Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นางสาวสุมินตรา ทาสีแสง

นางสาวสุมินตรา ทาสีแสง

Description: กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

Search

Read the Text Version

แบบรายงานผลการประชุม โรงเรยี นชุมชนบงึ บา สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาปทมุ ธานี เขต ๒ ๑. ขอ้ มูลสว่ นตัว ชื่อ-สกลุ นางสาวสมุ ินตรา ทาสแี สง ตำแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย สอนระดับช้ัน ประถมศึกษาปีท่ี ๔ วุฒิการศึกษา ศกึ ษาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ า ภาษาไทย ข้อมลู บคุ ลากรไปราชการ  ประชุม  อบรม  สมั มนา  ศึกษาดูงาน 2. กลมุ่ สาระการเรียนรูท้ เี่ ขา้ ร่วมประชมุ แลกเปล่ยี นเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิชาภาษาไทย หัวข้อรายการประชมุ อบรม ๒.๑ หวั ข้อ “การจดั การเรยี นการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ covid-19 ตามนโยบาย “ปรับบา้ นเป็นห้องเรยี น เปลี่ยนพอ่ แมเ่ ปน็ ครู” วนั ที่ 19 เดอื น กรกฎาคม พ.ศ. 2564 ณ โรงเรยี นชมุ ชนบงึ บา จังหวดั ปทุมธานี ๒.๒ ตามบนั ทึกข้อความ/คำสงั่ /หนงั สือ - ท่ี.....................-.................ลงวันที่ - โดยไปราชการระหวา่ งวันท่ี - เดือน - พ.ศ. - เปน็ เวลารวมทัง้ สน้ิ - วัน ๒.๓ สถานทป่ี ระชุม/อบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน ณ โรงเรียนชมุ ชนบึงบา (ประชมุ ออนไลน์) ๒.๔ หน่วยงานดำเนินการ สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 ๒.๕ การใช้ประโยชน์จากการประชุม/อบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน/นำนกั เรยี นเข้ารว่ มกิจกรรม () ปฏบิ ัตงิ านในหนา้ ท่ีรบั ผิดชอบ ( ) ขยายผลแกบ่ คุ ลากรในโรงเรียน ( ) เป็นแบบอย่างและเกียรติยศของโรงเรียน () อื่นๆ ระบ.ุ ....ศกึ ษาความรเู้ พ่มิ เติม.... ๓. ความรู้ ความเขา้ ใจ และประสบการณ์ท่ีได้รบั จากการประชุมเร่ือง “การจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์ การแพรร่ ะบาดของ covid-19 ตามนโยบาย “ปรบั บา้ นเป็นห้องเรียน เปล่ียนพ่อแม่เปน็ ครู” จากหลายกลุ่มในเขต พื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาปทมุ ธานีเขต 2 ตวั แทนขอแต่ละกล่มุ ไดใ้ หข้ ้อมูลต่าง ๆ ไว้ดังน้ี ๓.๑ ดา้ นการสำรวจขอ้ มลู ต่าง ๆ ๑) สื่อ อปุ กรณท์ บ่ี ้านของนักเรียน การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019: COVID-19) ทำ ให้เกิดการปรับตัว เป็นวิถีชวี ติ แบบใหม่ โดยเฉพาะสถาบนั ทางการศึกษาท่ีไม่สามารถจัดการ เรียนการสอนแบบปกติได้ จึงจำเป็นตอ้ ง ใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ เพื่อให้การเรียนรู้เกิดความ ต่อเนื่อง การเรียนการสอนแบบออนไลน์มี องค์ประกอบ ได้แก่ ผู้สอน ผู้เรียน เนื้อหา สื่อการเรียนและแหล่ง เรียนรู้กระบวนการจัดการเรียนรู้ ระบบการ ติดต่อสื่อสาร ระบบเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ การวัดและ การประเมินผล รูปแบบการเรียนการสอนมี หลากหลายวิธี ที่ทำให้ผู้สอนและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกันได้ การพิจารณาองค์ประกอบและรูปแบบที่สอดคล้อง เหมาะสมกับลักษณะวิชา และบริบทของผู้เรียนจะนำไปสู่ การประยุกต์ใช้สำหรับการจัดการเรียนการสอนแบบ ออนไลน์อยา่ งมีประสิทธิภาพ ส่งผลใหผ้ เู้ รียนเกดิ ผล ลพั ธ์การเรยี นรตู้ ามวตั ถปุ ระสงค์

โรงเรียนส่วนใหญ่นักเรียนมีความพร้อมทางด้านนี้ ทั้งโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟน และสัญญาอินเทอร์เน็ต แต่ก็มีนักเรียนอีกจำนวนไมน่ ้อยที่ยังขาดโอกาสทางการศกึ ษาในรูปแบบการเรียนแบบ on line และ on demand หลายโรงเรียนแก้ปัญหาโดยการแจกใบงาน แบบฝึกหัด และหนังสือเรียน เพื่อให้นักเรียนได้มีแบบฝึกหัดทำฝึกฝน ทำงานทีบ่ า้ น แตก่ ารทีไ่ มส่ ามารถเรยี นรู้ผ่านชอ่ งทาง online และ on demand ได้ กท็ ำให้เกิดปัญหาไม่น้อยทั้งกับ ตัวเด็กเองที่ไม่เข้าใจเนื้อหาวิชา และผู้ปกครองไม่รู้วิธีการสอนที่ถูกต้อง ทำให้การเรียนแบบ on hand โดยมี ผู้ปกครองเป็นผู้สอนทำหน้าที่เป็นครู อาจทำให้เด็กไม่ตั้งใจเรียนและอาจจะไม่สนใจนั่งเรียนส่งผลให้การวัดผล ประเมนิ ผลในชว่ งสุดท้ายไม่ผ่านเกณฑ์ 2) ความพร้อมของผ้ปู กครองในการส่งเสรมิ และชว่ ยเหลอื นกั เรียน ผู้ปกครองที่มีรายได้น้อย เผชิญความไม่พร้อมต่อการเรียนออนไลน์ ทั้งอุปกรณ์และค่าใช้จ่ายอินเทอร์เน็ต แม้การเรียนออนไลน์เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการเปิดเทอมจะไม่ใช่เรื่องใหม่ของผู้ปกครองในยุคที่มีการระบาด ของโควิด-19 ยังพบอุปสรรคในการเรียนออนไลน์ โดยอุปสรรคสำคัญ คือ ความไม่พร้อมในอุปกรณ์การเรียน ออนไลน์ โดยพบว่า นักเรียนส่วนใหญ่เรียนออนไลน์ผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่สมาร์ท ซึ่งแน่นอนว่าการเรียนออนไลน์ ผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่สมาร์ทโฟนเป็นระยะเวลานานก็อาจจะส่งผลต่อสุขภาพของนักเรียน โดยกลุ่มผู้ปกครองที่มี รายได้น้อยจะมีปัญหาเรื่องของอุปกรณ์การเรียนอย่างคอมพิวเตอร์/แท็บเล็ต และอินเทอร์เน็ต โดยเฉพาะกลุ่มที่มี บตุ รหลานในวยั เรียนมากกว่า 1 คน จะเผชิญกับข้อจำกัดในการซื้ออปุ กรณ์ดังกล่าวเพื่อใช้ในการเรียนออนไลน์ และ บางสว่ นมองว่าต้องมีรายจา่ ยค่าอินเทอรเ์ นต็ เพ่ิมขึน้ โรงเรียนส่วนใหญ่ผู้ปกครองพร้อมให้ความร่วมมือในการจัดการเรียนการสอนทุกรูปแบบ แต่ความพร้อมท่ี แตกต่างทำให้ผู้ปกครองบางส่วนไม่ได้มีเวลาในการดูแลบุตรหลานเท่าที่ควร เช่น รูปแบบการจัดการเรียนการสอน แบบ on line ในนักเรียนช่วงชั้นประถมต้นที่ต้องให้ความใส่ใจเป็นพิเศษ เพราะเด็กอาจจะเรียนรู้ด้วยตัวเองไม่ได้ เท่าที่ควร จึงต้องมีผู้ปกครองคอยนั่งดูแลด้วย ผู้ปกครองบางท่านมีสมาร์ทโฟนและอินเทอร์เน็ตพร้อมก็จริงแต่ต้อง พกอุปกรณไ์ ปทำงานดว้ ยทำให้นักเรยี นขาดอปุ กรณใ์ นการเรยี น ผู้ปกครองบางท่านไปทำงานต้องฝากลูกหลานไว้กับ ตายายและตายายอาจจะต้องดูแลหลานคนอื่น ๆ ด้วยทำให้ การเรียนการสอนไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ เด็กไม่มี สมาธิในการเรียน ปัญหาลักษณะนี้เป็นปัญหาที่แก้ไขได้ยาก เพราะถึงอย่างไรชีวิตความเป็นอยู่และปากท้องของ ครอบครัวก็เปน็ ส่ิงสำคญั ทีพ่ อ่ แมผ่ ูป้ กครองจะต้องดูแลเปน็ อย่างแรก 3) รปู แบบการจัดการเรียนการสอนให้แกน่ กั เรียน การจัดการศกึ ษาเพื่อรบั มือสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรัสโควดิ -19 ระลอกท่ีผ่านมา ทำให้ต้องคิด หารูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับแต่ละโรงเรียน เพราะในแต่ละพื้นที่มีการแพร่ระบาดของโรคท่ี แตกต่างกันตามที่ ศบค.กำหนด ดังนั้น ศธ.จะไม่กำหนดรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งเพื่อให้ทุกโรงเรียนจัดการเรียนการ สอนเหมือนกันทั้งหมด โดยได้ต่อยอดรูปแบบ การจัดการเรียนการสอนเป็น ๕ รูปแบบ เพื่อให้มีความเหมาะสมต่อ การรับมือกับการแพร่ระบาดระลอกใหม่นี้ คือ On-site เรียนที่โรงเรียน โดยมีมาตรการเฝ้าระวังตามประกาศของ ศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 On-air เรียนผ่านมลู นิธิการศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ หรือ DLTV On-demand เรียนผ่านแอปพลิเคชันต่างๆ On-line เรียนผ่าน อนิ เตอร์เนต็ และ On-hand เรียนท่บี า้ นดว้ ยเอกสาร เชน่ หนงั สอื แบบฝึกหดั ใบงาน ในรปู แบบผสมผสาน หรืออาจ ใชว้ ธิ ีอน่ื ๆ เช่น วทิ ยุ เป็นตน้ ในแต่ละโรงเรียนที่มานำเสนอจะพบรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่แตกต่างกันไปตามบริบท บางโรงเรียนที่ผู้ปกครองและนักเรียนมีความพร้อมทางอุปกรณ์และช่องทางการสื่อสารมากก็จะมีรูปแบบ การจัดการเรียนการสอนแบบ online และ on demand เป็นจำนวนมาก ตรงกันข้ามโรงเรียนใดที่ไม่พร้อมด้าน อุปกรณ์การเรียนการสอน โรงเรียนนั้นจะใช้วิธีการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบของ on hand นอกจากนี้ จะพบว่ารูปแบบการเรียนการสอนแบบ on hand ยังเหมาะกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนต้นอีกด้วย ส่ิงที่นา่ แปลกใจคือ รปู แบบการจัดการเรยี นการสอนแบบ on air หลายโรงเรียนใช้เป็นส่วนน้อยหรอื ไม่ได้ใช้รูปแบบ การจัดการเรียนการสอนรูปแบบนี้แล้วในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส 2019 ในรอบที่ 3 น้ี

อาจจะเนอ่ื งมาจากต้องเรียนตามตารางที่ตรงกบั การออกอากาศของช่องทที่ าง DLTV ได้กำหนดผปู้ กครองไม่ได้สอน ตามเวลาดังกล่าวเพราะต้องออกไปทำงาน ซึ่งการเรียนตามรูปแบบนี้มีหลายวิชาและเรียนหลายชั่วโมงในแต่ละวนั ใบงานที่นกั เรียนทำต้องเป็นรปู แบบที่ DLTV จัดมาให้ซึ่งในแต่ละวิชามีจำนวนหลายหน้าทำใหน้ กั เรียนเบื่อหน่ายใน การทำงาน จึงมีหลายโรงเรียนหันมาจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการตามนโยบายจากทางเขตพื้นที่การ ศึกษา มากขึ้น และนอกจากนี้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ on air ยังเกี่ยวเนื่องไปถึงครูต้องเตรียมใบงานอย่าง มากเพื่อให้นักเรียนได้นำกลับไปทำ ทั้งนี้ยังพบปัญหางบประมาณที่ใช้ในการจัดทำใบงานเป็นจำนวนมากจากการ ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ครั้งที่แล้ว ทั้งปัญหาท่ียังแก้ไม่ตกด้านการจัดสรรอุปกรณ์กล่องทีวีดิจิตอลท่ี สำรวจแลว้ แต่ยังไม่ได้รับการชว่ ยเหลือจากทางหนว่ ยเหนือ ทำใหห้ ลายโรงเรียนไม่ได้ใช้รูปแบบการจัดการเรียนการ สอนแบบ on air น้ีแลว้ ๓.๒ ดา้ นการจดั การเรยี นการสอนในรูปแบบตา่ ง ๆ จากการสำรวจความพร้อมของผปู้ กครองพบว่าการจัดการเรยี นการสอนในหลายโรงเรียนมรี ูปแบบหลักอยู่ 3 รปู แบบ ดงั น้ี 1) on line หลายโรงเรียนใช้ช่องทางในการสอนออนไลน์สำหรับนักเรียนได้แก่ Line Meeting, Google Meet, Zoom ซึง่ การเรยี นออนไลน์เป็นการส่ือสารสองทางทผ่ี ู้เรยี นสามารถโตต้ อบกับครูผสู้ อนได้ ทำให้การ เรยี นการสอนมีประสิทธิภาพมาก แตข่ ้อจำกัดเรื่องเวลาท่ีผู้ปกครองอาจจะไมส่ ะดวกเนื่องจากต้องพก อปุ กรณไ์ ปในทท่ี ำงาน 2) on demand รูปแบบการจัดการเรียนการสอนนีเ้ หมาะกับผูป้ กครองท่ีจะไม่สะดวกเนื่องจากตอ้ งพกอุปกรณไ์ ปในท่ี ทำงาน นักเรียนอาจไม่ได้เรียน on line แต่รูปแบบการเรียนการสอนแบบ on demand สามารถ ย้อนดูวิดโี อเน้อื หาการสอนได้ ชว่ ยแบ่งเบาผู้ปกครองไดใ้ นระดับหนึ่ง โดยหลายโรงเรียนใชร้ ปู แบบนีใ้ น การแกป้ ญั หานกั เรยี นท่ไี มพ่ รอ้ มด้านอุปกรณ์ โดยอัดคลปิ การสอนลงใน You Tube 3) on hand เป็นรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะกับนักเรียนที่ไม่พร้อมด้านอุปกรณ์ และเหมาะกับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 โดยเฉพาะชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ที่ไม่สามารถทำงานจากการดู รปู แบบในหนา้ จอได้ รูปแบบการจัดการเรียนการสอนนจ้ี ึงเปน็ สิ่งจำเป็น ๓.๓ ดา้ นสอ่ื ประกอบการจัดการเรยี นการสอน ๑) สือ่ ดา้ นวดิ ีโอ ส่ือตา่ งๆ คลปิ การสอน การจัดการเรียนการสอนที่ครูจดั ทำ ๒) ส่อื จากแหล่งต่าง ๆ เชน่ คลิปการสอนใน You Tobe ลิง้ ค์ เพจ ต่างๆ 3) ล้งิ คว์ ิดีโอการสอนจาก DLTV 4) คลิปวิดีโอการสอนจาก สสวท. 5) สื่อจากใบความรู้ บทความ เรือ่ งส้นั ใบงาน แบบฝกึ หัด ๓.4 ดา้ นการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยวัด และประเมินผลการจัดการเรียนการสอน หลายโรงเรียนประเมิน การเขียนจากการส่งภาพงานในไลน์กลุ่ม การสรา้ งอลั บมั้ ส่งใบงาน แบบฝึกหัด ผงานตา่ งๆ และประเมนิ การอ่านจาก วดิ ีโอการอา่ น คลิปการนำเสนอผลงาน ความรทู้ ่ไี ดจ้ ากการเรยี นทีผ่ ู้ปกครองสง่ ให้ในไลน์กลุ่ม หรอื ช้ินงาน ในกรณีที่ นักเรียนช่วงประถมศึกษาตอนปลายมีการวัดผลที่ซับซ้อน ครูมีแบบทดสอบให้นักเรียนทำผ่าน google form นักเรียนสามารถรู้ผลคะแนนและตรวจสอบคำตอบได้ดว้ ย ๓.5 ด้านการแกป้ ญั หาในการจัดการเรียนการสอน

1) ผู้ปกครองขาดอปุ กรณใ์ นการเรียนออนไลน์ หรอื มอี ุปกรณ์ แต่ไมม่ ีสัญญาณอินเทอร์เนต็ ครูใช้วิธีแจก ใบงานแบบ on hand ใหน้ กั เรยี นทำท่บี ้าน 2) ผู้ปกครองมีอุปกรณ์พร้อมแต่ไม่มีเวลา แก้โดยให้ผู้ปกครองช่วยสอนในเวลาหลังเลิกงาน แต่จะมี ปัญหาเร่อื งการส่งงานช้า ซึง่ ก็ยงั แก้ปญั หานไี้ มไ่ ด้ 3) นักเรยี นทำใบงานมาก เรยี นหลายวิชา แก้โดยการจัดการเรยี นแบบบรู ณาการ 4) ผู้ปกครองส่วนหน่ึงมีลกู หลานหลายคน ไม่สามารถจัดการเรยี นการสอนที่บ้านได้ ทำให้นักเรียนไม่ได้ ทำแบบฝึกหดั เพราะไม่มเี วลาดูแล ครูตอ้ งเข้าใจ และใหเ้ วลา ๔. แนวความคดิ ในการนำความรู้ และประสบการณ์ท่ีได้รบั ไปใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน แบง่ ตามประเด็น ดงั น้ี 4.1 การจัดขอ้ มลู ทำสารสนเทศของผ้เู รยี น และผู้ปกครอง 1) มีการประชมุ ผูป้ กครองเพอื่ สรา้ งขอ้ ตกลงเบื้องต้น 2) มปี ระวัติของนักเรยี นเป็นรายบุคคล 3) เย่ยี มบา้ นออนไลน์ เพื่อจัดเกบ็ ข้อมูลนักเรียนตามแบบ นร.01 4) มชี ่องทางการตดิ ตอ่ ทเ่ี ป็นปจั จุบนั 4.2 การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน 1) ประเมนิ ความพร้อมจากผปู้ กครองท้งั ดา้ นอปุ กรณ์ และด้านเวลา ทง้ั สภาพความเปน็ อยขู่ องครอบครัว 2) ประเมินความพร้อมของนกั เรยี น วัย ความรพู้ น้ื ฐาน เพ่ือเลือกรูปแบบการเรียนการสอนทเ่ี หมาะกับ นกั เรยี นทส่ี ดุ อาจจะมีการผสมผสานบ้าง ปรับตามความต้องการและความเหมาะสมของเน้ือหา 3) รปู แบบของกจิ กรรมต้องไมย่ ากจนเกนิ ไป นักเรยี นสามารถเรียนรแู้ ละเข้าใจได้ง่าย 4) รูปแบบกจิ กรรมจะตอ้ งไมส่ ร้างภาระค่าใชจ้ า่ ยอ่นื ๆ เกินความจำเปน็ ให้กับผปู้ กครอง ส่ือ ส่ิงของ หรอื อปุ กรณ์ ทจี่ ะให้นักเรียนทำช้ินงานต้องหาไดง้ ่าย และประหยัด 4.3 การจดั เตรยี มส่ือประกอบการเรยี นการสอน 1) การเรียนในรูปแบบ on line ครูจดั เตรยี มส่อื สำหรบั สอนเปน็ การนำเสนอในรูปแบบ Power Point 2) ในกรณีทผี่ ู้ปกครองและนกั เรียนไม่สะดวกเรียน on line ครจู ดั ทำวดิ ีโอที่มีเน้ือหาเหมือนกบั ท่เี รยี น on line ไปกอ่ นหนา้ โดยอัพโหลดลง You Tube และส่งล้ิงคใ์ ห้กบั นักเรยี นทางไลนก์ ลุ่มอีกครั้ง 3) รูปแบบกจิ กรรมจะต้องไมส่ รา้ งภาระคา่ ใช้จา่ ยอ่ืน ๆ เกินความจำเป็นให้กบั ผปู้ กครอง ส่ือ ส่ิงของ หรอื อปุ กรณ์ ทจี่ ะใหน้ กั เรยี นทำชิ้นงานต้องหาไดง้ ่าย และประหยดั 4.4 การวัดและประเมินผลการจดั การเรยี นการสอน 1) นักเรยี นสง่ งานทางไลน์กลมุ่ ท้ังรปู ใบงานการเขยี นในอลั บั้ม และวิดโี อการอ่าน 2) ให้นักเรยี นทำแบบทดสอบใน Google form เพ่ือง่ายตอ่ การประเมินผล 3) ครนู ำคะแนนทไี่ ด้มาประเมินผลนกั เรียน 4.4 รูปแบบ และแนวทางในการสง่ เสริม และชว่ ยเหลือนกั เรยี นเพม่ิ เติม และให้คำแนะนำชว่ ยเหลือ สนับสนนุ ผู้ปกครองในการมีสว่ นร่วมในการเรยี นของนักเรียน ประสานกับนักเรียนและผู้ปกครองเพื่อพูดคุยถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในช่วงการเรียนการสอน ในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของ Covid 19 ให้คำแนะนำ ให้ความช่วยเหลือ เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองเข้าใจและผ่านพ้น ปัญหาไปไดแ้ ละไม่เกิดปัญหาความเครียด ครูสอนในเนอื้ หาท่ีง่ายและสอดแทรกทักษะชีวิตลงไปและการดูแลตนเอง ใหห้ ่างไกลจากโรคทรี่ ะบาดในปัจจุบัน

ครูจำเป็นต้องใช้เวลาเยอะเพื่อสอนได้ครบถ้วน และไม่เอื้อให้นักเรียนมีส่วนร่วม (Active Learning) เทา่ ท่ีควร และหากยังใชห้ ลกั สูตรเดิมในการเรยี นการสอนภายใต้สถานการณโ์ ควดิ -19 ครจู ะต้องใชเ้ วลาสอนมากข้ึน เพื่อสอนให้ครบถ้วน การปรับหลักสูตรให้กระชับควบคู่ไปกับจัดลำดับความสำคัญ รวมทั้งผ่อนคลายตัวชี้วัดเรื่อง โครงสรา้ งเวลาเรยี นจะสามารถชว่ ยลดความกดดัน โดยยงั คงคุณภาพข้ันตำ่ ไว้ได้ ยืดหยุ่นในการใช้เวลาและการเลือกรูปแบบการเรียนจะทำให้ครูสามารถออกแบบหน่วยการเรียนรู้ท่ี เหมาะสมและส่งเสริมการเรียนรู้ - ชั่วโมงเรียนรู้ผ่านจอสำหรับเด็กแต่ละช่วงวัย โดยคำนึงถึงพัฒนาการด้านร่างกาย (ปัญหาด้านสายตา) และพัฒนาการดา้ นสงั คม (ปฏสิ มั พันธก์ ับผอู้ ่ืน) - ชัว่ โมงการเรียนร้ดู ว้ ยตนเองท่บี า้ นจากการทำใบงาน ชน้ิ งาน ค้นคว้าด้วยตัวเอง และ - ช่ัวโมงทค่ี รูและนักเรยี นทำกจิ กรรมเรียนร้รู ่วมกัน ลงชอ่ื ผรู้ ายงาน ลงช่ือ ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการฯ (นางสาวสุมินตรา ทาสีแสง) (นางสาวอภสั รา ประชาโรจน์) ตำแหน่ง ครผู ู้ช่วย ตำแหน่ง ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการสง่ เสรมิ และพัฒนาฯ ความเห็นหวั หนา้ กลุ่มบรหิ ารงานบุคคล ความเหน็ รองผู้อำนวยการกลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คล .......................................................................................... .......................................................................................... .......................................................................................... .......................................................................................... ลงชื่อ ลงชื่อ (นางสาวสงกรานต์ ถาวรรตั น์) (นางสาวสพุ รรณรตั น์ แสนบุตรดี) ตำแหนง่ หวั หน้ากลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คล ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานบคุ คล

ความเห็นของผ้อู ำนวยการโรงเรียน ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื (นายปิยราช สบื เชือ้ วงค์) ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นชมุ ชนบึงบา ภาคผนวก

ภาพการประชมุ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ “การจดั การเรยี นการสอนใน สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ covid-19 ตามนโยบาย “ปรบั บ้านเปน็ ห้องเรยี น เปล่ียนพ่อ แมเ่ ปน็ ครู” วันท่ี 19 กรกฎาคม 2564

ภาพการประชมุ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ “การจดั การเรียนการสอนในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของ covid-19 ตามนโยบาย “ปรับบ้านเป็นหอ้ งเรียน เปล่ยี นพอ่ แม่เปน็ ครู” วนั ที่ 19 กรกฎาคม 2564

ภาพการประชมุ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ “การจดั การเรียนการสอนในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของ covid-19 ตามนโยบาย “ปรับบ้านเป็นหอ้ งเรียน เปล่ยี นพอ่ แม่เปน็ ครู” วนั ที่ 19 กรกฎาคม 2564




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook