ระบบนเิวศน้ำจดื
ระบบนิเวศแหล่งนำ้ จืด มีความสาคัญต่อมนุษย์เป็นอย่างมาก เพราะ เป็นแหล่งทรัพยากรที่หาได้ง่ายและสะดวกต่อการท่ี มนุษย์จะนามาใช้ ในชีวิตประจาวันเพ่ือการเกษตร และอตุ สาหกรรม ดังน้ันปัจจัยต่างๆท่ีมีต่อพืชและสัตว์ในแหล่ง น้าก็จะมีผลตอ่ มนุษย์ซ่ึงเป็นผู้ใช้แหล่งน้าทงั้ ทางตรง และทางอ้อมสิ่งมีชีวติ ในแหล่งนา้
ประเภทของแหล่งน้ำจดื แหลง่ น้ำนิ่ง (lentic community) พบแทรกอยูต่ ามพื้นดนิ ซึ่งได้มาจากน้าฝนไมม่ กี ารไหลเวยี นหรอื การ แทนทข่ี องนา้ สว่ นใหญ่จะมีสมดุลอย่แู ลว้ ในแหล่งน้า ไดแ้ ก่ สระนา้ บึง บอ่ หนอง ทะเลสาบ รวมทั้งทะเลสาบทเี่ กิดจากการทาเข่อื นด้วย
เข่ือนป่ ำสักชลสิทธ์ิ แม่นำ้ เจ้ำพระยำ
แหล่งน้ำนง่ิ แบง่ ออกเป็น ๓ เขต คือ ๑.๑ เขตชำยฝั่ง (littoral zone) เปน็ บรเิ วณตนื้ ๆรอบแหลง่ น้า ซงึ่ มีแสงสอ่ งถงึ ก้น นา้ แหล่งน้าขนาดเล็กจะพบเฉพาะบรเิ วณนีเ้ ท่านนั้ ๑.๒ เขตผวิ นำ้ หรอื กลำงนำ้ (limnetic) นบั จากชายฝง่ั ออกไป เปน็ บริเวณท่ีผิวน้าสัมผสั กับ อากาศ แสงสอ่ งลงไปได้ถงึ ระดับความลึกท่ีมคี วามเขม้ ของ แสง ประมาณ 1 เปอรเ์ ซ็นต์ ที่ระดับนอี้ ัตราการสังเคราะห์ ด้วยแสงจะเทา่ กับอตั ราการหายใจ ๑.๓ เขตกันนำ้ (profundal zone) อยู่ตอ่ จากเขตผิวน้าไปจนถึงพน้ื ดินกน้ น้า เปน็ บรเิ วณที่ไม่มีแสงสว่างอยู่เลย (ในแหลง่ น้าขนาดเลก็ จะไมม่ ี บรเิ วณน)้ี
แหลง่ นำ้ ไหล ๒.๒ บริเวณน้ำไหลเอือ่ ย (pool zone) (lotic) ๒.๑ บริเวณน้ำไหลเชีย่ ว (rapid zone) กระแสน้ำไหลแรงจึงไม่มีตะกอนสะสมอยู่ก้นนำ้ อยใู่ นชว่ งที่มรี ะดับควำมลึกเป็นบรเิ วณท่นี ำ้ ไหลชำ้ เพรำะถูกกระแสนำ้ พัดพำไปหมด ทำ้ ให้มีตะกอนสะสมมำก เช่น บรเิ วณปำกแม่น้ำ
สิง่ มีชีวิตบริเวณแหล่งน้ำไหลจะมกี ำรปรบั ตัวเพื่อควำมเหมำะสม ดังน้ี 1.มีโครงสร้ำงพิเศษเพือ่ กำรตดิ หรือดดู ติดกับพื้นผิว เช่น แมลงหนอนปลอกน้ำ ฟองน้ำน้ำจืด มอสน้ำ สำหร่ำยสีเขียวเคลโดฟอรำ 2.สร้ำงเมือกเหนียวช่วยยดึ เกำะ เช่น หอยกำบเดีย่ ว พลำนำเรีย 3.มีรปู ร่ำงแบน เพรียว และมีเมือกลื่นช่วยลดแรงเสียดทำนของน้ำ เช่น ปลำชนิดต่ำงๆ 4.มีพฤติกรรมชอบว่ำยทวนกระแสน้ำ 5.มีพฤติกรรมในกำรซกุ ซ่อนตัว เช่น ซ่อนอยู่ตำมโขดหิน ซอกหิน กรวดทรำย เปน็ ต้น
กำรปรับตวั สตั ว์ในแหล่งน้ำไหล กำรปรับตวั ของปลำตำมลกั ษณะของล้ำน้ำ ปลำจะมลี ้ำตวั ยำว เพรียว ว่ำยนำ้ ได้รวดเร็วมีครบี แผ่ออก สำมำรถยดึ เกำะติดกบั พื้นได้ เช่น ปลำ กระสบู
สิง่ มีชีวิตในแหล่งน้ำจืด สำมำรถแบ่งได้เปน็ ๒ ประเภท 1.แบ่งตำมลกั ษณะกำรถ่ำยทอดพลงั งำนและสำรอำหำร ผผู้ ลิต ได้แก่ แพลงก์ตอนพืช สำหร่ำย พืชดอก จลุ ินทรีย์ที่สังเครำะห์เคมีได้ ผูบ้ ริโภค ได้แก่ พวกแพลงก์ตอนสัตว์ แมลงต่ำง ๆ และสัตว์พวกกินซำกอินทรีย์ ผูย้ อ่ ยสลายสารอินทรีย์ ได้แก่ แบคทีเรีย เหด็ รำ
กำรถำ่ ยทอดพลงั งำนและสำรอำหำร
2.แบ่งตำมลักษณะทีอ่ ย่อู ำศัย 1.สิง่ มีชีวิตหน้าดิน (Benthos) - พวกกรองอำหำร (filter feeders) ได้แก่ หอยกำบ - พวกกินตะกอนสำรอินทรีย์ (deposit frrdeeders) ได้แก่ ไส้เดือนน้ำ หอยขม หอย โข่ง เปน็ ต้น 2.พวกเกาะและแหวนตัวกับวัตถใุ นนา้ (periphyton) ได้แก่ แอลจี ไดอะตอม โปรโตรซัวและรวมสัตว์น้ำ พวกหอยฝำเดียวและตัวอ่อนของแมลงด้วย
3. แพลงก์ตอน(plankton) สิ่งมีชีวิตทีล่ อยตัวอย่ใู นน้ำหรือลอยตัวตำมกระแสน้ำมีท้งั แพลงก์ตอนพืช (phytoplankton) และแพลงก์ตอนสตั ว์ (Zooplankton) 4.พวกที่วา่ ยน้าอิสระ(mekton) ได้แก่ สตั ว์ที่ว่ำยน้ำได้อย่ำงดีและว่องไว ได้แก่ ปลำ สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก กบ งู และแมลงน้ำเปน็ ส่วนใหญ่ 5. พวกที่ลอยตัวบนผิวนา้ (neuston) ได้แก่ สิง่ มีชีวิตทีพ่ กั หรือลอยตวั บนผิวน้ำ เช่น แมลงจิงโจ้น้ำ
แพลงก์ตอนสตั ว์ แพลงก์ตอนพชื
แพลงก์ตอนพชื ในกลุม่ ไดอะตอม (Diatoms)
กลุม่ พชื น้ำจดื : พชื ลอยน้ำ (Floating plants)
พชื น้ำจดื :พชื ชำยน้ำ (Marginal plant)
กลุม่ ผูบ้ รโิภคในแหลง่ น้ำจดื
ปจั จัยที่มีผลต่อกำรดำ้ รงชีพ • ปัจจัยตา่ ง ๆตามธรรมชาติ ได้แก่ 1.อณุ หภูมิ อณุ หภมู ิในแหล่งน้ำจืดค่อนข้ำงคงที่ จะพบสิ่งมีชีวิตแทบทุกระดบั ควำมช้นื ของ น้ำ สิง่ มีชีวิตจะทนต่อกำรเปลีย่ นแปลงอุณหภูมิได้น้อย ดังนั้นอณุ หภมู ิจึงเป็นปจั จยั ส้ำคญั ของถิน่ ทีอ่ ย่อู ำศยั ในแหล่งน้ำจืด 2.กระแสน้ำ กระแสน้ำมีอิทธิพลต่อกำรเปลีย่ นแปลงทำงกำยภำพทำงด้ำนต่ำงๆ เช่นเป็น ตวั พำตะกอนมำรวมกนั ท้ำให้เกิดควำมข่นุ ของน้ำ เปน็ ปจั จัยทีส่ ้ำคัญในกำรแพร่กระจำย ของสิง่ มีชีวิตในน้ำ 3.ควำมขุ่นของน้ำ มีผลต่อปริมำณของแสงทีส่ ่องลงในน้ำ อนภุ ำคและสิ่งมีชีวิตทีล่ อยอย่ใู น น้ำ จะเป็นปัจจยั สำ้ คัญทีท่ ้ำให้เกิดควำมขุ่นใสของแหล่งน้ำ
4.ก๊ำซทีล่ ะลำยอย่ใู นน้ำ จะมีปริมำณต่ำงกนั ตำมแหล่งกำ้ เนิดออกซิเจนในน้ำ เช่น แสงส่องลงมำในน้ำทำ้ ให้พืชน้ำมีกำรสังเครำะห์แสง ทำ้ ให้เกิดก๊ำซออกซิเจน ดังน้ัน ในเวลำกลำงวนั พืชจะสังเครำะห์ด้วยแสง ทำ้ ให้ในแหล่งน้ำมีก๊ำซออกซิเจน มำกกว่ำตอนกลำงคืน 5.แร่ธำตุที่ละลำยอย่ใู นน้ำ ได้แก่ แคลเซียม แมกนีเซียม โซเดียม โพแทสเซียม ซึง่ ในน้ำจะมีแคลเซียมและแมกนีเซียมมำกทีส่ ุด
นางสาว ธญั ภรณ์ โคนาบาล 6118140004 นางสาว กาญจนา มณฑา 61181490027 นางสาว นฐั ตกิ านต์ ฉันท์ผ่อง 61181490 นางสาว สาธิยา คาโส 61181490053 SBT324 นิเวศวิทยา อาจารย์ จติ ติมา กองหรง่ั กูล
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: