Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงงานIS

โครงงานIS

Published by 22648, 2020-10-26 08:17:31

Description: 22

Search

Read the Text Version

โครงงานวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาชีววิทยา เรอื่ ง การตอบสนองของไสเ้ ดอื นดนิ ที่มผี ลตอ่ สภาพของดินทแ่ี ตกตา่ งกนั จดั ทาโดย 513-05 1.นางสาวณฐั สมิ า สทุ ธพิ ร 513-29 2.นางสาวกลุ ธิดา ผลพฤกษา 513-32 3.นางสาวเกษศิรินทร์ วิลาทอง 513-34 4.นางสาวธญั ญารตั น์ อินอนโุ ชติ ผสู้ อน ครจู มุ พล คารอต กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ สาขาชวี วิทยา โรงเรียนศรียานสุ รณ์ จงั หวดั จนั ทบรุ ี โครงงานเป็ นสว่ นหน่ึงในการศึกษาเน้ือหาเพ่ิมเติม ชีววิทยา 2 ภาคเรยี นท่ี 1 ปี การศึกษา 2556

สารบญั หนา้ เรื่อง ก ข บทคดั ยอ่ 1 กิตติกรรมประกาศ 2 บทที่ 1 บทนา 3 บทท่ี 2 บทเอกสารท่ีเก่ียวขอ้ ง 4 บทที่ 3 อุปกรณ์และวธิ ีดาเนินงาน 5 บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล/ผลการจดั ทาโครงงาน 6 บทท่ี 5 สรุปผลและอภิปรายผลการดาเนินการจดั ทาโครงงาน บรรณานุกรม

บทคดั ย่อ โครงงานวทิ ยาศาสตร์เร่ือง การตอบสนองของไส้เดือนดินตอ่ สภาพของดินแตล่ ะชนิดที่มีความแตกต่างกนั การทดลองน้ีมีจุดมุ่งหมายเพ่ือ สังเกตการตอบสนองของไส้เดือนดินโดยสังเกตจากการดารงชีวติ ของ ไส้เดือนดินที่มีผลต่อลกั ษณะของดินแตล่ ะชนิดที่นามาทาการทดลองและสังเกตผลการทดลอง ซ่ึงผลการ ทดลองน้นั มีผลดงั น้ี คือ ไส้เดือนดินสามารถท่ีจะอาศยั อยใู่ นดินที่เป็ นลกั ษณะของดินร่วนไดด้ ี

กติ ติกรรมประกาศ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ เร่ือง การตอบสนองของไส้เดือนดินที่มีผลต่อสภาพของดินท่ีแตกตา่ งกนั จดั ทาข้ึน เพื่อศึกษาเกี่ยวกบั การทดลองการตอบสนองของไส้เดือนกบั ดินในชนิดตา่ งๆ โดยไดร้ ับการสนบั สนุนจาก คุณครู จุมพล คารอต ครูประจาวชิ าชีววทิ ยาที่ไดใ้ หค้ าปรึกษาในการจดั ทาโครงงานและไดร้ ับการ สนบั สนุนจากผอู้ านวยการโรงเรียนศรียานุสรณ์ที่ใหส้ ถานที่ในการทาการทดลองและไดร้ ับความอนุเคราะห์ จากพอ่ แม่ผปู้ กครองท่ีไดใ้ ห้ขอ้ เสนอแนะ แนะนาเอกสารตาราตา่ งๆใหศ้ ึกษาคน้ ควา้ ซ่ึงคณะผจู้ ดั ทาหวงั เป็นอยา่ งยงิ่ วา่ การศึกษาคน้ ควา้ การทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์เรื่อง การตอบสนองของไส้เดือนดินที่มีผลต่อ สภาพของดินที่แตกต่างกนั ในคร้ังน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อผทู้ ี่สนใจและสามารถนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้ คณะผจู้ ดั ทา ขอขอบพระคุณทุกท่านดงั ท่ีไดก้ ล่าวถึงมาขา้ งหนา้ และที่ไมไ่ ดก้ ล่าวถึงไว้ ณ ท่ีน้ีเป็นอยา่ งสูง คณะผจู้ ดั ทา

บทที่ 1 บทนา ทมี่ าและความสาคญั ของโครงงาน ไส้เดือนดินเป็ นสัตวท์ ี่มีความสาคญั อยา่ งมากต่อระบบนิเวศและการเคล่ือนท่ีของไส้เดือนเป็นการพรวนดิน ทาใหด้ ินมีช่องวา่ งท่ีจะเพ่มิ คาร์บอนไดออกไซดใ์ หแ้ ก่ดิน สามารถพบไส้เดือนดินไดต้ ามพ้นื ดิน กลุ่มของ พวกเราจึงปรึกษาพูดคุยเก่ียวกบั ประเภทท่ีไส้เดือนดินส่วนใหญ่อยู่ จึงจดั ทาโครงงานเล่มน้ีข้ึนมา วตั ถุประสงค์ -เพื่อศึกษาดินท่ีไส้เดือนดินอาศยั อยเู่ ป็นส่วนใหญ่ ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รับ -คาดวา่ จะไดท้ ราบถึงดินที่ไส้เดือนดินส่วนใหญอ่ าศยั -คาดวา่ จะไดท้ ราบถึงสาเหตุที่ไส้เดือนดินเลือกอาศยั อยู่ ในดินลกั ษณะต่างๆ ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า -ศึกษาหาดินท่ีไส้เดือนดินอาศยั อยเู่ ป็นส่วนใหญ่ สมมติฐานของการศึกษา คาดวา่ ไส้เดือนดินส่วนใหญ่จะชอบดินร่วนท่ีมีความช้ืนพอเหมาะ ตัวแปร ตวั แปรตน้ -ไส้เดือนดิน ตวั แปรตาม -ดินท้งั 3 ชนิด (ดินร่วน,ดินเหนียว,ดินทราย) ตวั แปรควบคุม -ปริมาณดิน ,จานวนไส้เดือนดิน ,ขนาดกระถาง

บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วข้อง ช่ือทอ้ งถิ่น : ไส้เดือนดิน ช่ือสามญั : Nightcrawler ช่ือวทิ ยาศาสตร์ : Lumbricus terrestris ชื่อวงศ์ : Lumbricus terrestris ตระกลู : Opisthopora อาณาจกั รสัตว์ : Animalia ไฟลมั : Annelida ช้นั : Oligochaeta ช้นั ยอ่ ย : Haplotaxida อนั ดบั : Megadrilacea อนั ดบั ยอ่ ย : Lumbricina+Moniligastrida

บทท่ี 3 อปุ กรณ์และวธิ ีการทดลอง 1. วสั ดุ 1.1 ไส้เดือนดิน 6 ตวั 1.2 ดินเหนียว 1.3 ดินร่วน 1.4 ดินทราย 2. อุปกรณ์ 2.1 กระถาง 3 ใบ 2.2 ส้อมพรวน 1 อนั 2.3 ชอ้ นพรวน 1 อนั ข้นั ตอนและวธิ ีการดาเนินงาน -ข้นั ตอนและวธิ ีการเตรียมวสั ดุ 1.เตรียมไส้เดือนดิน 2. นาดินท้งั 3 ชนิด มาจดั ใส่กระถางใหเ้ รียบร้อย (ชนิด 1 กระถาง) -ข้นั ตอนการทดลอง 1. นาไส้เดือนดินมาใส่ในกระถางท้งั 3 กระถาง ซ่ึงกระถางหน่ึงมีไส้เดือนดิน 2 ตวั และในแตล่ ะ กระถางจะมีสภาพของดินท่ีแตกต่างกนั 2. เฝ้าสังเกตการณ์ตอบสนองของไส้เดือนดินต่อดินท่ีมีสภาพแตกตา่ งกนั 3. นากระถางท้งั 3 กระถางมาเปรียบเทียบกนั แลว้ บนั ทึกผลที่เกิดข้ึน

บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล/ผลการจัดทาโครงงาน ผลการทดลอง ชนิดของดิน สังเกตการทดลอง ผลการทดลอง ดินเหนียว ช่วงเวลา 1-3 นาที ช่วงเวลาต้งั แต่ 5 นาที ดินร่วน เม่ือนาไส้เดือนใส่ลงไป ไส้เดือนน้นั สามารถนา ไส้เดือนดินไมส่ ามารถอาศยั ดินทราย ในภาชนะที่เตรียมดินไว้ ตวั เองลงไปในดินได้ อยใู่ นดินที่เป็ นลกั ษณะของ ไส้เดือนมีการ เลก็ นอ้ ยก็ดนั ดินข้ึนมาและ ดินเหนียวได้ ตอบสนองโดยการไชลง อยบู่ ริเวณดา้ นบนของดิน ไปในดินแตค่ ่อยขา้ งจะ เม่ือเวลาผา่ นไปไมน่ าน ใชเ้ วลานานเน่ืองจากดิน ไส้เดือนกต็ าย มีความเหนียวแน่นมาก เมื่อนาไส้เดือนใส่ลงไป ไส้เดือนไม่ข้ึนมาจากดิน ไส้เดือนดินสามารถที่จะอาศยั ในภาชนะที่เตรียมดินไว้ และสงั เกตเห็นไอน้าท่ีเกาะ อยใู่ นดินท่ีเป็ นลกั ษณะของ ไส้เดือนมีการ อยบู่ ริเวณภาชนะ ดินร่วนไดด้ ี ตอบสนองโดยการไชลง ไปในดิน ไส้เดือน สามารถไชลงไปในดิน ได้ เมื่อนาไส้เดือนใส่ลงไป ไส้เดือนไม่ข้ึนมาข้ึนมาจาก ไส้เดือนอาจจะอาศยั อยใู่ นดิน ในภาชนะที่เตรียมดินไว้ ดินแต่สงั เกตเห็นไอน้าท่ี ทรายไดแ้ ตไ่ มส่ ามารถอยไู่ ด้ ไส้เดือนมีการ เกาะบริเวณภาชนะของดิน ตลอด ตอบสนองโดยการไชลง ทรายแทบท่ีจะไม่มีเลยและ ไปในดิน ไส้เดือน ผวิ หนงั ของไส้เดือนแหง้ ลง สามารถไชลงไปในดิน ได้

บทที่ 5 สรุปผลและอภปิ รายผลการดาเนินการจดั ทาโครงงาน -ประโยชน์ท่ีไดร้ ับจากการทดลอง 1.สามารถเตรียมดินในการเล้ียงไส้เดือนดินเพือ่ ทาประโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2.สามารถรู้ถึงสภาพของดินท่ีมีความอุดมสมบูรณ์จากการอาศยั ของไส้เดือนดิน 3.จากการชอนไชของไส้เดือนดินทาใหด้ ินมีความร่วนซุย -ขอ้ เสนอแนะ 1.เราอาจนาดินชนิดใดก็ไดม้ าทดลอง 2.เราอาจใชไ้ ส้เดือนดินเป็นดรรชนีในการวดั สารเคมีภายในดินจากการเกษตร

บรรณานกุ รม http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%AA%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B 8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99 http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view2.aspx?id=9401 หนงั สอื เรียนชวี วิทยา เลม่ 1 ขอ้ วจิ ารณ์จากครูเตย้ 1. บทคดั ยอ่ ยงั ขาดส่วนข้นั ตอนการดาเนินการ รวมถึง ดา้ นบนของหนา้ บทคดั ยอ่ ใหใ้ ส่ชื่อโครงงาน และ รายละเอียด ดงั ตวั อยา่ ง 2. บทท่ี 1 ท่ีมาและความสาคญั ยงั เขียนไมถ่ ูกตอ้ งและมีขอ้ มูลนอ้ ยเกินไป การเขียนที่มาและความสาคญั เป็น การเขียนใหผ้ อู้ า่ นรู้สึกวา่ โครงงานน้ีมีความสาคญั และมีคุณค่า เทคนิคในการเขียนคือการเขียนจากส่วนใหญ่ มาหาส่วนยอ่ ย ดงั

ตวั อยา่ ง 3.เปล่ียนคาวา่ ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ ับเป็นประโยชน์ที่ไดร้ ับ 4.เปลี่ยนตวั แปรตน้ 5. บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ที่เก่ียวขอ้ ง ใหเ้ กริ่นนาหวั ขอ้ ตา่ งๆที่ผอู้ า่ นจะไดอ้ ่าน โดยเรียงหวั ขอ้ ตามลาดบั ดงั ตวั อยา่ ง

6.บทที่ 2 เมื่อมีภาพใหใ้ ส่ช่ือภาพ พร้อมหมายเลขกากบั ภาพ เช่น ภาพที่ 1 ของบทที่ 2 จะเรียกวา่ ภาพที่ 2.1.. โดยช่ือภาพใหใ้ ส่ดา้ นล่างของภาพ 7.บทท่ี 2 ขอ้ มูลสาหรับการทาโครงงานเพยี งเท่าน้ีเพยี งพอแลว้ หรือ ไม่จาเป็ นตอ้ งมีขอ้ มูลท่ีเก่ียวกบั ถิ่นท่ีอยู่ , สรีรวทิ ยาของไส้เดือน ฯลฯ งานของเราจะน่าเชื่อถือไดอ้ ยา่ งไร 8.บทที่ 3 เพม่ิ ภาพ และ ใส่ช่ือภาพ ในส่วนของข้นั ตอนการดาเนินการ 9. บทที่ 4 ใหเ้ กร่ินนาวา่ เป็ นการแสดงผลการทดลองอะไร และเมื่อแสดงผลดว้ ยตาราง ใหร้ ะบุช่ือตารางโดย ใหใ้ ส่ช่ือดา้ นบนของตาราง พร้อมระบุหมายเลขตาราง เช่น ตารางท่ี 1 ของบทที่ 4 จะเรียกวา่ ตารางที่ 4.1 ... (ตารางแสดงผลอะไร)........ดงั ตวั อยา่ ง 10. .บทที่ 5 ใหเ้ กริ่นนาวา่ การจดั ทาโครงงานมีวตั ถุประสงค์ และ กระบวนการดาเนินการอยา่ งไร มาก่อน เมื่อสรุปไม่ตอ้ งเขียนเป็นขอ้ ๆ ใหส้ รุปเป็นความเรียง ตดั หวั ขอ้ ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับออกไป และ นา ส่วนของขอ้ เสนอแนะมาต่อทา้ ยการสรุปแทน ดงั ตวั อยา่ ง

11.ขอ้ เสนอแนะไม่ตอ้ งมีประธานประโยค เช่น “เรา” เพราะการเสนอแนะเป็นส่วนท่ีแนะนาแนวทางการต่อ ยอดโครงงานแก่ผอู้ ่ืน **แกไ้ ขตามขอ้ วจิ ารณ์ทุกขอ้ หากไม่แกข้ อ้ ใดครูเตย้ หกั ขอ้ ละ 0.5 คะแนนนะจะ๊ แกเ้ สร็จแลว้ ไมต่ อ้ งส่งไฟล์ กลบั มา ใหท้ ารูปเล่มแลว้ ส่งไดเ้ ลย ภายในวนั ท่ี27 กย




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook