Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานประจำปี 63 ต.ค. สสว3

รายงานประจำปี 63 ต.ค. สสว3

Published by สสว.2 ชลบุรี, 2020-09-21 07:07:02

Description: รายงานประจำปี 63 ต.ค. สสว3

Search

Read the Text Version

สว นที่ 2 สรุปผลการดำเนนิ งานทส่ี ำคญั ป 2562 15. โครงการวจิ ยั เร่อื ง “การพัฒนาศกั ยภาพผูส งู อายุในภาวะพฤฒพลงั ใหเกดิ การยงั ประโยชนด านสงั คม” วัตถปุ ระสงค ๑. เพอ่ื ศึกษาแนวทางการพฒั นาศักยภาพผสู ูงอายุในภาวะพฤฒพลัง ใหเ กดิ การยังประโยชนดา นสังคม ๒. เพอ่ื เสรมิ สรา งสุขภาวะท้ังดานรางกาย จติ ใจ และสังคมใหแก ผูสงู อายุ ๓. เพ่ือสงเสริมใหผูสูงอายุมีหลกั ประกนั รายไดท่ีม่นั คงและยั่งยืน วธิ ีการศึกษา การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods) ระหวางการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยใชแบบสอบถามในการเก็บรวบรวมขอมูลจำนวน ๒,๕๒๐ ตัวอยาง และการ วิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการจัดสนทนากลุม (Focus Group) ในพื้นที่รับผิดชอบของ สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๑ – ๑๒ และการสัมภาษณผูทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญดาน ผูสงู อายุ ๒ ทาน ผลการศกึ ษา สขุ ภาวะของผสู ูงอายุ ดานรางกาย ดานจติ ใจ และดาน สังคม พบวา สุขภาวะดานรางกายอยูในระดับปานกลาง ดา นจิตใจ และดา นสังคมอยูในระดบั มาก ศักยภาพผูสงู อายุในภาวะพฤตพลงั พบวา องคความรู ภูมิปญญาที่ผูสูงอายุสามารถถายทอดสูชุมชน ๕ อันดับแรก ไดแก ดานการเกษตร ดานศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ดาน ศาสนา จริยธรรม ดานอุตสาหกรรม หัตถกรรม และดาน การศึกษา ตามลำดับ โดยสวนใหญมีความพรอมที่จะถายทอด องคความรู ภมู ิปญญาสชู ุมชน ?การเปรียบเทียบความแตกตางระหวางสุขภาวะของผูสูงอายุดานรางกาย ดานจิตใจ และดานสังคม กับการเห็นความสำคัญในการถายทอดองคความรูหรือภูมิปญญาทองถิ่น พบวา ผูสูงอายุที่มีสุขภาวะดาน รางกาย อยูในระดับมากที่สุด มาก ปานกลาง และนอย มีแนวทางในการสงเสริมใหผูสูงอายุมีศักยภาพ มากกวา ผสู งู อายุที่มี สขุ ภาวะดานรา งกายอยุในระดับนอยทส่ี ุด ผสู ูงอายทุ ่ีมีสขุ ภาวะดานรางกายอยูในระดับมาก ทส่ี ุด มาก และปานกลาง มีแนวทางในการสง เสริมใหผูสูงอายุ มีศักยภาพมากกวาผูสูงอายุที่มีสุขภาวะดานรางกายอยูใน ระดับนอย ผูสูงอายุที่มีสุขภาวะดานรางกายอยูในระดับมาก ที่สุด และมาก มีแนวทางในการสงเสริมใหผูสูงอายุมีศักยภาพ มากกวาผูสูงอายุที่มีสุขภาวะดานรางกายอยูในระดับปาน กลาง ผูสูงอายุที่มีสุขภาวะดานรางกายอยูในระดับมากที่สุด มีแนวทาง ในการสงเสริมใหผุสูงอายุมีศักยภาพมากกวา ผสู งู อายทุ ี่มีสุขภาวะดา นรา งกายในระดบั มาก ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 45 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓ หน้า 45

สว นที่ 2 สรปุ ผลการดำเนินงานทีส่ ำคัญ ป 2562 ผูสูงอายุที่มีสุขภาวะดานจิตใจอยูในระดับมากที่สุด เห็นความสำคัญในการถายทอดองคความรูหรือภูมิ ปญ ญาทอ งถิ่นมากกวา ผูสงู อายุที่มสี ุขภาวะดานจติ ใจอยูในระดับมาก ปานกลาง นอ ย และนอ ยทีส่ ุด ผูสูงอายุท่ี มีสขุ ภาวะดานจิตใจอยใู นระดบั มาก เหน็ ความสำคญั ในการถายทอดองคความรูหรือภมู ปิ ญ ญาทองถิ่นมากกวา ผูสูงอายุที่มีสุขภาวะดานจิตใจอยูในระดับปานกลาง นอย และนอยที่สุด ผูสูงอายุที่มีสุขภาวะดานจิตใจอยูใน ระดบั ปานกลาง เห็นความสำคญั ในการถา ยทอดองคค วามรหู รือภูมิปญญาทองถิ่นมากกวาผสู ูงอายุท่ีมีสุขภาวะ ดานจิตใจอยใู นระดบั นอย และนอ ยท่สี ดุ ผูสูงอายุที่มีสุขภาวะดานสังคมอยูในระดับมากที่สุด เห็น ความสำคัญในการถายทอดองคความรูหรือภูมิปญญาทองถิ่นมากกวา ผูสูงอายุที่มีสุขภาวะดานสังคมอยูในระดับมาก ปานกลาง และนอย ผูสูงอายุที่มีสุขภาวะดานสังคมอยูในระดับมาก เห็นความสำคัญใน การถายทอดองคความรูห รือภูมปญญาทองถิ่นมากกวาผูสูงอายทุ ี่มี สุขภาวะดานสังคมอยูในระดับปานกลาง และนอย ผูสูงอายุที่มีสขุ ภาวะดานสังคมอยูในระดับปานกลาง เห็นความสำคัญ ในการ ถายทอดองคความรูหรือภูมิปญญาทองถิ่นมากกวาผูสูงอายุที่มีสุข ภาวะดา นสังคมในระดับนอย จากการสัมภาษณเจาะลึกผูทรงคุณวุฒิ ๒ ทาน คือ นายแพทยวิชัย โชควิวัฒน ประธานสภา สูงอายุ แหงประเทศไทย และศาสตราจารย ศศิพัฒน ยอดเพชร นักวิชาการดานผูสูงอายุ พบวา ความคิดของ ทรงคุณวุฒิท้ังสองทา นคลายกัน กลาวคอื ลักษณะของผูสูงอายุในภาวะพฤฒิพลัง คือการชวยเหลือตัวเองได ไมเปนภาระของผูอื่น สามารถเปนที่พึ่งใหกับผูอื่นได การมีสุขภาวะที่ดีท้ัง ทางดานรางกาย ดานจิตใจ ดานปญญา ดานสังคม ดานจิตวิญญาณการมี สวนรวมในสังคม การมีการโอกาสเรียนรู การมีสัมพันธภาพที่ดี การมี ความสามารถในการทำประโยชนตอ สังคมได และการมหี ลักประกนั ทม่ี ั่นคง ปจจัยที่สงผลใหเกิดการพัฒนาศักยภาพผูสูงอายุในภาวะพฤฒ พลัง คือการมีแรงบันดาลใจ การมีสภาพแวดลอมโดยรอบที่เอื้ออำนวย การ มีระบบการยอมรับผลงาน การใหรางวัล การเสริมแรงและการเสริมสราง ขวญั และกำลังใจ แนวทางการพัฒนาศักยภาพผูสูงอายุในภาวะพฤฒพลัง คือ ครอบครัวตองเสรมิ สรางบรรยากาศของการอยูอ าศัยในเชิงสมั พันธภาพที่ดีระหวางกัน โดยผูสูงอายุตองเขา ใจ เดก็ รนุ ใหม ชมุ ชนจะตองมที ศั นคติท่ี ดีตอผูสูงอายุ ตอ งมองวาผูส ูงอายถุ ึงจะแกแตก ็ยังมีคณุ คา แนวทางการสงเสริมสุขภาวะดานรางกาย ตองสงเสริมให ผูสูงอายุออกกำลังกาย ดานจิตใจ ตองสงเสริมใหผูสูงอายุรวมกันทำ กจิ กรรมทเ่ี ปนประโยชนตอสังคม สงเสริมใหด แู ลตวั เองได และสงเสริม ใหเรียนรูเทคโนโลยีขาวสารบางเพื่อที่จะสามารถอยูในยุคที่มีการใช เทคโนโลยไี ดอยางมีความสุข ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 46 หน้า 46 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓

สว นท่ี 2 สรปุ ผลการดำเนินงานท่ีสำคญั ป 2562 แนวทางในการเตรียมความพรอมเพื่อความมั่นคงในวัยสูงอายุ ตองเตรียมตัวตั้งแตยังหนุมยังสาว ใชชีวิตอยางระมัดระวัง ไมทำรายสุขภาพของตนเอง ตองมองโลกในแงดี มีเมตตา เอื้อเฟอเผื่อแผ ตองสราง ความมั่นคงในเรื่องทรัพยสินเงินทอง มีวินัยในการใชจาย และการออม ตองเสริมทักษะทางสังคม ทางดาน เทคโนโลยี ตอ งมีการวางแผนเตรยี มตวั ทจี่ ะชว ยตัวเองไดย าวทส่ี ดุ เทาทจี่ ะทำได แนวทางในการพัฒนาสวัสดิการสังคมในภาพรวมเพื่อใหผูสูงอายุมีภาวะพฤฒพลัง ตองยึดหลัก สิทธิมนุษยชนของผูสูงอายุ ความเปนอิสระ การมีสวนรวม และศักดิ์ศรีความเปนมนุษย เปลี่ยนจากการ สงเคราะหไปเปนการพัฒนาภายใตมุมมองที่วาทุกคนมีสิทธิที่จะไดรับโอกาสอยางเทาเทียมกัน การจัด สวัสดิการสงั คมตองยดึ ตัวผสู ูงอายุเปนหลัก ตอ งมีการเรียนรู ลองผดิ ลองถูก และตอ งมกี ารประเมินผล ปรับไป ตามท่ีกลุมเปา หมายตองการ ขอ เสนอแนะ ๑. ขอ เสนอแนะเชิงนโยบาย ๑) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยควรมี แนวทางสงเสริมใหศูนยพัฒนาคุณภาพชีวิตและสงเสริมอาชีพผูสูงอายุ (ศพอส.) เปนศูนยรวมของคนสูงวัยที่ยังคงมีพลังมารวมกัน โดยผานการ บรหิ ารจดั การรวมของชมุ ชน และหนวยงานในพ้นื ท่ี ๒) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยควรมี นโยบายใหห นว ยงานในสงั กดั กระทรวง รว มกบั อาสาสมัครพัฒนาสังคมและ ความม่ันคงของมนุษย (อพม.) ทำงานประสานเชื่องโยงกบั ผสู ูงอายุท่ียังมีพลังในการทำงาน เพอ่ื สรางเครือขาย อาสาสมคั รผูส งู อายุในการทำงานเพ่ือสงั คมใหมีเพ่ิมข้นึ ๓) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยควรมีนโยบายการดำเนินงานของศูนย พฒั นาคณุ ภาพชีวิตและสงเสริมอาชีพผูสูงอายุ (ศพอส.) ใหเปนรปู ธรรม เพ่ือสนบั สนนุ กลไกการขับเคล่ือนงาน ในพื้นท่ี ในการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ของคนเพอื่ รองรบั สังคมสูงวัยในแตละชุมชน ๒. ขอเสนอแนะระดบั ปฏิบัติการ ๑) หนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ควรดำเนินงาน เชิงบูรณาการ รวมกันสรางสรรคกิจกรรม/โครงการ เพื่อใหผูสูงอายุที่มี ประสบการณ ความชำนาญ มีโอกาสไดใชความรูความสามารถและพลังเพื่อการ เปลย่ี นแปลงชุมชน และสงั คม ๒) เนื่องจากเจาหนาที่ของ พม. ที่ดำเนินงานดานผูสูงอายุระดับ ปฏิบัติในพื้นที่มีภาระงานมาก อัตราดานกำลังพล อาจจะนอยเกินไป จึงตองทำงานผานการพึ่งพา อบต. พึ่งพาทองถิ่น จึงอาสาสมัครตาง ๆ ในชุมชน หรอื เปน องคก รอนื่ ๆ จงึ ควรมีการจัดสรรอตั รากำลัง ของเจาหนาทใ่ี หส อดคลองกับภารกิจงาน ๓) ผลการวิจัยพบวาผูสูงอายุชวง ๖๐ - ๖๕ ป เปน กลุมทอ่ี งคค วามรู ภูมิปญ ญา และมคี วามพรอมท่ีจะเผยแพรองค ความรู ภูมิปญญา องคกรปกครองสวนทองถิ่นควรใหความสำคัญในการสงเสริมให ผสู ูงอายกุ ลมุ น้ไี ดใ ช พฤฒพลังใหเ ตม็ ศกั ยภาพ ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 47 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓ หน้า 47

สว นที่ 2 สรุปผลการดำเนินงานที่สำคัญ ป 2562 ๓. ขอ เสนอแนะสำหรับการศึกษาครง้ั ตอ ไป เพือ่ ใหม ีองคความรูเกี่ยวกับผูส งู อายุมากขน้ึ คณะผูวิจัยมขี อเสนอแนะใหทำการศึกษาวิจัยเพิ่มเติม ใน ๓ ประเดน็ คอื ๑) ศึกษาวจิ ยั เรอ่ื ง “รปู แบบวสิ าหกจิ เพอ่ื สงั คมสำหรบั ผูสงู อายุไทย” ๒) ศึกษาวิจัยเรื่อง “รูปแบบการจัดการรวมของชุมชนในการดูแลผูสูงอายุที่เปนผูสูงอายุที่ปวยติด เตยี ง” ๓) ศึกษาวจิ ัยเร่อื ง “การถา ยทอดองคค วามรูของสงั คมสูงวัยเพ่ือการเปลย่ี นแปลงชมุ ชน” ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 48 หน้า 48 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓

สว นที่ 2 สรปุ ผลการดำเนนิ งานทส่ี ำคัญ ป 2562 16. โครงการวจิ ยั เร่อื ง “กลยุทธส งเสรมิ การทำงานของผูสูงอายุไทย” วตั ถปุ ระสงค ๑. เพื่อศึกษาสถานการณการทำงานและลักษณะการทำงานของผูใหญ และผูสูงอายุไทยในปจ จุบนั ๒. เพอ่ื ศึกษาทัศนคติและความตอ งการการสนบั สนนุ ดา นการทำงานของ ผใู หญและผสู งู อายุไทย ๓. เพื่อกำหนดกลยทุ ธใ นการสงเสริมการทำงานของผใู หญแ ละผูส งู อายุไทย วธิ กี ารศกึ ษา วธิ กี ารวจิ ยั ใชแ บบผสานวิธโี ดยประกอบดวย การวจิ ยั เชิงเอกสาร การวิจยั เชิงปรมิ าณ และการวิจยั เชิง คุณภาพที่ใชทั้งวิธีการสนทนากลุม และการสัมภาษณเชิงลึก กลุมเปาหมายสำหรับการวิจัยเชิงปริมาณคือ แรงงานนอกระบบ/ผูวางงานที่มีอายุระหวาง ๕๕ – ๖๕ ป ในพื้นที่สสว.ทั้ง ๑๒ เขตทั่วประเทศ จำนวน ๒๔ จังหวัด ๒๔อำเภอ และ ๒๔ ตำบล จำนวน ๓,๖๐๐ คน สวนการสนทนากลุมประกอบดวย ตัวแทนจากอปท. หนวยงานที่เกี่ยวของในพื้นที่ และชมรม/สมาคมผูสูงอายุในแตละเขต จำนวนกลุมละ ๑๕ – ๒๐ คน การ สมั ภาษณเ ชิงลกึ กลุม เปาหมายคอื ผเู ช่ียวชาญ/นักวิชาการทเี่ กย่ี วของกับงานดานแรงงานและผูสงู อายุ จำนวน ๕ คน ผลการศกึ ษา ลักษณะการทำงานของแรงงานนอกระบบของกลุมวยั ผูใหญและวัยผูสูงอายุ ๑) แรงงานนอกระบบ ไมมีเกณฑของอายุเปนตัวกำหนด สามารถยุติการทำงานไดดวยตนเอง ปจจุบันพบวามีแรงงานนอกระบบท่ี เปนผูสูงอายุเพิ่มสูงขึ้นจากโครงสรางของประชากรที่เปลี่ยนแปลงไป ทำ ใหผ เู ขาสวู ัยสูงอายตุ ามเกณฑ ๖๐ ป ยังคงสามารถทำงานไดอยางตอเนื่อง ๒) เหตุผลในการทำงานมีหลายประการ เชน ความพรอมในดาน ของสุขภาพ ความตองการใชเ วลาวางใหเปน ประโยชน การมีสว นรวมและ ไดรับการยอมรับทางสงั คม รวมถึงความจำเปนในเชงิ เศรษฐกิจ ลักษณะของแรงงานนอกระบบอายุระหวาง ๕๕ – ๖๕ ป ๑) ลักษณะสวนบุคคลของกลุมตัวอยาง สวนใหญเปนเพศชาย จบการศึกษาในระดับ ประถมศกึ ษาหรือต่ำกวา ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเปน สว นใหญ รองลงมาคือคา ขาย บริการหรืองานรับจาง ทัว่ ไป ๒) จากพน้ื ฐานดา นการศึกษาและอาชีพแสดงใหเ ห็นวา ผูสูงอายุทำงานโดยใชประสบการณมากกวา ทักษะความรู ลักษณะการทำงานยังตองพ่ึงพาธรรมชาติท่ีมีความไมแนนอนและใชกำลังแรงงานพอสมควร ผูสูงอายุจึงอาจทำไดไมเต็มที่และมีความเปนไปไดวาแรงงานสูงอายุนอกระบบจะมีรายไดไมเพียงพอตอ คาใชจา ย ไมไ ดร บั ความคุมครองหรอื หลักประกันทางรายไดท่มี น่ั คง 3) ภาครัฐรวมถึงหนว ยงานที่เกี่ยวของควรสงเสริมการทำงานของแรงงานสูงอายุเพื่อใหมีความมั่นคง ดานรายไดแ ละมคี วามสามารถในการพ่งึ พาตนเอง ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 49 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓ หน้า 49

สว นที่ 2 สรปุ ผลการดำเนนิ งานทีส่ ำคัญ ป 2562 เหตุผลสำคัญในการทำงานของกลุมวยั ผูใหญแ ละวยั ผูสูงอายุ เหตผุ ลสำคญั เปน ประเด็นดานเศรษฐกิจมากท่ีสุด ไมว าจะเปน การมรี ายไดไ มเพยี งพอตอคา ใชจ า ย มี ภาระตองดูแลบคุ คลในครอบครวั หรือตองการรายไดเพ่ือเล้ียงดตู นเอง อาจเนื่องดวยผลพวงทางเศรษฐกิจที่ทำให คาครองชีพสูงขึน้ หลายครอบครัวจงึ มีรายไดไมเพยี งพอตอคาใชจาย ซ่ึงเปน แรงผลักดันในการทำงานของผูส ูงอายุ เพ่ือสรางรายไดเ พมิ่ ใหกบั ครอบครวั ตามแนวคิดเกี่ยวกบั ลกั ษณะของแรงจงู ใจในดานปจ จัยพนื้ ฐานในการ ดำรงชีวิตเพอื่ การอยูรอด ขณะท่ผี สู ูงอายุบางสวนท่ีมีความพรอ มจะมีแรงจูงใจในการทำงานตามปจจัยดานสังคมท่ี ตองการเปน ท่ียอมรับ สามารถดำรงชวี ิตอยูไ ดอยางมีศักดิ์ศรี ความแตกตางของเหตุผลในการทำงานระหวางผใู หญแ ละผูสงู อายุ เหตผุ ลของการทำงานเปนอีกปจ จัยหนง่ึ ท่ีทำใหทราบถึงความตองการ/ความจำเปนในการทำงานของ กลุมเปาหมาย โดยในการวิจัยครั้งนี้มีการศึกษาในเชิงเปรียบเทียบระหวางวัยผูใหญ (55 – 59 ป) และ ผูสูงอายุ (60 – 65 ป) ซึ่งเปนชวงอายุที่มกี ารเชื่อมตอกัน แตใชเกณฑอายุ 60 ปในการจำแนกกลุมวยั ผูใหญ ท่ยี งั นับไดว าจัดอยูในวัยแรงงาน และวยั สูงอายุ สองกลุม ดังกลาวน้ีมี เหตผุ ลสำคัญในการทำงานท่ีแตกตา งกัน ดังน้ี 1) วัยผใู หญ มกี ารทำงานดว ยเหตุผลทางเศรษฐกจิ เปน หลัก ในฐานะวยั แรงงานทต่ี อ งรบั ผดิ ชอบภาระคาใชจ าย และหน้สี ิน ตา งๆ ในครอบครัว กลุมนยี้ ังคงมีการทำงานเพื่อหารายไดแ ละเก็บ ออมเงินเพื่อสรา งความมั่นคงใหก ับครอบครวั สวนใหญยงั มี สมรรถนะและความพรอมทางดา นสขุ ภาพ สามารถทำงานทใ่ี ช ทักษะและแรงงานได 2) ผูสูงอายุ สวนใหญไมไดเปนกำลังหลักในการสรางรายไดใหกับครอบครัว เหตุผลในการทำงานจึง ข้นึ อยูก ับความตองการและความพงึ พอใจ เชน ความตอ งการใชท ักษะความรูใหเ ปน ประโยชน การใชเวลาวางในทาง สรางสรรค และความตองการพึ่งพาตนเอง เปนตน ลักษณะการทำงานของกลุมนี้จึงเปนงานที่ไมเนนการใช สมรรถนะหรือกำลังแรงงาน แตเนนการใชทักษะความรู/ภูมิปญญา/ประสบการณตามพื้นฐานที่มี และงาน ประเภทที่สอดคลองตามบริบทของชุมชนทอ งถนิ่ เชน การเปนปราชญ ชาวบาน วิทยากร งานดานเกษตรกรรม งานศิลปหัตถกรรม งานจักสาน การแปรรูปผลิตภัณฑจากผลผลิตในทองถิ่น เปนตน งานประเภทที่มีความยืดหยุนดานเวลา และสถานที่ เชน งานที่ทำ บางชวงเวลา (Part-time) หรืองานที่รับมาทำทีบ่ าน แตบางคนยังคง ทำงานเพื่อหารายไดเสริมใหกับครอบครัวที่มีรายไดไมเพียงพอตอ คาใชจา ย หรอื ตอ งหารายไดเ พอ่ื พง่ึ พาตนเอง การจำแนกกลุม ตวั อยางตามสถานะการทำงานในปจ จุบนั และความตองการทำงานในอนาคต 1) กลุมที่ทำงานอยูในปจจุบัน และมีความตองการทำงานตอไป กลุมนี้เปนกลุมที่ยังคงทำงานเพื่อ สรางรายไดใหกับครอบครัว และสวนใหญม ีความพรอ มดา นสุขภาพ หรือเปนการทำงานเพื่อสรา งคุณคาใหกบั ตนเอง 2) กลมุ ที่ทำงานอยูใ นปจ จุบนั แตต อ ไปไมต องการทำงาน กลมุ นเี้ ปน กลมุ ทมี่ ปี ญหาดานสุขภาพ ทำให ไมมีความพรอมตอการทำงานที่ตอเนื่อง และมีบุตรหลานทำหนาที่ในการทำงานเพื่อหารายได จึงตองการให ผสู ูงอายุพกั ผอ นมากกวา ทำงาน ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 50 หนา้ 50 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓

สวนที่ 2 สรุปผลการดำเนนิ งานท่ีสำคัญ ป 2562 3) กลุมท่ไี มไดทำงาน แตมีความตอ งการทีจ่ ะทำงาน กลมุ นเี้ ปนกลุม ทีไ่ มมีประสบการณ/ ทักษะความรู หรอื ไมมคี วามพรอมดานสุขภาพเทา ที่ควร แตม ีความจำเปนในการทำงานเพ่ือหารายไดเล้ียงดตู นเองในกรณีที่ไม มีผดู ูแล หรือเปนครอบครวั ขา มรนุ ทีผ่ สู งู อายุตอ งเลีย้ งดูหลานจึงจำเปนตองทำงานเพื่อใหมรี ายได ปจจยั ท่เี กี่ยวขอ งกับทัศนคติตอการทำงานของวัยผใู หญและวัยผูส ูงอายุ 1) ชว งอายุ กลมุ วัยผูใ หญมีระดับคะแนนของทศั นคตติ อ การทำงานนอยกวาผูส งู อายุ อาจเน่ืองมาจากวา วัยผูใหญมีการ ทำงานดวยเหตผุ ลทางดานเศรษฐกจิ เปนหลกั สว นผสู ูงอายุทำงาน บนพื้นฐานความพรอ มและความตอ งการในการทำงาน จึงมีทัศนคติ ตอ การทำงานในเชงิ บวกมากกวา 2) สถานะการทำงานในปจจุบัน ผูที่ยังคงทำงานอยูใน ปจจุบันดวยความพรอมยอมมีระดับคะแนนของทัศนคติ หรือ ทัศนคตใิ นเชงิ บวกตอ การทำงานมากกวา ผูท ี่ไมไ ดทำงาน 3) ประสบการณในการทำงาน ผูที่มีประสบการณในการ ทำงานเมื่อ 5 ปที่แลว จะมีระดับคะแนนของทัศนคติสูงกวาผูที่ไมมีประสบการณ เนื่องจากประสบการณท่ีมี สามารถใชเ ปนพนื้ ฐานในการตอยอดการทำงานได ความตองการการสนบั สนนุ การทำงาน 1) การสงเสรมิ สขุ ภาพเพื่อสรางความพรอ มในการทำงาน 2) การสรางหลักประกันและความมั่นคงดานรายได เพอื่ ใหเกิดแรงจงู ใจในการทำงานและมีรายไดท ต่ี อเน่ือง 3) การปรับปรุงสภาพแวดลอมในการทำงานที่ เหมาะสมเพ่อื เอื้อตอสขุ ภาพและการทำงานของกลุมเปาหมาย 4) ทุนสำหรับการประกอบอาชีพ/การรวมกลุม ประกอบอาชีพ 5) การจัดหาตลาดรองรบั ผลผลติ การดำเนินงานของหนว ยงานทเี่ กย่ี วของ 1) การจัดตั้งคณะอนุกรรมการบริหารจัดการแรงงานนอกระบบจากตัวแทนหนวยงาน 9 กระทรวง เพือ่ ดำเนินการสงเสริมคุมครองแรงงานนอกระบบ 2) การขับเคลอ่ื นงานดานผสู ูงอายโุ ดยหนวยงานระดับจงั หวัดในลกั ษณะของการบูรณาการ 3) การดำเนินงานของสำนักงานพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษยจ ังหวดั (พมจ.) ในการสง เสริม การรวมกลมุ อาชีพของผสู ูงอายใุ นพื้นท่บี างจังหวัด การกำหนดแนวทางการดำเนินงานแสดงใหเห็นถึงการสงเสริมการ ทำงานของแรงงานนอกระบบท่ีรวมถึงผูใหญและผสู ูงอายุตงั้ แตระดับประเทศ ลง มาถึงระดับจังหวัด จนกระทั่งถึงระดับพื้นที่ ซึ่งเปนการขับเคลื่อนงานอยาง ตอเนอื่ งและเปนระบบ เออ้ื ตอการทำงานของแรงงานนอกระบบท่ีเปนผูใหญและ ผูสูงอายุ ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 51 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓ หน้า 51

สวนท่ี 2 สรุปผลการดำเนนิ งานที่สำคัญ ป 2562 ปจจยั ทีเ่ ก่ยี วของกับการสงเสรมิ การทำงาน 1) ปจจยั หนนุ เสรมิ 1.1) คุณสมบัติและความพรอมของผูใหญและผูสูงอายุ ทั้งในเรื่องของทักษะ/ความเชี่ยวชาญ/ ประสบการณ รวมทั้งความพรอมในการเรียนรูแ ละสามารถทำงานไดห ลากหลาย 1.2) การสนับสนุนโดยภาครัฐ ที่มีนโยบายสงเสริมการทำงานของผูสูงอายุ การจัดต้ัง คณะอนกุ รรมการฯ เพอื่ สง เสริมการทำงานของแรงงานสงู อายุ และการลดหยอ นภาษีใหกบั หนว ยงานทมี่ ีการจางงาน ผสู ูงอายุ การบูรณาการความรวมมือระหวางหนวยงานท่ีเก่ียวของเพื่อขับเคลือ่ นงานในพื้นท่ี และการสนับสนุน โดยภาคธุรกิจ 2) ปจจัยทเ่ี ปน ปญ หาอุปสรรค 1.1) ลักษณะสวนบุคคลของกลุมตัวอยาง ที่มี ปญหาดานสุขภาพ บางสวนไมมที ักษะความรูแ ละประสบการณใน การทำงาน มีปญ หาดานการออม 1.2) ลักษณะของสินคาที่ผลิตไมตรงกับความ ตอ งการของตลาด 1.3) การขาดฐานขอมูลดานการทำงานของ ผสู ูงอายุ 1.4) ผสู งู อายุเขาไมถ ึงขอมลู ดา นทนุ ทีส่ นบั สนุนการทำงาน 1.5) การดำเนินงานของหนวยงานทเ่ี กย่ี วของไมทวั่ ถึงและครอบคลุมทกุ พ้ืนที่ การบูรณาการ ของหนว ยงานท่ีเก่ียวของขาดความเปน เอกภาพ และระบบการออมของกองทุนการออมแหงชาติ (กอช.) ที่ เชอื่ มโยงกบั ชมุ ชนยังไมมีการดำเนินงานอยางจรงิ จงั จากปจจัยตางๆ ที่เกี่ยวของ ทั้งปจจัยหนุนเสริม และปญหาอุปสรรคตางๆ มีความเกี่ยวของ ท้ังกับกลุมตัวอยา งทเ่ี ปน ผใู หญและผูส งู อายุ ชมุ ชนทองถน่ิ ภาครัฐและภาคเอกชน ดังน้ันการดำเนนิ งานจึงตอง มีการสอดประสานและเช่อื มโยงกนั อยา งเปนระบบ เพอื่ ใหก ารสนับสนุนการทำงานเกดิ ผลในทางปฏิบตั ิ กลยุทธการสงเสริมการทำงานของผูใ หญแ ละผสู ูงอายุ และหนวยงานท่รี บั ผดิ ชอบ กลยทุ ธท่ี 1 จดั ทำฐานขอมลู ของผูส ูงอายุและกลไกในระดับพนื้ ท่ี กลยุทธท ่ี 2 สรา งคา นยิ มในการสง เสรมิ การทำงานของผสู งู อายุ กลยุทธที่ 3 สงเสริมการบูรณาการดานการทำงานของ ผูส งู อายแุ ละกลไกในระดบั พ้ืนท่ี กลยุทธที่ 4 สงเสริม พัฒนาอาชีพใหครบวงจร เพื่อการ ขบั เคลอื่ นการดำเนนิ งานดา นผูสูงอายุ กลยุทธที่ 5 พัฒนาระบบความคุมครองในการทำงานของ ผสู ูงอายุ ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 52 หน้า 52 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓

สวนท่ี 2 สรปุ ผลการดำเนินงานท่สี ำคญั ป 2562 ขอ เสนอแนะเพ่ือพัฒนาการทำงาน 1. ควรมีการเตรียมความพรอมเพื่อสรางหลักประกันและความ มั่นคงดา นการเงินโดยเร่ิมตนต้ังแตวัยแรงงาน เชน การบริหารจัดการดาน การเงิน การเตรียมความพรอมในดานสุขภาพ และการพัฒนาทักษะ ความรู เพื่อสงเสรมิ การทำงานใหเปนไปอยางตอเนื่อง 2. การสง เสริมใหผทู ี่ทำงานในระบบมีการทำอาชีพเสริมเพื่อเพิ่ม รายไดควบคูกันไป เพื่อใหมีทักษะและประสบการณที่ทำใหสามารถ ทำงานไดอ ยา งตอเน่ือง แมวาจะเกษยี ณอายจุ ากการทำงานในระบบแลวก็ตาม 3. ควรมีการนำกลยุทธที่กำหนดไปทดลองปฏิบัติในพื้นที่ๆ คอนขางจะมีความพรอม เพื่อทดสอบ ประสิทธิภาพของกลยุทธที่กำหนด และมีการปรับปรุงแกไข/ประยุกตใชกลยุทธตามความเหมาะสมของ กลุม เปาหมายและบริบทของพ้ืนท่ี รวมทัง้ มีการขยายผลไปยงั พ้ืนท่ีอ่ืนๆ ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 53 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓ หนา้ 53

สวนท่ี 2 สรุปผลการดำเนนิ งานท่สี ำคัญ ป 2562 17.ประชมุ เชิงปฏิบัติการจัดทำคำของบประมาณรายจา ยประจำป 2563 ภายใตโ ครงการบูรณาการขบั เคล่อื นแผนดา นสังคมระดับพนื้ ท่ี วันท่ี 3 – 4 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ณ หอ งประชมุ นพเกา สสว.3 การประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำคำของบประมาณรายจายประจำป 2563 โดยมี นางสาวมนิดา ลิ่มนิจสรกุล ผูอำนวยการสำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๓ เปนประธานในพิธีเปด และบรรยายพิเศษเรื่อง แนวทางการจดั ทำคำของบประมาณภาคตะวันออกป 2563 ผูเ ขารว ม 60 คน หัวหนากลุมนโยบายและยุทธศาสตร สสว.2 บรรยายเรื่องสถานการณ ภาคตะวันออก 4 จังหวัด ฉะเชิงเทรา นครนายก ปราจีนบุรี สระแกว และหัวหนากลุมนโยบายและ ยทุ ธศาสตร สสว.3 บรรยายเร่อื งสถานการณภ าคตะวันออก 4 จังหวดั ชลบุรี ระยอง จนั ทบุรี ตราด การประชุมกลุมยอยจัดทำแผน 2 กลุม กลุมที่ 1 โครงการศูนยบริการทางสังคม แหงชาติภาคตะวันออก ประกอบดวย หนวยงาน One Home จังหวัดชลบุรี กลุมที่ 2 โครงการตาม สถานการณทางสังคมที่สอดรับกับแผนภาคตะวันออก ประกอบดวยหนวยงาน One Home ภาคตะวันออก ไดขอสรุปชื่อโครงการ ตะวันออกเมืองนาอยูเพื่อความสุขของคนทุกวัย การดำเนินงานแบงเปน 3 กิจกรรม หลัก 10 กิจกรรมยอย งบประมาณ 95,996,600 บาท โดยที่ประชุมมอบหมายให สสว.3 เปนผูเขียน คำของบประมาณ และดำเนนิ การสงกองยุทธศาสตรและแผนงานตอไป ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 54 หนา้ 54 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓

สว นที่ 2 สรุปผลการดำเนินงานทส่ี ำคัญ ป 2562 18. ประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลือ่ นการนิเทศตดิ ตาม ป 2562 วันท่ี 7 - 8 มนี าคม พ.ศ.2562 ณ หองประชุมนพเกา สสว.3 สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๓ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อน การนิเทศติดตาม ป 2562 ภายใตโครงการขับเคลื่อนการบูรณาการโครงการดานสังคมในระดับพื้นท่ี กลุมเปาหมาย ผูนิเทศงานสังคมสงเคราะหและผูป ฏิบัติงานสังคมสงเคราะห 4 จังหวัดภาคตะวนั ออก จำนวน 50 คน มีกจิ กรรม ดังนี้ - การเสวนาเรื่อง “การนิเทศนักสังคมสงเคราะห ใครไดอะไร” โดยมีวิทยากร 3 คน จากภาคเอกชน ทองถิ่น และหนวยงานของรัฐ ไดแก นางสุดใจ นาคเพยี ร ผูอำนวยการมูลนธิ ิพักพงิ คุมภัยจังหวัดชลบุรีนางปทมา ชาญเชี่ยว ผูอำนวยการกองสวัสดิการสังคม เทศบาลเมืองหนองปรือจังหวัด ชลบรุ ี และ นายอธปิ กลุ อำนวยชัย หวั หนาฝา ยสังคมสงเคราะห ศูนยค มุ ครองคนไรทพ่ี ง่ึ จงั หวัดชลบุรี - การแบงกลุม Work Shop รายจังหวัด จำลองการนิเทศงานสังคมสงเคราะห รายบุคคล ผูนิเทศงานสังคมสงเคราะหตามคำสั่งเปนวิทยากรกลุม ผูนิเทศแนะนำตัว ความสามารถเฉพาะ ทำความรจู กั กับผปู ฏิบัติงานสังคมสงเคราะหใ นจังหวดั ของตน ทบทวนคณะกรรมการนิเทศงานจงั หวดั และใช แบบประเมินตนเอง เพอ่ื หาความรู ทักษะ ความสามารถทตี่ อ งการพัฒนา ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 55 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓ หนา้ 55

สว นที่ 2 สรปุ ผลการดำเนนิ งานท่ีสำคัญ ป 2562 19. โครงการเวทวี ชิ าการการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ยภาคกลาง ประจำป 2562 \"ยกระดับ CSR สูพลงั จิตสาธารณะ ลดความเหลือ่ มลำ้ อยางยั่งยืน\" วนั ท่ี 29 - 30 พ.ค. 62 ณ โรงแรมซบี รซี จอมเทียน รสี อรท จังหวดั ชลบุรี สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 2 3 4 และ 8 รวมจัดโครงการเวที วิชาการภาคกลาง ประจำป 2562 “ยกระดับ CSR สูพลังจิตสาธารณะ ลดความเหลื่อมล้ำอยางยั่งยืน” เพื่อใหมีเว ทีแล กเปล ี่ยน CSR (Corporate Social Responsibility)/SE (Social Enterprise) โ ดยมี กลุมเปาหมายคือ บุคลากรหนวยงาน พม.ภาคกลาง และเครือขายภาครัฐ ภาคธุรกิจ ภาคประชาสังคม ภาคเอกชน และภาควิชาการ จำนวน 120 คน ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก กิจกรรมที่สำคัญของ โครงการ ดงั น้ี - การจัดบูธนิทรรศการ จำนวนทั้งสิ้น 7 บูธ แบงเปนภาคเอกชน/ภาคประชาสังคม จำนวน 5 บูธ และภาครัฐ จำนวน 2 บูธ ดังนี้ บูธที่ 1 มูลนิธินวัตกรรมทางสังคม บูธที่ 2 กลุมบริษัทดาว ประเทศไทย (เครือ SCG) บูธที่ 3 กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ บูธที่ 4 วิสาหกิจชุมชน SHE (Social Health Enterprise บูธที่ 5 บริษัทผลิตโรงไฟฟาราชบุรี จำกัด บูธที่ 6 สสว. 2 “พม.Poll” บูธที่ 7 สสว. 8 “ผลงานวิจัยและวิชาการของสำนกั งานสงเสริมและสนบั สนนุ วิชาการ ๑ - ๑๒” - กิจกรรม Work shop เปนลักษณะ World cafe มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู จำนวน 5 ฐาน ฐานที่ 1 มูลนิธินวัตกรรมทางสังคม (CSR Matching : จางงานคนพิการ) ฐานที่ 2 กลุมบริษัท ดาว ประเทศไทย (โครงการ EF Happy and Sale สรางภูมิคุมกันใหเยาวชนพัฒนาสูชีวิตที่สำเร็จ) ฐานที่ 3 กรม พัฒนาสังคมและสวัสดิการ (Productive Welfare) ฐานที่ 4 วิสาหกิจชุมชน SHE (เปลี่ยนการใหทางวัตถุ เปนการใหเพื่อคนและสังคม : สงเสริมคุณภาพชีวิตสตรีทำงาน) ฐานที่ 5 บริษัทผลิตโรงไฟฟาราชบุรี จำกัด การพฒั นาคุณภาพชวี ิตประชาชนในชุมชนรอบโรงไฟฟา - การจัดสนทนากลุม เรื่อง “แนวทางการบูรณาการความรวมมือการประกอบ ธุรกิจเพื่อสงั คม” - การอภิปรายเรื่อง “ยกระดับ CSR สูพลังจิตสาธารณะลดความเหลื่อมล้ำอยาง ยั่งยืน” จากผูทรงคุณวุฒิ ประกอบดวย นพ.พูลชัย จิตอนันตวิทยา ประธานฝายการแพทย วิสาหกิจสขุ ภาพ ชุมชน นายเขมชาติ สถิตยตันติเวช ผูอำนวยการฝายองคกรสัมพันธ บริษัทผลิตไฟฟาราชบุรี จำกัด นาย เอกลักษณ กุลทนันท ผูแทนอธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ และรองศาสตราจารยทองทิพภา วิริยะ พนั ธุ ประธานคณะทำงานขับเคลอื่ นการสง เสริมความรบั ผดิ ชอบตอ สงั คมของภาคธรุ กิจ พม. ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 56 หน้า 56 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓

สวนท่ี 2 สรปุ ผลการดำเนินงานทสี่ ำคัญ ป 2562 ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 57 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓ หน้า 57

สว นท่ี 2 สรปุ ผลการดำเนนิ งานทีส่ ำคัญ ป 2562 20.การตรวจราชการ รอบที่ 2 เขตตรวจราชการท่ี 8 และ 9 ผูตรวจราชการกระทรวง พม. (นางพัชรี อาระยะกลุ ) สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๓ เขารวมการตรวจราชการ รอบที่ 2 ตามบทบาทภารกิจ การเปนผูชวยผูตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย (นางพัชรี อาระยะกุล) ในเขตตรวจราชการท่ี 8 จังหวดั ระยองและจังหวัดชลบุรี ระหวางวันที่ 13 – 17 พฤษภาคม 2562 และเขต ตรวจราชการที่ 9 จังหวัดจันทบุรีและจังหวัดตราด ระหวางวันที่ 27 – 31 พฤษภาคม 2562 เพื่อรับฟง ปญหาอุปสรรคของการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจราชการ ใหขอเสนอแนะในการปฏิบัตงิ าน และตรวจ เยย่ี มพ้ืนทตี่ ำบลตนแบบ Social Smart City ไดแ ก 1. จังหวดั ชลบรุ ี คือ อบต. พลูตาหลวง อ. สัตหีบ จ. ชลบรุ ี 2. จงั หวดั ระยอง คอื อบต. สำนักทอ น อ. บานฉาง จ. ระยอง 3. จังหวดั จนั ทบรุ ี คอื ทต. คายเนนิ วง อ. บางกะจะ จ. จันทบุรี 4. จงั หวัดตราด คอื อบต. ประณตี อ. เขาสมงิ จ. ตราด ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 58 หน้า 58 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓

สว นที่ 2 สรุปผลการดำเนินงานทส่ี ำคญั ป 2562 21. ประชุมเชิงปฏบิ ัติการสรปุ ประเด็นการตรวจราชการ รอบ 2.5 (ภาคตะวนั ออก) วนั ที่ 25 - 26 ก.ค. 62 ณ โรงแรม เค.พี.แกรนด จ.จนั ทบุรี สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๓ ไดดำเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ สรุปประเด็นการตรวจราชการ รอบ 2.5 (ภาคตะวันออก) เพื่อประเมินผลการขับเคลื่อนงานในพื้นที่ตาม ประเด็นการตรวจราชการ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2562 และแลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณ การดำเนนิ งาน ขอ จำกัด ปญ หาอุปสรรคของการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจราชการ โดยมกี ลมุ เปา หมาย คือ บุคลากรหนวยงาน พม. ภาคตะวันออก 4 จังหวัด จำนวน 50 คน มีกิจกรรมการแบงกลุมระดมความ คิดเห็น ตามประเด็นการตรวจราชการและแนวทางจัดทำแผนงานโครงการภายใตแผนพัฒนาจังหวัด / กลุม จังหวัด/ภาค ไดแก การปองกันและแกไขปญหาการคามนุษย การบูรณาการพัฒนาคนทุกชวงวัย การพัฒนา ที่อยูอาศัย และ ตำบลตนแบบบูรณาการ (Social Smart City) พรอมทั้ง การนำเสนอปจจัยความสำเร็จ ปญหาอุปสรรค แนวทางแกไขปญหา ขอเสนอแนะ และการนำเสนอ Best Practice และ Model ตาม ประเดน็ การตรวจราชการ ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 59 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓ หน้า 59

สวนที่ 2 สรุปผลการดำเนนิ งานท่ีสำคัญ ป 2562 22.การตรวจราชการ รอบที่ 3 ผูอำนวยการสำนักงานสงเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 3 พรอมดวยหัวหนากลุม/ฝาย เขารวมประชุม โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสรุปผลการขับเคลื่อนงามตามแผนการตรวจราชการ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2562 พรอมรับฟงการแถลงนโยบายรัฐมนตรีวาการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของ มนุษย “เขาใจ เขาถึง พัฒนา” ยุทธศาสตรและโครงการสำคัญของกระทรวง พม. “8 Flagship Projects” ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563 และทิศทางองคกรและการขับเคลื่อนงานตามนโยบายรัฐมนตรี วาการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ระหวางวันที่ 17 – 18 กันยายน 2562 ณ โรงแรมปรน๊ิ พาเลซ มหานาค กรุงเทพมหานคร ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 60 หน้า 60 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓

สว นท่ี 2 สรปุ ผลการดำเนนิ งานที่สำคญั ป 2562 23. การประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารการใชเ ทคโนโลยภี มู สิ ารสนเทศเพ่ือการพัฒนาสงั คม วนั ท่ี 1 - 2 ส.ค. 62 ณ ศูนยก ารเรยี นรแู ละฝก อบรมดา นผูส ูงอายุ จ.ชลบรุ ี สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๓ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการการใช เทคโนโลยภี ูมสิ ารสนเทศเพื่อการพัฒนาสังคม เพ่ือเพื่อสรางความรูความเขา ใจการใชเ ทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ เพ่ือการพฒั นาสังคมและสามารถนำขอมูลของหนว ยงานไปประยุกตใชเ พื่อการพฒั นางาน โดยมีกลุมเปาหมาย คือ บุคลากรหนวยงาน One Home 4 จังหวัดภาคตะวันออก จำนวน 20 คน โดยวิทยากร คือ อาจารยวุฒิ ชัย แกวแหวน รองคณบดีฝา ยบริการ คณะภูมิศาสตรส ารสนเทศศาสตร มหาวิทยาลัยบรู พา มกี ิจกรรม ดงั น้ี - การบรรยาย เรื่อง ระบบสารสนเทศภูมิศาสตรขั้นแนะนำ เรื่อง การใชขอมูล เพือ่ สารสนเทศดา นสงั คม และ เรอื่ ง การใชข อ มลู เพ่ือสารสนเทศเพือ่ การวางแผนชุมชน - การฝกปฏิบัติ การจัดกลุมขอมูล หมวดหมู ประเภท เรื่อง การวิเคราะหขอมูล เพอื่ สารสนเทศ ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 61 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓ หนา้ 61

สวนท่ี 2 สรปุ ผลการดำเนนิ งานท่ีสำคัญ ป 2562 24. ประชุมเชงิ ปฏบิ ตั ิการโครงการขับเคลอ่ื นการบรู ณาการ โครงการดานสังคมในระดบั พนื้ ท่ีภาคตะวันออก วันที่ 22 - 23 ส.ค. 62 ณ โรงแรมเดอะทวิน ทาวเวอร กรงุ เทพมหานคร การประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการขับเคลื่อนการบูรณาการโครงการดานสังคมใน ระดบั พืน้ ที่ภาคตะวนั ออกโดยมี ผูอ ำนวยการสำนักงานสงเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 2 และ 3 เปนประธาน ในพิธีเปดและกลาวตอนรบั ผูเขา รวมประชุม ไดแก บุคลากรหนว ยงาน พม. ภาคตะวันออก 8 จังหวัด จำนวน 50 คน มีกิจกรรม ดังนี้ - การบรรยาย เร่อื ง การขบั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตรช าตมิ าสูนโยบาย พม. โดยนางสาวอไุ ร เล็กนอย ผูอำนวยการกองยุทธศาสตรและแผนงาน สป.พม. และบรรยาย เรื่อง การแปลงยุทธศาสตรและ นโยบาย ไปสูการจัดทำแผนพัฒนาภาคตะวันออก โดย ดร.ชิตพล ชัยมะดัน อาจารยวทิ ยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลยั บูรพา - การประชุมกลุมยอยจัดทำแผน 2 กลุม ไดแก กลุมที่ 1 (กลุมภาคตะวันออก 1 ชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา) เสนอโครงการนวัตกรรมสานพลังสรางสุขแหงครอบครัว (Smart Family) รวม งบประมาณ 40,000,000 บาท กลุมที่ 2 (กลุมภาคตะวันออก 2 ปราจีนบุรี นครนายก สระแกว จันทบุรี ตราด) เสนอโครงการสงเสริมภูมิปญญาผูสูงวัยพัฒนากาวไกลสูงวัยอยางมีคุณภาพ (SMART 3 P) รวม งบประมาณ รวมงบประมาณ 44,900,000 บาท ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 62 หนา้ 62 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓

สว นท่ี 2 สรุปผลการดำเนนิ งานทส่ี ำคัญ ป 2562 รายงานผลการเบิกจาย วันท่ี 30 กนั ยายน 2562 ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 63 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓ หนา้ 63

นางรงุ ทิวา สดุ แดน คณะผจู ดั ทำ ที่ปรึกษา นายไพบลู ย นาคเจอื ท่ปี รึกษา นางสาวเนตรนภา วงคพ พิ ันธ ผอู ำนวยการสำนักงานสงเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 3 ที่ปรึกษา นายณัฐวฒุ ิ สินธาราศิรกิ ลุ ชัย นกั พัฒนาสังคมชำนาญการพิเศษ ทีป่ รึกษา นางสาวมลฤดี มสี ขุ นกั การจัดการงานทั่วไปปฏบิ ัติการ คณะทำงาน นายสุรพงษ ตุนแสน นกั พฒั นาสังคมชำนาญการ คณะทำงาน พนักงานบริการ นักพฒั นาสังคม ส ำ นั กหงนา้า 6น4ส ง เ ส ริ ม แร ลา ะย สง านั นบ ปส นรุ ะนจวํิ าช ปาี ก๒า ร๕ ๖3๒ รสาํ าย นงั ากนง ปา นร ะส่จง ำเ ปส ริ2ม5แ 6ล 2ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช าหกนาา 6ร 4๓


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook