ความรเู้ บอ้ื งตน้ เกย่ี วกบั “เซต”
เซต ในวิชาคณติ ศาสตร์ใชค้ าวา่ “เซต” ในการกล่าวถงึ กล่มุ ของสง่ิ ตา่ ง ๆ และ เมือ่ กล่าวถึงกลมุ่ ใด แล้วสามารถทราบได้แนน่ อนวา่ สิ่งใดอยใู่ นกล่มุ และสิ่งใดไมอ่ ย่ใู น กลมุ่ เรยี กสงิ่ ท่ีอยใู่ นเซตวา่ “สมาชกิ ” ยกตวั อย่างเชน่ เซตของชือ่ วันในหนงึ่ สัปดาห์ มวี นั จันทร์ องั คาร พธุ พฤหสั บดี ศกุ ร์ เสาร์ และอาทติ ย์ เปน็ สมาชกิ เซตของจงั หวัดทีข่ ้นึ ต้น “ม” มีจงั หวัด มหาสารคามและมุกดาหาร เป็น สมาชกิ เซตของจานวนนบั ที่นอ้ ยกวา่ 10 มี 1,2,3,4,5,6,7,8,9 เปน็ สมาชิก ข้อสงั เกต เซตไม่ใช่กลุ่มสิ่งของทบ่ี ง่ บอกถงึ คุณภาพ เช่น เซตของคนขยนั เซตของคนสวย เป็นต้น
ชื่อเซตและสมาชกิ ของเซต “ 1) ช่ือของเซต เพื่อความสะดวกในการกลา่ วถึงเซตใดเซตหน่ึง จงึ นิยมใชช้ ่อื “ เซตด้วยอกั ษรภาษาอังกฤษตัวพิมพใ์ หญ่ A,B,C,D,…,Z 2) สมาชกิ ของเซตใชอ้ กั ษรภาษาองั กฤษตัวพมิ พเ์ ล็ก a,b,c,d,…,z แทน สมาชิกของเซต เชน่ A = {a,e,i,o,u} เป็นต้น
การเขยี นสญั ลกั ษณ์แทนการเป็นสมาชกิ ใช้สัญลกั ษณ์ “∈” แทนการเป็นสมาชิก และ “∉” แทนการไม่เปน็ สมาชิก เชน่ A = {a,e,i,o,u} หมายถงึ เซต A มสี มาชกิ คอื a,e,i,o,u เขยี นไดด้ งั นี้ a ∈ A หมายความว่า a เป็นสมาชกิ ที่อยใู่ นเซต A e ∈ A หมายความวา่ e เปน็ สมาชิกทอ่ี ยู่ในเซต A i ∈ A หมายความว่า i เป็นสมาชิกท่ีอยใู่ นเซต A o ∈ A หมายความวา่ o เป็นสมาชิกที่อยูใ่ นเซต A u ∈ A หมายความว่า u เป็นสมาชิกท่ีอยใู่ นเซต A s ∉ A หมายความวา่ s ไมเ่ ป็นสมาชกิ ทอ่ี ยู่ในเซต A ดังนัน้ จานวนสมาชิกของเซต A มจี านวน 5 ตัว สามารถเขียนจานวนสมาชกิ ของ A ได้ เป็น n(A) = 5
ตวั อยา่ ง 1. กาหนดให้ A = {4,5,6,7} จงบอกสมาชิกในเซต วิธที า จะได้ 4∈A 5∈A 6∈A 7∈A
ตวั อย่าง 2. กาหนดให้ A = {1,2,{2,3},3,{3}} จงบอกสมาชกิ ในเซต วิธีทา จะได้ 1∈A 2∈A {2,3} ∈ A 3∈A {3} ∈ A
การเขียนเซตสามารถเขียนได้ 2 แบบ คือ 1) แบบแจกแจงสมาชกิ 2) แบบบอกเง่ือนไข
การเขยี นเซตแบบแจกแจงสมาชกิ เขียนสมาชกิ ทุกตวั ของเซตลงในวงเลบ็ ปกี กา “{}” และใช้เครอ่ื งหมายจุลภาค (,) คั่นระหว่าง สมาชิกแต่ละตัว โดยมีขอ้ ตกลง ดงั นี้ จานวนสมาชกิ มีนอ้ ย ให้เขียนสมาชิกทกุ ตวั เช่น - เซตของจานวนเต็มบวกทีน่ อ้ ยกว่า 6 A = {1,2,3,4,5} จานวนสมาชิกมีมากและสามารถนับได้ให้เขียน สมาชิก 3 ตัวแรกแล้วใช้ “…” และเขียน สมาชกิ ตวั สดุ ทา้ ย เช่น - เซตของพยัญชนะในภาษาไทย B = {ก,ข,ค,…,ฮ} จานวนสมาชิกมมี ากไม่สามารถนับได้ ให้เขียนสมาชิก 3 ตัวแรก แลว้ ใช้ “…” เช่น - เซตของจานวนนับ C = {1,2,3,…} ข้อสงั เกต ในการเขยี นเซตแบบแจกแจงจะเขียนสมาชิกแตล่ ะตัวเพียงครง้ั เดียว เชน่ เซตของ พยญั ชนะในคาวา่ “กรรมการ” A = {ก,ร,ม}
ตวั อยา่ ง 1. ให้ A แทนเซตของจานวนนบั ท่นี อ้ ยกว่า 5 เขียนแบบแจกแจงสมาชกิ ได้ดงั น้ี A = {1,2,3,4} 2. ให้ B แทนเซตของจานวนเต็มท่ยี กกาลงั สองแล้วได้ 16 เขยี นแบบแจกแจงสมาชิกไดด้ งั น้ี B = {4,-4} 3. ให้ C แทนเซตของจานวนนับทีน่ ้อยกว่า 49 เขียนแบบแจกแจงสมาชิกไดด้ ังน้ี C = {1,2,3,…,48} 4. ให้ D แทนเซตของจานวนเต็มลบทม่ี ากกวา่ -15 เขยี นแบบแจกแจงสมาชิกไดด้ งั นี้ D = {-1,-2,-3,…,-14} 5. ให้ E แทนเซตของจานวนเตม็ เขยี นแบบแจกแจงสมาชิกได้ดังนี้ E = {1,2,3,…} 6. ให้ F แทนเซตของจานวนเต็มลบที่มากกว่า 0 เขียนแบบแจกแจงสมาชิกได้ดงั นี้ F = { } เรยี กเซต F ว่า เซตว่าง เน่ืองจากไมม่ สี มาชิก นอกจากยงั สามารถใชส้ ัญลักษณ์ “∅” แทนเซตว่าง
การเขียนเซตแบบบอกเง่อื นไข เขยี นโดยใช้ตัวแปรแทนสมาชกิ แลว้ บรรยายสมบัตหิ รือเงือ่ นไข โดยใช้เครื่องหมาย “I” แทนคา วา่ “โดยที่” คนั่ ระหว่างตวั แปรและเงอ่ื นไข เชน่ F = {x I x เป็นจานวนนับทม่ี หี ลกั เดียว} อ่านว่า F เป็นเซตซึ่งประกอบด้วยสมาชิก x โดย ท่ี x เป็นจานวนนบั ทม่ี ีหลักเดียว
ตัวอยา่ ง 1. ให้ A แทนเซตของพยญั ชนะในภาษาไทย เขยี นแบบบอกเง่อื นไขไดด้ ังนี้ A = {x I x เปน็ พยญั ชนะในภาษาไทย} 2. ให้ B แทนเซตของจานวนเต็มท่ียกกาลงั สองแลว้ ได้ 16 เขยี นแบบบอกเงือ่ นไขไดด้ งั นี้ B = {x I x เป็นจานวนเตม็ และ x2 = 16} 3. ให้ C = {1,3,5,7,9} เขยี นแบบบอกเงื่อนไขไดด้ งั นี้ C = {x I x เปน็ เซตของจานวนเต็มบวกคีท่ ีน่ ้อยกวา่ 10} 4. ให้ D = {…,-2,-1,0,1,2,…} เขียนแบบบอกเงอ่ื นไขไดด้ งั น้ี D = {x I x ∈ I } ** อ่านว่า เซต D เปน็ เซตประกอบด้วยสมาชิก x โดยท่ี x เปน็ จานวนเตม็
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: