ดือน เมือ่ ไดต้ วั พอ่ แม่พนั ธุแ์ ลว้ ก็ปล่อย ตัวไสเ้ ดือนลงไปบนเบดด้ ิง ในภาชนะที่เตรียมไว้ ในกะละมังปล่อยตัว ไสเ้ ดือนที่ 2.5-3 ขีด ต่อกะละมัง หลังจากปล่อยเสร็จใหส้ ังเกตดูว่าตัว ไสเ้ ดือนมุดลงไปใน เบดด้ ิงที่เตรียมไวห้ รือไม่ ถา้ ไมม่ ุดลงไปแสดงว่าเบดด้ ิง ที่เตรียมไวม้ ีปัญหา “ปัญหาท่ีไสเ้ ดือนไม่มุดเพราะข้ ีววั แช่ไม่ดี แช่ไม่ครบ กาหนด หรือข้ ีววั มีการลา้ งคอกดว้ ยโซดาไฟ เน้นย้าข้ ีววั ยิ่งเย็นจะเหมาะสม กบั การปล่อยไสเ้ ดือน ถา้ ไมค่ รบกาหนดหรือ ข้ ีววั ใหมๆ่ จะมีความรอ้ นและ แกส๊ มากทาใหไ้ สเ้ ดือนอยไู่ มไ่ ด้ ” ภาพท่ี 5 เบดดงิ้ ภาพท่ี 6 เบดดงิ้

-4- ข้นั ตอนท่ี 4 การควบคุมความช้ ืน ใหส้ เปรยน์ ้าใหค้ วามช้ ืนเม่ือหน้าเบดด้ ิง แหง้ ระยะเวลาท่ี 1-2 วนั ต่อ คร้งั ข้ ึนอยูก่ บั สภาพอากาศ และตามความ เหมาะสม พยายามอย่ารดน้าใหแ้ ฉะ เพราะจะทาใหไ้ สเ้ ดือนหนีออกจาก ภาชนะท่ีเล้ ียง ควรระวงั เร่ืองศตั รู เช่น มด อึ่งอ่าง จ้ ิงจก จ้ ิงเหลน ท่ีจะมากิน ตวั เพราะไสเ้ ดือนพวกน้ ีเป็ นไสเ้ ดือน ผิวดิน จะทาใหพ้ วกสตั วเ์ หล่าน้ันมา รบกวนไดง้ ่าย ภาพท่ี 7 ภาชนะเลีย้ งวางบนชัน้ แบบถาวร ภาพท่ี 8 ภาชนะเลีย้ ง วางแบบง่ายๆ ข้นั ตอนที่ 5 การใหอ้ าหาร ใช้ เศษผักสีเขียว และวัชพืช โรยไปตาม หน้าวสั ดุรองพ้ ืนในอตั รา 120 - 150 กรัม ต่อน้าหนักตัว 1กิโลกรัม ต่อวัน ภาพท่ี 9 เศษวชั พชื (12-15เปอร์เซ็นต์ของน้ าหนักตัว) แ ต่ ถ้า เ ป็ น ไ ส้เ ดื อ น ดิ น ส า ย พั น ธุ์ ต่างประเทศจะตอ้ งใหอ้ าหารเป็ น 2 เท่า ใชเ้ วลาประมาณ 4 – 6 สปั ดาห์ จะมปี ริมาณไสเ้ ดือนดินเพ่ิมข้ นึ ประมาณเท่าตวั ของจานวนที่ปลอ่ ย

-5- ข้นั ตอนที่ 6 การแยกตวั ไสเ้ ดือนกบั มลู หลงั จากเล้ ียงไดป้ ระมาณ 45 วนั ใชว้ ิธีสงั เกตดูเบดด้ ิงในภาชนะ เปลี่ยนจากข้ ีววั เป็ นมลู ไสเ้ ดือน จนหมดแลว้ (มูลไส้เดือนมีลักษณะเป็ นเม็ดรีๆ คลา้ ยลูกรักบ้ ี)ก่อนจะแยกตัว งดให้ น้า7วนั เพ่ือใหม้ ูลไส้ -เดือนแหง้ และ งา่ ยต่อการคดั แยกตวั เมื่อมลู ไสเ้ ดือน พรอ้ มแยกตวั แลว้ ภาพท่ี 10 ภาชนะสาหรับคดั แยกไส้เดอื น ภาพท่ี 11 มลู ไส้เดือน ท่แี ยกออกมาแล้ว ใหต้ ักใส่เคร่ืองร่อน ถ้าหากผู้เร่ิมต้น เล้ ียง ควรมีอุปกรณ์การแยก เช่น ตะกรา้ รูเล็กที่มูลไสเ้ ดือนรอดออกได้ แต่ตวั ไสเ้ ดือนยงั ติดอยู่ นามาร่อนแยก ไดเ้ ช่นกนั สาหรับการเล้ ียงไสเ้ ดือนแบบใส่กะละมงั กับวงบ่อ จะใหผ้ ลผลิตท่ีเป็ นมูล เหมือนกนั แต่จะต่างเร่ืองการจดั การ เพราะถา้ เล้ ียงวงบ่อเม่ือไดม้ ลู ตอ้ งกม้ ๆ เงยๆ ขนยา้ ยมาใส่เครื่องร่อนลาบาก ใชแ้ รงงานมากข้ ึน แต่ตัว ไสเ้ ดือนจะ อวบกว่า ส่วนการเล้ ียงในกะละมงั จะจดั การง่ายกวา่ แต่ตัวไสเ้ ดือนจะขนาด เล็กกวา่ เล็กนอ้ ย สภาพแวดลอ้ มที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของไสเ้ ดือนดิน

-6- 1. ดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม เปลี่ยนขยะอินทรียเ์ ป็ นป๋ ุย 2. หมกั ลดการฝังกลบขยะ ไสเ้ ดือนชว่ ยพลิกกลบั ดินโดยการกินดินทาให้ แร่ธาตุในดินผสมคลุกเคลา้ ใหเ้ ขา้ กนั ช่วยทาลายชน้ั ดิน 3. ด้านการเกษตร ผลิตป๋ ุยหมักจากไส้เดือนและน้าสกัดชีวภาพใช้ใน การเกษตรอินทรีย์ ช่วยใหก้ ารย่อย สลายสารอินทรียท์ ่ีรวมถึงซากพืชสตั ว์ และอินทรียวัตถุต่างๆ ผลิตป๋ ุยหมัก (vermicomposting) และน้าสกัด ชีวภาพจากไสเ้ ดือน (worm tea) นาน้าหมกั มูลไสเ้ ดือนดินท่ีรวบรวมไดม้ า เติมอากาศเพ่ือช่วยในการเจริญเติบโต ของเช้ ือจุลินทรียจ์ ากน้ันนาน้าหมกั มูลไสเ้ ดือน 1 ส่วน ผสมน้า 20 ส่วน ใชร้ ด พืชผัก ไมผ้ ล ไมด้ อกเพ่ือช่วย ในการ เจริญเติบโต ภาพท่ี 12 การทาป๋ ุยหมกั จากมลู ไส้เดอื น ภาพท่ี 13 ผสมนา้ กับมูลไส้เดือน

-7- ภาพท่ี 12 กรอกนา้ หมักมลู ไส้เดอื นใส่ภาชนะ ภาพท่ี 13 นา้ หมกั มูลไส้เดอื นใช้เป็ นป๋ ุย 4. ส่งเสริมการละลายธาตุอาหารพืชที่อยใู่ นรูปอนินทรีย์ สารท่ีพืชใช้ ประโยชน์ไมไ่ ดไ้ ปอยใู่ นรปู ที่พืช นามาใชป้ ระโยชน์ได้ 5. ชว่ ยในการปรบั ปรุงโครงสรา้ งของดินเพ่ือรกั ษาสภาพแวดลอ้ ม โดยการ เปลี่ยนของอินทรียเ์ ป็ นป๋ ุยหมกั 6. ใชเ้ ล้ ียงสตั วเ์ ศรษฐกิจ ผลิตไสเ้ ดือนเป็ นอาหารโปรตีน (vermiculture) เนื่องจากไสเ้ ดือนมโี ปรตีนสูง อาจใชเ้ ล้ ียงปลา ใชเ้ ป็ นเหยื่อ ตกปลา ดา้ นอาหารสตั วใ์ ชเ้ ป็ น อาหารโปรตีนท้งั ในรปู ไสเ้ ดือน เป็ นและผง หรือไสเ้ ดือนสด สาหรบั เล้ ียงเป็ ด หรือกบก็ได้ ภาพท่ี 14 ไส้เดอื นใช้เป็ นอาหารสัตว์ 7. ดา้ นการแพทย์ รกั ษาโรคขอ้ อกั เสบ แผลอกั เสบ โรคผิวหนัง และสลาย ลิ่มเลือดในหลอดเลือด

-8- ส่ิงท่ีควรคำนึงในกำรเลีย้ งไส้เดือน 1. กองเพาะเล้ ียงหรอื กระบะตอ้ งทาในทร่ี ม่ เพอื่ ป้องกนั แสงแดดและฝน 2. จะตอ้ งรดน้าอย่างสมา่ เสมอ 3. ไม่ควรใชป้ ๋ ุยคอกใหม่ ควรตากใหแ้ หง้ และควรบดก่อนนามาใช้ 4. การใชม้ ูลสตั วช์ นิดอ่นื ๆ ควรมีการผสมกบั มูลววั ก่อน 5. ไสเ้ ดอื น 1 กิโลกรมั มีจานวนประมาณ 1,000 ตวั จะกินอาหารได้ 5 กก. ตอ่ วนั 6. ไสเ้ ดือน 10 กิโลกรมั จะกินอาหารได้ 1 ตนั ตอ่ เดือน 7. ไสเ้ ดือน 1,000 ตวั สามารถเล้ ียงในพ้ ืนท่ขี นาด 1 ตารางเมตร 8. ควรใชไ้ สเ้ ดือนสเี ขม้ ท่ีพบบริเวณผิวหนา้ ดนิ ลึก 25 เซนตเิ มตร สาหรบั เล้ ียง ทาป๋ ุยมูลไสเ้ ดือน 9. ระหว่างฝนตกใหน้ ามูลววั วางตามยาวของกองเพาะเล้ ียงเพ่อื ป้องกนั ไสเ้ ดอื นหลบหนี 10.ศตั รูของไสเ้ ดือนดิน เช่น ไร แดง มด หนู นก กบ ก้ ิงกือ ตะขาบ หอย งู ตวั ออ่ น แมลงปี กแข็ง จ้ งิ จก ตกุ๊ แก แมงกระชอน จ้ งิ หรีด ดงั น้นั ในการเล้ ยี งจงึ จาเป็ นตอ้ งมีตาข่ายป้องกนั แมลงและสตั วต์ ่างๆ เขา้ ไป กินไสเ้ ดอื น

-9- บรรณานุกรม  http://www.mnre.go.th/attachment/iu/download.php?WP=rUIjnJ 0jqmEZZz1CM5O0hJatr  https://www.technologychaoban.com/agricultural- technology/article_28412  http://fws.cc/aggri4/index.php?PHPSESSID=bdb985dd0f2718f28 4daf371812a522e&topic  https://farmchannelthailand.com  ศูนย์การอบรมการเพาะเลยี้ งไส้เดือนธีธัชฟาร์ม และบ้านสวนพอเพยี ง

จดั ทาโดย ทีมที่ปรึกษาโครงการ มหาวทิ ยาลยั แม่โจ-้ แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ตะวนั ฉตั รสูงเนิน ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วรศิลป์ มาลยั ทอง อาจารย์ ดร.เกษราพร ทิราวงศ์ อาจารย์ ดร.อานวยพร ใหญ่ยิ่ง นายสิทิไวกูล ทิราวงศ์ นายกิติพงษ์ วุฒิญาณ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลสา้ น นายด่านชยั ด่านธนะทรพั ย์ นายชิน พฒั นา นางสาวบุศราภรณ์ สมบตั ิปัน นางสาววชั รี วรรณภพ นายสมชาย สิทธิกา ทมี U2T สา้ น นางธนันธรณ์ วฒุ ิญาณ หงั หนา้ โครงการ 1 ตาบล 1 มหาวิทยาลยั พ้ นื ท่ีตาบลสา้ น นางแอน สสี วรรค์ นางสาวกมลนิตย์ บุรนิ รมั ย์ นางสาวอภสิ รา สุคา นายเนติพงศ์ ต่างใจ นางสาวสุภาลกั ษณ์ เตชา นางสาวสุตาภทั ร วงคก์ องแกว้ นางสาวขวญั ฤทยั กนั ใจ นายเสกสิทธ์ิ แกว้ ใส นางเพยี รจติ ทานะ นางสาวกญั ญารตั น์ ป้องตนั นายกษิดิศ กองตานพคุณ วา่ ที่รอ้ ยตรีหญิงปรางทิพย์ นรินทรส์ กุล นายปรมนิ ทร์ วงศก์ องแกว้ นายรชั พล ดอนจนั ทร์ ขอขอบคณุ วสิ าหกิจชุมชนสา้ นสรา้ งสุข Smart Tamboon San และผูม้ ีส่วนเก่ียวขอ้ งทุกท่าน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook