Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่มที่ 5 ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ_E_Book

เล่มที่ 5 ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ_E_Book

Published by deelert House, 2020-07-13 08:41:07

Description: เล่มที่ 5 ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ_E_Book

Search

Read the Text Version

หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ เรอื่ ง ความสัมพนั ธ์ระหว่างส่งิ มีชีวติ ในระบบนเิ วศ ศศมิ าภรณ์ ดเี ลิศ ครูชานาญการ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนบ้านอาโพน สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสุรนิ ทรเ์ ขต 3

ก หนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ เร่อื ง ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสง่ิ มีชีวิตในระบบนเิ วศ คาแนะนาการใช้หนงั สืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อม กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 มีท้ังหมด 9 ชุด ซึ่งผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นจากประสบการณ์ และการศึกษาสภาพปัญหา เพื่อให้เป็นสื่อการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ให้นักเรียนได้เรียนรู้ ด้วยตนเอง เกิดความสนใจ มคี วามสุข และสนกุ ในการเรยี นรู้ โดยครูเป็นผู้ให้คาปรึกษา แนะนา และ ควบคมุ การเรียนการสอนให้เปน็ ไปตามแผนท่ีกาหนดไว้ ทง้ั น้ขี อใหด้ าเนินการดงั น้ี 1. ครคู วรศกึ ษาแผนการสอนและสอื่ การเรยี นรูใ้ ห้เข้าใจกอ่ นจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 2. ครูต้องแจ้งขัน้ ตอนการเรยี น การใชส้ อ่ื การเรยี นร้ใู ห้นักเรยี นเขา้ ใจก่อนจดั กิจกรรมการ เรียนรู้ และผูใ้ ห้คาปรกึ ษา แนะนา และควบคุมการเรียนการสอนใหเ้ ปน็ ไปตามแผนท่กี าหนดไว้ 3. เมอ่ื ครดู าเนินการสอนตามแผนที่กาหนดไว้แลว้ สามารถทาสาเนาหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ ฉบบั น้ีให้นกั เรียนเพือ่ นาไปทบทวนทบี่ า้ นได้ ท้ังนีน้ ักเรยี นควรดาเนินการดังน้ี 3.1 นักเรยี นมเี วลาศึกษาเนอ้ื หาบทเรยี น 30 นาที 3.2 ในขณะทศี่ ึกษาเมอ่ื พบปัญหาหรอื ข้อข้องใจใหป้ รึกษาครู 3.3 เม่ือศกึ ษาจบแล้วให้ทาแบบฝึกพัฒนาการเรียนรแู้ ละแบบทดสอบโดยใช้เวลา 30 นาที 3.4 นกั เรยี นควรซือ่ สตั ย์ต่อตนเองโดยไม่แอบดเู ฉลยในแบบฝกึ พัฒนาการเรียนรู้และ แบบทดสอบ สาระสาคญั เรื่อง ความสัมพนั ธ์ระหว่างส่ิงมีชวี ิตในระบบนิเวศ ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสิง่ มชี วี ิตในระบบนเิ วศ คอื ความสัมพนั ธข์ องสิ่งมชี วี ติ ในแหลง่ ที่อยู่อาศัย นั้นๆ เช่น ส่งิ มีชีวติ ท่ีอาศยั อยู่ในปา่ ไมก้ ็จะมีความสัมพนั ธ์กบั ป่าไม้แล้วเราก็เรยี กความสัมพนั ธอ์ ย่างนี้ วา่ ระบบนิเวศป่าไม้นั่นเอง ประกอบดว้ ย ความสัมพันธ์ แบบได้ประโยชนร์ ่วมกัน แบบพ่ึงพาอาศัยกัน แบบอิงอาศัยหรือภาวะเกือ้ กลู กัน แบบล่าเหยอื่ และ แบบปรสิต หนา้ หลัก สารบัญ ปิด ศศมิ าภรณ์ ดเี ลศิ ครูชานาญการ กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นบ้านอาโพน สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรินทร์เขต 3

ข หนังสอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ เรอ่ื ง ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ มาตรฐานการเรียนรูต้ วั ช้ีวัด มาตรฐาน ว 2.1 เขา้ ใจส่ิงแวดล้อมในท้องถ่ิน ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสง่ิ แวดล้อมกับส่ิงมชี ีวติ ความสมั พันธ์ระหว่างส่ิงมชี วี ิตต่างๆ ในระบบนเิ วศ มีกระบวนการสบื เสาะหาความรู้และจิตวิทยา ศาสตร์สอื่ สารสิ่งทีเ่ รยี นร้แู ละนาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ ตัวชี้วดั มฐ ว 2.1 ป.6/3 สืบคน้ ข้อมูลและอธิบายความสัมพันธ์ระหวา่ งการดารงชวี ติ ของส่ิงมีชีวิต กับสภาพแวดลอ้ มในท้องถิ่น มฐ ว 8.1 ป.6/1-ป.6/8 บูรณาการสกู่ ารเรยี นรใู้ นการจดั การเรยี นรู้ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) อธิบายความความสมั พนั ธร์ ะหว่างสงิ่ มีชวี ติ ในระบบนิเวศ ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) สารวจความสัมพนั ธร์ ะหว่างสิ่งมชี ีวิตในระบบนิเวศ ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) มพี ฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ ที่ดี - มวี นิ ัย - ใฝ่เรยี นรู้ - มุ่งม่ันในการทางาน - ซ่อื สัตย์สุจรติ พฒั นาการเรียนรแู้ ละแบบทดสอบตามเวลาทกี่ าหนดเทา่ นัน้ หนา้ หลัก สารบญั ปิด ศศมิ าภรณ์ ดีเลศิ ครูชานาญการ กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรียนบ้านอาโพน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาสรุ ินทรเ์ ขต 3

ค หนงั สอื อิเล็กทรอนกิ ส์ เร่ือง ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสง่ิ มีชวี ติ ในระบบนิเวศ สารบญั คาแนะนาในการใชห้ นังสอื อิเล็กทรอนิกส์ ก สาระสาคญั ก มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชว้ี ดั ข จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ข ความสมั พันธร์ ะหว่างส่งิ มีชีวติ ในระบบนเิ วศ 1 แบบฝึกพฒั นาการเรยี นรู้ 8 เฉลยแบบฝึกพัฒนาการเรยี นรู้ 10 แบบทดสอบย่อย 11 เฉลยแบบทดสอบย่อย 13 สรปุ ผลการเรยี นรู้ 16 บรรณานุกรม 17 หน้าหลัก สารบัญ ปดิ ศศมิ าภรณ์ ดีเลิศ ครูชานาญการ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนบ้านอาโพน สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทรเ์ ขต 3

1 หนังสอื อิเลก็ ทรอนิกส์ เรื่อง ความสมั พนั ธ์ระหว่างสิง่ มชี ีวติ ในระบบนเิ วศ ความสมั พันธ์ระหว่างสิง่ มชี ีวติ ในระบบนิเวศ ความสัมพนั ธ์ระหว่างส่ิงมีชวี ติ ในระบบนิเวศ หมายถงึ ความสัมพนั ธ์ของส่ิงมีชวี ติ ในแหล่งท่ี อยูอ่ าศัยนน้ั ๆ เชน่ สงิ่ มีชวี ิตทอ่ี าศัยอยใู่ นปา่ ไมก้ จ็ ะมคี วามสัมพนั ธก์ บั ป่าไม้ โดยเรยี กความสมั พนั ธ์ อยา่ งนวี้ า่ ระบบนิเวศป่าไม้ ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตในระบบนเิ วศ แบง่ ได้ 5 แบบ ประกอบด้วย ภาพท่ี 1 แสดงความสัมพนั ธ์แบบไดป้ ระโยชนร์ ่วมกัน 1. ความสมั พนั ธ์แบบได้ประโยชนร์ ่วมกนั เป็นการอยรู่ ว่ มกันของส่ิงมชี ีวิต 2 ชนิด ซง่ึ ต่างได้ ประโยชน์รว่ มกันทัง้ 2 ฝ่าย แมแ้ ยกกนั อยู่กส็ ามารถใชช้ ีวิตได้ปกติ เช่น นกเอ้ยี งกบั ควาย ปูเสฉวน กับดอกไม้ทะเล 2. ความสัมพันธ์แบบพึ่งพาอาศัยกัน เป็นการอยูร่ ่วมกนั ของสิ่งมีชวี ิต 2 ชนิด ทีไ่ ดป้ ระโยชน์ กันทั้งสองฝ่าย แต่เมอ่ื แยกจากกันจะไม่สามารถดารงชีวิตอยไู่ ด้ เช่น รากบั สาหร่าย(ไลเคน) ภาพท่ี 2 แสดงความสัมพันธ์แบบพึง่ พาอาศัยกัน หน้าหลกั สารบัญ ปิด ศศิมาภรณ์ ดีเลิศ ครูชานาญการ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนบ้านอาโพน สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทรเ์ ขต 3

2 หนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส์ เรอ่ื ง ความสมั พันธ์ระหว่างสง่ิ มีชวี ิตในระบบนเิ วศ 3. ความสัมพนั ธ์แบบองิ อาศัยหรอื ภาวะเกอื้ กูลกนั เปน็ การอยรู่ ว่ มกนั ของส่ิงมชี วี ิต 2 ชนิด ที่ฝา่ ยหนง่ึ ได้ประโยชนแ์ ตอ่ กี ฝา่ ยไม่ได้ประโยชนแ์ ละไม่เสียประโยชน์ เช่น ฉลามกับเหาฉลาม นก ตอ่ แตน ผ้ึง ทารงั บนตน้ ไม้ ภาพที่ 3 แสดงความสมั พนั ธแ์ บบอิงอาศยั หรอื ภาวะเกือ้ กลู กัน 4. ความสมั พันธแ์ บบลา่ เหยื่อ เปน็ การอยรู่ ่วมกนั ของสิง่ มีชีวติ 2 ชนดิ โดยฝ่ายหน่ึงเป็นผู้ลา่ หรอื เป็นผู้ไดป้ ระโยชน์แต่อีกฝา่ ยเป็นเหยื่อหรอื เปน็ ผเู้ สยี ประโยชนค์ ือเป็นอาหารนน่ั เอง เชน่ กบกับ แมลง เหยี่ยวกับหนู ภาพที่ 4 แสดงความสัมพนั ธแ์ บบล่าเหยอื่ หนา้ หลัก สารบัญ ปิด ศศิมาภรณ์ ดีเลิศ ครูชานาญการ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นบ้านอาโพน สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทรเ์ ขต 3

3 หนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ เรอ่ื ง ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสิง่ มีชวี ติ ในระบบนเิ วศ 5. ความสมั พันธ์แบบปรสิต เป็นการอยรู่ ่วมกันของส่ิงมีชีวิต 2 ชนิด โดยทีส่ ่ิงมชี ีวิตชนดิ หนึ่งไป อาศัยสิ่งมชี ีวิตอกี ชนดิ หนึ่ง โดยผ้ทู ่ีไปอาศัยหรือปรสิตจะเป็นผ้ทู ีไ่ ด้ประโยชน์ และผู้ที่ถูกอาศัยเปน็ ผู้เสีย ประโยชน์ เช่นกาฝากกับตน้ ไม้ เหบ็ กับสุนัข เหากับคน พยาธิกบั คน ภาพที่ 5 แสดงความสมั พันธแ์ บบปรสติ สญั ลกั ษณ์แทนความสมั พนั ธ์ในระบบนิเวศ สัญลักษณ์ ความหมาย + ได้ประโยชน์จากอกี ฝ่าย - เสยี ประโยชนใ์ ห้อีกฝ่าย 0 ไม่ได้และไมเ่ สียประโยชน์ ความสมดลุ ของระบบนิเวศ หมายถึง การที่สง่ิ มีชวี ติ และส่งิ แวดล้อมในระบบนเิ วศไม่มกี าร เปลยี่ นแปลงจานวนผู้ผลติ และผ้บู ริโภคในแตล่ ะลาดับ ต่างไดส้ ดั ส่วนท่ีพอดกี ันเพราะการทาลาย ผู้บรโิ ภคอาจทาใหร้ ะบบนเิ วศเสียความสมดุล เพราะในระบบนเิ วศประกอบด้วยส่ิงมีชวี ติ ทห่ี ลาย หลายชนิด ซึ่งมีการกินกับเปน็ ทอดๆ ดงั นัน้ การทาลายส่ิงมีชวี ิตบางชนิดมากขึ้นกจ็ ะทาให้ส่ิงมีชีวิต บางชนดิ เพม่ิ ขน้ึ และบางชนดิ มีจานวนลดลง ไม่ได้สัดสว่ นกันพอดี หนา้ หลกั สารบญั ปิด ศศมิ าภรณ์ ดเี ลิศ ครูชานาญการ กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นบ้านอาโพน สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์เขต 3

4 หนังสอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ เรือ่ ง ความสัมพนั ธ์ระหว่างสง่ิ มชี วี ติ ในระบบนเิ วศ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่งิ มชี วี ติ ในระบบนเิ วศท่อี าศยั รว่ มกนั + หมายถึง การไดป้ ระโยชนจ์ ากอีกฝ่ายหนึ่ง - หมายถึง การเสียประโยชน์ให้อีกฝ่ายหนึง่ 0 หมายถึง การไมไ่ ดป้ ระโยชน์แต่กไ็ ม่เสยี ประโยชน์ 1. การไดร้ ับประโยชนร์ ว่ มกัน (Mutualism) การไดร้ ับประโยชนร์ ่วมกนั เป็นการอยรู่ ่วมกนั ของสิง่ มชี ีวติ 2 ชนิด ท่ไี ด้ประโยชน์ดว้ ยกนั ท้ัง สองชนิด ใช้สญั ลักษณ์ +,+ เชน่ การไดร้ บั ประโยชนร์ ่วมกนั ประโยชนท์ ีไ่ ดร้ ับ ประโยชนท์ ่ไี ด้รบั 1. แมลงกบั ดอกไม้ ดอกไมม้ ีแมลงชว่ ยผสมเกสร แมลงดูดนา้ หวานจากดอกไม้ 2. นกเอี้ยงกบั ควาย เปน็ อาหาร ควายได้นกเอีย้ งชว่ ยกาจัดแมลง นกเอ้ยี งไดก้ ินแมลงต่างๆจาก ที่รบกวน 3. มดดากบั เพลยี้ ออ่ น หลังควาย มดดาไดร้ ับน้าหวาน เพลย้ี ได้รับประโยชนใ์ นการท่ี 4. ปเู สฉวนกบั ดอกไมท้ ะเล มดดาพาไปดูดน้าเลีย้ งที่ต้นไม้ ดอกไมท้ ะเลได้รับอาหารจาก ปูเสฉวนอาศัยดอกไมท้ ะเล ปเู สฉวนท่ีกาลังกินอาหาร พรางตัว เข็มพิษจาก ดอกไมท้ ะเลปอ้ งกนั ศตั รู ภาพที่ 6 แสดงการได้รับประโยชนร์ ว่ มกัน (Mutualism) หนา้ หลัก สารบัญ ปิด ศศิมาภรณ์ ดีเลศิ ครูชานาญการ กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นบา้ นอาโพน สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทรเ์ ขต 3

5 หนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ เร่อื ง ความสมั พนั ธ์ระหว่างสงิ่ มีชวี ิตในระบบนเิ วศ 2. ภาวะพึ่งพาอาศยั กัน (Mutualism) ภาวะพึ่งพาอาศัยกันเป็นการอยรู่ ว่ มกนั ทต่ี า่ งฝ่ายต่างไดป้ ระโยชนร์ ่วมกัน ตอ้ งพึ่งพาอาศยั ดว้ ยกนั ตลอดไป เมือ่ แยกจากกันไมส่ ามารถดารงชวี ิตได้ ใช้สญั ลกั ษณ์ +,+ เชน่ การได้รบั ประโยชนร์ ว่ มกัน ประโยชนท์ ไี่ ด้รับ ประโยชน์ที่ได้รบั 1. ไลเคน(รากับสาหร่าย) สาหร่ายสร้างอาหารได้ สาหร่าย ราอาศยั อาหารทส่ี าหร่ายสร้าง 2. แบคทเี รยี ไรโซเบยี ม ได้ความชื้นและแร่ธาตจุ ากรา ขน้ึ 3. โพรโทซัวในลาไส้ปลวก แบคทีเรยี ไดร้ บั แกส๊ ปมรากพืชวงศถ์ ัว่ ช่วยตรงึ 4. แบคทเี รยี ท่อี าศยั อยใู่ น คารบ์ อนไดออกไซดแ์ ละแร่ธาตุ ไนโตรเจน ลาไสข้ องคน 5. ราไมคอไรซาในรากพชื จากต้นถ่วั ตระกลู สน 6. แหนแดงกบั สาหรา่ ยสี ปลวกกินไม้ได้เพราะโพรโทซัว โพรโทซวั ได้รบั สารอาหารจาก เขียวแกมน้าเงิน ช่อื ไทรโคนิมฟา อาศัยอยูช่ ่วย การย่อยสลายเซลลโู ลส 7. ตอ่ ไทรกบั ลกู ไทร การยอ่ ยเซลลโู ลสในเนอ้ื ไม้ แบคทีเรียไดร้ บั อาหารและทอ่ี ยู่ คนจะไดร้ ับวิตามินบี 12 จาก อาศัยจากลาไส้ของคน แบคทเี รีย ราเปลี่ยนฟอสฟอรัสในดินใหอ้ ยู่ ราได้รบั อาหารจากพชื ในรูปทพี่ ชื นาไปใช้ได้ ใบของแหนแดงเป็นทอ่ี าศัยของ แหนแดงได้ไนโตรเจนจากการ สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน ตรงึ ไนโตรเจนของสาหร่าย Anabenae ซ่งึ ได้รับสารอาหาร Anabenae จากแหนแดง ตอ่ ไทรจะทาหน้าท่ผี สมเกสรให้ ตอ่ ไทรจะอาศัยในลูกไทรตลอด ชวี ิต หนา้ หลัก สารบญั ปดิ ศศิมาภรณ์ ดีเลิศ ครูชานาญการ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นบา้ นอาโพน สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทรเ์ ขต 3

6 หนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ เรื่อง ความสัมพันธร์ ะหว่างส่งิ มีชวี ิตในระบบนเิ วศ 3.ภาวะองิ อาศัยหรือภาวะเกอ้ื กูล (Commensalism) ภาวะอิงอาศยั หรือภาวะเก้อื กลู เปน็ การอยู่ร่วมกันของสิง่ มีชีวติ 2 ชนิด ท่ีฝ่ายหน่ึงได้ ประโยชน์ ส่วนอกี ฝ่ายไมไ่ ด้และไม่เสียประโยชน์ ใชส้ ัญลักษณ์ +,0 เช่น การได้รบั ประโยชนร์ ว่ มกัน ประโยชน์ที่ไดร้ ับ ประโยชน์ทไ่ี ด้รับ 1. ปลาฉลามกบั เหาฉลาม เหาฉลามอาศยั กนิ เศษอาหาร ปลาฉลามไม่ได้และไม่เสยี 2. พลูด่างกับตน้ ไม้ใหญ่ จากปลาฉลาม ประโยชน์ 3. กลว้ ยไม้กบั ต้นไมใ้ หญ่ พลูดา่ งอาศัยร่มเงาและ ต้นไมไ้ ม่ไดแ้ ละไม่เสยี ประโยชน์ 4. เพรียงทอ่ี าศัยเกาะบน ผิวหนังของวาฬ ความช้นื จากต้นไม้ 5. วาฬกับปลาโนรี กล้วยไมย้ ึดเกาะทลี่ าต้นหรือก่งิ ตน้ ไมไ้ ม่ได้และไมเ่ สียประโยชน์ 6. เพรียงกบั หอยแมลงภู่ ของต้นไม้ซ่งึ ได้รับความช้ืนและ 7. นก ต่อ แตน ผึ้ง ทารงั อยู่ บนต้นไม้ แร่ธาตุจากต้นไม้ เพรียงไดอ้ าศัยเกาะและได้ วาฬไมไ่ ดแ้ ละไม่เสยี ประโยชน์ อาหารในทต่ี ่าง ๆ ปลาโนรีอาศัยกินเศษอาหาร วาฬไม่ได้และไมเ่ สียประโยชน์ จากวาฬ เพรียงยึดเกาะหอมแมลงภู่ หอยแมลงภู่ไมไ่ ด้และไม่เสีย ประโยชน์ นก ตอ่ แตน ผึ้ง ได้อาศัยทารัง ตน้ ไมไ้ มไ่ ด้และไมเ่ สียประโยชน์ อยู่บนต้นไม้ ภาพที่ 7 แสดงภาวะอิงอาศัยหรือภาวะเก้อื กลู (Commensalism) หน้าหลัก สารบัญ ปดิ ศศมิ าภรณ์ ดเี ลิศ ครูชานาญการ กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนบา้ นอาโพน สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทรเ์ ขต 3

7 หนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ เรือ่ ง ความสัมพันธ์ระหวา่ งสง่ิ มีชีวติ ในระบบนเิ วศ 4. ภาวะปรสติ (Parasitism) ภาวะปรสติ เป็นความสัมพนั ธ์ของสง่ิ มีชวี ิตทีส่ ่ิงมชี ีวติ ชนดิ หน่ึงไปอาศัยสิ่งมีชีวติ อีกชนดิ หน่ึง ฝา่ ยทีไ่ ด้ประโยชน์ เรยี กว่า ปรสิต (Parasite) ส่วนสง่ิ มชี ีวิตที่ถกู อาศัยเรยี กวา่ ผู้ถูกอาศัย (Host) เปน็ ฝา่ ยเสยี ประโยชน์ ใช้สญั ลกั ษณ์ +,- เชน่ กาฝากกบั ตน้ มะมว่ ง ต้นฝอยทองกบั ต้นไมอ้ น่ื เหบ็ หมดั ดูดเลอื ดจากส่ิงมีชวี ิต พยาธิต่างๆ ทอ่ี าศยั อยู่กับรา่ งกายคนและสตั ว์ ภาพที่ 8 แสดงภาวะปรสติ (Parasitism) 5. ภาวะล่าเหย่อื (Predation) การล่าเหย่ือเป็นความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งส่ิงมชี ีวติ ท่ีสิง่ มีชวี ติ ชนิดหนงึ่ เป็นอาหารของสง่ิ มีชีวิต อีกชนิดหน่ึงโดยฝา่ ยไดป้ ระโยชน์ เรียกว่า ผู้ลา่ (Predator) ฝ่ายหน่ึงเสยี ประโยชน์เรยี กวา่ เหยอื่ (Prey) ใชส้ ัญลกั ษณ์ +,- เชน่ การลา่ เหยอื่ ของสนุ ขุ จงิ้ จอก การลา่ เหย่ือของกง้ิ ก่า กาบหอยแครง ดกั จบั แมลง เสอื ล่ากวาง เป็นต้น ภาพที่ 9 แสดงภาวะล่าเหยอ่ื (Predation) หน้าหลกั สารบัญ ปดิ ศศิมาภรณ์ ดีเลิศ ครูชานาญการ กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนบา้ นอาโพน สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรินทร์เขต 3

8 หนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ เรอ่ื ง ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสงิ่ มชี ีวติ ในระบบนเิ วศ แบบฝกึ พัฒนาการเรียนรู้ (1) (2) (3) (4) (5) คาชีแ้ จง : ให้นักเรียนศกึ ษาภาพดา้ นบนแล้วเลือกคาตอบท่ีถูกตอ้ ง โดยใชเ้ มาสช์ เ้ี ลอื กทบ่ี ริเวณคาตอบ 1. รูปแบบความสัมพนั ธ์ ภาวะลา่ เหยอื่ ภาพที่ (1) (2) (3) (4) (5) (1) (2) (3) (4) (5) 2. รูปแบบความสัมพนั ธภ์ าวะพง่ึ พากนั ภาพท่ี (1) (2) (3) (4) (5) 3. รปู แบบความสัมพันธ์ ภาวะอิงอาศยั ภาพท่ี (1) (2) (3) (4) (5) (1) (2) (3) (4) (5) 4. รูปแบบความสัมพนั ธ์ ภาวะได้ประโยชนร์ ว่ มกนั ภาพท่ี 5. รูปแบบความสมั พันธ์ ภาวะปรสติ ภาพที่ คาช้แี จง : ใหน้ กั เรียนศึกษาภาพด้านบนแลว้ พิจารณาขอ้ ความทกี่ าหนดใหว้ ่าถกู หรอื ผดิ โดยใช้เมาสช์ เี้ ลอื กทีบ่ ริเวณคาตอบ 1. ลักษณะความสมั พันธ์นกอนิ ทรีเป็นเหย่ือปลาเปน็ ผ้ลู า่ (1) ถกู (2) ผดิ 2. ลักษณะความสัมพนั ธ์สาหร่ายสร้างอาหารและได้ความชน้ื (1) ถกู (2) ผดิ (1) ถกู (2) ผดิ แร่ธาตจุ ากราสว่ นราอาศยั อาหารที่สาหร่ายสรา้ งข้ึน (1) ถกู (2) ผิด 3. ลกั ษณะความสมั พนั ธ์เหาฉลามอาศัยกนิ เศษอาหารจาก (1) ถูก (2) ผดิ ปลาฉลามสว่ นปลาฉลามเสยี ประโยชน์ทโี่ ดนเหาฉลามดูดเลือด 4. ลักษณะความสมั พันธ์ผีเสือ้ ดดู นา้ หวานจากดอกไม้เปน็ อาหาร ส่วนดอกไมม้ ผี ีเส้ือช่วยผสมเกสร 5. ลักษณะความสัมพนั ธ์หมัด เหบ็ ดูดเลือดจากหูสุนขั เป็นอาหาร ส่วนสนุ ขั มี หมัด เหบ็ ช่วยปอ้ งกันไมใ่ หส้ ิ่งตา่ งๆเขา้ หู หน้าหลัก สารบญั ปิด ศศมิ าภรณ์ ดเี ลิศ ครูชานาญการ กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนบา้ นอาโพน สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสรุ ินทรเ์ ขต 3

9 หนังสอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ เร่ือง ความสมั พันธร์ ะหว่างสิ่งมีชวี ิตในระบบนเิ วศ ทาถูกกนั บ้างหรือเปลา่ ...มาดเู ฉลยกันดกี วา่ หน้าหลัก สารบัญ ปิด ศศิมาภรณ์ ดเี ลิศ ครูชานาญการ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นบา้ นอาโพน สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสรุ ินทร์เขต 3

10 หนงั สอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ เรือ่ ง ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสงิ่ มชี ีวติ ในระบบนเิ วศ เฉลยแบบฝึกพัฒนาการเรยี นรู้ (1) (2) (3) (4) (5) คาช้แี จง : ใหน้ ักเรยี นศึกษาภาพดา้ นบนแล้วเลอื กคาตอบที่ถูกต้อง โดยใช้เมาสช์ ีเ้ ลอื กท่ีเฉลยเพอ่ื ดูคาตอบ 1. รปู แบบความสมั พนั ธ์ ภาวะลา่ เหยือ่ ภาพ เฉลย 1 2. รูปแบบความสมั พันธ์ เฉลย 3 3. รปู แบบความสัมพนั ธ์ ภาวะพ่งึ พากนั ภาพ เฉลย 5 เฉลย 2 เฉลย 4 4. รูปแบบความสัมพันธ์ ภาวะองิ อาศัย ภาพ 5. รูปแบบความสัมพันธ์ ภาวะได้ประโยชน์ร่วมกนั ภาพ ภาวะปรสติ ภาพ คาชแ้ี จง : ใหน้ ักเรยี นศึกษาภาพดา้ นบนแล้วพิจารณาขอ้ ความทีก่ าหนดให้ว่าถกู หรือผดิ โดยใช้เมาส์ชเี้ ลือกทบ่ี รเิ วณคาตอบ 1. ลกั ษณะความสัมพนั ธ์นกอนิ ทรเี ปน็ เหย่อื ปลาเป็นผู้ลา่ (1) ถูก (2) ผิด เฉลย 2. ลักษณะความสัมพันธส์ าหร่ายสร้างอาหารและได้ความชืน้ (1) ถูก (2) ผิด เฉลย (1) ถูก (2) ผิด เฉลย แรธ่ าตจุ ากราส่วนราอาศยั อาหารที่สาหร่ายสรา้ งข้ึน (1) ถกู (2) ผิด เฉลย 3. ลกั ษณะความสัมพนั ธ์เหาฉลามอาศัยกินเศษอาหารจาก (1) ถูก (2) ผิด เฉลย ปลาฉลามส่วนปลาฉลามเสยี ประโยชน์ท่ีโดนเหาฉลามดดู เลือด 4. ลักษณะความสมั พันธ์ผเี สอื้ ดดู นา้ หวานจากดอกไม้เปน็ อาหาร ส่วนดอกไมม้ ผี ีเส้อื ช่วยผสมเกสร 5. ลกั ษณะความสัมพันธ์หมัด เห็บ ดูดเลือดจากหูสุนขั เปน็ อาหาร ส่วนสุนัขมี หมัด เห็บ ชว่ ยป้องกันไมใ่ ห้สงิ่ ต่างๆเข้าหู หน้าหลกั สารบัญ ปิด ศศิมาภรณ์ ดีเลิศ ครูชานาญการ กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนบา้ นอาโพน สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาสุรินทร์เขต 3

11 หนงั สืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ เรื่อง ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ คาชแ้ี จง : ให้นักเรียนเลอื กคาตอบที่ถูกตอ้ งเพียงขอ้ เดยี ว แบบทดสอบย่อย โดยใชเ้ มาสช์ ้ีที่บริเวณคาตอบ 1. ไลเคน เป็นส่ิงมีชวี ิตท่อี ยรู่ ว่ มกนั ระหวา่ ง รากบั สาหร่าย 6. กลว้ ยไมเ้ กาะบนต้นไม้ใหญ่เป็นความสัมพันธแ์ บบใด ซ่งึ มคี วามสมั พันธ์แบบใด ก. ภาวะปรสติ ข. ภาวะพง่ึ พาอาศยั ก. พึ่งพาอาศยั กัน ค. ภาวะล่าเหย่ือ ข. องิ อาศยั ง. ภาวะอิงอาศัย ค. ลา่ เหยื่อ ง. ปรสติ 7. โพรโทซวั ในลาไสป้ ลวกมีความสมั พันธ์แบบเดยี วกับข้อ 2. การอย่แู บบอิงอาศยั เปน็ ความสัมพันธ์เหมอื นสง่ิ มีชวี ิต ใด ในข้อใด ก. ผเี สื้อกบั ดอกไม้ ก. งกู ับกบ ข. เหาฉลามกับปลาฉลาม ข. รากบั สาหร่าย ค. กาฝากกบั ต้นไม้ใหญ่ ค. พยาธใิ บไม้ในตบั คน ง. เสือกบั กวาง ง. หนอนผเี ส้ือกบั ต้นไม้ 3. ความสมั พนั ธ์ระหว่างงูกับคน เปน็ ความสัมพันธแ์ บบใด 8. ข้อใดไมใ่ ช่ความสัมพนั ธแ์ บบฝา่ ยหนึ่งได้ประโยชน์อกี ก. ปรสิต ฝ่ายหนงึ่ เสยี ประโยชน์ ข. อิงอาศยั ก. ปลิงน้าจืดกบั ปลา ค. ล่าเหยือ่ ข. ต้นกาบหอยแครงดกั จบั แมลง ง. พ่ึงพาอาศัยกัน ค. พยาธใิ บไม้อาศัยในร่างกายมนษุ ย์ 4. ขอ้ ใดคอื สัญลักษณ์ของความสมั พันธแ์ บบการลา่ เหย่อื ง. แบคทีเรยี ท่อี าศัยอย่ใู นลาไสใ้ หญข่ องคน ก. 0,0 9. ขอ้ ใดเป็นความสัมพันธข์ องสิ่งมีชีวิตที่ให้ประโยชน์แก่ ข. +,0 กนั ค. +,- ก. พยาธกิ บั คน ง. -,- ข. ตัวไรกับไก่ 5. ความสัมพนั ธ์ของส่งิ มีชวี ิตในขอ้ ใดเป็นแบบปรสิต ค. นกเอี้ยงกบั ควาย ทัง้ หมด ง. กาฝากบนต้นมะม่วง ก. กาฝากกับต้นไม้ใหญแ่ ละผเี สอื้ กบั ดอกไม้ 10. นกแรง้ กับเสือมีความสัมพนั ธล์ กั ษณะเดยี วกบั สตั ว์คูใ่ ด ข. นกเอ้ียงบนหลงั ควายและเห็บบนตวั สุนัข ก. ม้าลายกบั สงิ โต ค. ผีเสื้อกบั ดอกไมแ้ ละนกเอ้ียงบนหลังควาย ข. เหบ็ กับสนุ ัข ง. เหบ็ กบั สุนัข และกาฝากบนต้นไม้ใหญ่ ค. ไฮยีนากบั สงิ โต ง. หนกู บั เหย่ยี ว หน้าหลกั สารบญั ปิด ศศิมาภรณ์ ดีเลศิ ครูชานาญการ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนบ้านอาโพน สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสุรินทรเ์ ขต 3

12 หนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ เรอื่ ง ความสัมพันธ์ระหวา่ งสงิ่ มีชวี ติ ในระบบนิเวศ ทาแบบทดสอบไดบ้ า้ งมัย๊ เอ่ย...มาดูเฉลยกนั คะ หนา้ หลัก สารบญั ปิด ศศิมาภรณ์ ดเี ลิศ ครูชานาญการ กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนบ้านอาโพน สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์เขต 3

13 หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ เรอื่ ง ความสมั พนั ธ์ระหว่างส่งิ มชี วี ติ ในระบบนเิ วศ เฉยแบบทดสอบยอ่ ย 1. ไลเคน เป็นสง่ิ มีชีวติ ทอ่ี ยู่ร่วมกันระหว่าง รากับสาหร่าย 6. กล้วยไม้เกาะบนต้นไม้ใหญเ่ ป็นความสมั พนั ธแ์ บบใด ซง่ึ มีความสมั พันธ์แบบใด เฉลย ก. ภาวะปรสติ เฉลย ก. พึง่ พาอาศัยกัน ข. ภาวะพ่ึงพาอาศยั ข. องิ อาศัย ค. ภาวะล่าเหยื่อ ค. ล่าเหยอ่ื ง. ภาวะองิ อาศยั ง. ปรสิต 7. โพรโทซัวในลาไสป้ ลวกมีความสัมพนั ธแ์ บบเดยี วกับข้อ 2. การอยู่แบบอิงอาศยั เปน็ ความสมั พนั ธ์เหมอื นสิ่งมีชีวติ ใด เฉลย ก. งูกบั กบ ในข้อใด เฉลย ก. ผีเสือ้ กับดอกไม้ ข. รากบั สาหรา่ ย ข. เหาฉลามกบั ปลาฉลาม ค. พยาธใิ บไม้ในตบั คน ค. กาฝากกับต้นไม้ใหญ่ ง. หนอนผเี สื้อกบั ต้นไม้ ง. เสือกบั กวาง 8. ข้อใดไม่ใช่ความสัมพนั ธ์แบบฝา่ ยหน่ึงไดป้ ระโยชน์อีก 3. ความสัมพนั ธ์ระหว่างงกู ับคน เป็นความสัมพนั ธแ์ บบใด ฝ่ายหนงึ่ เสียประโยชน์ เฉลย ก. ปลงิ นา้ จดื กบั ปลา ก. ปรสิต เฉลย ข. อิงอาศยั ข. ต้นกาบหอยแครงดกั จับแมลง ค. ลา่ เหยือ่ ค. พยาธิใบไมอ้ าศัยในร่างกายมนุษย์ ง. พึ่งพาอาศยั กัน ง. แบคทีเรยี ท่ีอาศัยอย่ใู นลาไส้ใหญ่ของคน 4. ข้อใดคอื สญั ลกั ษณข์ องความสัมพนั ธ์แบบการลา่ เหยือ่ 9. ข้อใดเปน็ ความสัมพนั ธข์ องสิ่งมชี วี ติ ท่ีใหป้ ระโยชน์แก่ ก. 0,0 เฉลย กัน เฉลย ข. +,0 ก. พยาธิกับคน ค. +,- ข. ตัวไรกบั ไก่ ง. -,- ค. นกเอยี้ งกบั ควาย 5. ความสมั พันธ์ของสงิ่ มีชีวิตในข้อใดเป็นแบบปรสติ ง. กาฝากบนตน้ มะมว่ ง ทงั้ หมด เฉลย 10. นกแร้งกับเสอื มคี วามสมั พันธล์ ักษณะเดียวกับสัตวค์ ใู่ ด ก. กาฝากกับต้นไมใ้ หญแ่ ละผีเสอื้ กับดอกไม้ ก. ม้าลายกับสงิ โต เฉลย ข. เห็บกบั สุนัข ข. นกเอ้ียงบนหลังควายและเหบ็ บนตวั สุนัข ค. ผเี สื้อกบั ดอกไมแ้ ละนกเอย้ี งบนหลงั ควาย ค. ไฮยีนากับสิงโต ง. เหบ็ กับสุนัข และกาฝากบนต้นไม้ใหญ่ ง. หนกู บั เหยีย่ ว หนา้ หลัก สารบัญ ปิด ศศมิ าภรณ์ ดเี ลิศ ครูชานาญการ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นบ้านอาโพน สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทร์เขต 3

14 หนังสืออิเลก็ ทรอนิกส์ เรอ่ื ง ความสมั พนั ธ์ระหว่างสิง่ มชี วี ติ ในระบบนเิ วศ เฉลยละเอียดแบบทดสอบยอ่ ย ขอ้ 1. รากบั สาหร่ายเป็นความสัมพันธ์ของส่ิงมีชวี ติ ทเี รียกว่าแบบพึ่งพาอาศัยกนั ดว้ ยการท่ีราอยู่ ร่วมกบั สาหรา่ ยทาใหส้ าหร่ายได้รับความช้ืนและแรธ่ าตจุ ากรา ส่วนรากไ็ ด้รบั อาหารและออกซเิ จน จากสาหร่ายซ่งึ เมือ่ แยกกนั สง่ิ มชี วี ติ ท้ัง 2 ชนิดจะไม่สามารถดารงชีวิตอย่ไู ด้ ข้อ 2. ฉลามและเหาฉลามเป็นความสัมพนั ธ์ของสิง่ มีชีวิตแบบอิงอาศยั เหาฉลามจะได้ประโยชนจ์ าก การกนิ เศษอาหารท่ฉี ลามกินเหลือไว้ แต่ฉลามก็ไมไ่ ดแ้ ละไมเ่ สียประโยชน์อะไร ขอ้ 3. ความสัมพนั ธ์แบบล่าเหยื่อเป็นการอย่รู ว่ มกนั ของส่งิ มชี ีวติ สองชนดิ โดยฝ่ายหนง่ึ เป็นผลู้ ่าหรือ เป็นผไู้ ด้ประโยชนแ์ ตอ่ กี ฝา่ ยหน่ึงเปน็ เหย่ือหรือเปน็ ผูเ้ สียประโยชน์ ข้อ 4. สญั ลักษณ์แทนความสัมพนั ธใ์ นระบบนิเวศ สัญลักษณ์ ความหมาย + ไดป้ ระโยชนจ์ ากอกี ฝา่ ย - เสยี ประโยชนใ์ หอ้ ีกฝ่าย 0 ไมไ่ ดแ้ ละไม่เสยี ประโยชน์ เราสามารถเขยี นสัญลกั ษณข์ องความสัมพนั ธแ์ บบฝ่ายหน่ึงไดป้ ระโยชนแ์ ละอกี ฝ่ายหน่ึงเสยี ประโยชนไ์ ดเ้ ปน็ (+, -) หนา้ หลกั สารบญั ปดิ ศศมิ าภรณ์ ดีเลิศ ครูชานาญการ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นบา้ นอาโพน สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรินทร์เขต 3

15 หนังสอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เร่ือง ความสมั พันธร์ ะหวา่ งสิ่งมชี วี ิตในระบบนิเวศ เฉลยละเอยี ดแบบทดสอบยอ่ ย ข้อ 5. ความสัมพนั ธแ์ บบปรสิตเป็นการอยูร่ ว่ มกนั ของสง่ิ มชี วี ติ สองชนิด โดยที่สิ่งมชี ีวิตชนิดหน่งึ ไป อาศัยส่งิ มชี ีวิตอีกชนิดหนึง่ และผู้ทถ่ี กู อาศยั เปน็ ผเู้ สยี ประโยชน์ เช่น กาฝากบนต้นไม้ใหญ่ เห็บกบั สนุ ขั ข้อ 6. ฝ่ายไดป้ ระโยชน์ คือ กลว้ ยไม้ได้ทอี่ ย่อู าศยั และความชื้นจากต้นไมใ้ หญ่ ส่วนตน้ ไม้ใหญไ่ มไ่ ด้ และไมเ่ สยี ประโยชน์ ข้อ 7. โพรโตซวั ในลาไสป้ ลวกมคี วามสัมพันธแ์ บบพ่งึ พาอาศยั กนั ปลวกอาศัยโพรโตซวั ทอี่ ยู่ในลาไส้ ช่วยยอ่ ยเซลลโู ลสของไม้ ส่วนโพรโทซัวได้อาศยั อยู่ในตวั ปลวกและได้รับอาหารจาการยอ่ ยเซลลโู ลส ซ่ึงมีความสมั พันธ์เชน่ เดียวกับราและสาหร่ายสีเขียว พชื ตระกูลถั่วกับแบคทีเรียทีป่ มราก ดว้ งกับมด ข้อ 8. แบคทเี รียที่อาศัยอย่ใู นลาไสใ้ หญ่ของคนเปน็ ความสมั พนั ธ์แบบภาวะพ่ึงพาอาศยั กันเปน็ การ อย่รู ่วมกนั ที่ต่างฝ่ายต่างไดป้ ระโยชน์รว่ มกนั ต้องพ่ึงพาอาศยั ด้วยกันตลอดไป เม่ือแยกจากกันไม่ สามารถดารงชีวิตได้ แบคทเี รียไดร้ บั อาหารและท่ีอยอู่ าศัยจากลาไส้ของคนสว่ นคนจะได้รบั วติ ามนิ บี 12 จากแบคทีเรีย ข้อ 9. นกเอีย้ งไดก้ ินแมลงต่าง ๆ บนหลังควายเป็นอาหาร ส่วนควายสบายตัวขึ้น ไม่ราคาญแมลง ท่มี าตอม ซ่งึ เป็นความความสมั พนั ธแ์ บบภาวะไดป้ ระโยชน์รว่ มกัน ข้อ 10. นกแรง้ และไฮยนี าจะเกบ็ กินอาหารท่เี หลือจากเสือและสงิ โตทิ้งไว้ เปน็ ความสัมพันธแ์ บบ ภาวะอิงอาศัย ฝ่ายหน่ึงไดป้ ระโยชน์ ส่วนอกี ฝ่ายไม่ไดแ้ ละก็ไม่เสียประโยชน์ หนา้ หลัก สารบัญ ปิด ศศิมาภรณ์ ดเี ลศิ ครูชานาญการ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นบ้านอาโพน สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสรุ นิ ทรเ์ ขต 3

16 หนงั สอื อิเล็กทรอนกิ ส์ เรอ่ื ง ความสมั พันธ์ระหว่างส่งิ มชี ีวติ ในระบบนิเวศ สรุปผลการเรียนรู้ ความสมั พันธ์ระหว่างสงิ่ มชี วี ิตในระบบนเิ วศ คอื ความสัมพนั ธข์ องส่ิงมชี ีวิตในแหล่งที่อย่อู าศัย นน้ั ๆ เช่น ส่งิ มีชีวติ ทอ่ี าศัยอยใู่ นป่าไม้กจ็ ะมีความสัมพันธ์กบั ป่าไมแ้ ล้วเราก็เรยี กความสัมพนั ธ์อย่างน้ี วา่ ระบบนเิ วศปา่ ไมน้ น่ั เอง ประกอบดว้ ย 1.ความสัมพันธ์แบบได้ประโยชนร์ ่วมกัน 2.ความสมั พันธ์แบบแบบพ่ึงพาอาศยั กัน 3.ความสัมพันธ์แบบองิ อาศัยหรอื ภาวะเก้ือกลู กัน 4.ความสัมพันธแ์ บบลา่ เหยื่อ 5.ความสมั พนั ธ์แบบปรสติ สญั ลกั ษณ์แทนความสมั พันธ์ในระบบนเิ วศ สัญลกั ษณ์ ความหมาย + ไดป้ ระโยชนจ์ ากอกี ฝ่าย - เสยี ประโยชน์ให้อีกฝ่าย 0 ไม่ไดแ้ ละไมเ่ สียประโยชน์ เราสามารถเขยี นสญั ลักษณข์ องความสัมพนั ธ์แบบฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์และอีกฝา่ ยหนง่ึ เสยี ประโยชน์ได้เป็น (+, -) หน้าหลกั สารบญั ปดิ ศศิมาภรณ์ ดเี ลิศ ครูชานาญการ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นบ้านอาโพน สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสุรนิ ทรเ์ ขต 3

17 หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมชี ีวิตในระบบนเิ วศ บรรณานกุ รม ปานนนท์ นลิ รตั น์. (2556). “สงิ่ แวดลอ้ มและระบบนเิ วศ”. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://pannon32.blogspot.com/ สืบค้นเมือ่ 8 เมษายน พ.ศ. 2559 มณฑา นิระทัย . (2554). เก็งขอ้ สอบ วิทยาศาสตร์ ป.6 . กรงุ เทพ : บรษิ ัท ดับเบ้ลิ บี เพรส จากัด. โรงเรียนมงฟอร์ตวทิ ยาลยั จงั หวดั เชียงใหม่. (2556). “E-Learning ระดับชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4-6”. [ออนไลน]์ . เข้าถึงไดจ้ าก : http://goo.gl/XXIUXy สืบค้นเมอ่ื 8 เมษายน พ.ศ. 2559 ลดั ดาวัลย์ เสยี งสังข์ และ สามารถ พงศไ์ พบูลย์ . (2552). วทิ ยาศาสตร์ ป.6 สอบเขา้ ม.1. (พิมพคร้ังท่ี 2). กรงุ เทพ : เจรญิ มน่ั คงการพิมพ์. สถาบันพฒั นาคณุ ภาพวิชาการ (พว.). (2557). ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้พัฒนาการคิดวเิ คราะห์ วิทยาศาสตร์ ป.6 . (พมิ พคร้ังที่ 1). กรงุ เทพ : บริษทั พัฒนาคุณภาพวชิ าการ. สินธุ์ธู สยารมณ์ . (2557). เจาะลึก วิทยาศาสตร์ ป.6 สอบเขา้ ม.1 ฉบบั เขม้ ข้น. กรุงเทพ : บริษัทฐานบณั ฑิต จากัด. สภุ าภรณ์ จันทร์สงิ ห์ . (2556). “สนุกคดิ นักวิทยาศาสตร์น้อย”. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ได้จาก : http://goo.gl/OwmNjk สืบคน้ เมือ่ 8 เมษายน พ.ศ. 2559 สมพงษ์ จันทร์โพธ์ิศรี . (2557). คู่มือเตรียมสอบ วทิ ยาศาสตร์ ป. 4-5-6. กรงุ เทพ : บรษิ ัทเจา้ พระยาระบบการพมิ พ์ จากัด. เอกรนิ ทร์ สม่ี หาศาลและคณะ . (2551). ชดุ แมบ่ ทมาตรฐาน Smart O-NET วทิ ยาศาสตร์ ป.6 . กรุงเทพ : บริษัทอกั ษรเจริญทศั น์ อจท จากัด. อนตุ ตรยี ์ แซโ่ คว้ . (2558). “สง่ิ มชี วี ิตใต้ท้องทะเล”. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก : https://anutree05.wordpress.co สืบค้นเม่อื 8 เมษายน พ.ศ. 2559 หน้าหลัก สารบัญ ปดิ ศศิมาภรณ์ ดีเลิศ ครูชานาญการ กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนบา้ นอาโพน สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสรุ นิ ทร์เขต 3

หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ เรอื่ ง ความสัมพนั ธ์ระหว่างส่งิ มีชีวติ ในระบบนเิ วศ ศศมิ าภรณ์ ดเี ลิศ ครูชานาญการ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนบ้านอาโพน สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสุรนิ ทรเ์ ขต 3