Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เครื่องหมายวรรคตอน

เครื่องหมายวรรคตอน

Published by Maii kodchakorn., 2022-08-31 04:14:53

Description: เครื่องหมายวรรคตอน

Search

Read the Text Version

บทเรียนพัฒนาทักษะการอา่ นการเขียน สาระการเรยี นรวู้ ชิ าภาษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๔ เครอื่ งหมาย วรรคตอน และอักษรย่อ โรงเรยี นบา้ นดวด

ก ก คำนำ บทเรียนสาเร็จรูปชุดพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ เร่ือง เครื่องหมายวรรคตอนและ อักษรย่อเล่มนี้ จัดทาข้ึนสาหรับใช้เสริมทักษะการอ่านออกเขียนได้ ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ ๔ โดยแบ่งเนอ้ื หาออกเป็น ๔ สว่ น คือ แบบทดสอบก่อนเรียน เนื้อหา แบบฝึกหัด และแบบเฉลย ซ่ึง มีสื่ออิเล็กทรอนิกส์ CAI ประกอบ มีเนื้อหาสาระสาคัญและผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง ตรงตาม มาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๔ ตรงตาม หลักสูตรสถานศกึ ษา และหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานพทุ ธศกั ราช พ.ศ. ๒๕๕๑ บทเรยี นสาเร็จรูปเลม่ นี้ ผเู้ รยี นสามารถศึกษาได้ด้วยตนเอง และจะเกิดประโยชน์เป็นอย่าง มากถ้าครูผู้สอนคอยให้คาแนะนาและคาปรึกษาแก่ผู้เรียน ในกรณีที่ผู้เรียนมีข้อสงสัยเก่ียวกับ บทเรียน ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่าบทเรียนสาเร็จรูปเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้ และเป็นส่วนสาคัญในการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ เร่ือง เครื่องหมายวรรคตอนและ อักษรย่อ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ ๔ ให้ได้ผลดีย่ิงข้ึน และ ขอขอบพระคณุ ผ้ทู ีเ่ กยี่ วข้องทุกท่าน ท่ีให้คาแนะนาและคาปรกึ ษาด้วยดีเสมอมา คณะผู้จดั ทา

สำรบัญ ขข เรื่อง หน้า คานา ก สารบัญ ข มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ช้ีวัด ค คาชีแ้ จงการใช้บทเรียนสาเร็จรปู สาหรบั ครูผสู้ อน ง คาชีแ้ จงการใช้บทเรยี นสาเร็จรูปสาหรบั นกั เรยี น จ แบบทดสอบกอ่ นเรียน ๑ เครอ่ื งหมายวรรคตอน ๖ ๖ ความหมาย ๖ ชนดิ ของเครือ่ งหมายวรรคตอน ๑๒ อกั ษรย่อ ๑๒ ความหมาย ๑๒ ลกั ษณะของอักษรย่อ ๑๔ แบบฝึกอา่ นแจกลกู สะกดคา ๑๕ แบบฝกึ หัด ๑๘ แบบทดสอบหลงั เรยี น ๒๕ อ้างอิง ๒๖ ภาคผนวก ๒๗ เฉลยแบบทดสอบก่อน-หลังเรยี น ๒๘ เฉลยแบบฝึกหัด

ค มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ งความรู้และความคดิ เพ่อื นาไปใช้ตดั สินใจ แกป้ ญั หาในการดาเนนิ ชีวิตและมนี สิ ยั รักการอ่าน มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา และพลงั ของภาษา ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ขิ องชาติ ตัวชี้วัด อา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง ไดถ้ ูกตอ้ ง อธบิ ายความหมายของคา ประโยคและ สานวนจากเรื่องทีอ่ ่าน ท ๑.๑ ป. ๔/๑ สะกดคาและบอกความหมายของคาในบริบทตา่ งๆ ท ๑.๑ ป. ๔/๒ ท ๔.๑ ป. ๔/๑

ง คาช้ีแจงการใช้บทเรียน สาเรจ็ รูปสาหรบั ครูผสู้ อน ๑. ทดสอบความรู้กอ่ นเรียนเพอื่ วัดระดับความรู้พ้นื ฐานของนกั เรยี น ๒. ดาเนินการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนโดยใชบ้ ทเรียนสาเร็จรูปควบคู่ไปกบั แผนการ จดั การเรียนรู้ ๓. ให้นักเรียนปฏบิ ตั ิกิจกรรมการเรียนรแู้ ละฝึกทกั ษะความร้คู วามเข้าใจในเรอื่ งท่ีเรียน ผา่ นการทาแบบฝึกหัดเสริมทกั ษะซึง่ ครผู ้สู อนจะเป็นผดู้ ูแลใหค้ าแนะนาผู้เรียนอยา่ ง ใกล้ชิด ๔. ทดสอบความรู้หลงั เรยี นเพื่อวดั ระดับความรู้ความเขา้ ใจของนกั เรียนหลังจากเรยี นรู้ เนอื้ หาและทาแบบฝกึ หดั เสรมิ ทักษะแลว้ ๕. ตรวจคาตอบจากเฉลยทอี่ ยู่ทา้ ยเล่ม ๖. ใหผ้ ู้เรียนอ่านเสรมิ การแจกลูกสะกดคาเพ่อื เพ่มิ ทักษะการอ่าน ๗. ใชเ้ ปน็ แบบเรียนที่ให้นักเรียนได้เรียนรู้ และซ่อมเสริมความรตู้ นเอง

จ คาช้ีแจงการใช้บทเรยี น สาเรจ็ รปู สาหรบั นกั เรียน บทเรียนสาเร็จรูปเล่มน้ีจัดทาข้ึนเพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาด้วยตนเอง โดยนักเรียน ควรปฏบิ ัตติ ามขัน้ ตอนอย่างเคร่งครดั ดังนี้ ๑. ศึกษาสาระสาคัญและจุดประสงค์การเรียนรู้ใหเ้ ขา้ ใจ ๒. ทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี นดว้ ยตนเอง และตรวจคาตอบเฉลยในหน้าภาคผนวก ๓. ศกึ ษาเนอื้ หาในแตล่ ะประเด็นใหร้ แู้ ละเขา้ ใจ ๔. ทาแบฝึกหัดตามลาดับโดยอ่านคาชี้แจงแต่ละแบบฝึกหัดแล้วปฏิบัติตามคาส่ัง ทีละข้นั ตอน กรณีตอบผิดหรือไมผ่ ่านเกณฑ์ ใหศ้ กึ ษาเนือ้ หาใหม่อีกครง้ั ๕. ตรวจสอบคาตอบจากเฉลยในหน้าภาคผนวก หากตอบไม่ได้หรือไม่เข้าใจให้ ปรกึ ษาครูผสู้ อน

แบบทดสอบ ก่อนเรยี น

๒ เร่อื ง เครอ่ื งหมายวรรคตอนและอักษรย่อ คาส่ัง จงเลอื กคาตอบที่ถูกตอ้ งท่สี ุด ๑. ขอ้ ใดไม่ใช่การใช้เครื่องหมายจลุ ภาค ก. การเขียนคั่นจานวนตัวเลข โดยนบั จากหลกั หนว่ ยไปครง้ั ละ ๓ หลกั ข. ใชเ้ ขยี นคั่นระหว่างคาหรือกลุ่มคา ค. ใชซ้ า้ คา ง. ใช้เขยี นบรรณนานุกรม เพื่อใชค้ ่นั คานาหน้าช่ือตา่ ง ๆ ๒. ข้อใดใชเ้ คร่ืองหมายวรรคตอนไม่ถกู ตอ้ ง ก. ๘,๓๔๒ ข. ม,ค, ค. ยาว ๆ อ่านวา่ ยาว – ยาว ง. โอ้โฮ!

๓ ๓. “กางเกงตัวนี้ราคาเท่าไหร่” ประโยคนค้ี วรใช้เคร่ืองหมายวรรคตอนใด ก. ปรัศนี ข. อศั เจรยี ์ ค. อญั ประกาศ ง. นขลขิ ิต ๓. “ใช้ละข้อความบางส่วน หรือคายาว ๆ” คอื เครื่องหมายวรรคตอนใด ก. อญั ประกาศ ข. ไปยาลใหญ่ ค. มหพั ภาค ง. ไปยาลนอ้ ย ๔. “ในสวนมผี ลไม้มากมาย เช่น ละมุด พุทรา นอ้ ยหน้า ฝรัง่ ” จากขอ้ ความ ควรใช้ เครอื่ งหมายวรรคตอนในข้อใด ก. ไปยาลใหญ่ ข. อัญประกาศ ค. จลุ ภาค ง. นขลขิ ิต

๔ ๖. ข้อใดใช้อักษรยอ่ ผดิ ก. ม.ค. อ่านว่า มกราคม ข. พ.ศ. อ่านว่า พทุ ธศักราช ค. ม.ย. อ่านวา่ มถิ นุ ายน ง. จ.ศ. อา่ น จลุ ศกั ราช ๗. กทม. ยอ่ มาจากคาว่าอะไร ก. การทอ่ งเทีย่ วแห่งประเทศไทย ข. กรงุ เทพมหานคร ค. องคก์ ารอาหารและยา ง. การส่อื สารแหง่ ประเทศไทย ๘. อักษรย่อจะมีเครื่องหมายวรรคตอนใดกากับอยู่ ก. จลุ ภาค ข. ไปยาลน้อย ค. อัศเจรีย์ ง. มหพั ภาค

๕ ๙. ขอ้ ใดอา่ นผดิ ก. วนั หนึ่ง ๆ อ่านว่า วัน – หนง่ึ – หนง่ึ ข. เล็ก ๆ อ่านว่า เลก็ – เลก็ ค. ขาว ๆ อ่านว่า ขาว – ขาว ง. ฉนั จะไดไ้ ปเทย่ี วแล้ว ๆ อ่านวา่ ฉนั จะไดไ้ ปเท่ยี วแลว้ ฉนั จะไดไ้ ปเทย่ี วแล้ว ๑๐. ข้อใดใชอ้ ักษรยอ่ ไดถ้ ูกต้อง ก. ก.ม. อ่านว่า กิโลเมตร ข. น. อ่านว่า นาที ค. ชม. อ่านว่า ชว่ั โมง ง. บ. อ่านว่า บาท

๖ เครอ่ื งหมายวรรคตอน เคร่ืองหมายวรรคตอน คือเคร่ืองหมายท่ีใช้เขียนประกอบข้อความต่างๆเพ่ือให้สามารถ อ่านและเขียนข้อความนั้นได้ถูกต้องชัดเจนย่ิงข้ึนเคร่ืองหมายวรรคตอนในภาษาไทยที่ใช้กันอยู่ใน ปจั จบุ นั มีดังน้ี . (มหัพภาค) ๑. วางไวห้ ลังอกั ษรย่อ โรงเรยี น อา่ นวา่ โรง-เรียน เชน่ รร. คาเต็มคือ ตลุ าคม อ่านว่า ตุ-ลา-คม ต.ค. คาเต็มคือ ๒. วางไวห้ ลงั ตัวเลขหรือตัวอักษรเพือ่ บอกลาดับ เชน่ ก. ข. ค. ง.

๗ ๓. ใช้คั่นชวั่ โมงกบั นาทีเพื่อบอกเวลา เชน่ ๙.๒๐ น. อ่านว่า เก้า – นา – ลิ – กา – ย่ี – สบิ – นา – ที ๔. ใชเ้ ปน็ จุดทศนยิ มหน่วยเงินตรา เช่น ๑๑.๗๕ บาท อา่ นว่า สบิ – เอ็ด – บาท – เจ็ด – สบิ – ห้า – สะ – ตาง ๕. ใชว้ างไวห้ ลงั ประโยคเพ่อื แสดงวา่ จบประโยคหรือส่งขอ้ ความ เช่น คุณพ่อทางานเสร็จแลว้ . พรงุ่ น้พี บกันทส่ี ถานีรถไฟ.

๘ , (จลุ ภาค) ใช้เขียนข้างระหว่างคาหรือกลุ่มคา เช่น ข้าวสาร,น้าตาล,น้ามันพืช ใช้ในการเขียน บรรณานุกรมดรรชนีและนามานุกรมเช่นประชาธิปไตย,ระบอบใช้เขียนข้ันจานวนเลขต้ังแต่ ๓ หลักขน้ึ ไป เชน่ ๑,๙๙๙ ๕,๗๘๗๓ ” (บุพสัญญา) ใช้แทนคาหรือขอ้ ความท่เี หมือนกับบรรทัดบน เพื่อจะไดไ้ มต่ ้องเขียนคาหรือข้อความนัน้ ซา้ อกี แต่เวลาอา่ นใหอ้ ่านออกเสียงเหมือนคาหรอื ข้อความท่บี รรทดั บน เชน่ ไขเ่ ปด็ ฟองละ ๖ บาท ไขเ่ ปด็ ” ๓”

๙ “ ” (อัญประกาศ) ใชค้ ร่อมขอ้ ความท่ีเป็นคาพดู หรือขอ้ ความทต่ี อ้ งการเน้น เชน่ คณุ ครมู กั พูดวา่ “ตนเป็นที่พ่ึงแหง่ ตน” ( ) (นขลขิ ติ ) ใชค่ รอ่ มขอ้ ความทีต่ ้องการอธบิ ายคาทอ่ี ยขู่ า้ งหนา้ เข่น กรี (ชา้ ง) อา่ นว่า กะ – รี ? (ปรศั นี) ใชว้ างไวข้ ้างหลังประโยคคาถาม เชน่ คณุ มาโรงเรียนกับใคร ?

๑๐ ! (อัศเจรยี ์) ใช้เขียนไว้หลังคาอุทาน หรอื คาท่ีเลยี นเสยี งธรรมชาติ เชน่ ไชโย ! สอบเสร็จแลว้ ๆ (ไมย้ มก) ใชเ้ ขยี นขา้ งหลงั คาหรอื ข้อความที่ตอ้ งการใหอ้ า่ นซ้า เชน่ ในวันหนึ่งๆ คณุ ทาอะไรบา้ ง ฯ (ไปยาลน้อย) ใชว้ างไว้หลงั คาหรอื กลมุ่ คา ซง่ึ ต้องการยอ่ ใหส้ ั้นเพ่อื สะดวกในการเขยี น แตเ่ วลาอ่านต้องอ่านเต็ม เช่น ทูลเกล้าฯ มากจากคาเต็ม ทลู เกล้าทูลกระหม่อม

๑๑ ฯลฯ (ไปยาลใหญ่) ใชเ้ ขยี นท้ายขอ้ ความทยี่ งั มีต่อไปอีกมาก แตย่ กมาเพยี งบางส่วน เชน่ ในสวนลุงบุญมสี ้ม ขนนุ ทเุ รียน มงั คดุ ฯลฯ - (ยตภิ ังค์) ใช้ขดี ระหว่างคาทีต่ อ้ งการเขยี นแยกพยางคใ์ หห้ ่างกันเพอื่ แสดงคาอา่ น เช่น รัฐสภา อ่านว่า รัด – ถะ – สะ – พา

๑๒ อกั ษรยอ่ อักษรย่อ คือ คาที่เขียนโดยมีเคร่ืองหมายจุด (.) กากับท้ายอักษร ในการอ่านอักษรย่อ จะตอ้ งอา่ นคาเตม็ จงึ ตะทาให้ผูฟ้ งั เขา้ ใจความหมายได้อย่างถูกตอ้ ง อักษรยอ่ มีลกั ษณะดังนี้ ๑. ยอ่ โดยใชพ้ ยัญชนะต้นตัวหนา้ ของคา เชน่ ป. ย่อมาจาก ประถมศึกษา จ. ย่อมาจาก จงั หวัด ๒. ยอ่ โดยใชพ้ ยญั ชนะของคาหนา้ และคาหลัง เชน่ ม.ค. ยอ่ มาจาก มกราคม พ.ศ. ยอ่ มาจาก พทุ ธศกั ราช

๑๓ ๓. ยอ่ โดยใช้พยัญชนะต้นบางพยางค์ แลว้ ใส่. ที่อกั ษรย่อตัวสดุ ท้าย เชน่ กทม. ยอ่ มาจาก กรุงเทพมหานคร ททท. ย่อมาจาก การท่องเที่ยวแหง่ ประเทศไทย ๔. ย่อโดยใชพ้ ยางค์แรก แลว้ ใส่ . เชน่ โทร. ยอ่ มาจาก โทรศัพท์

๑๔ แบบฝึกแจกลกู สะกดคา เรอื่ ง อักษรยอ่ และเครอื่ งหมายวรรคตอน มหัพภาค สะกดวา่ มอ-อะ-มะ-หอ-อะ-บอ-หบั -พอ-อา-กอ-พาก จลุ ภาค สะกดวา่ จอ-อ-ุ นอ-จนุ -ลอ-อะ-ละ-พอ-อา-กอ-พาก บพุ สญั ญา สะกดวา่ บอ-อุ-บอ-บบุ -พอ-อะ-พะ-สอ-อะ-นอ-สัน-ยอ-อา-ยา นขลิขติ สะกดวา่ นอ-อะ-นะ-ขอ-อะ-ขะ-ลอ-อิ-ลิ-ขอ-อ-ิ ดอ-ขิด ปรัศนี สะกดวา่ ปอ-รอ-อะ-ดอ-ปรัด-สอ-อะ-สะ-นอ-อ-ี นี ไม้ยมก สะกดว่า มอ-ไอ-ไม-ไม้โท-ไม-้ ยอ-อะ-ยะ-มอ-โอะ-กอ-มก ไปยาลน้อย สะกดว่า ปอ-ไอ-ไป-ยอ-อา-นอ-ยาน-นอ-ออ-ยอ-นอย-ไมโ้ ท-นอ้ ย ไปยาลใหญ่ สะกดว่า ปอ-ไอ-ไป-ยอ-อา-นอ-ยาน-หอ-ยอ-ไอ-ไหย-ไม้เอก-ไหย่ อศั เจรยี ์ สะกดว่า ออ-อะ-ดอ-อดั -สอ-อะ-สะ-จอ-เอ-เจ-รอ-อี-รี ยติภงั ค์ สะกดว่า ยอ-อะ-ยะ-ตอ-อิ-ติ-พอ-อะ-งอ-พงั จังหวัด สะกดว่า จอ-อะ-งอ-จงั -หอ-วอ-อะ-ดอ-หวดั รัฐสภา สะกดว่า รอ-อะ-ดอ-รดั -ถอ-อะ-ถะ-สอ-อะ-สะ-พอ-อา-พา ตลุ าคม สะกดวา่ ตอ-อุ-ต-ุ ลอ-อา-ลา-คอ-โอะ-มอ-คม โรงเรียน สะกดว่า รอ-โอ-งอ-โรง-นอ-เอยี -นอ-เรียน ประถมศึกษา สะกดวา่ ปอ-รอ-อะ-ประ-ถอ-โอะ-มอ-ถม-สอ-อ-ึ กอ-สึก-สอ-อา-สา

๑๕ แบบฝึกหดั เครอ่ื งหมายวรรคตอนและอกั ษรยอ่ ตอนท่ี ๑ เขยี นช่ือเคร่อื งหมายวรรคตอนและบอกวิธีใชใ้ ห้ถกู ต้อง ,๑. เรียกว่า ใช้สาหรับ ๒. ( ) เรียกว่า ใช้สาหรบั ๓. “ เรยี กว่า ใชส้ าหรบั ๔. ๆ เรียกว่า ใช้สาหรบั เรียกว่า ๕. ? ใชส้ าหรบั

๑๖ ๖. ! เรียกว่า ๗. ฯ ใชส้ าหรบั ๘. “ ” ๙. – เรียกว่า ๑๐. ฯลฯ ใช้สาหรบั เรยี กว่า ใชส้ าหรับ เรยี กว่า ใช้สาหรบั เรยี กว่า ใชส้ าหรับ

๑๗ ตอนท่ี ๒ คาช้แี จง จงโยงเส้นจับค่เู ครอ่ื งหมายวรรคตอนท่ีอยู่ฝงั่ ซ้ายกับการใช้ เครือ่ งหมายวรรค ตอนท่ีอยฝู่ ั่งขวา ให้ถูกตอ้ ง - (ยตภิ งั ค)์ ” (บุพสญั ญา) , (จลุ ภาค) ๆ (ไม้ยมก) ( ) (นขลขิ ติ ) ? (ปรัศนี) ! (อศั เจรีย์) ฯ (ไปยาลน้อย) . (มหพั ภาค) “ ” (อัญประกาศ) ๑ ใช้วา่ งไว้หลังอักษรยอ่ ๒. ใช้เขียนไว้หลงั คาอุทาน หรือคาท่เี ลียนเสยี งธรรมชาติ ๓. ใชข้ ดี ระหวา่ งคาที่ตอ้ งการแยกพยางค์ให้หา่ งกันเพือ่ แสดงคาอ่าน

๑๘ ๔. ใช้แทนคาหรอื ขอ้ ความทีเ่ หมอื นกับบรรทดั บน ๕. ใช้เขียนขา้ งหลงั คาหรอื ขอ้ ความที่ตอ้ งการให้อ่านซา้ ๖. ใชค่ รอ่ มข้อความที่ตอ้ งการอธบิ ายคาท่ีอย่ขู ้างหน้า ๗. ใช้คร่อมขอ้ ความที่เป็นคาพดู หรอื ขอ้ ความที่ตอ้ งการเนน้ ๘. ใช้วางไว้หลงั คาหรือกลมุ่ คา ซงึ่ ต้องการยอ่ ให้สน้ั เพ่ือสะดวกในการเขียน ๙. ใช้เขยี นข้ันระหว่างคาหรอื กล่มคา ๑๐. ใชว้ างไวห้ ลังประโยคคาถาม

๑๙ ตอนที่ ๓ ใหเ้ ขียนคาเต็มจากอักษรยอ่ ต่อไปน้ี ๑. กก ยอ่ มาจาก ๒. ชม. ยอ่ มาจาก ๓. กม. ย่อมาจาก ๔. จยย. ยอ่ มาจาก ๕. พ.ศ. ยอ่ มาจาก ๖. ขสมก. ยอ่ มาจาก ๗. ร.ต.อ. ยอ่ มาจาก ๘. รร. ยอ่ มาจาก ๙. ครม. ยอ่ มาจาก ๑๐. ส.ว. ย่อมาจาก

แบบทดสอบ หลงั เรียน

๒๑ เรื่อง เครอ่ื งหมายวรรคตอนและอักษรยอ่ คาสงั่ จงเลอื กคาตอบที่ถกู ตอ้ งที่สดุ ๑. ขอ้ ใดไมใ่ ช่การใช้เคร่ืองหมายจุลภาค ก. การเขียนคัน่ จานวนตวั เลข โดยนบั จากหลักหน่วยไปคร้งั ละ ๓ หลกั ข. ใช้เขียนคั่นระหว่างคาหรือกลมุ่ คา ค. ใชซ้ ้าคา ง. ใช้เขยี นบรรณนานุกรม เพอื่ ใชค้ ัน่ คานาหน้าช่ือต่าง ๆ ๒. ข้อใดใช้เครอ่ื งหมายวรรคตอนไมถ่ กู ต้อง ก. ๘,๓๔๒ ข. ม,ค, ค. ยาว ๆ อ่านวา่ ยาว – ยาว ง. โอโ้ ฮ!

๒๒ ๓. “กางเกงตวั น้ีราคาเท่าไหร่” ประโยคนค้ี วรใชเ้ คร่ืองหมายวรรคตอนใด ก. ปรัศนี ข. อศั เจรีย์ ค. อญั ประกาศ ง. นขลขิ ติ ๓. “ใชล้ ะขอ้ ความบางส่วน หรอื คายาว ๆ” คอื เครอื่ งหมายวรรคตอนใด ก. อัญประกาศ ข. ไปยาลใหญ่ ค. มหพั ภาค ง. ไปยาลน้อย ๔. “ในสวนมผี ลไม้มากมาย เช่น ละมดุ พทุ รา นอ้ ยหน้า ฝรัง่ ” จากข้อความ ควรใช้ เครอ่ื งหมายวรรคตอนในข้อใด ก. ไปยาลใหญ่ ข. อัญประกาศ ค. จุลภาค ง. นขลิขิต

๒๓ ๖. ขอ้ ใดใชอ้ กั ษรยอ่ ผิด ก. ม.ค. อา่ นว่า มกราคม ข. พ.ศ. อ่านว่า พุทธศกั ราช ค. ม.ย. อา่ นว่า มิถนุ ายน ง. จ.ศ. อ่าน จุลศกั ราช ๗. กทม. ยอ่ มาจากคาว่าอะไร ก. การทอ่ งเที่ยวแห่งประเทศไทย ข. กรงุ เทพมหานคร ค. องค์การอาหารและยา ง. การสือ่ สารแห่งประเทศไทย ๘. อกั ษรยอ่ จะมเี คร่ืองหมายวรรคตอนใดกากบั อยู่ ก. จุลภาค ข. ไปยาลน้อย ค. อัศเจรีย์ ง. มหพั ภาค

๒๔ ๙. ขอ้ ใดอา่ นผิด ก. วนั หน่ึง ๆ อ่านว่า วัน – หนง่ึ – หนง่ึ ข. เล็ก ๆ อ่านว่า เลก็ – เล็ก ค. ขาว ๆ อา่ นว่า ขาว – ขาว ง. ฉนั จะไดไ้ ปเทยี่ วแล้ว ๆ อ่านว่า ฉันจะไดไ้ ปเท่ยี วแลว้ ฉนั จะไดไ้ ปเทย่ี วแล้ว ๑๐. ข้อใดใชอ้ ักษรย่อไดถ้ ูกต้อง ก. ก.ม. อา่ นว่า กโิ ลเมตร ข. น. อ่านวา่ นาที ค. ชม. อ่านวา่ ชว่ั โมง ง. บ. อา่ นว่า บาท

๒๕ ๒๕ อ้ำงองิ กระทรวงศึกษาธกิ าร. (๒๕๖๑). หนังสอื เรียนรายวิชาพ้นื ฐานภาษาไทย ชุด ภาษาเพือ่ ชีวติ ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔. พิมพค์ รงั้ ที่ ๑๒. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพรา้ ว PATTER SUTUTOR. (๒๕๖๐). หลกั ภาษาไทย ประถม ๔. นนทบุรี : สานกั พิมพธ์ ิงค์ บียอนด์บคุ๊ ส.์

ภาคผนวก

๒๗ เฉลยแบบทดสอบ เรอื่ ง อักษรย่อและเครอื่ งหมายวรรคตอน ข้อที่ คาตอบ ๑ค ๒ข ๓ก ๔ง ๕ก ๖ค ๗ข ๘ง ๙ก ๑๐ ค

๒๘ เฉลยแบบฝึกหดั เครอ่ื งหมายวรรคตอนและอักษรยอ่ ตอนท่ี ๑ เขียนช่อื เครื่องหมายวรรคตอนและบอกวธิ ใี ช้ให้ถกู ต้อง ๑. , เรียกว่า จุลภาค ใช้สาหรบั เขียนคนั่ จานวนเลขตงั้ แต่ ๓ หลักข้นึ ไป ๒. ( ) เรียกว่า นขลิขติ ๓. “ ใช้สาหรับ ครอ่ มขอ้ ความที่ตอ้ งการอธิบายคาที่อยู่ข้างหนา้ ๔. ๆ เรียกว่า บพุ สญั ญา ใชส้ าหรบั แทนคาหรือข้อความที่เหมอื นกับบรรทัดบน เพอื่ จะได้ ไม่ตอ้ งเขียนคาหรอื ข้อความซ้าอีก เรียกว่า ไม้ยมก ใช้สาหรบั เขยี นข้างหลงั คาหรอื ข้อความทตี่ อ้ งการให้อ่านซา้ เรียกว่า ปรศั นี ๕. ? ใช้สาหรับ วางไว้ขา้ งหลังประโยคคาถาม

๖. ! ๒๙ ๗. ฯ ๘. “ ” เรียกว่า อศั เจรีย์ ๙. – ใชส้ าหรบั เขยี นไว้ขา้ งหลังคาอุทาน หรือคาทเี่ ลยี นเสียงธรรมชาติ ๑๐. ฯลฯ เรยี กว่า ไปยาลนอ้ ย ใช้สาหรบั วางไวข้ า้ งหลงั หรอื กล่มุ คา ซ่งึ ตอ้ งการยอ่ ให้ส้นั เพ่อื สะดวกในการเขยี น แตเ่ วลาอา่ นต้องอ่านเตม็ คา เรยี กว่า อัญประกาศ ใชส้ าหรับ คร่อมข้อความที่เป็นคาพูดหรอื ขอ้ ความที่ตอ้ งการเน้น เรยี กว่า ยัติภังค์ ใช้สาหรับ ขีดระหว่างคาที่ตอ้ งการเขยี นแยกพยางค์ใหห้ า่ งกนั เพื่อ แสดงคาอ่าน เรียกว่า ไปยาลใหญ่ ใชส้ าหรับ เขียนท้ายขอ้ ความทย่ี ังมตี อ่ ไปอกี มาก แต่ยกมาเพียง บางส่วน

๓๐ ตอนที่ ๒ ใหเ้ ขียนคาเตม็ จากอักษรยอ่ ต่อไปน้ี ๑. กก ยอ่ มาจาก กิโลกรัม ๒. ชม. ย่อมาจาก ช่ัวโมง ๓. กม. ย่อมาจาก กิโลเมตร ๔. จยย. ย่อมาจาก จักรยานยนต์ ๕. พ.ศ. ยอ่ มาจาก พทุ ธศักราช ๖. ขสมก. ยอ่ มาจาก องคก์ ารขนสง่ มวลชน ๗. ร.ต.อ. กรงุ เทพ ย่อมาจาก รอ้ ยตารวจเอก ๘. รร. ยอ่ มาจาก โรงเรียน ๙. ครม. ยอ่ มาจาก คณะรฐั มนตรี ๑๐. ส.ว. ยอ่ มาจาก สมาชิกวฒุ ิสภา

ตอนท่ี ๓ ๓๑ คาชแี้ จง จงโยงเส้นจับคเู่ ครอื่ งหมายวรรคตอนที่อยู่ฝง่ั ซา้ ยกับการใช้ เครอ่ื งหมายวรรค ตอนทอี่ ยู่ฝ่งั ขวา ให้ถกู ต้อง - (ยติภังค)์ ” (บพุ สญั ญา) , (จลุ ภาค) ๆ (ไมย้ มก) ( ) (นขลขิ ิต) ? (ปรศั น)ี ! (อศั เจรยี ์) ฯ (ไปยาลน้อย) . (มหพั ภาค) “ ” (อญั ประกาศ) ๑ ใชว้ ่างไวห้ ลงั อักษรยอ่ มหัพภาค ๒. ใช้เขยี นไว้หลังคาอุทาน หรอื คาท่เี ลียนเสียงธรรมชาติ อัศเจรยี ์ ๓. ใช้ขีดระหวา่ งคาทีต่ อ้ งการแยกพยางคใ์ หห้ ่างกนั เพ่ือแสดงคาอา่ น ยติภงั ค์

๓๒ ๔. ใชแ้ ทนคาหรือข้อความทีเ่ หมอื นกับบรรทดั บน บุพสัญญา ๕. ใช้เขยี นข้างหลังคาหรอื ข้อความทีต่ อ้ งการใหอ้ ่านซา้ ไมย้ มก ๖. ใช่ครอ่ มข้อความท่ีต้องการอธบิ ายคาทีอ่ ยู่ข้างหน้า นขลขิ ิต ๗. ใช้คร่อมข้อความท่เี ปน็ คาพดู หรือข้อความท่ีตอ้ งการเนน้ อัญประกาศ ๘. ใช้วางไว้หลงั คาหรือกลมุ่ คา ซงึ่ ต้องการยอ่ ให้ส้นั เพ่อื สะดวกในการเขยี น ไปยาลนอ้ ย ๙. ใชเ้ ขยี นขน้ั ระหว่างคาหรือกล่มคา จลุ ภาค ๑๐. ใช้วางไวห้ ลงั ประโยคคาถาม ปรัศนี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook