Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore OBECAward 2020 Active Teacher_Sasi

OBECAward 2020 Active Teacher_Sasi

Published by deelert House, 2020-07-14 11:21:31

Description: OBECAward 2020 Active Teacher_Sasi

Search

Read the Text Version

รายงานคุณสมบตั ิเบือ้ งตน้ และรายงานผลการปฏิบตั ิงาน เพ่อื รับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC Awards) ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ ประเภทครผู สู้ อนยอดเยย่ี ม ดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พือ่ การเรยี นการสอน กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ระดบั ประถมศกึ ษา นางศศิมาภรณ์ ดเี ลิศ ตาแหนง่ ครู ชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นบ้านอาโพน อาเภอบัวเชด จังหวดั สุรินทร์ สานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต ๓ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

รายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน (Self report) เพือ่ รบั รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC Awards) หน้าที่ 1 คำนำ รายงานผลการปฏิบัติงานเพื่อรับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC Awards) ประจาปีการศึกษา 256๒ ประเภทครูผู้สอนยอดเยีย่ ม ด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พอ่ื การเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ระดับประถมศึกษา เป็นรายงานท่ีจัดทาขึ้นสาหรับการประเมินการคัดเลือกเพื่อขอรับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC Awards) ของ นางศศิมาภรณ์ ดีเลิศ ตาแหน่งครู โรงเรียนบ้านอาโพน สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 รายละเอียดประกอบด้วย ข้อมูลทั่วไปของผู้ขอรับการประเมิน คุณสมบัติเบ้ืองต้น องค์ประกอบเฉพาะดา้ น และองค์ประกอบที่เปน็ ตัวช้ีวดั ร่วม ซึ่งได้นาเสนอรายละเอียดตามตัวชี้วัด ท้ังนี้ นวัตกรรม และเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนการสอน ท่ีเสนอขอรับรางวัลในครั้งนี้ ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ครูผู้สอน เพื่อนครู ผู้บริหาร สถานศึกษา และชุมชนได้รับประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อมมากมาย และเป็นคร้ัง แรกของการสง่ รายงานเพ่ือขอรบั การประเมิน หวังวา่ รายงานเลม่ นี้ จะอานวยความสะดวกต่อการพิจารณา และตัดสินใจของคณะกรรมการประเมิน ในการคัดเลือกให้ได้รับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC Awards) ประจาปีการศึกษา 256๒ เพื่อเป็นการสร้าง ขวัญและกาลังใจให้ครูผู้มีความม่งุ มั่น มีพลัง ท่ีจะรว่ มพัฒนาการศึกษาของชาตใิ ห้มีคุณภาพยิ่งขนึ้ ต่อไป ศศมิ าภรณ์ ดเี ลศิ ๒๕ กมุ ภาพนั ธ์ 25๖๓ นางศศิมาภรณ์ ดเี ลิศ ตาแหนง่ ครู โรงเรียนบา้ นอาโพน โรงเรยี นบ้านอาโพน สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏิบตั งิ าน (Self report) เพอื่ รับรางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC Awards) หนา้ ที่ 2 คำรบั รองเอกสำร ดิฉันนางศศิมาภรณ์ ดีเลิศ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะชานาญการพิเศษ โรงเรียนบ้านอาโพน สานักงานเขต พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 ขอรับรองว่าสาเนาเอกสารประกอบการประเมินตามแบบรายงานผล การปฏบิ ตั ิงาน (Self report) เพ่ือรบั รางวลั ทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC Awards) ประจาปีการศึกษา 256๒ คร้ังที่ ๙ ตามองค์ประกอบตัวช้ีวัด ประเภทครูผู้สอนยอดเยี่ยม ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน กลุ่ม สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับประถมศึกษา เป็นเอกสารท่ีจัดทาขึ้นเพ่ือประกอบการพิจาณาสาหรับ คณะกรรมการ ผู้รายงาน ได้รายงานตามความเป็นจริงและสาเนาเอกสารจากต้นฉบบั จริงทกุ ประการ จึงไดล้ งลายมอื ช่อื ไวเ้ ป็นหลักฐาน ศศมิ าภรณ์ ดีเลศิ ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะชานาญการพิเศษ ๒๕ กุมภาพนั ธ์ 25๖๓ นางศศมิ าภรณ์ ดีเลศิ ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นบ้านอาโพน โรงเรียนบา้ นอาโพน สานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏิบัตงิ าน (Self report) เพือ่ รบั รางวัลทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC Awards) หน้าท่ี 3 คำรับรองจำกผูบ้ ริหำรสถำนศกึ ษำ รายงานผลการปฏิบัติงานเพื่อรับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC Awards) ประจาปีการศึกษา 256๒ ประเภทครผู ู้สอนยอดเยีย่ ม ดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยีเพือ่ การเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ระดับประถมศึกษา เป็นรายงานท่ีจัดทาข้ึนสาหรับการประเมินการคัดเลือกเพ่ือขอรับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC Awards) ของนางศศมิ าภรณ์ ดเี ลศิ ตาแหน่งครู วิทยฐานะชานาญการพิเศษ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 รายละเอียดประกอบด้วย ข้อมูลทั่วไปของผู้ขอรับการประเมิน คุณสมบัติเบ้ืองต้น องคป์ ระกอบเฉพาะดา้ น และองคป์ ระกอบท่เี ป็นตัวชี้วดั ร่วม ซ่งึ ได้นาเสนอรายละเอยี ดตามตัวชีว้ ัดดังปรากฏในเล่ม ข้าพเจ้า นายชาลี กงแก้ว ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านอาโพน สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๓ ขอรับรองว่า รายละเอียดที่ปรากฏ พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานดังกล่าวข้างต้น เป็น ผลงานท่ีเกิดจากการปฏิบัติงานจริง ของนางศศิมาภรณ์ ดีเลิศ ตาแหน่งครู วิทยฐานะชานาญการพิเศษ ซึ่งเป็น บุคคลที่มีความมุ่งม่ันปฏิบัติงาน อุทิศตนเพ่ือศิษย์และองค์กร ท่ีสมควรได้รับรับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC Awards) ประจาปีการศึกษา 256๒ ประเภทครูผู้สอนยอดเยี่ยม ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนการ สอน กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ระดบั ประถมศึกษา จึงไดล้ งลายมอื ช่อื ไวเ้ ปน็ หลักฐาน (นายชาลี กงแกว้ ) ตาแหนง่ ผูอ้ านวยการโรงเรียนบ้านอาโพน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต ๓ นางศศิมาภรณ์ ดีเลิศ ตาแหนง่ ครู โรงเรียนบ้านอาโพน โรงเรียนบ้านอาโพน สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏบิ ัติงาน (Self report) เพ่อื รับรางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC Awards) หน้าท่ี 4 สำรบัญ คานา ข คารับรองเอกสาร ค คารับรองจากผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ง สารบญั จ แบบประวัตคิ รูผู้รับการคดั เลือก ๑ คณุ สมบตั เิ บื้องตน้ ๒ การประเมินตวั ช้วี ัดเฉพาะ ๒๐ ๒๐ องค์ประกอบท่ี 1 คุณภาพ ๒๐ 1. คณุ ลกั ษณะของนวัตกรรม ๒๕ 2. คณุ ภาพขององคป์ ระกอบในนวัตกรรม ๒๗ 3. การออกแบบนวตั กรรม ๓๐ ๔. ประสทิ ธภิ าพของนวัตกรรม ๓๕ ๓๕ องคป์ ระกอบที่ 2 คุณประโยชน์ ๓๘ ๑. ความสามารถในการแกป้ ัญหาหรอื พฒั นา ๔๐ ๒. ประโยชนต์ อ่ บคุ คล ๔๒ ๓. ประโยชนต์ อ่ หน่วยงาน ๔๒ ๔๒ การประเมนิ ตวั ชวี้ ัดรว่ ม ๔๕ องค์ประกอบที่ 1 ผลที่เกิดกับผู้เรียน ๔๖ 1. ผลท่ีเกดิ กับผ้เู รยี น ดา้ นคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ๔๙ 2. ผลทเี่ กิดกบั ผเู้ รียน ด้านผลงาน/ชิ้นงาน/ภาระงาน/ผลการปฏิบัตงิ าน ๕๑ ๓. ผลที่เกดิ กับผู้เรียน ดา้ นการเผยแพรผ่ ลงานนักเรียน ๕๑ ๔. ผลที่เกิดกับผู้เรยี น ด้านการได้รับ รางวัล/ยกย่อง เชดิ ชู ๕๓ องคป์ ระกอบท่ี 2 ผลการพฒั นาตนเอง ๕๓ 1.เปน็ แบบอยา่ งและเป็นที่ยอมรบั จากบุคคลอน่ื ๆ ๕๘ องคป์ ระกอบที่ 2 พัฒนาตนเองอย่างตอ่ เนือ่ ง ๕๘ ๑. พัฒนาตนเองอย่างต่อเนือ่ ง ๖๒ องคป์ ระกอบที่ ๓ การดาเนินงาน/ผลงานท่ีเป็นเลิศ ๖๕ 1. การนาองค์ความรู้จากการได้รับการพฒั นาหรือการพฒั นาตนเองไปใชป้ ระโยชน์ ๒.การแกป้ ญั หา/การพฒั นาผู้เรยี น ภาคผนวก นางศศิมาภรณ์ ดีเลิศ ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นบ้านอาโพน โรงเรยี นบ้านอาโพน สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสรุ นิ ทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏิบตั งิ าน (Self report) เพื่อรบั รางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC Awards) หนา้ ที่ 1 แบบประวัตคิ รูผู้รับกำรคัดเลือก รำยงำนผลกำรปฏิบตั งิ ำน (Self report) ครูผสู้ อนมีผลงำนดีเดน่ เพอ่ื รบั รำงวลั ทรงคุณค่ำ สพฐ. (OBEC Awards) ประจำปกี ำรศกึ ษำ 256๒ .............................................. แบบประวัติครูผ้สู อนที่เสนอเพื่อรบั กำรคดั เลือก 1. ชอ่ื -สกลุ นางศศิมาภรณ์ ดีเลศิ 2. วนั เดือน ปี เกิด วันที่ ๑ เดอื นมนี าคม พ.ศ. 25๒๐ อายุ ๔๒ ปี 3. สถำนศึกษำ โรงเรยี นบา้ นอาโพน สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ เขต 3 4. ทีอ่ ย่ปู ัจจบุ นั บา้ นเลขท่ี 36 หม่ทู ่ี 2 บ้านประเม ตาบลอาโพน อาเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์ รหัสไปรษณยี ์ 32230 5. ตำแหนง่ ปัจจบุ นั ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ชานาญการพิเศษ 6. โทรศัพทเ์ คล่ือนที่ 08๑-๒๖๖-๒๘๙๓ E_mail : [email protected] 7. ประวตั กิ ำรศกึ ษำ ตารางที่ 1 แสดงประวตั กิ ารศึกษา วฒุ กิ ารศึกษา วิชาเอก/โทสาขา ปที ี่สาเร็จการศึกษา สถาบันการศึกษา ครศุ าสตรบัณฑติ วทิ ยาศาสตร์ท่วั ไป พ.ศ. 25๔๓ สถาบันราชภฏั ธนบรุ ี ศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ บรหิ ารการศกึ ษา พ.ศ. 255๕ สถาบนั รัชตภ์ าคย์ 8. ประวัตกิ ำรรบั รำชกำร ตารางท่ี 2 แสดงประวตั กิ ารรับราชการ วัน-เดือน-ปี ตาแหนง่ /วทิ ยฐานะ สอนชนั้ สถานท่ที างาน ๓ สงิ หาคม ๒๕๕๒ ครผู ชู้ ว่ ย ป.๔-๖ โรงเรยี นบา้ นพรหมสะอาด สพป.สร.3 ป.๔-๖ โรงเรยี นบา้ นอาโพน สพป.สร.3 ๓ สิงหาคม ๒๕๕๔ ครู ป.๔-๖ โรงเรยี นบา้ นอาโพน สพป.สร.3 ป.๔-๖ โรงเรยี นบา้ นอาโพน สพป.สร.3 ๑ ตุลาคม ๒๕๕๘ ครู ชานาญการ ๑๙ มกราคม ๒๕๖๑ ครู ชานาญการพิเศษ นางศศิมาภรณ์ ดเี ลศิ ตาแหนง่ ครู โรงเรียนบา้ นอาโพน โรงเรยี นบา้ นอาโพน สานักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏิบัตงิ าน (Self report) เพ่อื รับรางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC Awards) หน้าท่ี 2 คณุ สมบัตเิ บอื้ งต้น รำยงำนผลกำรปฏิบัติงำน (Self report) เพอ่ื รับรำงวัลทรงคุณคำ่ สพฐ. (OBEC Awards) ประจำปีกำรศึกษำ 256๒ ............................................. 1. ชื่อรำงวัลที่เสนอขอ ครูผสู้ อนยอดเยีย่ ม ประเภท  บคุ คลยอดเย่ียม สังกดั  สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษา ด้ำน  ดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พือ่ การเรยี นการสอน ระดบั  ประถมศึกษา กลุ่มสำระกำรเรียนรู้  วทิ ยาศาสตร์ 2. คุณสมบตั ิเบื้องต้น ดฉิ ันขอรบั การประเมนิ ครูผสู้ อนยอดเยี่ยม ของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน (OBEC Awards) มีคุณสมบัติเบือ้ งตน้ ดงั ตอ่ ไปนี้ 2.1 ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการพิเศษ โรงเรียนบ้านอาโพน อาเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 2.2 ปฏิบัติหน้ำที่ในกำรจัดกำรเรียนกำรสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๔-๖ ในตาแหน่ง ครูผู้ช่วย ตั้งแต่ วันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๕๒ จนถึงปัจจุบันตาแหน่ง ครู วิทยฐานะชานาญการพิเศษ เป็นเวลา ๑๐ ปี 2.3 กำรลงโทษทำงวินัย ดิฉันเป็นผู้ไม่เคยถูกลงโทษทางวินัย ต้ังแต่รับราชการมาแม้แต่คาว่ากล่าว ตักเตือน ในการปฏิบัติหน้าที่ครูได้จัดกระบวนการเรียนรู้ให้แก่เด็ก ด้วยความรักและศรัทธาในวิชาชีพครู มีความ มุ่งม่นั ท่จี ะพฒั นาผ้เู รียน ให้เปน็ คนดี คนเกง่ และมีความสขุ 2.4 มีควำมประพฤติในกำรครองตน ครองคน ครองงำน เป็นแบบอย่างที่ดีและยอมรับของบุคคลใน วชิ าชีพและสังคม 2.4.1 กำรครองตน (มีคณุ ธรรม จริยธรรมทพ่ี งึ ประสงค์) ในส่วนการครองตน ดิฉันสานึกอยู่เสมอว่าตนเองเป็นครูต้องเป็นตัวอย่างท่ีดีให้กับลูกศิษย์ โดย ยึดถือแนวปฏิบัติในจรรยาบรรณครู รักและเมตตาศิษย์ โดยให้ความเอาใจใส่ช่วยเหลือส่งเสริม ให้กาลังใจใน การศึกษาเล่าเรียนแก่ศิษย์โดยเสมอหน้าอบรม สั่งสอน ฝึกฝนสรา้ งเสริมความรู้ ทักษะและนิสัยท่ีถูกต้องดีงามให้แก่ ศิษย์อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธ์ิใจ ยึดหลักคุณธรรมและจริยธรรมในการทางานซึ่งส่งผลต่อคุณภาพ การจัดการเรียนการสอน ดังน้ี นางศศมิ าภรณ์ ดเี ลศิ ตาแหนง่ ครู โรงเรียนบ้านอาโพน โรงเรียนบา้ นอาโพน สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสุรินทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏิบตั งิ าน (Self report) เพ่อื รับรางวัลทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC Awards) หน้าที่ 3 2.4.1.1 มีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกรอบสาม มาตรฐานท่ี 9 ครูมีความรู้ความ สามารถในการจดั การเรยี นการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ในระดับคุณภาพดีและมีผลการ ประเมินคุณภาพการศกึ ษาภายนอกรอบสาม มาตรฐานท่ี 3 ตัวบ่งชีท้ ี่ 6 ประสิทธภิ าพของการจัดการเรียนการสอน ทีเ่ น้นผูเ้ รียนเปน็ สาคญั ระดับคะแนนทไี่ ดเ้ ท่ากบั ระดับคุณภาพดีมาก 2.4.1.๒ ยึดถือแนวปฏบิ ัติในจรรยาบรรณวิชาชีพครู เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสรมิ และใหโ้ อกาส ศิษย์ทุกคนไดเ้ รยี นรู้ และแสดงศกั ยภาพอย่างเต็มความสามารถ เสริมสร้างทักษะนิสัยท่ีดีงาม มุ่งมั่นตั้งใจหาวิธีการ จัดการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ใช้สื่อและเทคโนโลยีอย่างเหมาะสมในการจัดการเรียนรู้ เพ่ือแก้ไขปัญหาและพัฒนา ผลสมั ฤทธ์ิของนักเรียน 2.4.1.๓ มีความรับผิดชอบ ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็มความสามารถเป็นที่น่าพึง พอใจของผบู้ ังคับบญั ชาและเพอ่ื นร่วมงาน 2.4.1.๔ ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง ใช้และดูแลทรัพย์สินของทางราชการอย่างคุ้มค่าและเกิด ประโยชนส์ งู สดุ สอนใหน้ กั เรยี นรู้จักเกบ็ ออมและใชจ้ ่ายอยา่ งประหยดั 2.4.1.๕ รักษาระเบียบวินัยและเคารพกฎหมาย ประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์ แต่งกายสะอาด เรียบร้อยเหมาะสมกับกาลเทศะ ให้ความเคารพต่อผู้บังคับบัญชา เป็นผู้ตรงต่อเวลา ไม่เคยขาด ราชการ ไม่เคยได้รับโทษทางวินยั และโทษทางกฎหมาย และเปน็ ผู้มจี ติ อาสา เสียสละเวลาเพ่ือส่วนรวม ดิฉันปฎิบัติ ตนตามกฎหมายระเบียบแบบแผน หลักเกณฑ์และวิธีปฎิบัติราชการ โดยเป็นบุคคลที่เคารพและปฎิบัติตาม กฎหมาย รักษาระเบียบวินัยของทางราชการ กระทาตนเป็นแบบอย่างที่ดี มีหลักในการปฎิบัติหน้าที่ของครูอย่าง ชัดเจนยตุ ธิ รรม 2.4.1.๖ มคี วามจงรกั ภกั ดีต่อชาติ ศาสนา และพระมาหากษัตรยิ ์ มีความจงรกั ภกั ดี ต่อสถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั รยิ ์ ยึดม่ันในการปกครองระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษตั ริยเ์ ป็นประมขุ ประพฤตติ นใหเ้ ป็นสมาชิกที่ดขี องสงั คมและมจี ิตสาธารณะมีความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม รปู ภาพชดุ ที่ ๑ แสดงผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบท่ีสามของโรงเรยี นบา้ นอาโพน นางศศมิ าภรณ์ ดเี ลิศ ตาแหน่ง ครู โรงเรยี นบา้ นอาโพน โรงเรยี นบ้านอาโพน สานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน (Self report) เพอื่ รับรางวัลทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC Awards) หน้าท่ี 4 2.4.2 กำรครองคน (ทางานร่วมกบั ผ้อู นื่ ไดด้ ี เป็นทย่ี อมรับ รักใครข่ องศิษย์ ผรู้ ว่ มงาน ) ดิฉันได้ปฏิบัติตามหลักธรรมพรหมวิหาร 4 ประกอบด้วย เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา โดย พยายามประพฤติ ปฏิบัติตนตามคุณลักษณะประจาตัวท่ีแสดงถึงการครองคนด้านต่างๆ เช่น การมีบุคลิกภาพดี เหมาะสมกับการเป็นครู มีมนุษยสัมพันธ์ดี มีสัมพันธภาพในการทางาน มีความบริสุทธิ์ยุติธรรมและทางานอย่าง โปร่งใส ปราศจากอคติ ยึดประโยชน์ของเด็ก และส่วนรวมเป็นที่ตั้ง จึงประสบความสาเร็จในการทางานเป็นทีม ไดร้ ับการยอมรับจากทกุ ฝ่ายทเ่ี กีย่ วขอ้ ง สามารถเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ไี ดแ้ ละมีผลในการครองคน ดังน้ี 2.4.2.1 ร่วมกจิ กรรมกบั ผู้ร่วมงานในโรงเรียน 1) กจิ กรรมส่งเสรมิ คณุ ธรรมและจริยธรรม ด้วยการสวดมนตไ์ หว้พระ การนง่ั สมาธิ 2) กิจกรรมสง่ เสริมระเบยี บวินยั ไดแ้ ก่ การเดนิ แถวเขา้ ช้นั เรียน 3) กิจกรรมการปฐมนิเทศ 4) กจิ กรรมวนั ไหว้ครู 5) กจิ กรรมวันภาษาไทยและวนั สนุ ทรภู่ 6) กิจกรรมรณรงค์และต่อต้านยาเสพติด 7) กจิ กรรมการแขง่ ขันกีฬาสใี นโรงเรยี น กีฬาศูนยเ์ ครอื ข่ายฯ 8) กิจกรรมวนั สาคัญ เช่น วันเข้าพรรษา วันอาสาฬหบูชา 9) กจิ กรรมวนั เด็กแหง่ ชาติ ๑0) กจิ กรรมทศั นศึกษาของนักเรียน 11) กจิ กรรมวันวทิ ยาศาสตร์แห่งชาติ 12) กิจกรรมปัจฉมิ นิเทศ (วนั แห่งความภาคภมู ใิ จในความสาเร็จ) 1๓) กจิ กรรมเขา้ ค่ายลูกเสอื -ยุวกาชาด นอกจากการร่วมกิจกรรมในโรงเรียนแล้ว ดิฉันยังได้ร่วมกิจกรรมนอกโรงเรียนร่วมกับ ผรู้ ่วมงานในโรงเรยี น เชน่ การอบรม ศกึ ษาดงู าน การนาเสนอผลงาน เป็นตน้ รูปภาพชดุ ท่ี ๒ แสดงการร่วมกิจกรรมกบั ผรู้ ว่ มงานในโรงเรียน นางศศมิ าภรณ์ ดีเลศิ ตาแหน่ง ครู โรงเรียนบา้ นอาโพน โรงเรยี นบา้ นอาโพน สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏิบตั ิงาน (Self report) เพอื่ รับรางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC Awards) หนา้ ท่ี 5 2.4.2.2 จดั /ร่วมกจิ กรรมตามระบบดูแลช่วยเหลอื เด็ก 1) การแก้ไขข้อบกพร่องของเด็ก ดฉิ ันจะศกึ ษาสาเหตขุ องปญั หาและจดั การแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ เพราะเด็กมีความแตกต่างระหว่างบุคคล บางคนมาจากครองครัวยากจนขาดแคลน ดิฉันแก้ปัญหา โดยร่วมเป็น คณะกรรมการพิจารณาจัดสรรทุนการศึกษาของโรงเรียนให้หรือขอความร่วมมือจากชุมชนในการสนับสนุนในการ จดั หาทนุ การศึกษาให้กบั นักเรียนที่เรียนดแี ต่ยากจน 2) กจิ กรรมออกเยยี่ มบ้านเด็ก 3) จัดทาเอกสารระบบดูแลชว่ ยเหลอื เด็ก 4) การคดั เลอื กเด็กเข้ารับทุนการศึกษาของโรงเรียน ภาคเรียนละ 1 คร้ัง รปู ภาพชดุ ท่ี ๓ แสดงรว่ มกจิ กรรมตามระบบดแู ลชว่ ยเหลือเดก็ 2.4.2.3 ร่วมกิจกรรมกบั ชมุ ชน 1) การติดต่อประสานงานกับผู้ปกครอง โดยการจัดประชุมพบผู้ปกครองในวันปฐมนิเทศของ นักเรียน ช้แี จงระเบียบวินัยของโรงเรยี น หลักสตู รการจัดการเรยี นรู้ การวดั และประเมนิ ผล หลกั เกณฑ์การเลื่อนช้ัน เรียนและการจบการศึกษา ทาใหผ้ ูป้ กครองพอใจและเข้าใจ ออกเยี่ยมเด็กและผู้ปกครองที่บ้านเด็กในชั้นท่ีสอนเพ่ือ ทราบ ความเป็นอยู่ทางบ้านเด็กเป็นรายบุคคล สร้างสัมพันธ์กันดีระหว่างผู้สอนกับผู้ปกครองเด็ก และเชิญ ผ้ปู กครองและบคุ คลในชุมชนเป็นวิทยากรภายนอกให้ความรแู้ ก่เด็ก ๒) รว่ มกับคณะครูชว่ ยเหลืองานศพ คารวะศพ สวดอภธิ รรมและเผาศพ 3) เชญิ ชวน ขอความรว่ มมือผู้ปกครองพฒั นาและร่วมงานกจิ กรรมต่างๆ ของโรงเรยี น 4) ขอความร่วมมือผู้ปกครองรว่ มมอื แก้ไขความประพฤติของเด็ก รวมถึงการติดตามเด็กท่ีขาด เรียนโดยไมท่ ราบสาเหตุ โดยตามไปสอบถามทบี่ า้ น โทรศพั ท์พูดคุยถงึ ปญั หาและรว่ มกนั หาทางแก้ไขต่อไป นางศศิมาภรณ์ ดเี ลศิ ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นบา้ นอาโพน โรงเรยี นบา้ นอาโพน สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏิบัติงาน (Self report) เพอื่ รบั รางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC Awards) หน้าท่ี 6 รูปภาพชุดท่ี ๔ แสดงการรว่ มกจิ กรรมกับชุมชนของผ้ขู อรับการประเมิน 2.4.3 กำรครองงำน (รับผดิ ชอบ มุ่งมั่น ตั้งใจทางานตามภารกิจ/ท่ีได้รับมอบหมายอย่างสร้างสรรค์ จนเกิดความสาเร็จ) 2.4.3.1 ไมเ่ คยขาดงาน ดิฉันได้นาแนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 9 ผู้เป็น“ครูแห่ง แผ่นดิน”มาเป็นแบบอย่างในการดาเนินชีวิตและการทางาน จึงตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ราชการตามบทบาทและหน้าท่ี ของครูอย่างเต็มกาลังความสามารถมีศรัทธาและยึดม่ันในอุดมการณ์แห่งวิชาชีพครูอุทิศเวลาให้กับการอบรม สั่ง สอนเดก็ และไมเ่ คยขาดและลางานเลย 2.4.3.2 ลากิจไมเ่ กนิ 2 คร้ัง/ภาคเรียน และไมเ่ กิน 4 ครั้ง/ปกี ารศึกษา ตารางท่ี 3 แสดงสรุปการลาระหวา่ งปีการศกึ ษา 25๖๐–256๒ ปีการศึกษา ลาปว่ ย (คร้งั /วัน) ลากจิ (คร้ัง/วัน รวม (ครั้ง/วัน) 25๖๐ - - - 25๖๑ - - - 256๒ - - - รปู ภาพชุดท่ี ๕ แสดงความรับผดิ ชอบ ม่งุ มัน่ ตงั้ ใจทางานตามภารกิจ นางศศิมาภรณ์ ดีเลศิ ตาแหน่ง ครู โรงเรียนบ้านอาโพน โรงเรยี นบ้านอาโพน สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏบิ ัติงาน (Self report) เพอ่ื รับรางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC Awards) หนา้ ท่ี 7 2.4.3.3 มชี ัว่ โมงสอนตามเกณฑท์ ่ี ก.ค.ศ. กาหนด ดฉิ ันได้รบั มอบหมายใหส้ อน จานวน ๒๖ ชว่ั โมง/สปั ดาห์ ตารางที่ 4 แสดงชัน้ /ระดับ กลมุ่ สาระการเรยี นรหู้ รอื รายวชิ าทส่ี อน ปีการศึกษา 256๒ ที่ รายวิชา ระดบั ช้นั จานวน จานวนชวั่ โมงตอ่ นักเรยี น สัปดาห์ 1 วทิ ยาศาสตร์ ว 12101 ป.2/2 2 วิทยาศาสตร์ ว 14101 ป.4 17 2 3 วิทยาศาสตร์ ว 15101 ป.5/1-2 28 2 4 วิทยาศาสตร์ ว 16101 ป.6/1-2 46 4 5 สุขศกึ ษาและพลศึกษา พ 15101 ป.5/1-2 44 4 6 สขุ ศึกษาและพลศึกษา พ 16101 ป.6/1-2 46 2 7 ศลิ ปะ ศ 16101 ป.6/1 44 2 8 กจิ กรรมชมุ นุมวทิ ยาศาสตร์ ป.4-6 22 1 9 กจิ กรรมลดเวลาเรียน-เพิ่มเวลารู้ ป.3/2 15 1 ๑๐ กจิ กรรมลดเวลาเรียน-เพิ่มเวลารู้ ป.6/1 22 1 ๑๑ กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี ป.6/1 28 1 ๑๒ กจิ กรรมบาเพ็ญประโยชน/์ อบรมจริยธรรม ป.6/1 22 1 ๑๓ ซอ่ มเสริม ป.6/1 22 1 ๑๔ ชมุ ชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวิชาชีพ (PLC) 22 3 1 รวม ๓๗๘ ๒๖ 2.4.3.4 มีผลงำน ดงั น้ี 1) มีแผนกำรจดั กำรเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเป็นปัจจุบัน และครบชั่วโมงสอนตลอดปี การศกึ ษา ดิฉนั ไดจ้ ดั กำรเรียนรู้เนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั โดยการวเิ คราะหห์ ลักสูตร วิเคราะห์มาตรฐาน การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ โดยพิจารณาจากมาตรฐานการเรียนรู้ วิเคราะห์บริบทของชุมชน บริบทของโรงเรียน และวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล จัดทาหน่วยการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับธรรมชาติการเรียนรู้ของนักเรียน ดาเนินการสอนให้เด็กมีส่วนร่วมในการทากิจกรรมด้วยตนเองมากที่สุด ผ่านกระบวนการกลุ่ม การแสวงหาความรู้ หลากหลาย เน้นทกั ษะการปฏบิ ัติท้ังในเวลาเรียนและนอกเวลาเรียน มุ่งเน้นพัฒนาคุณธรรม และจริยธรรม เรียนรู้ แบบบูรณาการมงุ่ พัฒนาให้เด็กเกิดปัญญา มคี วามสขุ นางศศมิ าภรณ์ ดีเลศิ ตาแหน่ง ครู โรงเรยี นบ้านอาโพน โรงเรียนบา้ นอาโพน สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรินทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน (Self report) เพ่ือรับรางวลั ทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC Awards) หนา้ ท่ี 8 กำรวัดและประเมินพัฒนำกำร ได้ดาเนินการวัดและประเมินพัฒนาการตามสภาพจริง โดยได้สร้างเคร่ืองมือวัด ได้แก่ แบบสังเกต แบบสังเกตพฤติกรรม ได้วิเคราะห์เด็กรายบุคคล ร่วมกับการใช้บันทึก การสนทนา แบบบันทึกพัฒนาการรายบุคคล แบบสารวจตนเอง ซึ่งมีความหลากหลายสามารถนาไปใช้วัด และ ประเมินความพร้อมให้สอดคล้องกับท่ีกาหนดไว้ ทาให้ทราบผลการเรียนรู้ สะท้อนถึงการเรียนของนักเรียน และ ผลการจัดประสบการณ์ของครู นาผลดังกลา่ วทีไ่ ด้ ไปปรับปรุงการเรียนการสอน กำรรำยงำนผล ตอ่ เด็ก ผปู้ กครองและผ้บู ริหารสถานศึกษา ได้ดาเนินการวิเคราะห์สรุปผล การวัดและประเมินความพร้อมทุกภาคเรียน แจ้งให้เด็กทราบ เพื่อจะได้นาไปเป็นข้อมูลพัฒนาตนเองและปรับปรุง วิธีการเรียนร้ใู ห้ดีขึ้นแล้วมอบข้อมูลสารสนเทศของผลการเรียนรู้แก่ผู้ปกครอง ได้ทราบผลการเรียนของบุตรหลาน ซึ่งเป็นวิธีการท่ีดี ท่ีทาให้ผู้ปกครองได้ร่วมมือกับโรงเรียนในการดูแลเอาใจใส่และร่วมพัฒนาการเรียนรู้ให้กับเด็ก นอกจากน้ียังได้รายงานผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้บริหารสถานศึกษารับทราบ เพื่อนาไปเป็นข้อมูลกาหนด นโยบายและหาแนวทางพัฒนาครู เพื่อวางแผนการจดั การศึกษาของโรงเรียนใหม้ ีคณุ ภาพต่อไป รปู ภาพชดุ ท่ี ๖ แสดงการจัดกิจกรรมตามแผนการจดั การเรียนรู้ท่เี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ 2) มคี วำมสำเรจ็ ในกำรพฒั นำตำมแผนพัฒนำตนเอง (ID Plan) ดิฉันไดพ้ ัฒนาตนเองตามสมรรถนะหลักและประจาสายงานโดยสรุป ดังนี้ นางศศมิ าภรณ์ ดเี ลิศ ตาแหน่ง ครู โรงเรียนบ้านอาโพน โรงเรยี นบ้านอาโพน สานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏิบตั ิงาน (Self report) เพือ่ รับรางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC Awards) หน้าที่ 9 สมรรถนะหลัก ๑. กำรมุ่งผลสัมฤทธ์ิ ประกอบด้วย 1) ความสามารถในการวางแผนการปฏิบัติงาน 2) ความสามารถใน การปฏิบัติงาน และ 3) ผลการปฏิบัติงาน ดิฉันได้วางแผนการปฏิบัติงานท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญได้ปฏิบัติงานจริง จากสื่อของจริง สื่อรอบตัวในชีวิตประจาวัน นวัตกรรมใช้ท่ีมีประสิทธิภาพ มีผลทาให้ผู้เรียนสนใจ ตั้งใจ มีความ กระตือรือร้นท่ีจะเรียนรู้ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีขึ้น มีทักษะในการปฏิบัติกิจกรรมตามศักยภาพของแต่ละ บุคคล ส่งผลให้นักเรียนมีระดับผลการเรียนต้ังแต่ 2 ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 83.58 และผลการทดสอบระดับชาติ ข้ันพื้นฐาน (O-Net) ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2561 มี ค่าเฉล่ยี สูงกวา่ ระดบั ประเทศ 5.28 (คา่ เฉล่ียระดับประเทศ 39.93 คา่ เฉลีย่ ระดบั โรงเรียน 45.21) รปู ภาพชุดที่ ๗ แสดงความสาเรจ็ ตามแผนพฒั นาตนเองด้านการมงุ่ ผลสมั ฤทธิ์ 2. กำรบริกำรท่ีดี ประกอบด้วย 1) ความสามารถในการสร้างระบบการให้บริการและ 2) ความสามารถ ในการให้บริการ ดิฉันได้ให้บริการผลงานทางวิชาการ ให้คาปรึกษา ช่วยเหลือเพื่อนครู ผู้ปกครองและชุมชน เป็น การเผยแพร่นวตั กรรมไปดว้ ย มีผลทาใหข้ า้ ราชการครูแนวทางในการจัดการความรู้ให้แก่ตนเองและผู้เรียน ชุมชน ไดร้ ับการพฒั นาในสิง่ ทถ่ี กู ตอ้ ง ส่งผลให้ โรงเรียนมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางท่ีดีข้ึนโดยบุคลากรในโรงเรียน และ โรงเรียนเปน็ ท่ยี อมรบั ของบุคคลทัว่ ไปและหน่วยงานท่เี กี่ยวขอ้ ง มกี ารเผยแพร่ผลงานทางด้านวิชาการ นอกจากนั้น โรงเรียนยงั สนับสนุนและสง่ เสรมิ ใหบ้ คุ ลากรได้พฒั นาสอ่ื และนวัตกรรม รปู ภาพชดุ ที่ ๘ แสดงความสาเร็จตามแผนพัฒนาตนเองด้านการบรกิ ารท่ีดี นางศศิมาภรณ์ ดเี ลศิ ตาแหนง่ ครู โรงเรียนบ้านอาโพน โรงเรียนบ้านอาโพน สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสรุ นิ ทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏิบตั งิ าน (Self report) เพอ่ื รับรางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC Awards) หน้าท่ี 10 3. กำรพัฒนำตนเอง ประกอบด้วย 1) ความสามารถในการวางแผนเพื่อการปฏิบัติ 2) ความสามารถใน การใชภ้ าษาอังกฤษเพ่อื การสือ่ สาร 3) ความสามารถในการติดตามความเคล่อื นไหวทางวิชาการและวิชาชีพ และ 4) ความสามารถในการประมวลความรู้และการนาความรู้มาใช้ ดิฉันได้เข้ารับการอบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน ศึกษา จากเอกสาร สืบค้นข้อมูลจาก Web site ต่างๆ ตลอดท้ังแลกเปลี่ยนความรู้กับบุคคลอ่ืน ทาให้ดิฉัน มีความรู้มา พัฒนางานในหน้าท่ี เกิดประโยชน์ต่อการจัดการศึกษา ส่งผลให้ให้ตนเองได้รับการปรับวุฒิการศึกษาให้สูงข้ึนและ ผ่านประเมินพัฒนาอย่างเข้มข้นเล่ือนวิทยฐานะเป็นชานาญการพิเศษ ซ่ึงมีส่วนในการพัฒนาผู้เรียนด้านคุณธรรม จริยธรรมความมีวนิ ัยในตนเอง ซง่ึ มผี ลงานเปน็ ที่ประจักษ์ รปู ภาพชดุ ที่ ๙ แสดงความสาเร็จตามแผนพฒั นาตนเองด้านการพัฒนาตนเอง 4. กำรทำงำนเป็นทีม ประกอบด้วย1) ความสามารถในการวางแผนการปฏิบัติงาน และ 2) ความสามารถในการปฏบิ ตั ิงานร่วมกนั ดิฉันระลกึ อยูเ่ สมอว่าทางานหลายคนดีกว่าทางานคนเดียว ยอมรับฟังความ คิดเห็นของผู้อื่น ส่งผลให้สถานศึกษามีการวางแผนปฏิบัติราชการในการพัฒนาอย่างมีเป้าหมาย มีทิศทางในการ ดาเนินงานเพ่อื พฒั นาสถานศกึ ษา นักเรียน โดยมีการจดั กจิ กรรม โครงการตา่ งๆ อย่างเป็นรูปธรรม ซ่ึงนักเรียนและ ครูมีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรม ทาให้เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ มีความสุขในการทางานและสามารถทางาน ไดส้ าเร็จ ไมม่ ีเรอื่ งร้องเรียนเกดิ ขึน้ ผลการดาเนินงานเป็นทย่ี อมรบั ของผปู้ กครอง ชุมชนและท้องถิน่ รปู ภาพชุดท่ี ๑๐ แสดงความสาเร็จตามแผนพฒั นาตนเองด้านการทางานเป็นทมี นางศศมิ าภรณ์ ดีเลศิ ตาแหน่ง ครู โรงเรยี นบา้ นอาโพน โรงเรยี นบา้ นอาโพน สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน (Self report) เพอื่ รบั รางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC Awards) หน้าท่ี 11 สมรรถนะประจำสำยงำน 5. กำรจัดกำรเรียนรู้ ประกอบด้วย 1) ความสามารถในการสร้างและการพัฒนาหลักสูตร ๒) ความสามารถในเนื้อหาสาระที่สอน ๓) ความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ๔) ความสามารถในการใช้และพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดการเรียนรู้ และ ๕) ความสามารถในการ วัดและประเมินผลการเรียนรู้ ดิฉันได้วางแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญโดยยึดแนวคิด ทฤษฎีการ เรียนรู้มาประยุกต์ใช้ในการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ปรับปรุงข้อบกพร่องแล้วนามาประยุกต์ใช้ให้เกิดผลดีต่อ การจัดการเรียนรู้ ส่งผลให้นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ร้อยละ 77.28 อ่านออกเขียนได้ในระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 77.27 ผา่ นการประเมนิ ในทกั ษะการคิด วเิ คราะห์และเขียนสื่อความในระดับดขี ึน้ ไป อ่านหนังสือออกและ อ่านคลอ่ งร้อยละ 77.28 รวมทงั้ สามารถเขยี นเพ่ือการส่ือสารไดท้ กุ คน สามารถใชเ้ ทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้ ได้ด้วยตนเอง ส่งผลให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนอยู่ในระดับดีเยี่ยม มีคะแนนเฉล่ียผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 9 รายวิชา อยู่ในระดับเกินค่าเป้าหมายของสถานศึกษาและร้อยละ 50 ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีมีการทดสอบและ ตอ่ เนือ่ งมาโดยตลอด มสี ุขภาพรา่ งกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทางกายและน้าหนกั ส่วนสูงตามเกณฑ์ รปู ภาพชดุ ท่ี ๑๑ แสดงความสาเรจ็ ตามแผนพฒั นาตนเองด้านการจัดการเรียนรู้ 6. กำรพัฒนำผู้เรียน ประกอบด้วย 1) การปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม แก่ผู้เรียน 2) ส่งเสริมกิจกรรม ความคิดวิเคราะห์ให้แก่ผเู้ รียน และ 3) ส่งเสริมทกั ษะและกระบวนการเรียนรู้ ดิฉันได้สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ในแผนการจัดการเรียนรทู้ กุ แผนทาให้ผูเ้ รียนร้อยละ 91.88 ผ่านการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับดี ข้ึนไป มรี ะเบียบวนิ ัย จนเปน็ เอกลักษณ์ของสถานศกึ ษา เปน็ ที่ยอมรบั ของชุมชนโดยรอบในเรื่องความมีวินัย เคารพ กฎกตกิ า มารยาทของสงั คม ได้แก่ การเข้าแถวไปด่ืมนม การเข้าแถวต่อคิวรับประทานอาหารกลางวัน การเข้าแถว เคารพธงชาติ เป็นต้น นางศศิมาภรณ์ ดเี ลศิ ตาแหน่ง ครู โรงเรียนบ้านอาโพน โรงเรยี นบ้านอาโพน สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน (Self report) เพอื่ รับรางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC Awards) หน้าที่ 12 รปู ภาพชดุ ที่ ๑๒ แสดงความสาเร็จตามแผนพัฒนาตนเองด้านการพัฒนาผเู้ รียน 7. กำรบริหำรจัดกำรชัน้ เรยี น ประกอบด้วย 1) ความสามารถในการจัดบรรยากาศในการเรียนรู้ 2) ความสามารถในการจัดทาข้อมูลสารสนเทศ และ 3) ความสามารถในการกากับดูแลชั้นเรียนดิฉันได้จัดบรรยากาศ ในช้ันเรียนเสมือนบ้านจัดป้ายนิเทศทาเอกสารเด็กรายบุคคล จัดระบบดูแลช่วยเหลือเด็กเพ่ือนาข้อมูลไปพัฒนา ผูเ้ รียน ทาให้ผเู้ รียนมีความสุขในการเรียน ครูเป็นแบบอย่างที่ดี มีการรวบรวมข้อมูลระดับช้ันเรียนอย่างเป็นระบบ ทาให้บรรยากาศในห้องเรียนน่าเรียน นักเรียนอยากอยู่ในห้องเรียน ครูรู้จักนักเรียนรายเป็นบุคคลอย่างดี สามาร วางแผนพัฒนาเด็กนักเรียนรายบุคคลได้ ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนดีขึ้นโดยผลการทดสอบ ระดับชาตขิ น้ั พ้ืนฐาน (O-Net) ในกลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ระดบั ชน้ั ป.6 ปีการศึกษา 2561 มีค่าเฉล่ียสูง กวา่ ระดบั ประเทศ 5.28 (คา่ เฉล่ยี ระดบั ประเทศ 39.93 คา่ เฉลย่ี ระดบั โรงเรยี น 45.21) และนกั เรียนท่ีดูแลได้รับ รางวัลการประกวดกิจกรรมตา่ งๆ รปู ภาพชดุ ที่ ๑๓ แสดงความสาเร็จตามแผนพัฒนาตนเองด้านการบริหารจดั การชั้นเรยี น 8. กำรวิเครำะห์ สังเครำะห์และกำรวิจัยในช้ันเรียน ประกอบด้วย 1) ความสามารถในการวิเคราะห์ 2) ความสามารถในการสังเคราะห์ 3) ความสามารถในการเขยี นผลงานทางวชิ าการ และ 4) ความสามารถในการวิจัย ดฉิ ันมีความสามารถในการวจิ ยั และเขยี นผลงานทางวิชาการ ทาให้แก้ปัญหาในช้ันเรียนอย่างถูกต้องถูกวิธี ต่อเน่ือง นางศศมิ าภรณ์ ดเี ลศิ ตาแหน่ง ครู โรงเรยี นบา้ นอาโพน โรงเรียนบา้ นอาโพน สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏบิ ัติงาน (Self report) เพ่อื รบั รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC Awards) หนา้ ที่ 13 และเป็นระบบส่งผลให้ดิฉันได้มีผลงานทางวิชาการและผ่านการประเมินเลื่อนวิทยฐานะระดับชานาญการพิเศษ เม่อื วนั ที่ ๑๙ มกราคม ๒๕๖๑ รูปภาพชุดท่ี ๑๔ แสดงความสาเร็จตามแผนพฒั นาตนเองด้านการวเิ คราะห์ สงั เคราะห์และการวจิ ยั ในช้ันเรยี น 9. กำรสร้ำงควำมร่วมมือกับชุมชน ประกอบด้วย 1) ความสามารถในการวางแผนนาชุมชุนมีส่วน ร่วมในกิจกรรมของสถานศึกษาและ ๒) ความสามารถในการเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชน ดิฉันได้ประสานความ ร่วมมือกับชุมชน เพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนเชิญเป็นวิทยากรภายนอก ให้ความรู้แก่นักเรียน นักเรียนไปศึกษาจาก แหลง่ เรยี นรู้ในชุมชน เชน่ สวนพชื ผกั ไร่นาสวนผสม รา้ นคา้ ชมุ ชน วดั งานบุญประเพณีในชุมชน จากผลการติดต่อ กบั ผูป้ กครองเด็ก ทาให้ผู้ปกครองเข้าใจการจัดการเรียนรู้ของหลักสูตรสถานศึกษา ภาคภูมิใจท่ีครูเอาใจใส่ต่อบุตร หลานของตนเอง เห็นความสาคัญการจัดการศึกษา เข้าร่วมพัฒนาโรงเรียน สนับสนุนอุทิศแรงกายและทุนทรัพย์ ช่วยเหลอื กจิ การของโรงเรียน เหน็ ได้จากมผี ้ปู กครอง ชุมชน จัดผา้ ป่าเพอ่ื การศกึ ษาใหโ้ รงเรียนทกุ ปี รปู ภาพชุดท่ี ๑๕ แสดงความสาเร็จตามแผนพฒั นาตนเองด้านการสร้างความรว่ มมอื กบั ชมุ ชน 10. วินัย คุณธรรม จริยธรรมและจรรยำบรรณวิชำชีพ ประกอบด้วย 1) การมีวินัย 2) การประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี 3) การดารงชีวิตอย่างเหมาะสม 4) ความรักและศรัทธาในวิชาชีพและ 5) ความ รบั ผดิ ชอบในวชิ าชพี ดิฉันมีวินัยในตนเอง ไม่เคยกระทาผิดแม้แต่คาว่ากล่าวตักเตือน ปฏิบัติในส่ิงที่ถูกต้อง ปฏิบัติ ตนเป็นแบบอย่างท่ีดีให้แก่เด็กและชุมชน ดารงชีวิตอย่างเหมาะสม โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดิฉัน นางศศมิ าภรณ์ ดีเลิศ ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นบ้านอาโพน โรงเรยี นบ้านอาโพน สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน (Self report) เพอ่ื รับรางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC Awards) หนา้ ท่ี 14 สมัครเป็นสมาชิกคุรุสภาตั้งแต่เร่ิมบรรจุจนถึงปัจจุบัน ดิฉันรัก และศรัทธาในวิชาชีพครู เพราะครูเป็น ปูชนีย บุคคล หน้าท่ีครูนั้นย่ิงใหญ่ เป็นผู้สร้างคนให้เป็นคนเม่ือประเทศชาติ มีแต่คนดี ชาติน้ันก็เจริญรุ่งเรืองจากการ ปฏิบัติหน้าที่ครู มีส่วนร่วมด้านวิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา เป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพครู ดิฉันมีความเชื่อม่ัน ช่ืนชม ภูมิใจในความเป็นครูและองค์กรวิชาชีพครูว่ามีความสาคัญจาเป็นต่อสังคม ส่งผลให้ ดิฉันรับ เกียรติบัตรครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ที่มีผลทดสอบทางการศึกษาระดับชาติคะแนน เฉลีย่ สูงกว่าระดับประเทศ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๙-๒๕๖๑ นอกจากนี้ยังได้รับรางวัล ครูดีศรีบัวเชด และ เคร่ืองหมาย เชดิ ชูเกียรติ “หน่ึงแสนครูดี” รูปภาพชดุ ที่ ๑๖ แสดงความสาเร็จตามแผนพัฒนาตนเองด้านวินยั คุณธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชีพ 2.5 มผี ลงำนท่ีเกดิ จำกกำรพัฒนำคณุ ภำพกำรศึกษำ 2.5.1 ผลกำรประเมนิ มำตรฐำนที่ 10 ตำมมำตรฐำนกำรศกึ ษำขั้นพ้นื ฐำน พ.ศ. 2550 โรงเรียนของดิฉันผ่านการประเมินมาตรฐานที่ 10 ตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2550 ในระดบั ดีเยีย่ ม รปู ภาพชุดที่ ๑๗ แสดงผลการประเมินมาตรฐานที่ 10 ตามมาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พ.ศ. 2550 นางศศิมาภรณ์ ดเี ลศิ ตาแหน่ง ครู โรงเรยี นบ้านอาโพน โรงเรยี นบ้านอาโพน สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏิบัติงาน (Self report) เพ่อื รับรางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC Awards) หน้าที่ 15 2.5.2 มงี ำนวิจัยในชั้นเรียนท่ีสำเร็จเผยแพรแ่ ลว้ 2.5.2.1 งานวิจัยในชั้นเรียนที่สาเรจ็ เผยแพร่แล้ว ดิฉันได้ทาวิจัยและพัฒนาสื่อการจัดการเรียนรู้ ปีการศึกษาละ 1 เร่ือง ได้มีโอกาสเผยแพร่แก่ เพือ่ นครูและผู้สนใจในระดับชัน้ ประถมศึกษาผ่านส่ือออนไลน์ (Line, Facebook เว็บไซต์ของโรงเรียนและผ่านเว็บ เพจส่วนตัว ท้ังน้ีเพื่อประโยชน์แก่เพ่ือนครูและการเลือกใช้สื่อที่เหมาะสม อีกทั้งยังบูรณาการร่วมกับรายวิชาอื่นๆ เพือ่ นาไปตอ่ ยอดและพฒั นาการจัดการศึกษาใหม้ ปี ระสิทธภิ าพยิง่ ข้นึ ตารางท่ี ๕ แสดงรายช่อื งานวิจยั ในชนั้ เรียนท่ีสาเรจ็ และเผยแพรแ่ ลว้ ที่ ชื่องานวจิ ัยในชนั้ เรยี น ปีการศกึ ษาท่เี ผยแพร่ 1 ผลการใชก้ ระบวนการเรยี นรู้แบบโครงงานเพือ่ การพัฒนาการเรยี นรูว้ ชิ า ๒๕๖๐ วิทยาศาสตร์ เรื่องสารในชวี ิตประจาวัน นกั เรยี นระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 โรงเรยี นบา้ นอาโพน สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสรุ ินทรเ์ ขต 3 2 ผลการใช้หนังสอื อเิ ล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรยี นสิ่งมีชวี ิตกับสง่ิ แวดล้อมทม่ี ีตอ่ ๒๕๖๐ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรยี นระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 โรงเรียนบา้ น อาโพน สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสุรินทร์เขต 3 3 การใช้ดนตรบี รรเลงฝึกสมาธิเพอื่ พฒั นาพฤตกิ รรมของนักเรียนช้ันประถมศึกษา ๒๕๖๑ ปีท่ี 6/๑ โรงเรียนบา้ นอาโพน ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ รูปภาพชุดที่ 1๘ แสดงงานวิจัยในชั้นเรยี นทสี่ าเรจ็ เผยแพร่แลว้ นางศศมิ าภรณ์ ดีเลิศ ตาแหนง่ ครู โรงเรียนบา้ นอาโพน โรงเรยี นบ้านอาโพน สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏิบตั ิงาน (Self report) เพ่อื รบั รางวลั ทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC Awards) หน้าท่ี 16 2.6 ได้รบั รำงวลั ยกย่องเชดิ ชเู กียรตจิ ำกหนว่ ยงำนภำครัฐ เอกชน เปน็ ที่ยอมรบั ในวชิ าชีพและสงั คม 2.6.1 ได้รับรางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติจากหน่วยงานภาครัฐ/เอกชน เป็นที่ยอมรับในวงวิชาชีพ (ภายใน 2 ปี นับถงึ วนั ทยี่ นื่ ขอรับการประเมนิ ) ตารางที่ ๖ แสดงรางวัลยกย่องเชิดชูเกียรตจิ ากหนว่ ยงานภาครฐั /เอกชน พ.ศ. รางวลั หน่วยงาน ๒๕๕๗ เครอ่ื งหมายเชดิ ชูเกยี รติ “หนง่ึ แสนครดู ี”ประจาปี ๒๕๕๗ ครุ สุ ภา 25๖๐ ครูผู้ฝึกสอนนักเรยี น ได้เขา้ รว่ มกจิ กรรมการแข่งขนั สรา้ งสรรค์ผลงานคณิตศาสตร์ สพฐ. โดยใช้โปรแกรม GSP ระดบั ชนั้ ม.1- ม.3 งานศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี นระดับชาติ ครั้งที่ ๖๖ ปกี ารศึกษา ๒๕๕๙ 256๐ ครูผสู้ อนวทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ทม่ี ผี ลทดสอบทางการศึกษา สพป.สรุ นิ ทร์ ระดบั ชาตคิ ะแนนเฉล่ียสงู กวา่ ระดบั ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั เขต 3 พ้ืนฐาน ปีการศึกษา ๒๕๖๐ 256๑ ครูผฝู้ ึกสอนนกั เรียน ได้รบั รางวลั ระดับเหรยี ญทองกจิ กรรมการแขง่ ขันอัจฉรยิ ภาพ สพป.สรุ ินทร์ ทางวทิ ยาศาสตร์ ระดบั ชนั้ ป.๔- ป.๖ งานมหกรรมความสามารถทางศิลปหตั ถกรรม เขต 3 วชิ าการ และเทคโนโลยขี องนักเรียนระดับเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ 256๑ ครผู ู้สอนวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ทม่ี ผี ลทดสอบทางการศกึ ษา สพป.สุรินทร์ ระดับชาตคิ ะแนนเฉลีย่ สูงกวา่ ระดบั ประเทศ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ เขต 3 256๒ ครผู สู้ อนวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖ ที่มีผลทดสอบทางการศึกษา สพป.สรุ ินทร์ ระดบั ชาติคะแนนเฉลีย่ สงู กวา่ ระดบั ประเทศ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ เขต 3 256๒ ครผู ู้ฝึกสอนนกั เรยี น ไดร้ บั รางวลั ระดับเหรียญทอง กจิ กรรมการแข่งขนั อจั ฉรยิ ภาพ สพป.สุรินทร์ ทางวทิ ยาศาสตร์ ระดับชนั้ ป.๔- ป.๖ งานการประกวดและแข่งขันศลิ ปหตั ถกรรม เขต 3 นกั เรยี นระดบั เขตพน้ื ที่การศึกษา ครั้งที่ ๖๙ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ 256๒ ครูผู้ฝึกสอนนักเรียน ได้รบั รางวัลระดับเหรยี ญทอง กจิ กรรมการแข่งขันสร้างสรรค์ สพป.สุรนิ ทร์ ผลงานคณิตศาสตร์โดยใชโ้ ปรแกรม GSP ระดบั ชนั้ ม.1- ม.3 งานการประกวดและ เขต 3 แข่งขนั ศลิ ปหตั ถกรรมนักเรียนระดับเขตพืน้ ที่การศึกษา ครั้งที่ ๖๙ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ 256๒ ครูผฝู้ กึ สอนนกั เรียน ไดร้ บั รางวัลระดับเหรยี ญทอง กิจกรรมการแขง่ ขนั เคร่ืองร่อน สพป.สรุ ินทร์ แบบเดินตาม ระดบั ชน้ั ป.1- ป.3 งานการประกวดและแข่งขันศิลปหัตถกรรม เขต 3 นกั เรยี นระดับเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา คร้ังที่ ๖๙ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ นางศศิมาภรณ์ ดีเลศิ ตาแหน่ง ครู โรงเรียนบ้านอาโพน โรงเรยี นบ้านอาโพน สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาสรุ นิ ทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏิบัตงิ าน (Self report) เพ่อื รับรางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC Awards) หน้าที่ 17 พ.ศ. รางวัล หน่วยงาน 256๒ ครูผู้ฝกึ สอนนักเรยี น ไดเ้ ขา้ รว่ ม กิจกรรมการแข่งขันอัจฉรยิ ภาพทางวิทยาศาสตร์ สพฐ. ระดบั ช้นั ป.๔- ป.๖ งานศลิ ปหัตถกรรมนักเรยี นระดบั ชาติ คร้งั ที่ ๖๙ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ 256๒ ครูผฝู้ ึกสอนนักเรยี น ไดร้ ับรางวลั ระดบั เหรียญทองแดง กิจกรรมการแข่งขัน สพฐ. สร้างสรรค์ผลงานคณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรม GSP ระดับชัน้ ม.1- ม.3 งาน ศิลปหตั ถกรรมนักเรยี นระดับชาติ คร้งั ท่ี ๖๙ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ 256๒ ครูผู้ฝึกสอนนกั เรียน ไดร้ ับรางวัลระดับเหรียญทอง กจิ กรรมการแขง่ ขันเคร่อื งร่อน สพฐ. แบบเดนิ ตาม ระดบั ช้ัน ป.1- ป.3 งานศลิ ปหัตถกรรมนักเรียนระดับชาติ คร้งั ท่ี ๖๙ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ ครัง้ ที่ ๖๙ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ รูปภาพชดุ ที่ 1๙ แสดงการได้รบั รางวัลยกยอ่ งเชิดชูเกียรติจากหน่วยงานภาครัฐ/เอกชน นางศศมิ าภรณ์ ดเี ลศิ ตาแหนง่ ครู โรงเรียนบา้ นอาโพน โรงเรียนบ้านอาโพน สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน (Self report) เพ่ือรบั รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC Awards) หน้าที่ 18 2.6.2 ได้รับเชิญให้เป็นวิทยากรบรรยายหัวข้อที่ตรงกับภารกิจ/งานท่ีได้รับมอบหมายอย่างน้อย 2 คร้งั /ปกี ารศึกษาระดบั สถานศึกษา/เขต ตารางที่ ๗ แสดงข้อมูลการเป็นวทิ ยากร ปีการศกึ ษา ที่ หวั ขอ้ บรรยาย หน่วยงานทีเ่ ชิญ 25๖๐ 1 การสรา้ งเครื่องมือวัดและประเมินผลในชน้ั เรยี น เครอื ข่ายจดั การศึกษาไตรคีรี 25๖๑ 2 การยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการศกึ ษาสาระการเรยี นรู้ โรงเรยี นบ้านภมู นิ ยิ มพัฒนา 2556๒ วิทยาศาสตร์ 3 ทักษะการอ่านออก เขียนได้วชิ าภาษาไทย โดยใช้ เครือข่ายจดั การศกึ ษาวงั สะเภา นวตกรรมปัญญาเลิศ 1 การจดั ทาแผนปฏบิ ัติการประจาปี โรงเรยี นบ้านอาโพน 2 การเขียนรายงานวิจยั ในช้นั เรียน โรงเรียนบ้านอาโพน 1 การสร้างชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชพี (PLC) โรงเรียนบ้านอาโพน 2 การเรียนการสอน แบบ Active Learning โรงเรียนบา้ นอาโพน 2.6.3 ได้รับเชญิ /คดั เลอื กให้แสดงผลงานตนเองในระดับภาค/ชาต/ิ นานาชาติ ตารางที่ ๘ แสดงข้อมูลการแสดงผลงานในระดบั ภาค/ชาติ/นานาชาติ ท่ี ช่อื ผลงาน หน่วยงานทเ่ี ชญิ 1 วิทยาศาสตร์กต็ นื่ เต้นได้ถ้าใช้ E-book สพฐ. ๒ อจั ฉรยิ ภาพทางวิทยาศาสตร์ ระดับชั้น ป.๔- ป.๖ งานศลิ ปหตั ถกรรมนักเรียน สพฐ. ระดับชาติ คร้งั ท่ี ๖๙ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ๓ การแขง่ ขนั สร้างสรรคผ์ ลงานคณิตศาสตรโ์ ดยใชโ้ ปรแกรม GSP ระดบั ช้นั ม.1- ม. สพฐ. 3 งานศิลปหัตถกรรมนักเรยี นระดับชาติ คร้ังที่ ๖๙ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ ๔ การแข่งขนั เครื่องร่อนแบบเดินตาม ระดับช้ัน ป.1- ป.3 งานศลิ ปหัตถกรรม สพฐ. นกั เรยี นระดบั ชาติ คร้ังที่ ๖๙ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ คร้งั ที่ ๖๙ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ นางศศมิ าภรณ์ ดีเลศิ ตาแหนง่ ครู โรงเรียนบา้ นอาโพน โรงเรียนบา้ นอาโพน สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน (Self report) เพือ่ รบั รางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC Awards) หนา้ ท่ี 19 รูปภาพชดุ ที่ ๒๐ แสดงการแสดงผลงานในระดับภาค/ชาติ/นานาชาติ 2.6.4 มีงานเขียนแสดงผลงาน/ความคิดเชิงสร้างสรรค์ที่เก่ียวข้องกับการจัดการเรียนการสอน/การ พัฒนาผูเ้ รยี นตามหลักสตู รฯ/ระบบประกันคณุ ภาพภายในเผยแพร่ผ่านส่อื สาธารณะไมน่ ้อยกว่า 1 ครั้งตอ่ ภาคเรียน ตารางที่ ๙ แสดงงานเขยี นแสดงผลงาน/ความคิดเชิงสรา้ งสรรคท์ ี่เก่ียวข้องกับการจัดการเรยี นการสอน ที่ ชือ่ ผลงำน หมำยเหตุ 1 รายงานโครงการคา่ ยอัจฉริยภาพทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ 2 รายงานโครงการทัศนศึกษาแหลง่ เรียนร้ดู ้านวิทยาศาสตร์ในทอ้ งถิ่น 3 แผนพฒั นาตนเอง (ID Plan) 4 แผน่ พับวทิ ยาศาสตร์ก็ตื่นเตน้ ไดถ้ ้าใช้ E-book 5 วเิ คราะหข์ ้อสอบย้อนหลงั ข้อสอบ O-NET วชิ าวิทยาศาสตร์ 6 การสรา้ งเคร่ืองมือวัดและประเมินผลในชน้ั เรียน 7 การจดั ทาแผนปฏิบตั ิการประจาปี 8 การเขยี นรายงานวจิ ยั ในช้ันเรียน 9 การสรา้ งชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชพี (PLC) รปู ภาพชุดที่ ๒๑ แสดงงานเขยี นแสดงผลงาน/ความคดิ เชิงสรา้ งสรรคท์ เี่ ก่ยี วข้องกับการจัดการเรยี นการสอน นางศศมิ าภรณ์ ดีเลศิ ตาแหนง่ ครู โรงเรียนบา้ นอาโพน โรงเรยี นบ้านอาโพน สานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏิบัตงิ าน (Self report) เพือ่ รบั รางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC Awards) หนา้ ท่ี 20 กำรประเมินตวั ชี้วัดเฉพำะ 3.2 กำรประเมนิ ตัวชี้วดั เฉพำะ องค์ประกอบที่ 1 คุณภำพ ๓.๒.๑ ตัวชวี้ ดั 1 คณุ ลกั ษณะของนวัตกรรม นวัตกรรมท่ขี อรับกำรประเมิน ชอ่ื เรอื่ ง : ผลการใช้หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ หนว่ ยการเรยี นสิง่ มชี ีวิตกับสง่ิ แวดลอ้ มท่ีมีต่อผลสมั ฤทธิ์ ทางการเรยี นของนักเรียนระดับชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรยี นบ้านอาโพน สานักงานเขต พ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์เขต 3 ผ้ศู กึ ษำ : ศศิมาภรณ์ ดเี ลศิ ปีทศ่ี กึ ษำ : 2559 บทคัดย่อ การศึกษาเรื่องผลการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนสิ่งมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อม ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนบ้านอาโพน สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา สุรินทร์เขต 3 มีวัตถุประสงค์เพื่อ หาประสิทธิภาพตามเกณฑ์ของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับ ส่ิงแวดล้อมและเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ท่ีใช้ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2559 จานวน 20 คน ที่ ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย เคร่ืองมือท่ีใช้ในการศึกษา ได้แก่ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แผนการจัดการเรียนรู้และแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการศึกษา พบว่า ประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีค่าประสิทธิภาพเท่ากับ 87.56/89.33 ซงึ่ สงู กว่าเกณฑ์ 80/80 ท่ีต้งั ไว้ โดยมีค่าดัชนีประสทิ ธผิ ลเท่ากับ 0.80 และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากใช้หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อม พบว่า มีผลต่างของคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนเพิ่มขึ้น เฉล่ยี 12.80 และจากการเปรยี บเทียบผลผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน พบว่า คะแนนผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นหลังเรียน สูงกว่ากอ่ นเรยี นและเกณฑ์รอ้ ยละ 80 อยา่ งมีนยั สาคัญทางสถติ ิทรี่ ะดบั .05 คำสำคญั : หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ สิง่ มีชีวติ กับสงิ่ แวดลอ้ ม นางศศิมาภรณ์ ดเี ลศิ ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นบา้ นอาโพน โรงเรียนบา้ นอาโพน สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสรุ นิ ทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏิบัติงาน (Self report) เพอื่ รับรางวัลทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC Awards) หนา้ ท่ี 21 รปู ภาพชดุ ท่ี ๒๒ แสดงนวตกรรมหนงั สืออเิ ล็กทรอนกิ สแ์ ละคมู่ ือ หนว่ ยการเรียนส่งิ มชี วี ิตกับสิง่ แวดลอ้ ม นางศศมิ าภรณ์ ดเี ลศิ ตาแหนง่ ครู โรงเรียนบ้านอาโพน โรงเรยี นบา้ นอาโพน สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏิบัตงิ าน (Self report) เพอ่ื รับรางวัลทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC Awards) หน้าที่ 22 รูปภาพชุดที่ ๒๓ แสดงตัวอย่างนวตกรรมหนังสอื อเิ ล็กทรอนกิ สเ์ ลม่ ท่ี 4 เร่ืองสายใยอาหาร นางศศิมาภรณ์ ดีเลศิ ตาแหน่ง ครู โรงเรียนบา้ นอาโพน โรงเรยี นบา้ นอาโพน สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏบิ ัติงาน (Self report) เพือ่ รับรางวลั ทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC Awards) หนา้ ที่ 23 รปู ภาพชดุ ที่ ๒๔ แสดงตวั อย่างหนังสอื อิเล็กทรอนกิ ส์เลม่ ท่ี 2 เรอื่ งความสมั พนั ธข์ องกลุ่มสิง่ มีชวี ิตในแหล่งท่ีอยู่ ตา่ งๆทใ่ี ช้ผ่านคอมพวิ เตอร์โดยมีเสียงทกั ทาย โตต้ อบในการทาแบบฝึกหดั และเพลงบรรยายประกอบ ๓.๒.๑.๑ รูปแบบนวัตกรรมถูกตอ้ ง ครบถว้ นตำมประเภทของนวตั กรรม ดิฉันได้จัดทารูปแบบนวัตกรรมถูกต้อง ครบถ้วนตามประเภทของนวัตกรรม ซึ่งรูปแบบของ นวัตกรรมใช้สาหรับการเรียนการสอน โดยนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนบนเว็บ ซึ่งได้พัฒนานวัตกรรมด้าน การเรยี นการสอน ตามหลักการหรือกระบวนการในการพัฒนานวตั กรรม ประกอบด้วย นางศศมิ าภรณ์ ดเี ลศิ ตาแหนง่ ครู โรงเรียนบ้านอาโพน โรงเรียนบ้านอาโพน สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏิบตั ิงาน (Self report) เพอ่ื รบั รางวัลทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC Awards) หนา้ ท่ี 24 ขัน้ ตอนที่ 1 ข้นั เตรยี มการ มีการเตรียมเขยี นวัตถุประสงค์รายวชิ า ขัน้ ตอนที่ 2 ขัน้ ออกแบบ ทาการศกึ ษาเนอื้ หารายวชิ า และสร้างผงั ดาเนนิ เรือ่ ง ของบทเรียน ขั้นตอนที่ 3 ขั้นพัฒนา ตรวจสอบผังดาเนินเร่ืองโดยผู้สอน ขั้นพัฒนา ทาการอัดเสียงตามผัง ดาเนินเร่ือง และสร้างภาพให้สอดคล้องและ เสียง จากน้ันทาการ ตรวจสอบความถูกต้อง และแปลงส่ือให้อยู่ใน รูปแบบที่พร้อมนาเสนอบนผา่ นเครือ่ งคอมพิเตอร์ ขนั้ ตอนที่ 4 ขน้ั ปรบั ปรงุ แกไ้ ข ทาการปรบั ปรงุ แก้ไข รบั ผลปอ้ นกลบั จากผสู้ อน ผู้เรียนและทาการ ทดสอบการใชง้ าน พร้อมกับจัดทาคมู่ อื การใชง้ านบทเรยี น ๓.๒.๑.๒ นวตกรรมมคี วำมสอดคล้องกับควำมรู้ ควำมสำมำรถ และกำรปฏิบัติหน้ำที่ในด้ำนท่ี ขอรบั กำรประเมิน นวตกรรมหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนสิ่งมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อม เป็นเนื้อหาตรงตาม หลักสตู รวทิ ยาศาสตร์ รายวิชา ว 16101 หนว่ ยการเรยี นส่งิ มีชวี ิตกับส่ิงแวดลอ้ ม แบ่งเนอื้ หาเปน็ 9 เลม่ ดงั น้ี 1) หนังสืออิเล็กทรอนกิ ส์เล่มท่ี 1 เรอ่ื งสิง่ มชี วี ติ กับส่งิ แวดล้อมในโรงเรยี น 2) หนงั สอื อิเลก็ ทรอนิกส์เลม่ ที่ 2 เรื่องความสมั พนั ธ์ของกลมุ่ สงิ่ มีชวี ติ ในแหลง่ ทอ่ี ยู่ตา่ งๆ 3) หนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์เล่มที่ 3 เรื่องโซอ่ าหาร 4) หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกสเ์ ลม่ ที่ 4 เรอ่ื งสายใยอาหาร 5) หนงั สืออเิ ล็กทรอนิกสเ์ ลม่ ที่ 5 เรอ่ื งความสัมพันธร์ ะหวา่ งส่งิ มชี วี ติ ในระบบนิเวศ 6) หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์เลม่ ที่ 6 เรอ่ื งการดารงชีวติ และการปรับตัวของส่งิ มชี วี ติ 7) หนงั สอื อเิ ล็กทรอนกิ สเ์ ล่มที่ 7 เรอ่ื งทรัพยากรธรรมชาตใิ นทอ้ งถน่ิ 8) หนงั สอื อิเล็กทรอนกิ ส์เลม่ ท่ี 8 เรอ่ื งการเปลีย่ นแปลงของทรพั ยากรธรรมชาติ 9) หนังสอื อเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ ล่มท่ี 9 เรอ่ื งการอนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาติ มีความสอดคล้องกับความรู้ ความสามารถ และการปฏิบัติหน้าท่ีการจัดการเรียนการสอนใน ด้านทดี่ ิฉันขอรับการประเมินคัดเลือก ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนการสอนยอดเย่ียมกลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ๓.๒.๑.๓ รูปแบบกำรจัดพิมพ์ จัดรูปเล่มนวตกรรม กำรนำเสนอน่ำสนใจ มีกำรจัดเรียงลำดับ อย่ำงเปน็ ข้ันตอน นวตกรรมหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม จานวน 9 เล่ม ข้างต้น ดิฉันได้จัดทารูปแบบการจัดพิมพ์ จัดรูปเล่ม นาเสนอ อย่างน่าสนใจ มีการจัดเรียงลาดับอย่างเป็นข้ันตอน เหมาะสมกับวัยที่กาเรียน โดยประเมินจากการสังเกตและแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้สอนและผู้เรียน ซ่ึงมี ความพงึ พอใจระดบั มาก นางศศมิ าภรณ์ ดีเลิศ ตาแหน่ง ครู โรงเรียนบ้านอาโพน โรงเรียนบา้ นอาโพน สานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏิบัติงาน (Self report) เพ่ือรบั รางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC Awards) หนา้ ที่ 25 ๓.๒.๒ ตัวชว้ี ดั ๒ คุณภำพขององค์ประกอบในนวัตกรรม ๓.๒.๒.๑ วัตถุประสงค์เปำ้ หมำยของนวตกรรม สอดคล้องกบั สภำพปัญหำและควำมต้องกำรพฒั นำ นวตกรรมหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อมท่ีมีต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านอาโพน สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาสุรินทร์เขต 3 มีวัตถุประสงค์เพ่ือ สร้างนวตกรรมหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หาประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อมและเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วิชา วิทยาศาสตร์ สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ท่ีใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับ ส่งิ แวดล้อม ซ่ึงความเปน็ มาและความสาคญั ของนวตั กรรมมรี ายละเอยี ดของปัญหา ดังน้ี การจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของโรงเรียนบ้านอาโพน สานักงานเขต พื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์เขต 3 พบว่า นกั เรยี นหลายคนทาความเข้าใจในเนื้อหาได้ยากและนักเรียนก็ให้ ความสนใจน้อยจึงไม่สามารถส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้ได้ถูกต้อง ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในระดับค่อนข้างต่า จากรายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2557 รายวิชาวิทยาศาสตร์ พบว่า นกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 6 โรงเรียนบา้ นอาโพนมีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O- NET) ในภาพรวมมคี ่าเฉล่ียสูงกวา่ ค่าเฉลีย่ ระดับประเทศ 9.80 จากจานวนผู้เข้าสอบ 40 คน โดยระดับโรงเรียนมี ค่าเฉลี่ย 51.93 และระดับประเทศมีค่าเฉลี่ย 42.13 ตามลาดับ เมื่อแยกตามสาระการเรียนรู้ พบว่า สาระการ เรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตกับส่ิงแวดล้อม สาระการเรียนรู้ท่ี 3 เร่ืองสารและสมบัติของสาร และ สาระการเรียนรู้ที่ 7 เรื่องดาราศาสตร์และอวกาศ มีค่าสถิติจาแนกตามระดับไม่ถึงร้อยละ 50 โดยมีค่าสถิติจาแนกตามระดับร้อยละ 46.88 , 40.00 และ 40.00 ตามลาดบั และดิฉนั ในฐานะครผู ู้สอนยังไมพ่ อใจในผลสัมฤทธ์ดิ งั กลา่ ว จึงได้นาสาระ การเรยี นรูท้ ้งั 3 สาระ มาวิเคราะห์เพ่ือวางแผนแก้ปัญหา ท้ังนี้พบว่า สาระการเรียนรู้ท่ี 2 เรื่องชีวิตกับส่ิงแวดล้อม เป็นสาระการเรียนรู้ท่ีน่าจะพัฒนาการเรียนการสอนได้เร็วกว่า เนื่องจากเป็นเร่ืองใกล้ตัวผู้เรียนและสามารถศึกษา ไดจ้ ากแหลง่ เรยี นรูใ้ นทอ้ งถนิ่ ประกอบกบั คา่ สถิตจิ าแนกตามระดบั มาตรฐานการเรียนรู้ พบวา่ มาตรฐานการเรียนรู้ ว 2.2 ระดับโรงเรียนมีค่าเฉลี่ยต่ากว่าค่าเฉล่ียระดับประเทศ 3.94 โดยระดับโรงเรียนมีค่าเฉลี่ย 37.50 และ ระดับประเทศมีค่าเฉล่ีย 41.44 ตามลาดับ ซ่ึงสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ(องค์การมหาชน) ได้แนะนา โรงเรียนควรเร่งพัฒนาตามมาตรฐานการเรียนรู้ดังกล่าว เนื่องจากคะแนนเฉลี่ยของโรงเรียนต่ากว่าคะแนนเฉล่ีย ระดบั ประเทศ ท้ังน้ยี ังพบว่ามนี ักเรยี นจานวนหน่ึงยังขาดทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และต้องการการดูแล เป็นพิเศษเพ่ือให้เรียนรู้ได้ทันเพื่อน ประกอบกับกลยุทธ์หลักของโรงเรียนในฝัน ข้อท่ี 4 โรงเรียนในฝันต้องพัฒนา ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ (ICT) และการสือ่ สารเพือ่ จัดกระบวนการเรียนรแู้ ละการบรหิ ารจดั การให้เกิดประโยชน์ สูงสุดแก่ผู้เรียน โรงเรียนบ้านอาโพน ได้ดาเนินการตามกลยุทธ์ดังกล่าว โดยจัดให้มีห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ที่ สามารถรองรบั ผเู้ รยี นได้และให้มกี ารเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไปทุกห้องเรียน รวมท้ังจัดให้มีอุปกรณ์ ส่ือการ เรียนการสอนตา่ งๆ เพื่อความพรอ้ มในการจดั การเรียนการสอน โดยวิชาวทิ ยาศาสตร์เป็นวิชาหนึ่งท่ีต้องอาศัยความ นางศศิมาภรณ์ ดเี ลศิ ตาแหนง่ ครู โรงเรียนบ้านอาโพน โรงเรียนบา้ นอาโพน สานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน (Self report) เพอื่ รับรางวัลทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC Awards) หน้าที่ 26 ตั้งใจ การใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการสืบค้นข้อมูล การทดลองและการสารวจ เพ่ือสรุปองค์ ความรู้ ซึ่งมคี วามจาเป็นต้องใชร้ ะบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) และการสื่อสารประกอบการจัดการเรียนการสอน จาการสงั เกตการเรียนการสอนทีผ่ ่านมา พบว่า เม่ือมกี ารนาส่ือการเรียนท่ีใช้ผ่านระบบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้ นีกเรียนจะใหค้ วามสนใจและต้ังใจเรียนเปน็ อย่างดี จากประเด็นดังกล่าวนี้ทาให้ดิฉันสนใจที่จะพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์หรือ E-book หน่วยการเรียน ส่ิงมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม เพ่ือใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การเรียนการสอนในรายวิชาวิทยาศาสตร์ สาหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านอาโพน และเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหน่วยการเรียน สิ่งมีชีวติ กบั ส่งิ แวดล้อม ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพมากข้ึน โดยจดั ทาเปน็ E-book ประกอบการเรยี นในสาระการเรียนรู้ที่ 2 หน่วยการเรียนชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ในส่วนเนื้อหา แบบฝึกการเรียนรู้ และแบบทดสอบ รูปแบบท่ีมีเนื้อหากระชับ เน้นภาพและเสียงประกอบ เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนสนใจ และช่วยนักเรียนในการเรียนรู้ได้ด้วยตนเองท้ังนักเรียน กลุ่มพิเศษและกลุ่มท่ัวๆไป โดย E-book มีลักษณะเฉพาะท่ีไม่เหมือนหนังสือทั่วไปคือ สามารถแทรกภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว แบบทดสอบ และสามารถส่ังพิมพ์เอกสารที่ต้องการออกทางเครื่องพิมพ์ได้ อ่านผ่านทางหน้า จอคอมพิวเตอร์ทัง้ ในระบบออฟไลน์และออนไลน์ เชื่อมโยงจุดไปยังส่วนต่างๆ ของหนังสือ เว็บไซต์ต่างๆ ตลอดจน มปี ฏิสมั พนั ธแ์ ละโต้ตอบกบั ผู้เรียนได้ ทสี่ าคัญก็คือ E-book สามารถปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยได้ตลอดเวลา ผู้เรียน สามารถสาเนาไปใช้ท่ีบ้านหลังจากครูผู้สอนได้จัดการเรียนการสอนเรียบร้อยแล้วเพื่อทบทวน ลองทาแบบฝึกและ แบบทดสอบได้จนกว่าจะเข้าใจ ซ่ึงดิฉันคิดว่าสามารถนามาใช้ประกอบการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนากระบวนการ เรียนรู้และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สา หรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านอาโพน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์เขต 3 ให้ สงู ข้ึนได้ ๓.๒.๒.๓ ควำมสมบูรณ์ในเนอื้ หำสำระของนวตั กรรม นวตกรรมหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อม เป็นเน้ือหาตรงตาม หลักสูตรวิทยาศาสตร์ รายวิชา ว 16101 หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ซึ่ง ดิฉันได้จัดทาแผนการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับเน้ือหาสาระของนวัตกรรมท่ีได้จัดทา โดยเรียบเรียงและรายงานในรูปแบบของ การวจิ ัยในชั้นเรยี น ๓.๒.๒.๓ ควำมถูกต้องตำมหลกั วิชำกำร การจัดทานวตกรรมหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ดิฉันได้ ศึกษาเอกสารท่ีเป็นทฤษฎี แนวคิด และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพ่ือทาความเข้าใจในหลายๆ มิติ ที่จะทาให้ดิฉันได้ วิเคราะห์ประเดน็ ตา่ งๆ ในการพัฒนานวตกรรม เริ่มจากศกึ ษาสภาพและปัญหาการจัดการเรียนรู้ สภาพผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ข้อมูลการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 และข้อมูลผลการเรียนอื่นๆ เพื่อนามาเป็นข้อมูลในการวางแผนการพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน รวมท้ังศึกษา นางศศิมาภรณ์ ดเี ลิศ ตาแหน่ง ครู โรงเรียนบา้ นอาโพน โรงเรียนบ้านอาโพน สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏิบัตงิ าน (Self report) เพือ่ รบั รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC Awards) หน้าท่ี 27 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หลักสูตร สถานศึกษาโรงเรียนบา้ นอาโพน เอกสารการสอน คู่มอื ครู นโยบาย วิสัยทัศน์ ภารกิจและอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือวาง แผนการพัฒนาโดยการกาหนดหัวข้อการพัฒนาจากปัญหาทีเ่ กดิ จากการจัดกิจกรรมการเรยี นรขู้ องนักเรียน กาหนด กรอบแนวคิดในการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน จัดทาและพัฒนาเครื่องมือท่ีสาคัญ ประกอบด้วย หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนสิ่งมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อม แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการ เรยี นก่อนเรียน-หลังเรยี นและแบบทดสอบย่อย เป็นเคร่ืองมือในการแก้ปัญหา โดยดิฉันได้ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ ความถกู ต้องตามหลักวิชาการเพ่ือความถูกตอ้ งตามหลักวิชาการ ๓.๒.๓ ตวั ชว้ี ดั ๓ กำรออกแบบนวัตกรรม ๓.๒.๓.๑ มีแนวคิดทฤษฎรี องรบั อย่ำงสมเหตสุ มผล สำมำรถอำ้ งอิงได้ รูปภาพชดุ ท่ี ๒๕ แสดงแนวคิดการจัดทาบทเรยี นออนไลน์ของ Gardner และ Miller หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนสิ่งมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อม กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 จานวน 9 เล่ม และคู่มือประกอบการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ผู้ศึกษาได้ ศึกษาขั้นตอนการจัดทาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ จากเอกสารต่างๆ และสอบถามผู้มีประสบการณ์ด้านการจัดทา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และได้เลือกโปรแกรม Flip PDF ในการทาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ โดยนาแนวคิดการจัดทา บทเรียนออนไลน์ของ Gardner และ Miller (1999, P. 34) ท่ีกล่าวว่า การเรียนรู้ด้วยตนเองน้ันสัมพันธ์กับการ พัฒนาของผู้เรียนแบบพ่ึงพาตนเอง โดยใช้หลักการออกแบบบทเรียนออนไลน์ของ ADDIE MODEL สรุปเป็น ขน้ั ตอน 5 ขั้น ดงั น้ี ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์ (Analysis) โดยสอบถามความต้องการของผู้เรียนท่ีมีต่อการจัดทาบทเรียน โดยใชห้ นังสอื อิเล็กทรอนิกสส์ าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ขัน้ ตอนท่ี 2 การออกแบบ (Design) มีกระบวนการในการออกแบบการจัดทาบทเรียนทางการเรียนวิชา วิทยาศาสตร์ สาระการเรียนรู้ที่ 2 หน่วยการเรยี นสง่ิ มีชวี ิตกบั สิ่งแวดลอ้ ม โดยใช้ หนังสอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ดังน้ี นางศศมิ าภรณ์ ดีเลิศ ตาแหนง่ ครู โรงเรียนบา้ นอาโพน โรงเรยี นบา้ นอาโพน สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏิบตั งิ าน (Self report) เพือ่ รบั รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC Awards) หน้าท่ี 28 1) ศึกษาเนื้อหาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เกี่ยวกับโครงสร้าง หลักสตู ร โครงสร้างรายวิชา มาตรฐาน ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรู้ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 เพื่อให้การจัดกิจกรรมการ เรยี นการสอนเป็นไปตามหลักการ จุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรูท้ กี่ าหนดไว้ 2) ศึกษาเน้ือหาวิชาวิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สาหรบั ใช้จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน 3) จัดทาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อม กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 จานวน 11 แผนการจดั การเรยี นรู้ รวมเวลาทใี่ ชจ้ ัดการเรยี นการสอน 18 ช่วั โมง 4) กาหนดวิธีการเรียน โดยเรียนแบบกิจกรรมกลุ่ม ออกแบบวิธีการเรียนรู้ โดยให้ผู้เรียนศึกษา บทเรยี น ทากจิ กรรมกลุ่มและทดสอบผลการเรยี นรขู้ องผู้เรียน ขน้ั ตอนท่ี 3 การพฒั นา (Development) ผศู้ ึกษาได้ดาเนนิ การ ดังตอ่ ไปนี้ 1) ออกแบบต้นฉบับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม MicroSoft Word จัดทารายละเอียด เนื้อหา โดยกาหนดเน้ือหารูปเล่มในแต่ละเรื่อง วางแผน กาหนดภาพและเสียง การเช่ือมโยงเนื้อหาและตรวจสอบ ความถกู ต้องของเน้อื หา 2) จัดทาแบบประเมินหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สาหรับผู้เช่ียวชาญ เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามวิธีการของลิเคอร์ท (Likert) (บุญชม ศรีสะอาด, 2545, น. 99-100) และนาต้นฉบับหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ที่ออกแบบเสร็จแล้วให้ผู้เช่ียวชาญ ตรวจสอบและประเมินคุณภาพความถูกต้องของเน้ือหา ความ เหมาะสมของภาษา ความชัดเจนในการใช้ภาษา ความครอบคลุม ถูกต้องเหมาะสมของโครงสร้างหลักสูตร มาตรฐานตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ กระบวนการจัดการเรียนรู้ สื่อ แหล่งเรียนรู้ การวัดผลประเมินผล โดย ผู้เชี่ยวชาญจานวน 5 ท่าน พบว่า ผลการผลการหาคุณภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับ ส่ิงแวดล้อม เล่มที่ 1–9 แจกแจงเป็นรายข้อครบท้ัง 6 ด้าน รวม 22 ข้อ ในทุกเล่ม มีความสอดคล้องเหมาะสม มากท่ีสุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.81 (������̅=4.81,S.D.=0.15) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านและรายข้อแล้วพบว่ามีความ เหมาะสมมากถึงมากที่สุด สามารถนาไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้ทุกเล่มและเมื่อผู้เช่ียวชาญประเมินเรียบร้อย แลว้ จึงดาเนินการในขนั้ ตอนต่อไป ๓) บันทึกต้นฉบับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ท่ีออกแบบเสร็จแล้วเป็นเอกสารชนิด PDF (Portable Document Format) ๔) นาต้นฉบับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ท่ีบันทึกเป็นเอกสารชนิด PDF ไปตกแต่ง เพ่ิม เสียง การ เชอ่ื มโยง โดยใช้โปรแกรม Flip PDF ๕) ทาการแปลงต้นฉบับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ท่ีเป็นเอกสารชนิด PDF ท่ีตกแต่งด้วยโปรแกรม Flip PDF เป็น หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกสฉ์ บบั สมบูรณ์ ๖) ทาการทดลองใชง้ านและตรวจสอบ เสียง การเชอ่ื มโยง ของหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ฉบบั สมบูรณ์ นางศศิมาภรณ์ ดเี ลศิ ตาแหน่ง ครู โรงเรียนบ้านอาโพน โรงเรียนบา้ นอาโพน สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน (Self report) เพ่อื รับรางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC Awards) หนา้ ท่ี 29 7) นาหนังสืออเิ ล็กทรอนกิ สฉ์ บบั สมบรู ณไ์ ปให้ผูเ้ ชีย่ วชาญ ตรวจสอบและประเมินคุณภาพอีกครั้ง ๘) รวบรวมและบันทึกไฟล์หนังสืออิเล็กทรอนิกส์และเอกสารชนิด PDF ลงในแผ่น CD ได้หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จานวน 9 เล่ม พร้อมคู่มือ ประกอบการใช้ประกอบดว้ ย เล่มท่ี 1 เร่ืองสิ่งมชี ีวติ กับส่งิ แวดล้อมในโรงเรยี น เลม่ ที่ 2 เรื่องความสัมพนั ธข์ องกลมุ่ ส่ิงมชี วี ติ ในแหล่งท่ีอยตู่ า่ งๆ เลม่ ที่ 3 เรอ่ื งโซอ่ าหาร เลม่ ท่ี 4 เรื่องสายใยอาหาร เล่มท่ี 5 เรือ่ งความสัมพนั ธร์ ะหว่างส่งิ มชี วี ิตในระบบนิเวศ เล่มที่ 6 เรอ่ื งการดารงชีวิตและการปรับตวั ของสิง่ มชี วี ิต เล่มท่ี 7 เรื่องทรพั ยากรธรรมชาติในท้องถน่ิ เลม่ ท่ี 8 เร่อื งการเปลย่ี นแปลงของทรัพยากรธรรมชาติ เลม่ ที่ 9 เรอ่ื งการอนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาติ ภายในแตล่ ะเล่มประกอบดว้ ยสว่ นตา่ งๆ ที่สาคัญดังนี้ 1) สาระสาคัญของเน้อื เร่อื งทจี่ ะเรียน 2) เน้ือหา ท่ีมขี ้อความ เสยี งและภาพประกอบ 3) แบบฝกึ พัฒนาการเรยี นรู้ 4) เฉลยแบบฝึกพฒั นาการเรยี นรู้ 5) แบบทดสอบยอ่ ย 6) เฉลยแบบทดสอบยอ่ ย 7) เฉลยละเอียดแบบทดสอบย่อย 8) สรุปผลการเรยี นรู้ ๓.๒.๓.๒ แนวคดิ ทฤษฎที ่ีระบุมีควำมเป็นไปได้ในกำรพัฒนำนวตั กรรมใหส้ มั ฤทธิ์ผล การพัฒนานวตกรรมหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนสิ่งมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อมในครั้งน้ี ดิฉันได้ศึกษาเอกสาร แนวคิดทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์และศึกษางานวิจัยที่ คล้ายคลึงมาเป็นกรอบแนวทางพัฒนา ซ่ึงดิฉันเห็นว่าเป็นแนวคิดทฤษฎีที่มีความเป็นไปได้ในการพัฒนานวัตกรรม ใหส้ มั ฤทธิ์ผลตามวัตถุประสงคท์ ีต่ ้งั ไว้ ตามรายละเอยี ดดงั ตอ่ ไปน้ี 1. หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 2. หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นบา้ นอาโพน 3. แนวคิดในการจดั ทาบทเรียนออนไลน์ นางศศมิ าภรณ์ ดีเลศิ ตาแหน่ง ครู โรงเรียนบ้านอาโพน โรงเรยี นบ้านอาโพน สานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน (Self report) เพ่อื รบั รางวัลทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC Awards) หน้าที่ 30 4. เอกสารและงานวจิ ัยเก่ียวกับหนงั สืออิเล็กทรอนกิ ส์ 4.1 ความเป็นมาของหนงั สืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ 4.2 ความหมายของหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ 4.3 ประเภทของหนังสืออิเล็กทรอนกิ ส์ 4.4 รูปแบบของหนังสอื อิเล็กทรอนกิ ส์ 4.5 ซอฟตแ์ วร์ในการเขียนและการอา่ นหนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส์ 4.6 โปรแกรม MicroSoft Word 4.7 เอกสาร PDF (Portable Document Format) 4.8 โปรแกรม Flip PDF 4.9 ฮารด์ แวรส์ าหรบั หนังสอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ 4.10 กระบวนการจัดทาและพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนกิ ส์ 4.11 ขอ้ ดีของหนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์เมอื่ เปรียบเทียบกบั หนังสือ 4.12 ประโยชน์ของหนังสืออิเล็กทรอนกิ ส์ 5. เอกสารทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับการหาประสทิ ธภิ าพของสือ่ 6. เอกสารที่เกี่ยวขอ้ งกับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน 7. งานวจิ ยั ทเี่ กยี่ วขอ้ ง ๓.๒.๓.๓ นวตั กรรมสอดคล้องตำมแนวคดิ ของทฤษฎีทร่ี ะบุ จากการพฒั นานวตกรรมหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อมในคร้ัง น้ีพบว่าสอดคล้องตามเอกสาร แนวคิดทฤษฎี งานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์และงานวิจัยท่ี คล้ายคลึง ซงึ่ มคี วามเปน็ ไปไดใ้ นการพฒั นานวัตกรรมใหส้ มั ฤทธผ์ิ ลตามวตั ถุประสงค์ทต่ี งั้ ไว้ ๓.๒.๔ ตวั ช้ีวดั ๔ ประสิทธิภำพของนวตั กรรม ๓.๒.๔.๑ กระบวนกำรหำประสทิ ธิภำพของนวัตกรรม การพัฒนานวตกรรมหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมในครั้งน้ีมี กระบวนการหาประสิทธภิ าพของนวตั กรรม ประกอบด้วย 1. ประสทิ ธิภำพตำมเกณฑ์ (E1/E2) การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนสิ่งมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อม กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาศึกษาปีท่ี 6 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 หรือประสิทธิภาพตามเกณฑ์ (E1/E2) น้ัน วิเคราะห์ขอ้ มูลจากผลงานที่นักเรยี นทาได้โดยประเมินผลการเรยี นรดู้ ว้ ยแบบฝึกหัดขณะเรียน คิดเป็น รอ้ ยละ (E1) และพฤติกรรมข้ันสดุ ท้ายหรอื การทาแบบทดสอบหลังเรียนในแตล่ ะครัง้ ของการจดั การเรียนรู้นามาคิด เป็นรอ้ ยละของผลเฉลีย่ จากคะแนนที่ได้ (E2) โดยกาหนดเกณฑ์ประสิทธิภาพไว้เป็น 80/80 ค่าแปรปรวนร้อยละ นางศศมิ าภรณ์ ดีเลิศ ตาแหน่ง ครู โรงเรียนบา้ นอาโพน โรงเรียนบ้านอาโพน สานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏบิ ัติงาน (Self report) เพอื่ รับรางวลั ทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC Awards) หน้าที่ 31 5 หรือกาหนดค่าความคลาดเคล่ือนไว้ ±2.5 ดังนั้น การแปลผลการวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพตามเกณฑ์ (E1/E2) จึงแบ่งเปน็ 3 ระดบั คือ 1) สูงกว่าเกณฑ์ เมื่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนสิ่งมีชีวิตกับ สง่ิ แวดล้อม มปี ระสิทธภิ าพตัง้ แต่ 80.50/80.50 ขนึ้ ไป 2) เท่าเกณฑ์ เม่ือการจัดการเรียนรู้โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับ สิง่ แวดลอ้ ม มปี ระสทิ ธภิ าพระหวา่ ง 77.51/77.51 ถึง 80.49/80.49 3) ต่ากว่าเกณฑ์ เมื่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับ สิ่งแวดล้อม มปี ระสทิ ธภิ าพตัง้ แต่ 77.50/77.50 ลงมา 2. กำรวัดผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียน การวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาศึกษาปีท่ี 6 โดยใช้ หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ หน่วยการเรียนสง่ิ มชี ีวิตกบั สง่ิ แวดลอ้ ม แปลผลข้อมูลจากคะแนนท่ีได้จากการทดสอบ โดยมี ค่าคะแนนเป็น 0 สาหรับข้อที่ตอบผิด กับ 1 สาหรับข้อที่ตอบถูก แล้วนาข้อมูลจากการนาคะแนนทดสอบก่อน เรียนและคะแนนสอบหลังเรียนมาเปรียบเทียบกันในลักษณะของตารางแจกแจงความถี่รายบุคคล นาคะแนนหลัง เรียนลบด้วยคะแนนก่อนเรียน เพ่ือศึกษาผลต่างหรือความก้าวหน้าของผู้เรียน ดังน้ันการแปลผลการวิเคราะห์ ข้อมลู ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน แบง่ เป็น 3 ระดับ คือ 1) ผลการเรียนรสู้ งู ขนึ้ เมื่อคะแนนทดสอบหลงั เรียนสูงกวา่ คะแนนทดสอบก่อนเรียน 2) ผลการเรียนรู้คงที่ เม่ือคะแนนทดสอบหลังเรยี นเท่ากบั คะแนนทดสอบก่อนเรยี น 3) ผลการเรยี นรูต้ า่ ลง เมอื่ คะแนนทดสอบหลังเรียนต่ากว่าคะแนนทดสอบก่อนเรียน 3. คำ่ ดัชนีประสิทธผิ ล (E.I.) การหาค่าดัชนีประสิทธิผล (E.I.) ของการจัดการเรียนรู้โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียน สิ่งมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 วิเคราะห์ข้อมูล จากคะแนนทดสอบหลังเรียน-คะแนนทดสอบก่อนเรียน หารด้วยคะแนนเต็ม-คะแนนทดสอบก่อนเรียน การแปล ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ค่าดชั นีประสิทธผิ ล (E.I.) แบ่งเป็น 2 ระดับ คอื 1) การจัดการเรียนรู้โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม มี ประสทิ ธภิ าพทย่ี อมรบั ได้ เมือ่ ดชั นปี ระสิทธิผล (E.I.) มคี า่ ตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไป 2) การจัดการเรียนรู้โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนสิ่งมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อม ไม่มี ประสิทธิภาพ เม่ือดชั นปี ระสิทธิผล (E.I.) มคี า่ ตา่ กวา่ 0.50 การพัฒนาและหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์หน่วยการเรียนสิ่งมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อม กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านอาโพน ดิฉันได้ดาเนินการ นางศศิมาภรณ์ ดเี ลศิ ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นบ้านอาโพน โรงเรยี นบ้านอาโพน สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏิบตั งิ าน (Self report) เพื่อรบั รางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC Awards) หนา้ ท่ี 32 ทดลองและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ เพื่อหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ จากการทดลอง 4 คร้ัง ประกอบด้วย ครั้งท่ี 1 นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านโชค สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษาสุรนิ ทรเ์ ขต 3 เพื่อเปน็ กลุ่มตวั อย่างในการทดลอง จานวน 3 คน ที่มีผลการเรียน อ่อน ปานกลางและ เก่ง อยา่ งละ 1 คน ไดม้ าด้วยการส่มุ อยา่ งง่าย ครั้งท่ี 2 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านสะแร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุรินทร์เขต 3 เพ่อื เป็นกลุม่ ตัวอย่างในการทดลอง จานวน 9 คน ที่มีผลการเรียน อ่อน ปานกลางและ เก่ง อยา่ งละ 3 คน ได้มาดว้ ยการสมุ่ อย่างงา่ ย คร้ังท่ี 3 นักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 โรงเรียนบ้านระมาดค้อ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษาสุรินทร์เขต 3 เพ่ือเป็นกลุ่มตัวอย่างในการทดลอง 1 ห้องเรียน จานวน 20 คน ได้มาด้วยการสุ่ม อยา่ งง่าย คร้ังท่ี 4 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนบ้านอาโพน สานักงานเขตพ้ืนท่ีการ ศึกษา ประถมศึกษาสุรินทร์เขต 3 ท่ีเรียนวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 16101 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 เป็น กลมุ่ ตัวอยา่ งในการทดลองจรงิ จานวน 1 ห้องเรยี น ดว้ ยการสมุ่ อย่างงา่ ย ๓.๒.๔.๒ นวัตกรรมมปี ระสิทธิภำพตำมเกณฑ์ท่กี ำหนด การหาค่าประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์หน่วยการเรียนสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมโดย การทดลอง ครั้งท่ี 1 ด้วยนักเรียนจานวน 3 คน มีคะแนนทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิก่อนเรียนเฉลี่ย 12.87 (������̅=12.87,S.D.=3.33) จากคะแนนเตม็ 30 คะแนน มีคะแนนจากการจดั การเรียนรู้โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมชุดท่ี 1–9 เฉล่ีย 67.00 คะแนน (������̅=67.00,S.D.=13.11) จากคะแนน เต็ม 90 คะแนน มีคะแนนทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลังเรียนเฉลี่ย 22.67 คะแนน (������̅=22.67,S.D.= 5.13) จาก คะแนนเตม็ 30 คะแนน ค่าประสิทธภิ าพของหนังสืออิเล็กทรอนกิ ส์ หนว่ ยการเรยี นสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม เท่ากับ 74.44/75.56 การหาค่าประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมโดย การทดลอง คร้ังที่ 2 ด้วยนักเรียนจานวน 9 คน มีคะแนนทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิก่อนเรียนเฉลี่ย 16.16 (������̅=16.16,S.D.=5.52) จากคะแนนเตม็ 30 คะแนน มคี ะแนนจากการจดั การเรียนร้โู ดยใช้หนังสอื อิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อมชุดที่ 1–9 เฉลี่ย 67.22 คะแนน (������̅=67.22,S.D.= 3.51) จากคะแนน เต็ม 90 คะแนน มีคะแนนทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิหลังเรียนเฉล่ีย 22.89 คะแนน (������̅=22.89,S.D.=0.58) จาก คะแนนเต็ม 30 คะแนน ค่าประสทิ ธภิ าพของหนงั สืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ หนว่ ยการเรียนสิ่งมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อม เท่ากับ 74.69/76.30 นางศศมิ าภรณ์ ดเี ลิศ ตาแหนง่ ครู โรงเรียนบ้านอาโพน โรงเรียนบา้ นอาโพน สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน (Self report) เพอื่ รบั รางวัลทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC Awards) หน้าท่ี 33 การหาค่าประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับส่ิ งแวดล้อมโดย การทดลอง ครั้งท่ี 3 ด้วยนักเรียนจานวน 20 คน มีคะแนนทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิก่อนเรียนเฉล่ีย 15.75 (������̅=15.75,S.D.=3.78) จากคะแนนเตม็ 30 คะแนน มีคะแนนจากการจัดการเรยี นรโู้ ดยใชห้ นังสืออิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อมชุดท่ี 1–9 เฉล่ีย 73.55 คะแนน (������̅=73.55,S.D.=11.67) จากคะแนน เต็ม 90 คะแนน มีคะแนนทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิหลังเรียนเฉล่ีย 24.25 คะแนน (������̅=24.25,S.D.=4.08) จาก คะแนนเต็ม 30 คะแนน คา่ ประสทิ ธภิ าพของหนังสอื อิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม เท่ากับ 81.72/80.83 การหาค่าประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์หน่วยการเรียนสิ่งมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อมโดย การทดลอง ครั้งท่ี 3 ด้วยนักเรียนจานวน 20 คน มีคะแนนทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิก่อนเรียนเฉลี่ย 14.00 (������̅=14.00,S.D.=1.89) จากคะแนนเตม็ 30 คะแนน มีคะแนนจากการจดั การเรียนรู้โดยใช้หนังสอื อิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับสง่ิ แวดลอ้ มชดุ ท่ี 1–9 เฉล่ีย 78.80 คะแนน (������̅=78.80,S.D.=3.35) จากคะแนนเตม็ 90 คะแนน มคี ะแนนทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิหลังเรียนเฉลี่ย 26.80 คะแนน (������̅=26.80,S.D.=2.07) จากคะแนน เต็ม 30 คะแนน ค่าประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม เท่ากับ 87.56/89.33 ๓.๒.๔.๓ วธิ ีกำรหำประสทิ ธภิ ำพของนวัตกรรมครอบคลุมในด้ำนเน้ือหำ (Content validity) และโครงสรำ้ ง (Construct validity) ผลการพฒั นาประสิทธภิ าพของหนงั สืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์หนว่ ยการเรียนสิ่งมีชีวิตกับ ส่ิงแวดลอ้ ม โดยกลมุ่ ตัวอย่างทีไ่ ดม้ าด้วยการสุ่มอย่างงา่ ย จานวน 4 ครงั้ ดังนี้ ครั้งที่ 1 กลุ่มตัวอย่างในการทดลองคือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านโชค สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรินทร์เขต จานวน 3 คน ท่ีมีผลการเรียน อ่อน ปานกลางและเก่ง อย่าง ละ 1 คน ได้มาดว้ ยการสมุ่ อย่างงา่ ย มคี า่ ประสิทธภิ าพเท่ากบั 74.44/75.56 คร้ังท่ี 2 กลุ่มตัวอย่างในการทดลองคือ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านสะแร สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์เขต 3 จานวน 9 คน ท่ีมีผลการเรียน อ่อน ปานกลางและเก่ง อยา่ งละ 3 คน ได้มาด้วยการสมุ่ อย่างงา่ ย มคี า่ ประสิทธิภาพเทา่ กับ 74.69/76.30 คร้ังที่ 3 โดยกลุ่มตัวอย่างในการทดลองคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนบ้าน ระมาดคอ้ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์เขต 3 เพื่อเป็นกลุ่มตัวอย่างในการทดลอง จานวน 1 ห้องเรยี น ไดม้ าดว้ ยการสุ่มอยา่ งงา่ ย มคี ่าประสิทธภิ าพเท่ากบั 81.72/80.83 ครั้งท่ี 4 ทดลองกับกลุ่มตัวอย่างจริง โดยกลุ่มตัวอย่างในการทดลองคือ นักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านอาโพน สานักงานเขตพ้ืนท่ีการ ศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์เขต 3 ท่ีเรียน นางศศิมาภรณ์ ดเี ลศิ ตาแหน่ง ครู โรงเรยี นบ้านอาโพน โรงเรียนบ้านอาโพน สานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏบิ ัติงาน (Self report) เพือ่ รับรางวลั ทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC Awards) หน้าที่ 34 วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 16101 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 จานวน 1 ห้องเรียน 20 คนด้วยการสุ่ม อยา่ งง่าย พบว่าประสิทธิภาพของหนงั สอื อิเลก็ ทรอนิกส์มีค่าประสิทธิภาพเท่ากับ 87.56/89.33 ซึ่งสูง กว่าเกณฑ์ 80/80 ท่ตี งั้ ไว้ และวิธีการหาประสทิ ธิภาพของนวตั กรรมครอบคลุมในด้านเน้ือหา (Content validity) และโครงสรา้ ง (Construct validity) ทีก่ าหนดไว้ รูปภาพชดุ ที่ ๒๖ แสดงผลการพฒั นาประสทิ ธภิ าพหนังสืออเิ ลก็ ทรอนกิ สห์ นว่ ยการเรยี นส่ิงมชี วี ิตกับส่งิ แวดลอ้ ม รูปภาพชดุ ที่ ๒๗ แสดงการเปรียบเทียบผลผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น นางศศมิ าภรณ์ ดีเลศิ ตาแหน่ง ครู โรงเรียนบ้านอาโพน โรงเรียนบา้ นอาโพน สานกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาสรุ นิ ทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏบิ ัติงาน (Self report) เพ่ือรบั รางวลั ทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC Awards) หนา้ ที่ 35 กำรประเมินตัวชวี้ ัดเฉพำะ 3.๓ กำรประเมินตัวชว้ี ดั เฉพำะ องค์ประกอบที่ 2 คณุ ประโยชน์ ๓.๓.๑ ตวั ชว้ี ัด 1 ควำมสำมำรถในกำรแก้ปญั หำหรือพฒั นำ ๓.๓.๑.๑ สอดคลอ้ งตำมวตั ถุประสงค์และเป้ำหมำยท่ีระบไุ ด้ครบถ้วน การพัฒนานวตกรรมหนังสืออิเล็กทรอนิกส์หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อม ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านอาโพน สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์เขต 3 มี วัตถุประสงค์เพื่อสร้างนวตกรรมหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หาประสิทธิภาพตามเกณฑ์ของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และ เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนและหลังเรียน สาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีท่ี 6 ท่ีใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อม ดิฉันได้ศึกษาและพัฒนา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์วิชาวิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สาหรับนักเรียนระดับชั้น ประถมศึกษาปีท่ี 6 ให้มีคุณภาพตามเกณฑ์ที่กาหนด ซึ่งได้ทาการศึกษาเชิงทดลอง (Experimental Research) แบบแผนการทดลองกลุ่มเดียวสอบก่อนสอบหลัง (One group pretest–posttest design) กับกลุ่มตัวอย่างจริง โดยกลุ่มตัวอย่างในการทดลองคือ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านอาโพน สานักงานเขตพ้ืนท่ีการ ศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์เขต 3 ท่ีเรียนวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 16101 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 จานวน 1 ห้องเรียน 20 คนด้วยการสุ่มอย่างง่าย พบว่าประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีค่าประสิทธิภาพ เท่ากับ 87.56/89.33 ซ่ึงสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่ต้ังไว้ และ การทดสอบเปรียบเทียบคะแนนสอบก่อนและหลัง เรียนของนักเรียนจากการใช้หลังจากการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์หน่วยการเรียนสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม พบว่า คะแนนผลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากการได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์หน่วยการเรียน ส่ิงมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนเท่ากับ 14.00 (������̅=14.00,S.D.=1.89) และและหลังเรียนเท่ากบั 26.80 (������̅=26.80,S.D.=2.07) ตามลาดับ และเมื่อ เปรยี บเทียบระหว่างคะแนนผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนกอ่ นเรยี นและหลังเรียน พบวา่ คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนของนักเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และจากการทดสอบเปรียบเทียบ เกณฑ์ ร้อยละ 80 กับคะแนนสอบหลังเรยี นของนักเรียนจากการใชห้ ลังจากการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์หน่วยการ เรียนสิง่ มชี ีวติ กบั ส่งิ แวดล้อม พบวา่ คะแนนผลผลสัมฤทธิท์ างการเรียน จากการได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อมหลังเรียนเท่ากับ 26.80 (������̅=26.80,S.D.=2.07) และเม่ือ เปรียบเทียบระหว่างเกณฑ์ร้อยละ 80 กับคะแนนสอบหลังเรียนของนักเรียน พบว่า คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนหลังเรียนของนักเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ส่งผลให้ได้นวตกรรม หนังสืออิเล็กทรอนิกส์หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อม ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีประสิทธิภาพ สอดคล้องตามวัตถุประสงคแ์ ละเป้าหมายทรี่ ะบุไว้ได้ครบถ้วน นางศศมิ าภรณ์ ดเี ลศิ ตาแหน่ง ครู โรงเรียนบา้ นอาโพน โรงเรียนบา้ นอาโพน สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน (Self report) เพ่อื รบั รางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC Awards) หนา้ ท่ี 36 ๓.๓.๑.๒ แกป้ ัญหำหรอื พัฒนำไดต้ รงตำมกลุ่มเป้ำหมำย จากรายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2557 รายวิชาวิทยาศาสตร์ พบว่า นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนบ้านอาโพนมีผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ 9.80 จากจานวนผู้ เข้าสอบ 40 คน โดยระดับโรงเรียนมีค่าเฉลี่ย 51.93 และระดับประเทศมีค่าเฉลี่ย 42.13 ตามลาดับ และจาก ค่าสถิติจาแนกตามระดับมาตรฐานการเรียนรู้ พบว่า มาตรฐานการเรียนรู้ ว 2.2 ระดับโรงเรียนมีค่าเฉลี่ยต่ากว่า ค่าเฉลย่ี ระดับประเทศ 3.94 โดยระดับโรงเรียนมีคา่ เฉลี่ย 37.50 และระดับประเทศมีค่าเฉลี่ย 41.44 ตามลาดับ ซึ่งสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ(องค์การมหาชน) ได้แนะนาโรงเรียนควรเร่งพัฒนาตามมาตรฐานการ เรยี นรดู้ งั กลา่ ว เน่ืองจากคะแนนเฉล่ียของโรงเรียนต่ากว่าคะแนนเฉล่ียระดับประเทศ และเมื่อทดลองใช้นวตกรรม หนังสอื อิเลก็ ทรอนิกส์หนว่ ยการเรียนสงิ่ มีชวี ติ กบั สิง่ แวดล้อมหลังเรยี นสูงกวา่ ก่อนเรียน โดยคะแนนเฉล่ียผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนก่อนเรียนเท่ากับ 14.00 (������̅=14.00,S.D.=1.89) และและหลังเรียนเท่ากับ 26.80 (������̅=26.80,S.D.=2.07) ตามลาดับ และเม่ือเปรียบเทียบระหว่างคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและ หลังเรียน พบว่า คะแนนผลสัมฤทธิท์ างการเรียนหลังเรียนของนักเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 และจากผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) สาระการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตกับ สิ่งแวดล้อม มาตรฐานการเรียนรู้ ว 2.2 ในปีการศึกษา 2558 จานวนผู้เข้าสอบ 41 คน พบว่า ระดับโรงเรียนมี ค่าเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ 4.60 โดยระดับโรงเรียนมีค่าเฉลี่ย 48.78 และระดับประเทศมีค่าเฉล่ีย 44.18 ตามลาดับ แสดงนวตกรรมหนังสืออิเล็กทรอนิกส์หน่วยการเรียนสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมได้มีการแก้ปัญหา หรอื พัฒนาไดต้ รงตามกลมุ่ เปา้ หมาย รูปภาพชดุ ท่ี ๒๘ แสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขนั้ พนื้ ฐาน (O-NET) ๓.๓.๑.๓ นำไปประยกุ ต์ใชใ้ นสภำพบรบิ ทท่มี ลี ักษณะใกล้เคยี งกนั ผลการพัฒนาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับ สง่ิ แวดลอ้ ม โดยกลุ่มตวั อยา่ งทีไ่ ด้มาด้วยการส่มุ อยา่ งงา่ ย จานวน 4 คร้ัง ดงั น้ี นางศศิมาภรณ์ ดเี ลิศ ตาแหนง่ ครู โรงเรียนบา้ นอาโพน โรงเรียนบา้ นอาโพน สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรินทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน (Self report) เพอ่ื รบั รางวลั ทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC Awards) หนา้ ท่ี 37 ครั้งที่ 1 กลุ่มตัวอย่างในการทดลองคือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านโชค สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์เขต จานวน 3 คน ทม่ี ผี ลการเรยี น อ่อน ปานกลางและเก่ง อย่าง ละ 1 คน ไดม้ าด้วยการสุม่ อย่างงา่ ย มีคา่ ประสทิ ธภิ าพเทา่ กบั 74.44/75.56 ครง้ั ที่ 2 กล่มุ ตวั อย่างในการทดลองคือ นกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนบ้านสะแร สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์เขต 3 จานวน 9 คน ที่มีผลการเรียน อ่อน ปานกลางและเก่ง อย่างละ 3 คน ไดม้ าดว้ ยการสุม่ อยา่ งง่าย มคี ่าประสิทธภิ าพเทา่ กบั 74.69/76.30 ครั้งท่ี 3 โดยกลุ่มตัวอย่างในการทดลองคือ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้าน ระมาดคอ้ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์เขต 3 เพื่อเป็นกลุ่มตัวอย่างในการทดลอง จานวน 1 หอ้ งเรียน ได้มาด้วยการสมุ่ อย่างงา่ ย มีค่าประสทิ ธภิ าพเทา่ กบั 81.72/80.83 คร้ังที่ 4 ทดลองกับกลุ่มตัวอย่างจริง โดยกลุ่มตัวอย่างในการทดลองคือ นักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านอาโพน สานักงานเขตพื้นท่ีการ ศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์เขต 3 ที่เรียน วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว16101 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 จานวน 1 ห้องเรียน 20 คนด้วยการสุ่ม อย่างง่าย พบวา่ ประสทิ ธภิ าพของหนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์มีค่าประสิทธิภาพเท่ากับ 87.56/89.33 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่ตั้งไว้ จากการทดลองทั้ง ๔ คร้ังดังกล่าว แสดงว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์หน่วยการเรียนสิ่งมีชีวิต กับส่ิงแวดล้อมสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในสภาพบริบทที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน ซ่ึงดิฉันได้เผยแพร่นวตกรรม ดังกล่าว ให้โรงเรียนในเขตอาเภอบัวเชด เพื่อทดลองใช้เป็นสื่อประกอบการเรียนการสอนจานวน 6 โรงเรียน ประกอบด้วย โรงเรียนบ้านระมาดค้อ โรงเรียนบ้านโชค โรงเรียนบ้านสะแร โรงเรียนบ้านโนนสังข์ โรงเรียนบ้าน ออดราษฎร์สามัคคี และ โรงเรียนบา้ นบวั เชด โดย พบว่า ผู้สอนทุกคนให้ความเห็นว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์หน่วย การเรียนส่งิ มชี ีวติ กบั ส่ิงแวดล้อมเป็นส่ือที่สามารถใช้สอนได้จริง นักเรยี นใหค้ วามสนใจ รูปภาพชุดท่ี ๒๙ แสดงการเผยแพรน่ วตกรรม ให้โรงเรียนในเขตอาเภอบวั เชด นางศศิมาภรณ์ ดีเลิศ ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นบา้ นอาโพน โรงเรยี นบ้านอาโพน สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏิบัตงิ าน (Self report) เพอื่ รบั รางวัลทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC Awards) หน้าที่ 38 ๓.๓.๒ ตัวช้ีวดั ๒ ประโยชนต์ ่อบุคคล ๓.๓.๒.๑ ผลงำนส่งผลให้เกดิ ประโยชน์ตอ่ ผเู้ รยี น ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิต กับส่ิงแวดล้อมในนักเรียน 44 คน จากการประเมินโดยการสังเกตในขณะจัดกิจกรรมการเรียนการสอน พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่ให้ความสนใจในการเรียนรู้เป็นอย่างดี โดยจากการทาแบบทดสอบก่อนเรียนนักเรียนได้คะแนน เฉลย่ี 17.19 คิดเป็นร้อยละ 57.30 และหลังเรียนได้คะแนนเฉลี่ย 26.07 คิดเป็นร้อยละ 86.90 ซึ่งแสดงถึงมี พัฒนาการทางการเรียนที่ดีข้ึน นกั เรียนมีความสนใจและมีความกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม มีทักษะในการใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ มีปฏิสัมพันธ์กับเพ่ือนภายในกลุ่มทาให้เกิดความสนุกสนานและได้แสดงออกเต็มท่ี นอกจากนีน้ ักเรยี นมอี สิ ระในการคิดมากขนึ้ ทาให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ในการแก้ปัญหาด้วยตนเอง ตลอดจน นักเรยี นสามารถชว่ ยกนั สรุปสิ่งท่ีได้เรียนมาท้ังหมด โดยนักเรียนนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์หน่วยการเรียนสิ่งมีชีวิต กับสิ่งแวดล้อมไปทบทวนหลังจากทาการเรียนการสอนเรียบร้อยแล้วทาให้นักเรียนทุกคนได้เรียนรู้จากหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อมด้วยตนเองทั้งในห้องเรียน ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ของ โรงเรียน และท่ีบ้านของนักเรียน ส่งผลให้ ปีการศึกษา 2558 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เฉลี่ยร้อยละ 82.74 และจากผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) สาระการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตกับส่ิงแวดล้อม มาตรฐานการเรียนรู้ ว 2.2 ปีการศึกษา 2558 จานวนผู้เข้าสอบ 41 คน พบว่า ระดับโรงเรียนมีค่าเฉล่ียสูงกว่า ค่าเฉล่ียระดับประเทศ 4.60 โดยระดับโรงเรียนมีค่าเฉล่ีย 48.78 และระดับประเทศมีค่าเฉลี่ย 44.18 ตามลาดับ โดยการใชน้ วตกรรมหนังสืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมประกอบการเรียนทา ให้สามารถแก้ปัญหาผลการเรียนได้ในระดับท่ีน่าพอใจ และผู้เรียนมีเจตคติที่ต่อการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ และชุด การเรียนรู้โดยใช้นวตกรรมหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนสิ่งมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อมประกอบการเรียน สามารถเผยแพร่ให้นักเรียนระดับช้ันอ่ืนๆ ได้ทดลองใช้เพ่ือเตรียมความพร้อมสาหรับการเรียนระดับช้ัน ประถมศึกษาปที ี่ 6 ได้ รปู ภาพชุดที่ ๓๐ แสดงผลงานสง่ ผลให้เกดิ ประโยชนต์ ่อผู้เรยี น นางศศิมาภรณ์ ดีเลศิ ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นบา้ นอาโพน โรงเรยี นบ้านอาโพน สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏิบตั งิ าน (Self report) เพอื่ รับรางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC Awards) หนา้ ท่ี 39 ๓.๓.๒.๒ ผลงำนส่งผลให้เกิดประโยชน์ตอ่ เพ่ือนครู นวตกรรมหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนสิ่งมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อม ถูกจัดเก็บในซีดี หรือ แฟลชไดรซ์ และเก็บไว้ในสื่อออนไลน์ต่างๆ ในรูปแบบไฟล์ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ สามารถทาสาเนา ส่งต่อผ่าน แอพพลิเคชัน Line Facebook และเครือข่ายระบบออนไลน์ต่างๆได้ เพื่อนาไปใช้กับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ จาก การเผยแพร่นวตกรรมดังกล่าว ให้โรงเรียนในเขตอาเภอบัวเชด เพ่ือทดลองใช้เป็นสื่อประกอบการเรียนการสอน จานวน 6 โรงเรียนและเพอ่ื นครูทส่ี นใจ พบว่า สามารถนาไปจดั การเรยี นการสอน และ มอบหมายให้นักเรียนนาไป ศึกษาที่บ้านได้ สามารถลดภาระการเรียนการสอนได้ในระดับหน่ึง โดยชุดการเรียนรู้โดยใช้นวตกรรมหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมประกอบการเรียน ช่วยแก้ปัญหาเม่ือครูไม่ว่างหรือติด ภาระกิจอ่ืนๆ เพราะนักเรียนสามารถเรียนด้วยตนเองตามศักยภาพ และการจัดทาชุดการเรียนรู้โดยใช้นวตกรรม หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อม ประกอบการเรียน ก่อให้เกิดการทางานเป็นทีมใน กลมุ่ ครแู ละบุคคลากรทางการศึกษา เชน่ สาระการเรียนภาษาไทย ได้ช่วยตรวจสอบการใช้คา สาระการเรียนรู้การ งานอาชีพและเทคโนโลยี ได้ช่วยกระบวนการจัดทานวตกรรมหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับ สิ่งแวดลอ้ ม สาระการเรียนรู้ศิลปะ ช่วยในการออกแบบรปู เลม่ รปู ภาพชุดท่ี ๓๑ แสดงผลงานส่งผลใหเ้ กิดประโยชนต์ อ่ เพื่อนครู ๓.๓.๒.๓ ผลงำนสง่ ผลใหเ้ กิดประโยชนต์ อ่ ผบู้ รหิ ำรสถำนศึกษำ นวัตกรรมได้รับการเผยแพร่ต่อสาธารณชน และเป็นแนวทางหน่ึงในการบริหารจัดการ โรงเรียนของผู้บริหาร ซ่ึงสามารถนานวัตกรรม เป็นเครื่องมือหน่ึงในการนาไปสู่การพัฒนาด้านการบริหารจัดการ โรงเรียนที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพสูงขึ้นเป็นลาดับ ซึ่งผู้บริหารสามารถนาไปเป็นแนวทางในการบริหารแนว ใหม่ๆ เลือกและปรับปรุงการใชน้ วัตกรรมไดห้ ลากหลาย ตรงกับสภาพการณ์ เงื่อนไขข้อจากัดของการจัดการเรียน การสอนที่มีความแตกต่างระหวา่ งบุคคล เพอ่ื ให้โรงเรียนมีความก้าวหน้าพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง ครูผู้สอนทุกคนได้มี แนวทางในการใช้นวัตกรรมได้อย่างหลากหลายและเป็นแบบอย่างสาหรับเพ่ือนครู ในการจัดการศึกษาให้กับ นักเรียน ส่งผลให้นักเรียนได้รับรางวัลต่างๆ ซึ่งการจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้ นางศศมิ าภรณ์ ดีเลิศ ตาแหนง่ ครู โรงเรียนบ้านอาโพน โรงเรยี นบา้ นอาโพน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏิบัตงิ าน (Self report) เพอื่ รับรางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC Awards) หนา้ ที่ 40 ใช้นวตกรรมหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ืองชีวิตกับส่ิงแวดล้อม เป็นส่วนหนึ่งของการดาเนินการตามนโยบายและ ยุทธศาสตร์โรงเรียนในฝันที่เน้น การส่งเสริมให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง มีความมุ่งม่ันพยายามและคิด แก้ปัญหาด้วยตนเอง ดาเนินการประสบผลสาเร็จได้โดย ผู้บริหารสถานศึกษา นายชาลี กงแก้ว ผู้อานวยการ โรงเรียนบ้านอาโพน ท่ีส่งเสริม อานวยความสะดวก ให้การสนับสนุนงบประมาณ ในการจัดหา ซ่อมแซม ส่ือ ประกอบการเรียนการสอน อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ การเช่ือมต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ต รวมถึงการจัดฝึกอบรม บคุ ลากร ๓.๓.๓ ตัวชวี้ ดั ๓ ประโยชนต์ อ่ หน่วยงำน ๓.๓.๓.๑ ผลงำนสง่ ผลใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อสถำนศกึ ษำ นวตกรรมหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องชีวิตกับส่ิงแวดล้อม เป็นส่วนหน่ึงที่ทาให้ผลการ ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2558 ระดับโรงเรียนมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉล่ีย ระดบั ประเทศทาให้โรงเรียนผ่านการรับรองจากสานกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศึกษา รอบที่ ๓ และดิฉันไดม้ ีโอกาสนาเสนอผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) ผลงานวิทยาศาสตร์ก็ต่ืนเต้น ไดถ้ ้าใช้ E-book ระดบั ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่งผลให้โรงเรียนมีชื่อเสียงในระดับหน่ึง ผู้ปกครองและชุมชน ให้ การสนับสนุนและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน มีการจัดผ้าป่าสามัคคีสนับสนุนการศึกษา และ รว่ มพัฒนาโรงเรียนอยา่ งตอ่ เนื่อง รูปภาพชุดท่ี ๓๒ แสดงผลงานสง่ ผลให้เกดิ ประโยชนต์ อ่ สถานศึกษา นางศศิมาภรณ์ ดเี ลิศ ตาแหน่ง ครู โรงเรียนบา้ นอาโพน โรงเรียนบา้ นอาโพน สานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏิบตั ิงาน (Self report) เพอื่ รบั รางวัลทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC Awards) หนา้ ท่ี 41 ๓.๓.๓.๒ ผลงำนสง่ ผลใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อวงกำรวิชำชพี การใช้นวตกรรมหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประกอบการเรียน ช่วยแก้ปัญหาเม่ือครูไม่ว่างหรือติดภาระกิจอ่ืนๆ เพราะนักเรียนสามารถเรียนด้วยตนเองตาม ศักยภาพ และการจัดทาชุดการเรียนรู้โดยใช้นวตกรรมหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนสิ่งมีชีวิตกับ สิ่งแวดล้อม ประกอบการเรียน ก่อให้เกิดการทางานเป็นทีมในกลุ่มครูและบุคคลากรทางการศึกษา เช่น สาระการ เรยี นภาษาไทย ไดช้ ว่ ยตรวจสอบการใชค้ า สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ได้ช่วยกระบวนการจัดทา นวตกรรมหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อม สาระการเรียนรู้ศิลปะ ช่วยในการ ออกแบบรปู เลม่ รปู ภาพชุดที่ ๓๓ แสดงผลงานสง่ ผลให้เกิดประโยชน์ตอ่ วงการวิชาชพี ๓.๓.๓.๓ ผลงานสง่ ผลใหเ้ กิดประโยชน์ต่อชมุ ชน นวตกรรมหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อม เป็นนวตกรรม หน่ึงท่ีทาให้นักเรียน มีความตั้งใจ สนใจ ให้ความร่วมมือและกระตือรือร้นในกิจกรรมการเรียน ส่งผลให้ผู้ปกครอง และชุมชน ใหก้ ารสนบั สนุนและมีสว่ นร่วมในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน สง่ ผลใหช้ มุ ชนมีนักเรียนท่ีมีคุณภาพ ทจี่ ะรว่ มกนั พัฒนาชมุ ชนต่อไป รปู ภาพชุดที่ ๓๔ แสดงผลงานส่งผลใหเ้ กิดประโยชนต์ อ่ ชมุ ชน นางศศิมาภรณ์ ดเี ลิศ ตาแหน่ง ครู โรงเรยี นบา้ นอาโพน โรงเรยี นบ้านอาโพน สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน (Self report) เพื่อรบั รางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC Awards) หน้าท่ี 42 กำรประเมินตัวชว้ี ดั รว่ ม 3.๔ กำรประเมินตวั ชี้วดั รว่ ม องค์ประกอบท่ี 1 ผลทีเ่ กิดกับผูเ้ รยี น ๓.๔.๑ ตวั ชี้วัด 1 ผลท่เี กดิ กับผู้เรียน ด้ำนคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ๓.๔.๑.๑ นักเรียนผ่านการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ครบทง้ั 8 ขอ้ คิดเป็นร้อยละ 100 ตารางที่ ๑๑ แสดงนกั เรยี นผา่ นการประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ครบทั้ง 8 ขอ้ ปีการ จานวน สรปุ ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ ศกึ ษา นกั เรียน ระดบั 3 (ดีเย่ยี ม) ระดับ 2 (ด)ี ระดบั 1 (ผา่ น) ระดบั 0 (ไมผ่ ่าน) จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ 25๖๐ ๒๑ ๑๕ 71.43 ๖ 28.57 - - - - 25๖๑ ๒๒ ๑๕ 68.18 ๔ 18.18 ๓ 13.64 - - จากตารางท่ี ๑๑ พบว่า ปีการศึกษา 25๖๐ และ 25๖๑ เด็กนักเรียนผ่านการประเมินคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ทัง้ 8 ข้อ ทกุ คน คิดเปน็ ร้อยละ 100 ๓.๔.๑.๒ นักเรียนประพฤติปฏิบัติตนตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ท่ีเป็นจุดเน้นของ สถานศกึ ษา ไดค้ รบทุกข้อ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 ตารางที่ ๑๒ แสดงนกั เรียนประพฤตปิ ฏิบัติตนตามคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ทีเ่ ปน็ จุดเน้นของสถานศึกษา การประเมิน ปกี ารศกึ ษา จานวนเดก็ ระดบั คุณภาพ ผา่ นรอ้ ยละ ดีมาก ดี พอใช้ 25๖๐ ดีเย่ยี ม ปรบั ปรุง 25๖๑ ๒๑ ๑๕ ๖ - - - 100.00 ๒๒ ๑๕ ๔ ๓ - - 100.00 จากตารางท่ี ๑๒ พบว่า ปกี ารศึกษา 25๖๐ และ 2๕๖๑ เด็กประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตนตามคุณลักษณะ อนั พึงประสงค์ ทเ่ี ป็นจุดเนน้ ของสถานศึกษา ครบทุกขอ้ คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 นางศศมิ าภรณ์ ดีเลิศ ตาแหน่ง ครู โรงเรียนบา้ นอาโพน โรงเรียนบ้านอาโพน สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏิบัตงิ าน (Self report) เพือ่ รับรางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC Awards) หน้าท่ี 43 ๓.๔.๑.๓ นักเรยี นได้รับรางวลั /การยกย่องเชิดชเู กยี รติ/ประกาศชมเชย จากหน่วยงาน/องค์กร ระดบั เขต/จงั หวัด ตารางท่ี ๑๓ แสดงนกั เรียนไดร้ ับรางวลั /การยกย่องเชดิ ชูเกยี รติ/ประกาศชมเชย จากหนว่ ยงานระดบั เขต/จงั หวดั นกั เรยี น รางวัล หนว่ ยงาน เดก็ ชายณรงค์ศกั ดิ์ โอดสวย รางวลั เหรยี ญทอง ชนะเลศิ การสร้างสรรคผ์ ลงาน สพป.สรุ นิ ทร์ เขต 3 เด็กชายสุระชัย เกิดเพม่ิ ดี คณิตศาสตร์โดยใชโ้ ปรแกรม GSP ระดบั ชัน้ ม.1-3 ปี การศกึ ษา ๒๕๕๙ เด็กหญิงยุวดา อนิ ทรส์ งา่ รางวลั เหรียญทองแดง กจิ กรรมแขง่ ขนั อจั ฉริยภาพทาง สพป.สุรนิ ทร์ เขต 3 เด็กหญิงพรวลัย ปดั ภัย วทิ ยาศาสตร์ ระดับช้ัน ป.4-6 ปีการศึกษา ๒๕๖๐ เด็กชายอนวุ ัฒน์ แกว้ ดี เด็กหญงิ ณัฐธิดา รักย่ิง รางวัลเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับ 1 กิจกรรมแข่งขัน สพป.สุรินทร์ เขต 3 เด็กหญิงจุฑารัตน์ พลู สวัสดิ์ สร้างสรรคผ์ ลงานคณติ ศาสตร์โดยใช้โปรแกรม GSP ระดบั ชั้น ป.4-6 ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ เด็กหญงิ โขมพัตร สุดใจ รางวัลเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับ 1 การแขง่ ขนั สพป.สรุ ินทร์ เขต 3 เด็กชายอนวุ ัฒ แกว้ ดี อจั ฉรยิ ภาพทางวิทยาศาสตร์ ระดบั ช้นั ป.4-6 ปี เดก็ หญงิ ชตุ ิมา ครุฑสุวรรณ การศึกษา ๒๕๖๑ เด็กหญงิ จฑุ ารตั น์ พลู สวัสด์ิ รางวัลเหรยี ญทอง รองชนะเลิศอนั ดับ ๒ การสรา้ งสรรค์ สพป.สุรนิ ทร์ เขต 3 เดก็ หญิงณฐั ธดิ า รกั ย่ิง ผลงานคณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรม GSP ระดบั ชั้น ม.1-3 ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ เด็กหญิงโขมพัตร สดุ ใจ รางวัลเหรียญทอง ชนะเลศิ การแข่งขนั อจั ฉริยภาพทาง สพป.สุรนิ ทร์ เขต 3 เด็กชายอนุพงษ์ คงเงิน วิทยาศาสตร์ ระดับชัน้ ป.4-6 ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ เด็กหญงิ นนั ธภรณ์ วลิ ยั เดก็ หญิงจุฑารัตน์ พลู สวสั ดิ์ รางวลั เหรยี ญทอง ชนะเลศิ การสร้างสรรค์ผลงาน สพป.สรุ นิ ทร์ เขต 3 เด็กหญงิ ณฐั ธิดา รกั ย่งิ คณติ ศาสตรโ์ ดยใช้โปรแกรม GSP ระดับชั้น ม.1-3 ปี การศึกษา ๒๕๖๒ เด็กชายภัสกร อาภา รางวัลเหรียญทอง ชนะเลิศ การแขง่ ขันเครอ่ื งรอ่ นแบบ สพป.สุรนิ ทร์ เขต 3 เด็กชายธนดล สืบมี เดนิ ตาม ระดับชั้น ป. ๑-๓ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ นางศศิมาภรณ์ ดเี ลศิ ตาแหนง่ ครู โรงเรียนบา้ นอาโพน โรงเรยี นบ้านอาโพน สานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏิบตั ิงาน (Self report) เพือ่ รบั รางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC Awards) หน้าที่ 44 ๓.๔.๑.๔ นักเรียนได้รับรางวัล/การยกย่องเชิดชูเกียรติ/ประกาศชมเชย จากหน่วยงาน/องค์กร ระดับชาต/ิ นานาชาติ ตารางที่ ๑๔ แสดงนักเรยี นไดร้ ับรางวัล/การยกย่องเชดิ ชเู กียรต/ิ ประกาศชมเชยจากหนว่ ยงานระดับชาติ นักเรียน รางวัล หนว่ ยงาน สพฐ. เดก็ ชายณรงค์ศักด์ิ โอดสวย รางวลั เขา้ ร่วมการสร้างสรรค์ผลงานคณิตศาสตร์โดยใช้ เดก็ ชายสุระชยั เกดิ เพม่ิ ดี โปรแกรม GSP ระดับช้นั ม.1-3 ปีการศึกษา ๒๕๕๙ สพฐ. เด็กหญิงโขมพัตร สดุ ใจ รางวัลเขา้ รว่ มการแขง่ ขนั อจั ฉริยภาพทางวทิ ยาศาสตร์ เด็กชายอนุพงษ์ คงเงิน ระดับชน้ั ป.4-6 ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ เดก็ หญิงนันธภรณ์ วิลัย เด็กหญงิ จฑุ ารตั น์ พูลสวัสด์ิ รางวลั เหรียญทองแดง การสร้างสรรค์ผลงานคณิตศาสตรโ์ ดย สพฐ. เด็กหญิงณัฐธดิ า รักยิง่ เด็กชายภสั กร อาภา ใช้โปรแกรม GSP ระดบั ชัน้ ม.1-3 ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ เด็กชายธนดล สืบมี รางวัลเหรยี ญทอง การแขง่ ขันเคร่อื งร่อนแบบเดนิ ตาม สพฐ. ระดบั ชั้น ป. ๑-๓ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ รูปภาพชุดที่ ๓๕ แสดงนกั เรยี นไดร้ ับรางวัลจากหน่วยงานระดบั ชาติ นางศศิมาภรณ์ ดเี ลศิ ตาแหน่ง ครู โรงเรยี นบ้านอาโพน โรงเรียนบา้ นอาโพน สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3

รายงานผลการปฏิบัติงาน (Self report) เพื่อรับรางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC Awards) หน้าท่ี 45 ๓.๔.๒ ตัวชว้ี ดั ๒ ผลทเี่ กิดกบั ผู้เรียน ด้ำนผลงำน/ชน้ิ งำน/ภำระงำน/ผลกำรปฏิบตั งิ ำน ๓.๔.๒.๑ นกั เรียนทกุ คนมผี ลงาน/ช้ินงาน/ภาระงาน/ผลการปฏิบตั งิ าน ครบถ้วนตามท่คี รกู าหนด ตารางที่ ๑๕ แสดงผลงาน/ชนิ้ งาน/ภาระงาน/ผลการปฏบิ ัติงานของนักเรียน ที่ ลกั ษณะ/ประเภทผลงาน จานวนชน้ิ /ครงั้ จานวนคน หนว่ ยหนว่ ยการเรยี นร้ทู /ี่ เร่อื ง 1 ชดุ ฝกึ ปฏบิ ตั ิการทางวทิ ยาศาสตร์ 10/1 44 ที่ 1-6 วชิ าวิทยศาสตร์ ป.6 2 อาหารหลัก 5 หมู่ 5/1 22 ท่ี 1 ร่างกายและการเจรญิ เติบโต 3 การแยกขยะ 5/1 44 ที่ 3 เร่ืองชีวิตสมั พันธ์ 4 หนงั สือเล่มเลก็ 5/1 22 ที่ 3 เรื่องชวี ติ สัมพนั ธ์ รวมผลงาน 25 ชิ้น ท้ังน้ีพบวา่ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ นักเรยี นทกุ คนมีชิน้ งานครบถ้วนตามที่ครูไดก้ าหนด ทงั้ ทเ่ี ป็นผลงานเดี่ยว และผลงานกลมุ่ รูปภาพชุดท่ี ๓๖ แสดงผลการปฏิบตั ิงาน ครบถว้ นตามที่ครกู าหนด ๓.๔.๒.๒ ผลงาน/ชิ้นงาน/ภาระงาน/ผลการปฏิบัติงานของนักเรียนมีคุณภาพตามเกณฑ์ที่ กาหนดในระดับดขี นึ้ ไป คดิ เปน็ รอ้ ยละ 80 การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านของนกั เรยี นจะใชว้ ธิ กี ารประเมนิ ตามสภาพจริง และประเมิน ทุกช่วง ทกุ ระยะในการทากจิ กรรม โดยได้ข้อมูลการประเมนิ ทัง้ จากครผู สู้ อนและระหวา่ งเพ่ือนๆในชั้นเรียน ท้ังด้าน ทักษะการทางานกลุ่ม ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คุณภาพของช้ินงานและด้านต่างๆที่เก่ียวข้องในและ กิจกรรม ซง่ึ พบวา่ ผลการปฏิบัติงานตามเกณฑค์ ุณภาพที่กาหนดคิดเปน็ รอ้ ยละ 100 นางศศิมาภรณ์ ดเี ลิศ ตาแหน่ง ครู โรงเรยี นบ้านอาโพน โรงเรียนบ้านอาโพน สานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต 3


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook