เร่ือง คำพ้อง
ควำมหมำยของคำพ้อง คำพ้อง คอื คำทีม่ ลี กั ษณะเหมอื นกนั หรือซ้ำกนั เช่น เขยี นเหมอื นกนั หรือออกเสียงเหมอื นกนั หรือเหมือนกนั ท้งั รูปและเสียง แต่มคี วำมหมำย ต่ำงกนั ซึ่งจะพจิ ำรณำตำมเนือ้ ควำมของคำที่ เกย่ี วข้องกบั คำพ้อง หรือคำทเี่ ขยี นต่ำงกนั แต่มี ควำมหมำยเหมือนกนั
ชนิดของคำพ้อง คำพ้องแบ่งเป็ น ๔ ชนิดคอื ๑. คำพ้องรูป ๒. คำพ้องเสียง ๓. คำพ้องรูป พ้องเสียง ๔. คำพ้องควำม
๑. คำพ้องรูป คำพ้องรูปคอื คำทเี่ ขียนรูปเดยี วกนั แต่มกี ำรสะกด ออกเสียงทต่ี ่ำงกนั และมคี วำมหมำยทแี่ ตกต่ำงกนั เวลำอ่ำนจะต้องสังเกตควำมหมำยของคำในประโยค จึงจะอ่ำนได้ถูกต้อง
ตวั อย่ำงคำพ้องรูป ท่ีริมเชิงเสลำภูผำใหญ่ ล้วนกอไผ่ลำสล้ำงเสลำเห็น หัดโบกปูนใบเสมำกว่ำจะเป็ น หน้ำโฮเตล็ ปลูกเสมำดูเพรำตำ
กำรอ่ำนคำพ้องรูป เสลำ อ่ำนว่ำ เส – ลำ หมำยถงึ เขา, หิน อ่ำนว่ำ สะ – เหฺลำ หมำยถงึ สวยงาม, ช่ือตน้ ไม้ เสมำ อ่ำนว่ำ เส – มำ หมำยถึง รูปเคร่ืองหมำยคล้ำยใบโพธ์ิ ใช้บอกเขตพระอโุ บสถ อ่ำนว่ำ สะ – เหฺมำ หมำยถึง ช่ือต้นไม้ชนิดหน่ึง
๒. คำพ้องเสียง คำพ้องเสียง คอื คำทีอ่ อกเสียงเหมอื นกนั แต่เขียนไม่เหมือนกนั และมคี วำมหมำยต่ำงกนั
กำรอ่ำนคำพ้องเสียง ข้ำได้เช่ำนำวำให้ค่ำเช่ำ ริมศำลเจ้ำเจ๊กบ้ำมันฆ่ำหมู กำไว้มน่ั แล้วไม่ทำกำม์ของกู จะทนสู้บำปกรรมไปทำไม
ตัวอย่ำงคำพ้องเสียง กรรม หมำยถึง กำรกระทำ, กำรงำน, บำป ซึ่งทำให้ ได้รับผลร้ำย เช่น คนไทยเชื่อเร่ืองกฎแห่งกรรม กำ หมำยถึง ทานิ้วมือใหง้ อจนจดอุง้ มือ, ซี่ลอ้ รถ หรือเกวียน เช่น ใหน้ กั เรียนทุกคนกำมือไว้ กาม์ หมำยถงึ การกระทา, การงาน, บาป, การกระทา ซ่ึงทาใหไ้ ดร้ ับผลร้าย “กาม”์ เป็นภาษาเก่าท่ีเขียนไวใ้ นสมุดไทย ซ่ึงเป็นผลงานเจา้ ฟ้ ากงุ้ ในสมยั อยธุ ยา ปัจจุบนั เขียนวา่ กรรม
๓. คำพ้องรูป พ้องเสียง “คำพ้องรูป – พ้องเสียง” คอื คาท่ีเขียนเหมือนกนั และอ่านออกเสียงเหมือนกนั แต่มีความหมาย ต่างกนั
กำรอ่ำน คำพ้องรูป พ้องเสียง ขนั นำ้ ใสไก่ขันขนั ชะเนำะ คนหัวเรำะเจ้ำสำนวนกช็ วนขนั กนั กนั ผมให้เขำเรำรักกนั ยมิ้ เห็นฟันอย่ำฟันให้บรรลยั
ตวั อย่ำง คำพ้องรูป พ้องเสียง กนั ๑ หมำยถึง คำใช้แทนผู้พูดเพศชำย พดู กบั ผู้เสมอ หรือผู้น้อยในทำนองกนั เอง เช่น วนั นีก้ นั ไม่ไปด้วยนะ กนั ๒ หมำยถงึ คำประกอบท้ำยกริยำของผู้กระทำ ต้งั แต่ ๒ คนขึน้ ไปแสดงกำรกระทำร่วมกนั เช่น พวกเรำจง มำปรึกษำหำรือกนั กนั ๓ หมำยถงึ กดี ขวำงไว้ไม่ให้เข้ำไปหรือออกไป หรือไม่ให้เกดิ มขี นึ้ เช่น จงกนั เขำอย่ำให้เข้ำมำพบฉัน กนั ๔ หมำยถึง โกนให้เป็ นเขตเสมอ เช่น เขำกนั คิว้ ให้ฉัน
๔. คำพ้องควำม “คำพ้องควำม” คอื คำทเ่ี ขยี นไม่เหมอื นกนั แต่มคี วำมหมำยเหมอื นกนั ใช้ในโอกำสต่ำงกัน หรืออำจเรียกอกี อย่ำงว่ำ คำไวพจน์
ตัวอย่ำงคำพ้องควำม ชีวติ = ชีพ ชีวี ชีวำ ชีวำตม์ ชีวนั ชีวำลยั ต้นไม้ = พฤกษ์ พฤกษำ พฤกษำชำติ รุกข์ รุกขำ รุกขชำติ ใจ = ฤดี ฤทยั หทยั หฤทยั จติ มโน กมล
จบกำรนำเสนอค่ะ
Search
Read the Text Version
- 1 - 15
Pages: