Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประโยคความซ้อน

ประโยคความซ้อน

Published by Maii kodchakorn., 2022-11-10 04:00:37

Description: ประโยคความซ้อน

Search

Read the Text Version

เร่ือง ประโยคความซอ น สาํ หรบั นักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปท ่ี ๒ โดย ครจู นั ทรเ จา เถยี รทวี โรงเรียนนวมินทราชนิ ทู ิศ สตรวี ทิ ยา พุทธมณฑล สํานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๓

ประโยคความซอน ประโยคความซอ น (สังกรประโยค) หมายถึง ประโยคทีป่ ระกอบดวยประโยค ความเดียวหน่ึงประโยคเปน ประโยคหลกั และมปี ระโยคยอยมาขยายหรอื ประกอบ ประโยคหลกั ใหไดใ จความชดั เจนหรือดขี ้นึ ตัวอยา ง ครูตาํ หนนิ กั เรยี น (ประโยคความเดียว) เพม่ิ ประโยคยอยมาขยายเปน ครตู าํ หนินกั เรียนที่คยุ กนั ประโยคหลัก คอื “ครูตาํ หนนิ กั เรียน” ประโยคยอ ย คือ “ท่ี (นกั เรยี น) คยุ กนั ” องคป ระกอบของประโยคความซอน ประโยคความซอ นประกอบดว ย สว นประกอบ ๒ สวน คือ ๑. ประโยคหลกั ๒. ประโยคยอ ย ประโยคหลกั (มุขยประโยค) คือ ประโยคหัวหนาหรอื ประโยคหลกั เปน ประโยคสาํ คญั ซึง่ จะขาดไมได และมีไดเ พียงประโยคเดียวตอ หน่ึงประโยคเทานัน้ ดงั ตวั อยางท่พี มิ พตวั หนาตอ ไปนี้ ตัวอยา ง เขามหี นงั สือซงึ่ ฉนั ไมม ี คนเกียจครานท่ีรอ งไหอยใู นหอ งสอบไลตก ประโยคยอ ย (อนปุ ระโยค) คือประโยคเล็กทท่ี ําหนา ทีแ่ ตง มุขยประโยคใหไ ด ความดขี น้ึ แบง ออกเปน ๓ ชนิด คือ ๑. นามานปุ ระโยค ๒. คณุ านุประโยค ๓. วเิ ศษณานุประโยค

ประโยคความซอ นชนดิ นามานปุ ระโยค นามานุประโยค คือ ประโยคยอยทท่ี ําหนา ทค่ี ลายกับนาม อาจเปนบทประธาน บทกรรม หรือบทขยายกไ็ ด มักเชื่อมดวยคาํ “วา” “ให” “สาํ หรบั ” “ของ” บางทีก็ไมม ี ตวั เช่อื ม เชน ๑) ทาํ หนาทีเ่ ปน บทประธาน คอื ทาํ หนา ทีเ่ ปน บทประธานหรอื ภาค ประธานของมุขยประโยค ตัวอยาง ภราดรเลน เทนนิสถกู ใจคนดู -ภราดรเลน เทนนสิ (ประโยคยอยทาํ หนาท่เี ปนบทประธานของประโยคหลกั ) -ภราดรถกู ใจคนดู (ประโยคหลกั ) คนเดนิ รมิ ถนนเปน ดารานักแสดง - คนเดนิ รมิ ถนน - คนเปน ดารานักแสดง (ประโยคหลกั ) เขาพดู เชนนี้เปน การสอนิสยั ชั่ว - เขาพดู เชนน้ี (ประโยคยอยทาํ หนา ท่ีเปนบทประธานของประโยคหลัก) - เขาเปนการสอ นิสัยช่วั (ประโยคหลกั )

๒) ทําหนาที่เปน บทกรรม คอื ทําหนา ทเ่ี ปน บทกรรมของมุขยประโยค ตัวอยาง ฉนั เห็นตํารวจไลจบั ผรู าย - ฉนั เหน็ ตํารวจ (ประโยคหลกั กรรมของประโยคหลกั คือ ตาํ รวจ) - ตํารวจไลจับผรู าย (ประโยคยอ ยทําหนาทเี่ ปนกรรมของประโยคหลกั ) แมจ างนักเลงเฝาบาน - แมจางนักเลง (ประโยคหลกั กรรมของประโยคหลกั คือ นกั เลง) - นักเลงเฝา บาน (ประโยคยอ ยทําหนา ทเี่ ปน กรรมของประโยคหลัก) ทกั ษอรซ้อื ปลาชอ นตาย - ทักษอรซื้อปลาชอ น (ประโยคหลกั กรรมของประโยคหลกั คอื ปลาชอ น) - ปลาชอนตาย (ประโยคยอยทาํ หนา ที่เปนกรรมของประโยคหลัก)

๓. ทําหนาทเ่ี ปน บทขยาย คอื ทาํ หนา ทข่ี ยายนามของประโยคหลัก คําเช่อื ม ไดแ ก ของ สาํ หรับ หรอื อาจไมม ีคําเชอ่ื มกไ็ ด ตวั อยา ง อาหารสําหรบั นกั เรียนเลนละครมอี ยใู นหอง - อาหารมอี ยใู นหอง (ประโยคหลัก) - สําหรบั นกั เรยี นเลน ละคร (ประโยคยอยทาํ หนา ท่ขี ยายนาม อาหาร ซง่ึ เปนประธานของประโยคหลัก คําเชือ่ ม คือ สําหรบั ) การเงินของพอ คาขายของชาํ ฝด เคอื งมาก - การเงนิ ฝด เคืองมาก (ประโยคหลัก) - ของพอ คาขายของชาํ (ประโยคยอยทาํ หนา ทข่ี ยายนาม การเงนิ ซึ่งเปน ประธานของประโยคหลกั คําเชอ่ื ม คอื ของ) อวนสําหรบั ชาวประมงจบั ปลามคี วามสําคัญมาก - อวนมคี วามสาํ คัญมาก (ประโยคหลัก) - สาํ หรับชาวประมงจับปลา(ประโยคยอ ยทําหนาทขี่ ยายนาม อวน ซ่ึงเปน ประธานของประโยคหลกั คาํ เชือ่ ม คือ สําหรับ) ฉันเปน คนเร่ิมตน คดิ โครงการนี้ - ฉันเปน คน (ประโยคหลกั ) - คนเรม่ิ ตน คดิ โครงการนี้ (ประโยคยอ ยทาํ หนา ทสี่ วนเตมิ เตม็ )

ประโยคความซอนชนดิ คณุ านปุ ระโยค คุณานุประโยค คอื ประโยคยอยทีท่ ําหนาที่เหมือนคาํ วิเศษณข ยายนามหรอื สรรพนามของประโยคหลกั โดยมปี ระพันธสรรพนามเปนตวั เช่อื ม เชน “ที่” “ซึ่ง” “อนั ” “ผ”ู โดยท่ีประโยคยอยน้จี ะอยหู ลังและติดกบั คําเช่ือมดังกลา ว ตวั อยา ง ครูชอบเด็กทมี่ ีความประพฤตดิ ี - ครูชอบเด็ก (ประโยคหลัก) - ท่ี (เดก็ ) มีความประพฤตดิ ี (ประโยคยอย) - คําเชือ่ ม คอื ท่ี นักเรยี นทน่ี ่งั หนา หอ งเรยี นเกง มาก - นกั เรียนเรียนเกงมาก (ประโยคหลัก) - ท่ี (นกั เรียน) นง่ั หนา หอ ง (ประโยคยอ ย) เปาบุน จ้นิ ลงโทษชายซง่ึ เปน คนช่ัว - เปาบนุ จน้ิ ลงโทษชาย (ประโยคหลกั ) - ซึ่ง (ชาย) เปน คนช่วั (ประโยคยอย) เธอทําตัวซงึ่ ไรคณุ คา - เธอทําตัว (ประโยคหลกั ) - ซงึ่ (ตวั ) ไรคณุ คา (ประโยคยอย)

เพชรอันมีรอยราวยอ มไรคา - เพชรยอมไรคา (ประโยคหลัก) - อนั (เพชร) มรี อยราว (ประโยคยอ ย) ผูอ ํานวยการมอบรางวัลแกนกั เรียนผูมีความประพฤตดิ ี - ผูอํานวยการมอบรางวัลแกน กั เรยี น (ประโยคหลัก) - ผู (นักเรียน) มคี วามประพฤตดิ ี (ประโยคยอ ย)

ประโยคความซอนชนิดวิเศษณานปุ ระโยค วิเศษณานุประโยค คอื ประโยคยอ ยท่ที ําหนา ที่เหมอื นคําวเิ ศษณขยายกริยาหรือ วิเศษณของประโยคหลกั ใหไ ดใ จความชัดเจนข้ึน โดยมีคําเช่ือมใหสงั เกต ดังนี้ ประพนั ธวิเศษณ ไดแก “ที่” “ซ่ึง” “อัน” ท้ัง ๓ คํานจ้ี ะตอ งอยูหลังและ ติดกบั คาํ กรยิ าหรอื วิเศษณเ ทาน้ัน คาํ บพุ บท ไดแ ก จน ตาม เพราะ ขณะท่ี ระหวา งที่ เมอ่ื จนกระท่ัง ต้งั แต สําหรบั เพอื่ ฯลฯ ตัวอยา ง นักเรียนไปโรงเรียนเพอื่ เรยี นหนงั สือ - นักเรียนไปโรงเรียน (ประโยคหลกั ) - เรียนหนังสือ (ประโยคยอ ย) - คําเช่ือม คอื เพอ่ื พัชราภาสง งานขณะที่อาจารยไมอยใู นหอ ง - พัชราภาสงงาน (ประโยคหลัก) - อาจารยไ มอ ยูในหอง (ประโยคยอย) - คาํ เช่ือม คอื ขณะที่ มนสั บุญจาํ นงชกมวยตามโปรโมเตอรบอก - มนสั บุญจํานงชกมวย (ประโยคหลกั ) - โปรโมเตอรบ อก (ประโยคยอย) - คาํ เชอ่ื ม คอื ตาม

เขมนติ อา นหนังสือเพือ่ สอบเอน็ ทรานซ - เขมนติ อานหนงั สือ (ประโยคหลัก) - สอบเอ็นทรานซ (ประโยคยอ ย) - คําเช่อื ม คือ เพื่อ สุวนนั ทเ ลน เปยโนเกงจนไดร บั รางวลั ชนะเลิศการประกวด - สุวนันทเ ลน เปย โนเกง (ประโยคหลัก) - (สุวนนั ท) ไดรบั รางวลั ชนะเลิศการประกวด (ประโยคยอย) - คาํ เชอื่ ม คอื จน เขามีความรเู พราะเขาอา นหนงั สอื มาก - เขามคี วามรู (ประโยคหลัก) - (เขา) อานหนังสอื มาก (ประโยคยอย) - คาํ เช่อื ม คือ เพราะ รถแลนเหมอื นลมพดั - รถแลน (ประโยคหลัก) - ลมพัด (ประโยคยอ ย) - คาํ เช่ือม คอื เหมอื น แกม ใสไปโรงเรยี นต้ังแตป ระตูโรงเรียนยังไมเปด - แกม ใสไปโรงเรยี น (ประโยคหลัก) - ประตูโรงเรียนยังไมเปด (ประโยคยอ ย) - คําเชือ่ ม คือ ต้ังแต

ใบงานท่ี ๑ เรอ่ื ง หนา ทปี่ ระโยคความซอ น คําช้แี จง ใหน กั เรยี นระบวุ าประโยคทก่ี าํ หนดใหเปนรูปประโยคชนิดใด โดยนาํ ตัวอักษรหนา คาํ ตอบตอไปนีไ้ ปใสห นาคําถามใหถ ูกตอง ก. ประโยคยอยท่ที าํ หนาที่เปนบทประธาน ข. ประโยคยอ ยทท่ี าํ หนา ท่ีเปนบทกรรม ค. ประโยคที่ทําหนาที่เปนบทขยาย ....................... ๑. ฉันเหน็ สุนัขตกนา้ํ ....................... ๒. อาจารยส อนวชิ าภาษาไทยไมม าโรงเรียน ....................... ๓. นกแสกบินผา นบา นเปนลางราย ....................... ๔. ครูไมชอบนกั เรียนเลน กนั ในเวลาเรียน ....................... ๕. รมของแมค า ขายสมตํามคี ันใหญมาก ....................... ๖. พี่เห็นตํารวจไลจ ับผรู าย ....................... ๗. นกแสกคอื นกหากินในเวลากลางคนื ....................... ๘. หนา ตาของเขาเหมือนคนมคี วามกงั วล ....................... ๙. ลมพายุพัดผานภาคใตท าํ ใหม ีฝนตกหนกั ....................... ๑๐. เขาทําใหฉ นั ตกใจ ....................... ๑๑. นกั เรยี นสง เสียงดังทําความราํ คาญแกครู ....................... ๑๒. คนเปนลมจมนํ้าตาย ....................... ๑๓. นองน่งั เลนของเลน อยใู นหอง ....................... ๑๔. ครสู อนนักเรยี นวายน้าํ ....................... ๑๕. เขาปลกู ตนไมเปน งานอดเิ รก

ใบงานท่ี ๒ เรือ่ ง ประโยคยอยที่ทําหนาท่เี หมือนคาํ นาม คําชแี้ จง ใหนักเรียนแตง ประโยคยอยทท่ี าํ หนา ทเ่ี หมอื นคาํ นามมาเตมิ ลงในชองวาง เพ่ือทาํ หนาท่ีเปน บทประธาน บทกรรม และบทขยาย ของประโยคหลัก ตอ ไปน้ี ตัวอยา ง ตํารวจจับผูร า ยฆาคนตาย ๑. คน ......................................................................... เปนคนนายกยอง ๒. ฉัน ...................................................................... เด็กกําพราไรทพ่ี ึ่ง ๓. วงการแพทย ........................................................ เรื่องยารักษาโรคเอดส ๔. ทาทาง .................................................................... เหมือนคนเสยี สติ ๕. พอ สอนวา .................................................................... ๖. คนเห็นแกต ัว ........................................... แลงนา้ํ ใจ ๗. แม............................................ นอ งรบี เขา นอนแตหวั คาํ่ ๘. คุณยาย ......................... คนรับประทานอาหารมมู มาม ๙. ฉันเหน็ คุณพอ ....................................................... ๑๐. การทําความดีทําให ........................................... เกิดขนึ้ ในใจ (ความสุข)

ใบงานท่ี ๓ เร่อื ง ประโยคความซอ นชนดิ คณุ านุประโยค คําช้แี จง ใหน ักเรยี นขีดเสนใตป ระโยคหลกั จากประโยคที่กาํ หนดให ตวั อยา ง ชุดราตรีที่แขวนในตูมรี าคาแพงมาก ๑. คนที่กาํ ลงั วิง่ คือนองของฉัน ๒. ครูไมชอบคนซึง่ เกียจครา น ๓. ความสวยอนั ไมจีรงั กําลังจะหมดไป ๔. ลกู หมาท่กี ําลงั กินอาหารรอ งเสยี งดงั ๕. เราควรทําความดอี นั เปนสิ่งประเสริฐ ๖. นกั รองที่เธอชอบตายเสียแลว ๗. นักเรยี นทีป่ ระพฤตดิ ียอ มมคี วามเจริญในชวี ิต ๘. คนทช่ี อบเขา สงั คมจะมีชอ่ื เสียง ๙. ยิม้ เปนคณุ สมบตั ิของมนุษยซ ึ่งหาไมไดจ ากสัตวโลกชนดิ อ่ืน ๑๐. สัตวท่เี รายกยอ งวาฉลาดยงั ไมสามารถยมิ้ ได

ใบงานท่ี ๔ เร่ือง ประโยคความซอนชนิดวเิ ศษณานปุ ระโยค คําช้แี จง ใหนักเรียนขดี เสน ใตประโยคยอ ยท่ที ําหนา ทเ่ี หมอื นคาํ วิเศษณข ยายกริยา หรือวเิ ศษณของประโยคหลกั และทําเครือ่ งหมาย  คาํ เชอื่ มจากประโยค ทกี่ ําหนดให ตัวอยาง ธรี ภทั รทํางานไปดวย ระหวาง ทเ่ี ขาเรียนหนงั สือ ๑. อาทติ ยาคดิ เลขเร็วมากจนคนพากันทง่ึ ๒. ราชสหี รอดชีวติ เพราะหนชู ว ยเหลอื ๓. นกั เรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปท ี่ ๒ ทาํ งานแขง็ ขนั จนไดรบั คาํ ชม ๔. เธอทําความดีโดยไมห วงั ผลตอบแทน ๕. เขาพดู ใหฉ ันไดค ดิ ๖. คนสวนพรวนดินเพอ่ื ชวยใหต นไมไ ดสารอาหาร ๗. ไฟไหมเพราะคนทิ้งกนบุหรี่ ๘. เขาลงเดนิ เม่ือรถติดมาก ๙. พอ คาทําธรุ กิจจนเปน เศรษฐี ๑๐. เธอพดู ช้ีแจงใหเขาเขาใจแลว


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook