Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประสม ซ้ำ ซ้อน สมาส

ประสม ซ้ำ ซ้อน สมาส

Published by Maii kodchakorn., 2022-11-10 04:01:36

Description: ประสม ซ้ำ ซ้อน สมาส

Search

Read the Text Version

การสร้างคํา ภาษาไทย ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 ภาษาไทยกบั ครูพ่ตี ี่ตี๋ – อาจารยพ์ รี ะเสก บรสิ ุทธบ์ิ ัวทิพย์

แบบฝึกหดั ทบทวน Kruptitee ๑. ทุกคาํ ในขอ้ ใดไมอ่ อกเสียงควบกลาํ้ ๑. ปลดั พฤทธ์ิ นทิ รา การสร้างคาํ๒. ปรอท กลศ แทรก ๓. ปลาต ขรม พทุ รา ๔. ปริตร ตรษุ อนิ ทรีย์

การสรา้ งคําในภาษาไทย ภาษาไทยกับครพู ่ตี ี่ตี๋ – อาจารยพ์ ีระเสก บรสิ ทุ ธิ์บวั ทพิ ย์

การสร้างคาํ ในภาษาไทย • คาํ ซ้าํ • คําซ้อน • คําประสม ภาษาไทยกบั ครพู ีต่ ี่ต๋ี – อาจารย์พีระเสก บรสิ ทุ ธิ์บวั ทพิ ย์

คาํ ประสม  คาํ ท่เี กิดจากการนําคาํ มูลต้งั แต่ 2 คําขน้ึ ไป และมี ความหมายต่างกันมาประสมกนั เปน็ คําใหม่  เช่น นาํ้ แข็ง บา้ นเช่า คนนอก หวานเยน็ ภาษาไทยกบั ครพู ี่ตี่ตี๋ – อาจารยพ์ รี ะเสก บริสุทธิ์บวั ทพิ ย์

คาํ ซ้อน  คาํ ทม่ี ีความหมายคู่กนั หรอื ใกลเ้ คียงกนั มาซอ้ นกนั  คาํ ที่มาซ้อนกันจะทาํ หน้าทีข่ ยายและไขความซึ่งกนั และกนั และทําใหเ้ สียงกลมกลืนกนั ดว้ ย  เชน่ ใหมเ่ อย่ี ม เส่อื สาด ถ้วยชาม ข้าทาส ราบเรยี บ เปน็ ตน้ ภาษาไทยกับครูพี่ตตี่ ี๋ – อาจารย์พรี ะเสก บริสุทธิ์บวั ทพิ ย์

คาํ ซํ้า  คําซ้ํา เป็นการซาํ้ คํามูลเดิม  ความหมายของคาํ ซ้ําอาจเหมือนคํามูลเดิม หรอื อาจมี นํ้าหนักมากขนึ้ หรือเบาลง หรือแสดงความเปน็ พหพู จน์  เชน่ ผวั ๆ เมยี ๆ หลานๆ ปรอยๆ พื้นๆ แดงๆ ภาษาไทยกับครพู ต่ี ี่ต๋ี – อาจารยพ์ รี ะเสก บรสิ ทุ ธิ์บวั ทพิ ย์

เพลง รถสร้างคา คา........................ตอ้ งนาความหมาย....................มารวมกัน และต้องเกิดความหมาย.............. เช่น ...................... สว่ นคา............... ความหมาย ................ ............... ................ เข่น ................. คา..................... เขยี น.....................อีกครง้ั ..................... จาขึ้นใจ สมาส ตอ้ ง .................... สนธิสอดแทรกใส่ไส้จาไดห้ รือเปล่า น่คี ือการสร้างคาทง้ั หมดใชไ่ หม? น้องจ๊ะ เคา้ วา่ ความรกั นนั้ มาเติมเตม็ ที่วา่ งในใจ อยากรพู้ ่ตี ีต่ ีส๋ วยรเึ ปลา่ ?

การสรา้ งคาํ  การสรา้ งคาํ ในภาษาไทยได้รบั แบบอยา่ งมาจากภาษาบาลี สนั สกฤต  สามารถสร้างไดห้ ลายวธิ ี เชน่ การสมาส การสนธิ การแผลงคาํ การใช้อุปสรรค การใช้ปัจจยั การใช้วิภัตติ ภาษาไทยกับครพู ตี่ ต่ี ี๋ – อาจารยพ์ ีระเสก บริสุทธ์บิ วั ทิพย์

การสมาส การสร้างคาํ สมาสในภาษาไทยไดแ้ บบอยา่ งมาจากภาษาบาลี และสนั สกฤต โดนนาํ คําบาลี-สันสกฤต ต้ังแต่ 2 คาํ มาตอ่ กัน หรือรวมกัน ภาษาไทยกับครูพต่ี ต่ี ๋ี – อาจารย์พรี ะเสก บริสทุ ธบ์ิ ัวทพิ ย์

ลกั ษณะของคาํ สมาส ภาษาไทยกบั ครูพีต่ ตี่ ๋ี – อาจารย์พีระเสก บริสทุ ธ์บิ ัวทพิ ย์

1. เปน็ คําทมี่ าจากภาษาบาลี-สนั สกฤตเท่าน้ัน คาํ ท่มี า จากภาษาอืน่ นํามาประสมกนั ไม่นับบเป็นคาํ สมาส  บาลี + บาลี  สันสกฤต +สันสกฤต  บาลี + สนั สกฤต , สนั สกฤต + บาลี ภาษาไทยกบั ครูพี่ตตี่ ๋ี – อาจารย์พรี ะเสก บรสิ ทุ ธ์ิบัวทพิ ย์

บาลี + บาลี เชน่ อัคคีภัย วาตภัย โจรภัย อรยิ สัจ ขัตตยิ มานะ อัจฉริยบคุ คล ภาษาไทยกบั ครพู ต่ี ีต่ ี๋ – อาจารย์พรี ะเสก บรสิ ทุ ธิ์บวั ทพิ ย์

สนั สกฤต + สันสกฤต เช่น แพทยศาสตร์ วรี บรุ ุษ วรี สตรี สงั คมวิทยา ศิลปกรรม ภาษาไทยกบั ครพู ตี่ ่ีต๋ี – อาจารย์พรี ะเสก บริสุทธิ์บวั ทพิ ย์

บาลี + สันสกฤต , สนั สกฤต + บาลี เชน่ หัตถศกึ ษา นาฏศิลป์ สจั ธรรม สามญั ศกึ ษา ภาษาไทยกับครูพ่ตี ีต่ ี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิบ์ ัวทิพย์

2. คาํ ที่รวมกนั แลว้ ไม่เปล่ยี นแปลงรปู คาํ แต่อยา่ งไร เชน่ วฒั น + ธรรม = วัฒนธรรม อักษร + ศาสตร์ = อักษรศาสตร์ เสรี + ภาพ = เสรภี าพ ภาษาไทยกับครพู ตี่ ี่ต๋ี – อาจารย์พีระเสก บริสทุ ธิ์บัวทพิ ย์

โลก + บาล = โลกบาล อดุ ม + ศกึ ษา = อุดมศกึ ษา สทิ ธิ + บตั ร = สิทธิบตั ร สงั ฆ + นายก = สังฆนายก วาท + ศลิ ป์ = วาทศลิ ป์ สาร + คดี = สารคดี ภาษาไทยกบั ครูพี่ต่ีตี๋ – อาจารย์พรี ะเสก บรสิ ุทธ์บิ ัวทพิ ย์

3. คาํ สมาสเมอ่ื ออกเสียงต้องต่อเน่ืองกัน เชน่ รัฐมนตรี อา่ นว่า รัด – ถะ – มน – ตรี เศรษฐการ อา่ นวา่ เสด – ถะ – กาน ยทุ ธวธิ ี อ่านวา่ ยดุ – ทะ – วิ – ธี ภาษาไทยกบั ครูพตี่ ตี่ ๋ี – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิบ์ วั ทพิ ย์

กาลเทศะ อา่ นว่า กา – ละ – เท - สะ ภูมศิ าสตร์ อา่ นว่า พู – มิ – สาด สารคดี อา่ นว่า สา – ระ – คะ – ดี สทิ ธิบัตร อ่านว่า สิด – ทิ – บดั ภารกิจ อา่ นว่า ภา – ระ – กิด นาฏศิลป์ อา่ นวา่ นาด – ตะ - สิน ภาษาไทยกบั ครูพ่ตี ต่ี ี๋ – อาจารยพ์ ีระเสก บริสทุ ธบิ์ ัวทพิ ย์

! ยกเว้น คาํ บางคําอา่ นตามความนยิ ม เช่น ชาตนิ ยิ ม ไตรรัตน์ บุรุษเพศ ธาตวุ ิเคราะห์ สภุ าพบุรุษ ภาษาไทยกับครพู ่ตี ต่ี ี๋ – อาจารย์พรี ะเสก บรสิ ุทธ์ิบวั ทพิ ย์

4. คาํ ทน่ี ํามาสมาสกันแล้ว ความหมายหลกั อยทู่ ่ีคําหลงั ความหมายรองอยทู่ ค่ี าํ หนา้ เช่น - อกั ษร (ตวั หนังสอื ) + ศาสตร์ (วิชา) = อักษรศาสตร์ (วิชาวา่ ด้วยตวั หนังสือ) - ยุทธ (รบ) + ภูมิ (แผ่นดนิ ,สนาม) = ยทุ ธภมู ิ (สนามรบ) ภาษาไทยกบั ครูพตี่ ต่ี ี๋ – อาจารยพ์ รี ะเสก บรสิ ุทธิ์บัวทิพย์

- วาท (การพูด) + ศิลป์ (ศลิ ปะ) = วาทศิลป์ (ศิลปะการพูด) - หตั ถ (มอื ) + กรรม (การงาน) = หัตถกรรม (งานฝีมอื ) - ครุ ุ (ครู) + ศาสตร์ (วชิ า) = ครุ ศุ าสตร์ (วิชาคร)ู - สนุ ทร (งามไพเราะ) + พจน์ (คาํ กลา่ ว) = สุนทรพจน์ (คาํ กล่าวท่ีไพเราะ) ภาษาไทยกับครูพต่ี ต่ี ๋ี – อาจารย์พรี ะเสก บริสุทธ์ิบวั ทพิ ย์

5. คําว่า “วร” ตามดว้ ยภาษาบาลสี นั สกฤตถอื เปน็ คําสมาส นาํ มาใชเ้ ปน็ คาํ ราชาศพั ท์ในภาษาไทย จะแผลง “วร” เป็น “พระ” เชน่ - วรพกั ตร์ เปน็ พระพกั ตร์ - วรเนตร เปน็ พระเนตร - วรชายา เป็น พระชายา ภาษาไทยกบั ครพู ่ตี ่ตี ี๋ – อาจารย์พรี ะเสก บริสุทธบิ์ วั ทพิ ย์

- วรบาท เปน็ พระบาท - วรวิหาร เป็น พระวิหาร - วรนาสิก เปน็ พระนาสิก - วรองค์ เป็น พระองค์ - วรโอษฐ์ เปน็ พระโอษฐ์ - วรหทยั เปน็ พระหทยั

! ยกเวน้ “พระ” ทีป่ ระสมกบั ภาษาอน่ื ท่ไี ม่ใชค่ ําบาล-ี สนั สกฤต ไมเ่ ปน็ คําสมาส เชน่ พระอู่ พระเกา้ อี้ พระเขนย เป็นตน้ ภาษาไทยกบั ครพู ตี่ ต่ี ี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธ์บิ ัวทพิ ย์

การสนธิ  การเปล่ยี นเสยี งตามหลกั บาลสี นั สกฤต  เมือ่ เสยี ง 2 เสยี งอยใู่ กลก้ นั จะกลมกลนื เปน็ เสียงเดยี วกัน  มกี ารเปลย่ี นแปลงพยัญชนะ สระ นคิ หติ ทม่ี าเชื่อมเพอ่ื กลมกลืนเสยี งใหเ้ ปน็ ธรรมชาติ  คําเหล่านี้จะมีเสียงสน้ั เข้า ภาษาไทยกับครพู ี่ตต่ี ี๋ – อาจารย์พรี ะเสก บรสิ ทุ ธ์บิ วั ทพิ ย์

สุข อภบิ าล สขุ าภิบาล ภมู ิ อินทร์ ภมู ินทร์ วิทย อาลัย วิทยาลยั ภาษาไทยกบั ครูพีต่ ่ตี ี๋ – อาจารยพ์ ีระเสก บริสทุ ธ์บิ ัวทพิ ย์

หลักการสนธิ 1. ต้องเป็นคาํ ทีม่ าจากภาษาบาลแี ละสันสกฤตเท่าน้ัน เชน่ ชล (ป. , ส.) + อาลัย (ป. , ส.) = ชลาลัย ทรัพย (ส.) + อากร (ป. , ส.) = ทรพั ยากร เทว (ป. , ส.) + อาลัย (ป. , ส.) = เทวาลัย ภาษาไทยกับครพู ่ีตต่ี ี๋ – อาจารย์พรี ะเสก บริสทุ ธ์ิบัวทพิ ย์

2. ศพั ทป์ ระกอบไวห้ น้า ศพั ทห์ ลกั ไวห้ ลัง เช่น มหา + อศั จรรย์ = มหศั จรรย์ 3. แปลจากหลงั มาหน้า เชน่ ประชา (คน) + อากร (พวก) = ประชากร (หมูค่ น) วชริ (สายฟา้ ) + อาวุธ = วชริ าวุ (ผมู้ ีสายฟ้าเป็นอาวธุ ) ภาษาไทยกับครูพต่ี ่ตี ี๋ – อาจารยพ์ ีระเสก บริสทุ ธิ์บวั ทิพย์

4. ถา้ เป็นสระสนธิ ศพั ท์ตวั หลังจะขนึ้ ตน้ ดว้ ย ตวั อ เช่น มหา + อรรณพ = มหรรณพ พทุ ธ + โอวาท = พทุ โธวาท 5. มีการเปล่ยี นแปลงรูปศพั ท์ เช่น ทุส + ลกั ษณ์ = ทุรลักษณ์ , ทรลกั ษณ์ ภาษาไทยกับครพู ่ีต่ีตี๋ – อาจารยพ์ รี ะเสก บรสิ ุทธบิ์ วั ทิพย์

การสนธิ มี 3 ลกั ษณะ คอื 1. สระสนธิ 2. พยัญชนะสนธิ 3. นฤคหติ สนธิ ภาษาไทยกับครพู ี่ตต่ี ๋ี – อาจารยพ์ ีระเสก บรสิ ุทธ์บิ วั ทพิ ย์

สระสนธิ คือ การนาํ คาํ บาลสี นั -สกฤตมาสนธกิ บั คําทขี่ ึ้นต้นดว้ ยสระ มหี ลักดังนี้ 1. ตดั สระท้ายคาํ หนา้ ใชส้ ระหนา้ คําหลงั เชน่ คทา + อาวุธ = คทาวุธ ศลิ ป + อากร = ศิลปากร อน + เอก = อเนก วร + โอกาส = วโรกาส ภาษาไทยกบั ครูพต่ี ี่ตี๋ – อาจารยพ์ ีระเสก บริสุทธิบ์ ัวทิพย์

2. ตดั สระท้ายคําหนา้ ใชส้ ระหนา้ คําหลงั แต่เปล่ียนสระหนา้ คาํ หลังจาก อะ เปน็ อา อิ เป็น เอ อุ เป็น อู โอ เสยี กอ่ น เช่น เทศ + อภิบาล = เทศาภบิ าล ทตู + อนทุ ตู = ทตู านทุ ูต คช + อนิ ทร์ = คเชนทร มหา + อสิ ี = มเหสี คณุ + อุปการ = คุณปู การ นย + อุบาย = นโยบาย ภาษาไทยกับครูพต่ี ต่ี ๋ี – อาจารยพ์ รี ะเสก บรสิ ทุ ธบิ์ วั ทิพย์

3. เปล่ยี นสระท่ีท้ายคาํ หน้า อิ อี เปน็ ย อุ อู เป็น ว เสียกอ่ น แลว้ สนธติ ามหลกั ขอ้ 1 และ 2 เชน่ อธิ + อาศยั = อัธยาศัย สนิ ธุ + อานนท์ = สินธวานนท์ ภาษาไทยกับครพู ีต่ ี่ตี๋ – อาจารยพ์ รี ะเสก บริสทุ ธ์ิบวั ทพิ ย์

พยญั ชนะสนธิ คอื คาํ บาลีสันสกฤตที่นํามาสนธกิ บั พยญั ชนะ มหี ลักดังนี้ 1. คาํ ทีล่ งทา้ ยด้วย ส สนธิกบั พยญั ชนะ เปลี่ยน ส เป็น โ เชน่ มนัส + ธรรม = มโนธรรม มนสั + คติ = มโนคติ รหสั + ฐาน = รโหฐาน ภาษาไทยกบั ครูพี่ตตี่ ๋ี – อาจารย์พีระเสก บริสุทธบ์ิ ัวทิพย์

2. ทุส กัน นสิ สนธกิ ับพยัญชนะ เปลีย่ น ส เปน็ ร เชน่ ทสุ + กนั ดาร = ทุรกนั ดาร ทุส + ชน = ทรุ ชน, ทรชน ทสุ + พล = ทุรพล , ทรพล ทสุ + พิษ = ทุรพษิ , ทรพษิ นสิ + คณุ = นริ คุณ, เนรคณุ นิส + อาศ = นิราศ นิส + ภัย = นริ ภัย นิส + เทศ = นริ เทศ, เนรเทศ ภาษาไทยกับครพู ี่ต่ตี ี๋ – อาจารย์พรี ะเสก บริสทุ ธิบ์ ัวทิพย์

นฤคหติ สนธิ คือ คําบาลีสันสกฤตที่นาํ มาสนธิกับ นฤคหติ มีหลกั ดงั น้ี 1. นฤคหิต สนธิกบั สร เปลี่ยน ํ เปน็ ม ก่อนสนธิตามหลักสระ สนธิ เชน่ สํ + ฤทธิ์ = สมั ฤทธิ์ สํ + อาคม = สมาคม ภาษาไทยกบั ครูพ่ตี ่ตี ี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสทุ ธิบ์ ัวทิพย์

2. นฤคหติ สนธิกับพยัญชนะวรรค เปล่ยี น ํ เปน็ พยัญชนะทา้ ย วรรคนั้นก่อนการสนธิ  สนธกิ ับวรรค กะ เปลยี่ น ํ เป็น ง เชน่ สํ + คีต = สังคตี สํ + เกต = สังเกต สํ + ขาร = สังขาร สํ + คม = สงั คม ภาษาไทยกบั ครูพตี่ ่ตี ๋ี – อาจารย์พีระเสก บรสิ ุทธิบ์ ัวทพิ ย์

 สนธิกบั วรรค จะ เปลย่ี น ํ เปน็ ญ เชน่ สํ + จร = สญั จร สํ + ชาติ = สญั ชาติ สํ + ญา = สัญญา สํ + ญาณ = สัญญาณ  สนธิกับวรรค ฏะ เปลย่ี น ํ เป็น ณ เชน่ สํ + ฐาน = สณั ฐาน ภาษาไทยกบั ครพู ต่ี ตี่ ๋ี – อาจารย์พรี ะเสก บริสทุ ธบิ์ วั ทพิ ย์

 สนธิกับวรรค ตะ เปล่ียน ํ เปน็ น เชน่ สํ + ดาน = สันดาน สํ + เทศ = สันเทศ,สนเทศ สํ + นิบาต = สนั นิบาต สํ + นวิ าส = สันนวิ าส สํ + โดษ = สันโดษ สํ + ดาป = สันดาป ภาษาไทยกบั ครูพี่ต่ีตี๋ – อาจารยพ์ ีระเสก บรสิ ทุ ธิ์บวั ทพิ ย์

 สนธิกับวรรค ปะ เปลยี่ น ํ เป็น ม เชน่ สํ + บัติ = สมบตั ิ สํ + บูรณ์ = สมบูรณ์ สํ + พันธ์ = สมั พันธ์ สํ + ปทาน = สัมปทาน สํ + ผสั = สัมผัส สํ + พงศ์ = สมพงศ์ สํ + ภพ = สมภพ สํ + เพช = สมเพช ภาษาไทยกบั ครูพ่ตี ่ีต๋ี – อาจารย์พรี ะเสก บรสิ ุทธบิ์ ัวทิพย์

 สนธกิ บั เศษวรรค เปลี่ยน ํ เปน็ ง ก่อนสนธิ เชน่ สํ + โยค = สังโยค สํ + วร = สงั วร สํ + หรณ์ = สังหรณ์ สํ + วาส = สังวาส สํ + เวค = สงั เวค สํ + สนทนา = สังสนทนา สํ + สิทธิ = สังสทิ ธิ สํ + หาร = สงั หาร ภาษาไทยกบั ครพู ตี่ ่ีต๋ี – อาจารย์พีระเสก บรสิ ทุ ธิบ์ ัวทิพย์

การสรา้ งคํา สามารถสรา้ งคาํ ด้วยวิธอี น่ื ๆ เช่น - การแผลงคํา - การใชอ้ ปุ สรรค - การใช้ปจั จัย - การใชว้ ิภัตติ ภาษาไทยกับครพู ต่ี ่ีต๋ี – อาจารย์พรี ะเสก บรสิ ทุ ธบ์ิ ัวทพิ ย์

การใช้อุปสรรค อุปสรรค เปน็ พยางค์ท่ีใชส้ าํ หรบั ประกอบหนา้ ศพั ท์ เชน่ ทุ นิ ป ประ อุป อธิ อติ เปน็ ตน้ ทําใหศ้ พั ท์ มีความหมาย เปลีย่ นไป เปน็ วิธีการเพมิ่ ศัพทข์ องภาษาบาลแี ละสนั สกฤต เชน่ ทจุ รจิ นิบาท ปฎิเสธ ปฏกิ ิริยา อธิการ อนุญาติ อทุ ิศ ภาษาไทยกับครพู ต่ี ี่ตี๋ – อาจารยพ์ ีระเสก บรสิ ทุ ธิบ์ วั ทิพย์

การใชป้ ัจจัย  ปจั จยั คือพยางคท์ น่ี ํามาลงทา้ ยศพั ทใ์ นภาษาบาลีและ สนั สกฤตเพอ่ื ประกอบศพั ท์เปน็ คาํ นาม และ กรยิ า  เชน่ ก ปจั จัย แปลวา่ ผู้ - นายก ยาจก ณ น ปจั จัย แปลว่า การ , ความ - คมน (การไปมา) ภาษาไทยกบั ครูพตี่ ีต่ ี๋ – อาจารย์พรี ะเสก บริสุทธิ์บวั ทิพย์

การใชว้ ภิ ตั ติ  วภิ ตั ติ หมายถึงพยางค์ทนี่ ํามาประกอบท้ายนามศพั ทห์ รอื กรยิ าศพั ทเ์ พอ่ื บอก บุรุษ พจน์ เพศ  ประกอบ นามศัพท์ จะบอกหน้าทข่ี องนาม  เมอ่ื ประกอบกรยิ าศพั ท์ จะบอก กาล มาลา วาจก ภาษาไทยกับครพู ่ตี ่ตี ๋ี – อาจารย์พรี ะเสก บรสิ ุทธ์บิ ัวทิพย์

 ไทยไม่ได้นาํ เอาวิธกี ารวิภตตั ิของบาลสี ันสกฤตมาใช้ โดยตรง แต่นาํ คาํ ที่ติดวภิ ตั ตเิ ข้ามาใช้เพยี งบางคาํ  เชน่ บุตรี กมุ ารี ยกั ษิณี ทาสี เทวี เทวา เทโว ชโย โทโส โมโห เดโช เตโช มโน โกรธา กายา อาโป เสโท พุทโธ ทุกขา ทกุ ขงั อนิจจา อนิจจงั อนัตตา นาคา นาคี นาโค สรุ ิยา สรุ โิ ย ภาษาไทยกับครูพีต่ ตี่ ี๋ – อาจารยพ์ รี ะเสก บริสทุ ธบิ์ วั ทิพย์

แบบฝกึ หัด ภาษาไทยกบั ครูพต่ี ี่ต๋ี – อาจารย์พีระเสก บริสทุ ธิ์บวั ทิพย์

เตมิ คาํ ในชอ่ งว่าง เฉลย 1. ปรม + อนิ ทร์ = __________ 2. _______ + อสิ ี = มเหสี 3. ราช + ______ = ราชูทศิ 4. _______ + คติ = มโนคติ 5. สํ + พทุ ธ = _________ ภาษาไทยกบั ครพู ่ีต่ีต๋ี – อาจารย์พรี ะเสก บริสทุ ธิ์บวั ทพิ ย์

เติมคาํ ในชอ่ งว่าง เฉลย 6. ________ + อศั จรรย์ = มหศั จรรย์ 7. จินต + _______ = จนิ ตนาการ 8. ทรัพย + อากร = _________ 9. กาล + เทศะ = _________ 10. ______ + อาวธุ = ขปี นาวธุ ภาษาไทยกบั ครพู ตี่ ีต่ ๋ี – อาจารย์พีระเสก บรสิ ทุ ธ์บิ วั ทิพย์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook