Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ilovepdf_merged

ilovepdf_merged

Published by thongkhai2556, 2020-03-07 22:39:41

Description: ilovepdf_merged

Search

Read the Text Version

AR องค์ความรู้ สานักงานพฒั นาชุมชน จงั หวดั สกลนคร โทร ๐๔๒ ๗๑๑๕๕๔

บันทึกองค์ความรู้ ช่ือ – นามสกุล นางสาววิลาวัณย์ ศรีสมยา ตาแหน่ง นกั วชิ าการพฒั นาชุมชนชานาญการ สงั กดั สานกั งานพฒั นาชุมชน ชานาญการ เบอร์โทรศัพทท์ ่ีติดต่อได้ ๐๘-๑๗๖๘-๑๖๐๑ ชื่อเร่อื ง ความสขุ ทว่ี ัดได้ดว้ ยตัวเรา(ชุมชน) เปน็ การแก้ไขปัญหาเกย่ี วกับ การขบั เคลื่อนหมบู่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพียงต้นแบบ เหตกุ ารณน์ ีเ้ กิดข้นึ เม่ือ วนั ท่ี ๒๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ สถานทเี่ กดิ เหตกุ ารณ์ บ้านสงเปลอื ย หม่ทู ี่ ๔ ตาบลไฮหย่อง อาเภอพงั โคน จังหวัดสกลนคร เนอ้ื เรอ่ื ง บ้านสงเปลือย หมู่ท่ี ๔ ตาบลไฮหย่อง อาเภอพงั โคน เป็นหมบู่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพียงตน้ แบบ ประจาปี พ.ศ. ๒๕๕๘ งบประมาณจากจังหวดั สกลนคร สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอพังโคนไดด้ าเนนิ การตาม แนวทางตามยุทธศาสตร์กรมการพฒั นาชมุ ชน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ไดม้ ีการทบทวนความเปน็ หมู่บ้านเศรษฐกจิ พอเพียงต้นแบบ จากการจัดเวทฯี ครวั เรอื นตน้ แบบของหม่บู ้านไดน้ าเกณฑป์ ระเมนิ สุขภาพหมู่บ้านเศรษฐกจิ พอเพียง ๔ ดา้ น ๒๓ ตวั ชวี้ ัด จากการประเมินตวั ชว้ี ัด คร้ังท่ี ๒/๒๕๕๗ มีตวั ชีว้ ัดทีไ่ มผ่ ่าน ข้อ ๖, ๘, และข้อ ๒๒ จานวน ๓ ตวั ชว้ี ดั และผลการวดั ความสขุ มวลรวม หรอื วัดความอยเู่ ยน็ เป็นสุข รวม ๖ ดา้ น ๒๒ ตัวชว้ี ัด(การวัดเชิงปริมาณ) ไดค้ ะแนนอยู่ท่ี ๔.๑๒ จากคะแนนเตม็ ๕ คะแนน และการวดั โดยใชป้ รอท ชมุ ชน ผลการวดั อยทู่ ี่ร้อยละ ๘๓ เพอื่ วัดความสมดุลของคนในชมุ ชนท่ีเช่อื มโยงกับเศรษฐกิจ สงั คมและ ส่งิ แวดลอ้ มอย่างเปน็ องค์รวม และการอยูร่ ่วมกันอย่างสนั ติ หลงั จากการไดช้ ีแ้ จงวัตถปุ ระสงค์ สร้างความเข้าใจ ความหมายและความจาเปน็ ท่ตี อ้ งการวดั เพ่ือใช้เปน็ ตัวกาหนดแนวทางการพฒั นาในลาดบั ต่อไป จากการจดั เวทีฯ เพื่อให้ตัวช้วี ดั ทตี่ กเกณฑ์ผา่ นเกณฑ์ได้กาหนดรปู แบบการพัฒนาคอื นาหมู่บ้านเขา้ สู่กระบวนการแขง่ ขันเพื่อกระตุ้น ให้ครัวเรอื นในชมุ ชนมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นา และเป็นการสร้างกระบวนการเรยี นรู้แก่ครัวเรือนขยายในหม่บู ้าน ตอ่ ไป จากผลการประเมนิ คร้ังที่ ๑/๒๕๕๘ มีผลการพฒั นา ดังนี้ - ตวั ชวี้ ดั การพฒั นาศกั ยภาพ ๔ ดา้ น ๒๓ ตวั ชวี้ ดั มีตัวช้วี ัดที่ไม่ผ่านเกณฑ์ คือข้อ ๒๒ - ตัวชีว้ ดั ความสขุ มวลรวม(GVH) ๖ ด้าน ๒๒ ตัวชี้วัด คา่ คะแนนอยู่ที่ ๔.๔๘ - ผลจากการวดั ปรอทชมุ ชน(ปรอทวัดความสุข) มคี วามพงึ พอใจคดิ เปน็ ร้อยละ ๙๐ บันทกึ ขุมความรู้ (Knowledge Assets) กระบวนการวดั ความสขุ มวลรวมแกนนาบ้านสงเปลือย หมู่ที่ ๑๑ ตาบลพังโคน มอี งคป์ ระกอบท่ีสาคญั ดังนี้ ๑. บคุ คลเปา้ หมายประกอบด้วยตวั แทนครวั เรือนตน้ แบบ จานวน ๓๐ คน จะต้องมีความรู้ เก่ียวกับชุมชนเป็นอย่างมาก ๒. วิทยากรกระบวนการจะต้องเข้าใจวัตถุประสงคข์ องการวัดความสขุ มวลรวม ในฐานะเป็นผู้ เอือ้ อานวย ๓. ขนั้ ตอนการดาเนนิ งานการวัดความสขุ มวลรวม

๓.๑ ความสมั พนั ธ์เปน็ กันเองและมีบรรยากาศแบบสบาย ๆ เหมอื นการพูดคยุ ๓.๒ ให้ที่ประชุมเลือกวิธกี ารลงประชามติ ๓.๔ วทิ ยากรสุม่ ตวั อยา่ งสาหรบั เกณฑป์ รอทวัดความสขุ พร้อมหาข้อสรปุ ๓.๕ วทิ ยากรสรุปคา่ คะแนนแล้วเปรยี บเทยี บกับค่าคะแนนท่ีได้จากปรอทวดั ความสขุ ๓.๖ เวทฯี รว่ มกนั วเิ คราะห์ องคป์ ระกอบทีม่ คี ่าคะแนนตา่ เพื่อจะได้วางแผนพฒั นา หมู่บา้ น ๔. เวทรี ่วมกันสรุปผลการวัดความสขุ มวลรวมของหม่บู า้ น พรอ้ มกาหนดแผนการพัฒนา นาเสนอเขา้ สูก่ ารปรับปรงุ แผนชุมชนในโอกาสตอ่ ไป แกน่ ความรู้ (Core Competency) ชุมชนเรยี นรปู้ ัญหา ร่วมวิเคราะห์ปญั หา พร้อมกาหนดแนวทางแก้ไขรว่ มกัน กลยุทธใ์ นการทางาน = พดู ใหฟ้ ัง ทาใหด้ ู ชใู หเ้ หน็ ๑. การสอื่ สารเชงิ สรา้ งสรรค์ช่วยกระตนุ้ ความคิดและมีส่วนรว่ ม ๒. ใช้หลกั ประชาธิปไตยและการมสี ่วนรว่ ม กฎระเบยี บแนวคดิ ทฤษฏีท่เี ก่ียวข้อง ๑. แนวคิดการ “การมสี ่วนรว่ มในการพฒั นาชุมชน” ๒. ตวั ชว้ี ัดการพฒั นาหมบู่ า้ น ๔ ดา้ น x ๒๓ ตวั ชี้วดั ๓. ตวั ชวี้ ัดความ “อยูเ่ ย็น เป็นสขุ ” ของชมุ ชนหรอื ความสุขมวลรวมชมุ ชน (Gross Village Happiness : GVH) ของกรมการพฒั นาชมุ ชน ๔. ปรอทวดั ความสุข **********************************

บันทกึ องคค์ วามรู้ ชอ่ื – นามสกลุ นางสาววิลาวณั ย์ ศรสี มยา ตาแหนง่ นกั วิชาการพัฒนาชมุ ชนชานาญการ สังกัด สานักงานพฒั นาชมุ ชน ชานาญการ เบอรโ์ ทรศัพท์ทีต่ ิดต่อได้ ๐๘-๑๗๖๘-๑๖๐๑ ช่อื เรือ่ ง ความสขุ ท่วี ดั ไดด้ ้วยตัวเรา(ชมุ ชน) เปน็ การแกไ้ ขปัญหาเกยี่ วกับ การขับเคล่ือนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ เหตุการณน์ ้เี กดิ ขึน้ เมอ่ื วนั ท่ี ๒๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ สถานท่เี กดิ เหตุการณ์ บา้ นดอนตาล หมู่ที่ ๑๑ ตาบลพังโคน อาเภอพงั โคน จงั หวัดสกลนคร เน้อื เรื่อง บา้ นดอนตาล หมู่ท่ี ๑๑ ตาบลพงั โคน อาเภอพังโคน ได้รบั งบประมาณโครงการส่งเสริมและพัฒนา หม่บู า้ นเศรษฐกจิ พอเพยี งตน้ แบบ กจิ กรรมที่ ๓ ขยายผลหม่บู ้านเศรษฐกจิ พอเพียง ในปี ๒๕๕๕ สานกั งานพัฒนาชุมชนอาเภอพงั โคนได้ดาเนินการตามแนวทางตามยุทธศาสตรก์ รมการพัฒนาชุมชน ตามหว้ งเวลา ทกี่ าหนด จากการจดั เวทีฯ ครวั เรือนตน้ แบบของหมบู่ า้ นมีการนาเกณฑ์ประเมินสุขภาพหมบู่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๔ ด้าน ๒๓ ตวั ชวี้ ดั จากการประเมนิ เบ้ืองตน้ มีตวั ชีว้ ดั ทต่ี กเกณฑ์อาทิ ข้อ ๑๕, ๑๖, ๒๑ และข้อ ๒๒ จานวน ๔ ตวั ชว้ี ัด และนาตัวชวี้ ัดความสุขมวลรวม หรือวัดความอยู่เยน็ เปน็ สขุ รวม ๖ ด้าน ๒๒ ตัวช้ีวดั (การวัดเชิงปริมาณ) เพ่ือวัดความสมดุลของคนในชมุ ชนที่เชื่อมโยงกบั เศรษฐกิจ สงั คมและสิ่งแวดลอ้ มอย่างเป็น องค์รวม และการอยู่รว่ มกันอยา่ งสันติ หลังจากการช้ีแจงวัตถุประสงค์ สร้างความเขา้ ใจความหมายและความ จาเป็นท่ีต้องการวัด เพื่อพฒั นาในลาดับตอ่ ไปจากการจัดเวทแี กนนาฯ เป็นผกู้ าหนดรูปแบบการให้ค่าคะแนนโดย ใชก้ ระดาษสีบอกคา่ คะแนน ผลคะแนนรวมเฉลี่ยท้ัง ๖ ดา้ น คดิ เปน็ ร้อยละ ๗๑.๓๓ และปรอทวดั ความสุข(การ วดั เชงิ คุณภาพ) โดยสอบถามจากเวทฯี เปน็ รายบคุ คลและหาจดุ ที่คนส่วนใหญ่พอใจว่า “ใช่” ท่คี ่าคะแนน ความสุขของหม่บู า้ นอย่ทู ่ี ๗๖ จาก ๑๐๐ บนั ทึกขุมความรู้ (Knowledge Assets) กระบวนการวัดความสขุ มวลรวมบ้านดอนตาล หม่ทู ่ี ๑๑ ตาบลพงั โคน มีองค์ประกอบทส่ี าคัญดังน้ี ๑. บคุ คลเป้าหมายประกอบด้วยตวั แทนครัวเรือนต้นแบบ จานวน ๓๐ คน จะต้องมีขอ้ มลู ในชมุ ชนเป็น อย่างมาก ๒. วทิ ยากรกระบวนการจะต้องเข้าใจวตั ถุประสงค์ของการวดั ความสุขมวลรวม ในฐานะเป็นผู้เอ้ืออานวย ๓. ขน้ั ตอนการดาเนินงานการวดั ความสขุ มวลรวม ๓.๑ สรา้ งความสัมพนั ธ์ เพ่อื ให้เกดิ ความคุ้นเคยและมีบรรยากาศแบบสบาย ๆ ๓.๒ การนาเข้าสบู่ ทเรียน ชีแ้ จงวตั ถปุ ระสงค์ ตัวชี้วัดความสขุ มวลรวม (๖ ด้าน ๒๒ ตวั ช้ีวดั ) ๓.๓ ใหท้ ่ีประชุมเลอื กวธิ กี ารลงประชามติ ทีป่ ระชมุ เลือกใชก้ ระดาษสบี อกคา่ คะแนน(๑-๕ คะแนน) ๓.๔ ให้ผู้เขา้ ร่วมเวทียกมอื ในประเด็นตา่ งๆ ทีต่ อ้ งการหาข้อสรุป (ข้อสรปุ ปรอทวดั ความสขุ ) ๓.๕ วทิ ยากรสรุปคา่ คะแนนแลว้ เปรียบเทยี บกบั คา่ คะแนนท่ไี ด้จากปรอทวดั ความสุข

๓.๖ เวทีฯ ร่วมกันวเิ คราะห์ องคป์ ระกอบที่มีค่าคะแนนต่าเพ่อื จะได้วางแผนพฒั นาหมู่บา้ น ๔. เวทรี ่วมกนั สรุปผลการวัดความสขุ มวลรวมของหม่บู า้ น พร้อมกาหนดแผนการพัฒนานาเสนอเข้า สู่การปรบั ปรุงแผนชุมชนในโอกาสตอ่ ไป แก่นความรู้ (Core Competency) บรรยากาศไมก่ ดดัน ไม่คาดหวงั ใดๆ ค่าคะแนนที่ได้จะตอ้ งมาจากความรสู้ ึกทแี่ ทจ้ รงิ ของผู้ใหข้ ้อมูล กลยุทธ์ในการทางาน ๑. การสอ่ื สารเชงิ สร้างสรรค์ช่วยกระตนุ้ ความคดิ ให้กบั ผ้เู ข้ารว่ มเวทฯี ๒. ใช้หลักประชาธปิ ไตยและการมสี ว่ นรว่ ม กฎระเบยี บแนวคิดทฤษฏีท่ีเก่ียวข้อง ๑. แนวคิดการ “การมสี ่วนรว่ มในการพัฒนาชมุ ชน” ๒. ตัวชว้ี ัดความ “อยู่เยน็ เป็นสขุ ” ของชมุ ชนหรือความสุขมวลรวมชุมชน (Gross Village Happiness : GVH) ของกรมการพัฒนาชมุ ชน **********************************

บนั ทกึ องค์ความรู้ ชอื่ – นามสกลุ นางสาววิลาวณั ย์ ศรสี มยา ตาแหนง่ นักวิชาการพฒั นาชุมชนชานาญการ สังกัด สานกั งานพฒั นาชุมชน ชานาญการ เบอรโ์ ทรศัพท์ทตี่ ิดตอ่ ได้ ๐๘-๑๗๖๘-๑๖๐๑ ช่ือเร่อื ง กา้ วยา่ งการพฒั นาบ้านดอนตาล เป็นการแก้ไขปัญหาเก่ยี วกบั การขับเคล่ือนหมูบ่ ้านเศรษฐกจิ พอเพียงต้นแบบ เหตกุ ารณ์นี้เกดิ ขน้ึ เมือ่ วันที่ ๒๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ สถานทเ่ี กดิ เหตุการณ์ บา้ นดอนตาล หมู่ท่ี ๑๑ ตาบลพังโคน อาเภอพังโคน จงั หวัดสกลนคร เนอื้ เร่ือง บา้ นดอนตาล หม่ทู ่ี ๑๑ ตาบลพงั โคน อาเภอพงั โคน ได้รบั งบประมาณโครงการส่งเสรมิ และพฒั นา หม่บู ้านเศรษฐกจิ พอเพยี งตน้ แบบ กิจกรรมที่ ๓ ขยายผลหมบู่ า้ นเศรษฐกิจพอเพียง ในปี ๒๕๕๕ สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอพงั โคนได้ดาเนินการตามแนวทางตามยุทธศาสตรก์ รมการพัฒนาชมุ ชน ตามหว้ งเวลา ทีก่ าหนด จากการจดั เวทีฯ ครวั เรอื นต้นแบบของหม่บู ้านไดน้ าเกณฑ์ประเมนิ สุขภาพหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพยี ง ๔ ด้าน ๒๓ ตวั ชีว้ ัด และนาตวั ชีว้ ดั ความสุขมวลรวม หรือวดั ความอยเู่ ย็น เปน็ สุข รวม ๖ ดา้ น ๒๒ ตวั ชี้วัด (การวดั เชิงปรมิ าณ) จากการประเมนิ เบื้องตน้ มีตัวชี้วัดที่ตกเกณฑ์อาทิ ข้อ ๑๕, ๑๖, ๒๑ และข้อ ๒๒ จานวน ๔ ตวั ชีว้ ดั และความสุขมวลรวมค่าคะแนนอยู่ที่ ๗๖ ในขณะรอบประเมนิ ที่สองผลการประเมินไม่ผ่านเพียง ตวั ชว้ี ดั ท่ี ๒๒ และการประเมินความสุขมวลรวมอยู่ท่ี ๙๒ คะแนน จากการประเมินคร้งั แรกหมู่บา้ นเร่ิมมอง ชุมชนของตนเอง การก่อเกิดหม่บู ้าน/การสบื ทอดภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น(ปุ๋ยชีวภาพ) มีการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง สามารถเปน็ ต้นแบบและมีนวัตกรรมที่เปน็ ของตนเอง นานวัตกรรมทที่ าขึ้นไปทดลองใชท้ าใหเ้ พิ่มมลู คา่ แก่การ ผลติ แตเ่ ราไมไ่ ด้มกี ารบนั ทกึ ดังน้นั จงึ ได้มีการรวบรวม บันทกึ จดั ต้งั แหล่งเรียนรู้ของชุมชนอยา่ งเป็นทางการ ประชาสมั พันธ์อย่างกวา้ งขวาง มอบหมายภารกจิ ให้แตล่ ะคนมบี ทบาทตามความถนัด มกี ารอบรมเพ่ือถ่ายทอด ให้คนรุ่นต่อไป ได้แกก่ ารสาธิตป๋ยุ ชีวภาพ ผูร้ ับผิดชอบคอื นายจติ ติ สมยั จุดเรียนรเู้ ศรษฐกิจพอเพียงตน้ แบบ ผรู้ บั ผิดชอบคอื นายสมศักดิ์ พุทธโคตร และสาหรับตัวช้วี ดั ที่ ๒๑ หมบู่ ้านไดม้ กี ารแต่งต้งั คณะกรรมการดูแล ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม กิจกรรมทดี่ าเนินการคือการทาขยะรไี ซเคิล ทน่ี าวสั ดุในครวั เรือนท่ีไม่ใช้แล้วมาสร้างมลู คา่ ไม่ เพียงเป็นการทาความสะอาดในครัวเรือน ส่ิงแวดลอ้ มชุมชนยังกอ่ ให้เกดิ รายได้ ซง่ึ มีกลุ่มสนใจมาศึกษาดูงาน มากมายหลายกลมุ่ สาหรับตัวช้วี ัดท่ี ๒๒ แม้ไม่ผา่ นการประเมินในรอบท่ี ๒ แตห่ มู่บ้านไดส้ ร้างความเขา้ ใจ และรณรงคใ์ หส้ มาชิกในชุมชนไดต้ ระหนัก สร้างจิตสานึกการใชพ้ ลังงานอย่างพอประมาณในระดับครัวเรอื น ซ่งึ การพฒั นาในด้านต่างๆ มีความเชือ่ มโยงกับเศรษฐกิจ สังคมและส่ิงแวดลอ้ มอยา่ งเป็นองคร์ วม และการอยู่ รว่ มกันอย่างสนั ติ จากผลการพฒั นาจะเหน็ ไดว้ ่าการวัดความสขุ มวลรวมรอบท่ีสองอยทู่ ่ี ๙๒ คะแนน ท่บี ่งบอก ชมุ ชนรว่ มกาหนด รว่ มดาเนนิ การและได้รบั ผลประโยชนร์ ว่ มกนั จากการเปล่ียนแปลงทเ่ี กิดขึน้ ทาให้หมูบ่ า้ นมีแขกต่างบ้านเขา้ มาแลกเปลยี่ น/ศกึ ษาดงู าน ดา้ นการทาปยุ๋ ชีวภาพอดั เม็ด การดาเนินชีวติ เศรษฐกจิ พอเพยี ง และการพฒั นาสง่ิ แวดล้อมดว้ ยการสร้างมลู คา่ จากของเหลือใช้ ในครวั เรอื น ผ่านกลไกการบรหิ ารจัดการของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลติ

บันทึกขุมความรู้ (Knowledge Assets) กระบวนการวดั ความสขุ มวลรวม เป็นองค์ประกอบสาคัญที่ใช้วดั ความเปลยี่ นแปลงของการพัฒนา หมู่บ้านเศรษฐกจิ พอเพยี ง ใหห้ มู่บา้ นได้เหน็ ภาพความเปลย่ี นแปลงที่เกดิ ขึน้ ทจ่ี ะสรา้ งกาลังใจในการพฒั นาตอ่ ยอดไดโ้ ดยชมุ ชนเอง แกน่ ความรู้ (Core Competency) ๑. กลมุ่ เป้าหมายเดิมทง้ั สองรอบการประเมนิ มคี วามรู้ เขา้ ใจในแนวทางการดาเนนิ ชวี ติ เศรษฐกจิ แบบ พอเพียง และตวั ชว้ี ัดที่จะนามาประเมินทง้ั สองแบบ ๒. ข้อมูลทีน่ ามาวเิ คราะห์จะตอ้ งเป็นเรอ่ื งจริง ทก่ี ลุ่มเปา้ หมายสัมผสั ได้ ๓. การให้คา่ คะแนนของกลมุ่ เป้าหมายในการประเมินจะต้องไมเ่ ปดิ เผย(เพราะชุมชนเปน็ สังคมที่มี ความสัมพนั ธเ์ หนียวแนน่ อาจจะเกรงใจผ้นู า) ๔. บรรยากาศไมก่ ดดัน ไม่คาดหวงั ใดๆ ค่าคะแนนที่ไดจ้ ะต้องมาจากความรูส้ กึ ทแ่ี ท้จริงของผ้ใู หข้ ้อมูล กลยทุ ธใ์ นการทางาน ๑. บรรยากาศจะต้องอสิ ระในการตัดสินใจไม่ถูกกดดนั หรือครอบงาจากผ้นู าหรือผ้เู ขา้ รว่ มเวที ๒. การสอื่ สารเชิงสร้างสรรค์ช่วยกระตุ้นความคดิ ให้กบั ผู้เข้าร่วมเวทฯี ๓. ใช้หลักประชาธิปไตยและการมีส่วนร่วม กฎระเบียบแนวคดิ ทฤษฏที เี่ ก่ียวข้อง ๑. แนวคิดการ “การมีส่วนรว่ มในการพฒั นาชุมชน” ๒. ตัวชว้ี ัดความ “อยเู่ ยน็ เป็นสขุ ” ของชุมชนหรอื ความสุขมวลรวมชุมชน (Gross Village Happiness : GVH) ของกรมการพัฒนาชุมชน




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook