Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พัฒนาพลังงานแก๊สชีวภาพ1

พัฒนาพลังงานแก๊สชีวภาพ1

Published by nattatip29125, 2017-11-19 20:29:49

Description: พัฒนาพลังงานแก๊สชีวภาพ1

Search

Read the Text Version

รายงานโครงงานพัฒนาพลงั งานแกส๊ ชวี ภาพนางสาวญาณชั ชา สว่ ยโหย่ง 60560344นางสาวฐิตกิ า นนทประสาท 60560368นางสาวฐิติมา บุญสงู 60560375นางสาวณรัตนฏ์ พิ ร ทองหนกั 60560382นางสาวณัฐชยา เมฆอากาศ 60560399นางสาวณัฐฐาทิพย์ ทะกา 60560405นายณฐั ภพ ตยุ้ ศรี 60560429นางสาวดารารตั น์ พรมมา 60560436

รายงานโครงงานพัฒนาพลงั งานแกส๊ ชวี ภาพนางสาวญาณชั ชา สว่ ยโหย่ง 60560344นางสาวฐิตกิ า นนทประสาท 60560368นางสาวฐิติมา บุญสงู 60560375นางสาวณรัตนฏ์ พิ ร ทองหนกั 60560382นางสาวณัฐชยา เมฆอากาศ 60560399นางสาวณัฐฐาทิพย์ ทะกา 60560405นายณฐั ภพ ตยุ้ ศรี 60560429นางสาวดารารตั น์ พรมมา 60560436

ก บทคัดยอ่ การทาโครงการในคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อเปน็ การเรียนรู้ทาความเขา้ ใจและเผยแพรโ่ ครงการ ในพระราชดาริขององค์พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เพือ่ เป็นการสนองแนวพระรา ชดาริของพระองค์ท่าน โดยทาการศึกษางานในพระราชดาริ เร่ืองโครงงานพัฒนาพลังงานแก๊สชีวภาพจากการศกึ ษาของสมาชกิ ในกลุ่ม ระหวา่ ง เดือนตลุ าคม-พฤศจิกายน 2560 เอกสารในการจดั ทารายงานใน คร้ังน้ีคือ หนังสือโครงการในพระราชดารขิ องในหลวงรชั การท่ี9 หนงั สือวิจยั เรอื่ งโครงการในพระราชดาริ และส่ือเอกสารตา่ งๆ ในการประกอบการทาโครงงาน จากศึกษาการทาโครงการในครั้งนี้ คณะผ้จู ดั ทาไดค้ วามรู้และความเขา้ ใจในโครงการในพระรา ชดาริมากข้นึ โครงการในพระราชดาริเรอ่ื งพลังงานแก๊สชีวภาพ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั รัชกาลท่ี 9 ทรงพระปรีชาสามารถพระวิสยั ทัศน์ด้านพลังงานทดแทนท่ีทรงเริ่มต้นศึกษาวิจัยขึ้นเมื่อ 20 ปที ี่แลว้ ในขณะท่ีราคานา้ มันดิบในตลาดโลกมรี าคาสูงขึ้นทาให้ปจั จุบันประชาชนชาวไทยได้มที างเลอื กในการใช้พลงั งานทดแทน ท่ีคนไทยสามารถผลิตได้เองสามารถลดปริมาณการนาเขา้ ไดเ้ ปน็ จานวนมากคุณแก้วขวญั วชั โรทัย เลขาธิการสานักพระราชวังกล่าวถึงพระราชดาริเรือ่ งเช้ือเพลิงชีวภาพของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั รัชกาลท่ี 9 ท่มี ีมานานกว่าส่ีสิบปใี นหนังสือ \"72 ปี แก้วขวญั วชั โรทยั เลขาธกิ ารพระราชวงั \" วา่\"พระองค์ทรงรับส่ังมาต้ังแต่ พ.ศ.2504 แลว้ วา่ คา่ รถจะแพงก็แปลว่าน้ามันจะแพง บงั เอญิ ผมรจู้ ักกับพวกอุตสาหกรรมน้ามนั แลว้ คยุ เรื่องนี้ เขาบอกว่าเขาแขง่ ขนั กนั มันกต็ ้องลดราคาลงไปเร่ือย ๆพระองคก์ ็รับสั่งให้ทดลองผลิตแอลกอฮอลท์ ้าน้ามันเชอ้ื เพลิงทา้ เป็นนา้ มันแกส๊ โซฮอล์ ดีโซฮอล์ ในสวนจติ รลดา... ตอนนน้ั ทรงมพี ระราชปรารภวา่ เมอื งไทยก้าลงั เหอ่ ปลูกตน้ ยูคาลปิ ตัสที่ไหน ๆ ก็ปลกู หมด ยูคาลปิ ตัส3 ปี จึงจะตดั ได้ แล้วท่านก็รับสัง่ ว่าระหวา่ ง 3 ปเี ขาจะเอาอะไรกนิ แตถ่ า้ เผือ่ ปลูกออ้ ย ปลกู ทกุ ปขี ายได้ทุกปีแล้วก็เอาอ้อยมาท้าแอลกอฮอล์ เอาแอลกอฮอล์มาผสมเบนซิน เรากท็ ดลองผสมตั้งแต่10 เปอร์เซ็นต์ ท้ังเบนซนิ ทัง้ นา้ มันดีเซลใชไ้ ดร้ ถยนต์ของโครงการสว่ นพระองค์ใชน้ ้ามันแกส๊ โซฮอล์และดีโซลฮอล์\"การศกึ ษาวจิ ัยเกี่ยวกบั เช้ือเพลิงชวี ภาพของโครงการโครงการสว่ นพระองค์สวนจิตรลดาเร่ิมต้นขึ้นในปี พ.ศ.2528ด้วยพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวทรงมีพระราชดาริวา่ ในอนาคตอาจเกิดการขาดแคลนนา้ มันจึงมีพร ะราชประสงค์ให้นาอ้อยมาผลิตแอลกอฮอลเ์ พือ่ ใช้เป็นเช้ือเพลิงโดยพระราชทานเงินทนุ วิจยั เร่ิมต้นเป็นจานวน925,500 บาท จากโครงการในพระราชดาริของพระองค์ท่านทาให้ประเทศไทยของเรามีพลังงานทางเลือกเพม่ิ ขึน้ จากความคิดรเิ ริมมาสู่กระแสพระราชดาริของในหลวงราชการที่9

ขกิตติกรรมประกาศ รายงานฉบับน้ีไดร้ ับการสนับสนุนจาก หอ้ งสมุดมหาวทิ ยาลัยนเรศวรในการสบื คน้ ข้อมูลจากหนังสือปีการศกึ ษา2560 ขอบพระคุณคณะอาจารยจ์ ากรายวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศท่ีคอยดูแล ให้คาปรกึ ษาให้คาแนะนาในการทาโครงงานเร่อื งพัฒนาพลังงานแก๊สชีวภาพ ร่วมไปถึงผ้เู ก่ียวขอ้ งและให้ความช่วยเหลือในทุกๆดา้ น ทาให้รายงานฉบับนี้สาเรจ็ ลลุ ว่ งไปไดด้ ว้ ยดี ถ้ารายงานเลม่ น้มี ขี ้อผดิ พลาดประการใด คณะผู้จดั ทาจึงขออภยั มา ณ ทน่ี ี้ และน้อมรบั ข้อเสนอแนะต่าง ๆ ดว้ ยความยินดี คณะผจู้ ดั ทา

ค สารบญั หน้า กเนือ้ เรอ่ื ง ขบทคดั ย่อ 1กิตตกิ รรมประกาศบทที่ 1 บทนา 1 3  ความเป็นมาและความสาคัญของโครงงาน 3  วัตถปุ ระสงค์ 3  ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะได้รับ 3  ขอบเขตการทาโครงงาน 4  กรอบแนวคดิ ในการทาโครงงาน 4  ขั้นตอนการดาเนนิ งาน  แผนการดาเนินงาน 5บทที่ 2 เนื้อหาโครงการพัฒนาพลังงานแก๊สชีวภาพ 5 6  ความเปน็ มา 7  เอทานอล 9  วัตถดุ บิ ทใ่ี ชใ้ นการผลิตเอทานอล 10  ข้นั ตอนการผลติ น้ามันแกส๊ โซฮอล์และสตู รการผสมทโ่ี ครงการสว่ นพระองคส์ วนจติ รลดา 10  ขน้ั ตอนการผลติ นา้ มันแกส๊ โซฮอลใ์ นเชงิ พาณชิ ย์ 12  จากพระราชดาริสู่ประชาชน1 12  ดโี ซฮอล์ 12  ไบโอดีเซล 14  วตั ถดุ ิบสาหรบั การผลติ ไบโอดีเซล 15  หลกั การผลติ ไบโอดีเซล 15  ขน้ั ตอนในการผลิตไบโอดีเซลในเชงิ พาณิชย์ 17  การรเิ ริ่มไบโอดเี ซลจากปาล์มในไทย 17  ไบโอดเี ซลในประเทศไทย 18  ไบโอดเี ซลชมุ ชน 19  ไบโอดีเซลเชงิ พาณชิ ย์  จากพระราชดารสิ ปู่ ระชาชน 2 20 21บทที่ 3 บทสรปุบรรณานุกรม

1 บทท่ี 1 บทนา1. ความเป็นมาและความสาคัญของโครงงาน การพัฒนาไปสู่ควา มทัน สมัย( Modernization ) ตามแบบสังคมตะวันตก ได้ก่อให้เกิดกา รเปล่ียนแปลงในการใชพ้ ลังงาน และทรพั ยากรธรรมชาติของไทย เชน่ เดยี วกับท่เี กดิ ขึน้ ในประเทศต่างๆท่ัวโลกกอ่ นการเปลี่ยนแปลงตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 ซง่ึ เริ่มตน้ ปี พ.ศ. 2504 นนั้ พลังงานที่ใช้ไดแ้ กพ่ ลังงานจากน้ามนั ซึ่งมปี ริมาณไม่มากนักเพราะการคมนาคมขนส่งการผลิตภาคอุตสาหกรรมยังมีน้อยพลังงานไฟฟ้ามจี ากัดใช้ในเมืองใหญ่หรือเมืองสาคญั ผลติ โดยใช้น้ามัน และถ่านหนิ ประชาชนส่วนใหญ่ซึ่งอยู่ในชนบทใช้พลังงาน และทรพั ยากรในท้องถิน่ เป็นหลกั เพราะแบบแผนการผลิต และการบริโภคยงั เป็น แบบสังคมเกษตรกรรมเป็นสว่ นใหญ่ เชน่ ใช้พลังงานจากแสงอาทติ ย์ ไม้ฟืน ถา่ น แกลบ และเช้อื เพลงิ อ่ืน ๆ ท่ีหาได้จากธรรมชาติ ในปี พ.ศ. 2500 ปรมิ าณการใช้นา้ มนั อยใู่ นระดบั 6 ล้านบารเ์ รล เมือ่ เริ่มการพัฒนาแบบใหม่ ความตอ้ งการใช้น้ามันได้เพิ่มข้ึนอย่างทวีคูณ คอื เมื่อเร่ิมแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 2 พ.ศ.2510 ความตอ้ งการใช้นา้ มนั เพ่ิมขึ้นเป็น 19 ลา้ นบารเ์ รล มากข้ึนกวา่ 3 เทา่ หลงั จากนน้ั อีก 10 ปี คือ พ.ศ.2520 การใชน้ า้ มนั เพ่ิมขึ้นเป็น 70 ลา้ นบารเ์ รล และความต้องการใช้มอี ัตราการเพิ่มขึ้นในลักษณะการ ก้าวกระโดดอยตู่ ลอดเวลา มใิ ช่เพยี งน้ามนั เทา่ นน้ั การใช้พลงั งานของประเทศมลี กั ษณะเพ่ิมมากขึ้นทกุ ปี โดยการเพมิ่ ในชว่ ง พ.ศ. 2529 – 2539 มอี ตั ราเพม่ิ ถงึ รอ้ ยละ 16.8 น้ามนั สาเรจ็ รปู ยงั เปน็ พลังงานทีใ่ ช้กนั มากที่สดุ ภาพรวมการใช้พลังงานในปี พ.ศ. 2548 มีมูลค่า 1 , 227 , 785 ล้านบาท เพ่มิ ขึน้ จากปี พ.ศ.2547ประมาณ 196 , 063 ลา้ นบาท หรือคิดรอ้ ยละ 19.0 โดยมลู ค่าการใช้นา้ มนั สาเรจ็ รูปเพิ่มขึ้น 147 ,191 ลา้ นบาท หรือร้อยละ 24.3 และมูลค่าการใชไ้ ฟฟ้าเพ่ิมขนึ้ 26 , 811 ลา้ นบาท คดิ เป็นร้อยละ 8.9 จากสถติ ปิ ริมาณการนานา้ มันในรอบ 14 ปที ่ีผ่านมา พบว่ามีแนวโน้มเพิ่มข้นึ เร่ือย ๆ แมว้ า่ จะลดลงบา้ งในชว่ งปี พ.ศ.2541 และ 2542 เนอ่ื งจากเศรษฐกิจชะลอตวั จากปัญหาการลอยตัวของค่าเงินบาทในช่วงเศรษฐกจิ ยุคฟองสบู่แตก แตใ่ นปี พ.ศ. 2547 ปรมิ าณการนาเข้าน้ามันได้เพิ่มสูงขึ้นมาก และมีแนวโน้มว่าจะเพม่ิ ขึน้ ต่อไปจากการขยายตวั ทางเศรษฐกจิ อย่างต่อเนอ่ื ง การเปลย่ี นแปลงแบบเศรษฐกิจ และสงั คมแบบใหม่ ยงั มีผลใหเ้ กดิ การใช้พลังงานประเภทใหม่เพิ่มมากขน้ึ เชน่ เดียวกบั นา้ มนั ที่หลากหลายชนิดข้นึ มที ั้งนา้ มันเบนซิน ดีเซล น้ามันเตาเปน็ ต้น พลงั งานทเ่ี พม่ิ มากขน้ึ และท่ีเพมิ่ ใหม่ คือพลังงานน้า ก๊าซธรรมชาติ นา้ มนั เตา ดีเซล ซึ่งถกู ใช้เพือ่ การผลติ พลงั งานไฟฟา้ อันเป็น

2พลังงานแปรรูปหรือพลังงานทุติยภูมิ ( Secondary Energy ) ที่มีความสาคัญ และเป็นพลังงานท่ีมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว และการใช้พลังงานทุกระดับ ทั้งบุคคลครัวเรือนในเมือง ในชนบท โรงงานอุตสาหกรรม ธุรกิจร้านคา้ บรกิ าร เปน็ ต้น โดยโรงงานอุตสาหกรรม และธรุ กจิ การคา้ การบรกิ าร เป็นผู้ใช้ไฟฟา้ สว่ นใหญ่ มปี ริมาณมากกวา่ การใช้ในบ้านเรือนประมาณ 4 -5 เทา่ กรงุ เทพ ฯ นนทบุรี สมทุ รปราการ ซึ่งเป็น 3 จงั หวัดของเขตการใช้ไฟฟ้า นครหลวง คือ ผรู้ ่วมกนั ใช้พลงั งานไฟฟ้ามากทีส่ ดุ ของประเทศ คือ มากกวา่1 ใน 3 ของการใช้ไฟฟ้า หรือประมาณร้อยละ 40 ในขณะท่ีอีก 73 จังหวัดท่ีเหลือ ซ่ึงมีพ้ืนท่ี และจานวนจงั หวดั มากกวา่ ถงึ เกือบ 25 เท่า เป็นผู้ใชพั ลังงานไม่ถึง 2 ใน 3 หรือประมาณร้อยละ 60 และสถานการณ์เป็นเชน่ นมี้ าตลอด มใิ ช่เพยี งพลังงานเท่าน้นั แมใ้ นสว่ นของพลงั งานโดยรวมทุกชนิดกป็ รากฏว่าภาคอุตสาหกรร มและการขนส่งก็เป็นผใู้ ช้พลังงานส่วนใหญด่ ้วยเชน่ กัน ในภาคอุตสาหกรรมนั้น อตุ สาหกรรมอาหารใช้พลังงานในการผลิตมากเปน็ อันดับหนึง่ สะท้อนถงึ การกินอย่ขู องคนไทยที่เปลีย่ นแปลงไปจากเดิม จากท่เี คยกนิ ใชข้ องในท้องถ่นิ ชมุ ชน มาเปน็ การกนิ การใช้สนิ คา้ ขา้ วของแบบเดยี วกนั ทั้งประเทศ มีผลใหเ้ กิดการผลิต และการขนสง่ สนิ ค้าอปุ โภค บริโภคจากแหล่งผลติ หรอื โรงงานสู่ผู้บรโิ ภคในพน้ื ทตี่ ่าง ๆ ทั่วประเทศเพิ่มมากขน้ึ ท้ังทางรถไฟ รถยนต์ เครือ่ งบิน การเพิ่มปริมาณของรถบรรทุกขนาดใหญ่ และรถกระบะของพ่อค้าคนกลา งผู้นาสนิ คา้ เข้าไปจาหนา่ ยต่อในทุกซอกซอย ทุกลมุ่ น้า และการปรากฏตัวของบะหมี่ก่ึงสาเร็จรูป กาแฟกระป๋องน้าอัดลม ขนมขบเคีย้ วแบบใหม่ เปน็ ต้น ในเกอื บทกุ หม่บู ้านของประเทศไทย ร้านอาหารฟาสตฟ์ ้ดู ตามเมืองต่าง ๆ อาหารจานหรูจากยุโรปทล่ี ดั ฟา้ มาอยูใ่ นโรงแรมใหญ่ เป็นต้น เป็นเคร่อื งบง่ ช้ีทีช่ ดั เจนของการใช้พลังงานเพือ่ การบรโิ ภคแบบใหม่ทีเ่ พม่ิ มากขึ้น การเพิม่ ขนึ้ ของปรมิ าณรถยนต์ ก็เปน็ อีกส่วนหนงึ่ ของเครื่องบง่ ชี้ ทแ่ี สดงถึงวิธีชวี ิตทเ่ี ปลยี่ นแปลงไปสู่การบริโภคพลงั งาน และการใชท้ รพั ยากรธรรมชาตอิ ยา่ งมหาศาลของสังคมไทยปริมาณรถยนต์ที่มกี ารเพิ่มขึ้นเกือบเทา่ ตัวหรอื รอ้ ยละ 100 ในช่วงเวลาเพยี ง 5 ปี คือ พ.ศ. 2534 มรี ถยนต์ที่จดทะเบยี นท้ังประเทศ รวมทกุประเภทจานวน 8 , 427 , 086 แล้วเพ่ิมเป็น 16 , 093 , 896 คัน ในปี พ.ศ.2539 เพ่มิ ขน้ึ เกือบเท่าตัวหรือมากกว่าน้นั ในรถยนต์ทุกประเภท ทงั้ รถยนตส์ ่วนบคุ คล รถยนตร์ บั จ้าง รถจกั รยานยนต์ รถโดยสาร รถบรรทกุคิดเฉล่ียมีรถยนต์จดทะเบียนประมาณ 44 , 093 คันต่อวัน และตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 –2548 มีรถยนต์ทุกประเภทท่ีจดทะเบียนใหม่กว่าปีละ 2 ล้านคัน โดยปี พ.ศ. 2548 มีรถยนต์ทุกประเภทจดทะเบียนใหม่2 , 751 , 116 คนั และเมอ่ื สิ้นปี พ.ศ. 2548 มีรถยนต์ทกุ ประเภทจดทะเบยี นรวม 25 , 266 , 294 คัน ดงั นัน้ แบบแผนการพฒั นาเศรษฐกิจ และสงั คมแบบใหม่จึงมผี ลกาหนดวิถชี ีวิต การกินอยู่ การผลิต ท่ีมีผลโดยตรงต่อการเพิ่มขึ้นของการใช้พลังงานไฟฟา้ และพลังงานอืน่ ๆ โดยผู้มคี วามสามารถบริโภคมากจ ะเปน็ ผใู้ ชพ้ ลงั งานมาก การใชพ้ ลงั งานในประเทศไทยจึงก่อผลกระทบในด้านต่าง ๆ ไมว่ า่ จะเป็นด้านการ ขาดแคลนพลงั งานหรือปญั หามลพษิ ต่าง ๆ

3ปัญหาการใช้พลังงานของประเทศรุนแรงขึ้น จนอาจกล่าวได้ว่าเป็นวกิ ฤตการณ์ด้านพลังงานซ่ึงสรุปสาเหตขุ องวกิ ฤตการณพ์ ลังงานได้ดงั น้ี1. การขาดแคลนพลงั งานประเภทนา้ มันเชอื้ เพลงิ2. ราคานา้ มันเช้ือเพลงิ ของโลกเพิม่ สงู ข้นึ3. ขาดความรู้ และเทคโนโลยใี นการพฒั นาพลงั งาน4. นโยบายดา้ นพลังงานของประเทศเพ่มิ เริม่ ตน้ อยา่ งจริงจัง5. ความฟุ่มเฟอื ย และการใช้พลงั งานอย่างขาดประสทิ ธภิ าพ จากปัญหาด้านพลังงานท่ีเกิดขน้ึ ทาให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่9 ทรงมพี ระราชดาริโครงการพฒั นาพลงั งานแกส๊ ชีวภาพขนึ้ จงึ ทาให้คณะผู้จดั ทาโครงการ ไดม้ คี วามตัง้ ใจที่จะศึกษาโครงการในพระราชดาริ เรอื่ งพัฒนาพลังงานแกส๊ ชีวภาพเพ่ือเปน็ แนวทางในการศึกษาและทาความเข้าใจเพ่ือแก้ไขปัญหาด้านการขาดแคลนพลงั งานทเ่ี กิดขน้ึ ในปัจจุบนั2. วตั ถปุ ระสงค์ 1.เพอื่ ศึกษาโครงการในพระราชดารขิ องในหลวงรัชกาลท่ี 9 2. เพื่อใหไ้ ดร้ บั ความรเู้ ก่ยี วกับพลงั งานแก๊สชีวภาพ3. ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะไดร้ ับ 1.ทาใหม้ ีความรู้ความเข้าในโครงการในพระราชดารขิ องในหลวงรชั กาลท9่ี มากขนึ้ 2.สามารถนาความรูท้ ีไ่ ดจ้ ากการทาโครงการมาปรับใช้ในการลดปัญหาดา้ นพลังงานขาดแคลนที่ เกิดข้นึ ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ4. ขอบเขตการทาโครงงาน หนงั ส่อื ประกอบการทาโครงงานภายในหอ้ งสมดุ ของมหาวทิ ยาลัยนเรศวรและเวบ็ ไซต์ทเี่ กย่ี วข้อง5. กรอบแนวคิดในการทาโครงงาน การทาโครงงานในครั้งน้ีเพ่ือเปน็ การศกึ ษาโครงการในพระราชดาริ เรือ่ งพฒั นาพลังงาน แก๊สชีวภา พให้มีความรู้ความเขา้ ใจและสามารถนาความรู้ทีไ่ ด้มาปรับใชใ้ นปจั จบุ ันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

6. ขั้นตอนการดาเนินงาน 4 1. วันท่ี 20 กนั ยายน 2560 2. วนั ที่ 21-27 กันยายน 2560 อาจารย์มอบหมายหัวขอ้ รายงาน นาหัวข้อท่ไี ด้รบั มอบหมายจากอาจารย์มา พูดคุย 3. วันที่ 2 ตลุ าคม 2560 ปรึกษาและทาความเขา้ ใจกบั หวั ขอ้ ใหม้ ากข้ึน 4. วันท่ี 3-14 ตลุ าคม 2560 แบง่ หน้าท่ีรบั ผดิ ชอบ 5. วนั ท่ี 15-21 ตุลาคม 2560 ทารูปเลม่ 6. วนั ที่ 22 ตลุ าคม – 4 พฤศจิกายน 2560 ทาพาวเวอร์พ้อยท์นาเสนอ 7. วนั ที่ 5-11 พฤศจกิ ายน 2560 ทาโมเดลแหลง่ พลงั งานแก๊สชีวภาพ 8. วันที่ 12 พฤศจกิ ายน 2560 ทาอปุ กรณ์ประกอบการนาเสนอ 9. วนั ท่ีท่ี 19 พฤศจิกายน 2560 เตรียมการนาเสนอ ทา E-Book และสง่ ไฟลง์ าน7. แผนการดาเนินงาน ระยะเวลาการดาเนนิ งาน เดือนกันยายน เดือนตุลาคม เดือนพฤศจิกายนขน้ั ตอนการดาเนินงาน อาทิตย์ ีท่ 1 อาทิตย์ ่ีท 2 อาทิตย์ ่ีท 3 อาทิตย์ ่ีท 4 อาทิตย์ที่ 1 อา ิทตย์ที่ 2 อา ิทตย์ ่ีท 3 อาทิตย์ ่ีท 4 อา ิทตย์ที่ 1 อา ิทตย์ที่ 2 อาทิตย์ที่ 3 อาทิตย์ที่ 41.อาจารย์มอบหมายหัวขอ้ รายงาน2.นาหวั ข้อทไี่ ดร้ บั มอบหมายจากอาจารย์มาพูดคยุ ปรึกษา และทาความเขา้ ใจกับหวั ข้อใหม้ ากขึ้น3.แบ่งหน้าที่รบั ผิดชอบ4.ทารปู เลม่ รายงาน5.ทาพาวเวอรพ์ อ้ ยท์นาเสนอ6.ทาโมเดลแหล่งพลังงานแก๊สชีวภาพ7.ทาอปุ กรณป์ ระกอบการนาเสนอ8.เตรียมการนาเสนอ9.ทา E-Book และส่งไฟล์งาน

5 บทท่ี 2เน้ือหาโครงการพัฒนาพลังงานแก๊สชวี ภาพความเป็นมา พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัวรัชกาลที่ 9 ทรงพระปรีชาสามารถพระวิสยั ทัศน์ด้านพลังงานทดแทนท่ีทรงเร่ิมต้นศึกษาวิจยั ข้นึ เมื่อ 20 ปีท่ีแล้ว ในขณะที่ราคาน้ามันดิบในตลาดโลกมีราคาสูงข้ึนทาให้ปจั จบุ นัประชาชนชาวไทยไดม้ ีทางเลือกในการใช้พลังงานทดแทนที่คนไทยสามารถผลิตไดเ้ องสามารถลดปริมา ณการนาเขา้ ได้เปน็ จานวนมาก (คน้ จาก https://sites.google.com/site/pattaniknowlege/_/rsrc/1393735932202/bi-xo- disel/p18avthdj51e617g1fgr16savpr5.jpg ) คณุ แก้วขวัญ วชั โรทยั เลขาธิการสานักพระราชวังกล่าวถึงพระราชดาริเรอ่ื งเชื้อเพลงิ ชีวภา พของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั รชั กาลท่ี 9 ทีม่ ีมานานกว่าส่สี บิ ปีในหนังสือ \"72 ปี แกว้ ขวัญ วัชโรทัย เลขาธิการพระราชวงั \" ว่า \"พระองค์ทรงรบั ส่ังมาตงั้ แต่ พ.ศ.2504 แลว้ วา่ ค่ารถจะแพงกแ็ ปลว่าน้ามนั จะแพง บงั เอิญผมรู้จักกับพวกอุตสาหกรรมน้ามันแล้วคยุ เรอ่ื งนี้ เขาบอกว่าเขาแข่งขันกนั มันกต็ อ้ งลดราคาลงไปเรื่อย ๆพระองคก์ ็รับสั่งให้ทดลองผลิตแอลกอฮอล์ท้าน้ามันเชื้อเพลงิ ท้าเปน็ นา้ มนั แกส๊ โซฮอล์ ดโี ซฮอล์ ในสวนจิตรลดา...

6 ตอนนนั้ ทรงมีพระราชปรารภวา่ เมืองไทยกา้ ลงั เห่อปลกู ตน้ ยูคาลิปตัสทไ่ี หน ๆ กป็ ลกู หมด ยคู าลิปตัส3 ปี จงึ จะตัดได้ แล้วท่านกร็ ับสงั่ ว่าระหวา่ ง 3 ปีเขาจะเอาอะไรกิน แต่ถ้าเผ่อื ปลูกอ้อย ปลกู ทุกปขี ายได้ทุกปีแล้วก็เอาอ้อยมาท้าแอลกอฮอล์ เอาแอลกอฮอล์มาผสมเบนซิน เราก็ทดลองผสมต้ังแต่10 เปอร์เซ็นต์ ทง้ัเบนซนิ ทั้งนา้ มันดีเซลใช้ไดร้ ถยนตข์ องโครงการสว่ นพระองค์ใชน้ ้ามนั แกส๊ โซฮอลแ์ ละดีโซลฮอล\"์ การศกึ ษาวิจยั เกี่ยวกับเชอ้ื เพลิงชีวภาพของโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาเริ่มต้นข้ึนในปี พ.ศ.-2528ดว้ ยพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวทรงมีพระราชดาริว่าในอนาคตอาจเกิดการขาดแคลนน้ามันจึงมีพร ะราชประสงคใ์ หน้ าอ้อยมาผลิตแอลกอฮอลเ์ พือ่ ใช้เปน็ เชื้อเพลิงโดยพระราชทานเงินทุนวิจยั เริ่มต้นเป็นจานวน925,500 บาท (คน้ จาก https://sites.google.com/site/pattaniknowlege/_/rsrc/1393735932202/bi-xo- disel/p18avthdj51e617g1fgr16savpr5.jpg )เอทานอล การศกึ ษาวจิ ยั ภายในโครงการส่วนพระองคส์ วนจิตรลดาเร่ิมต้ังแต่การทดลองปลูกอ้อยหลายพนั ธ์ุเพ่ือคัดเลอื กพันธ์ทุ ด่ี ีทส่ี ุดนามาทาแอลกอฮอล์นอกจากอ้อยทีผ่ ลติ ไดภ้ ายในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาแล้วยังออกไปรับซอ้ื อ้อยจากเกษตรกรเพือ่ นามาเป็นวัตถุดิบอีกด้วย เรม่ิ เดนิ เคร่ืองการผลิตครง้ั แรกในปี พ.ศ. 2529 สามารถผลติ แอลกอฮอล์ 91 เปอรเ์ ซน็ ต์ได้ในอัตรา2.8 ลติ รตอ่ ชั่วโมง ตอ่ มาเน่อื งจากวตั ถุดบิ มีไม่เพียงพอ จงึ เปล่ียนมาใช้กากนา้ ตาลและมีการสรา้ งอาคารศึกษาวจิ ัยหลังใหม่ภายในโครงการสว่ นพระองคส์ วนจติ รลดา

7 สาหรับแอลกอฮอล์ทผี่ ลติ ได้ในช่วงแรกยังไมส่ ามารถนาไปผสมกับเบนซินไดจ้ ึงนาผลผลติ ทีไ่ ด้ไปทาเป็นน้าส้มสายชตู อ่ มากท็ าเป็นแอลกอฮอล์แขง็ ใช้อุน่ อาหารให้กับทางห้องเครื่องของสวนจติ รลดาเนื่องจากเดิมใช้แอลกอฮอล์เหลวคร้งั หนึ่งเมอื่ มีการขนสง่ แอลกอฮอล์เหลวไปยังพระตาหนักในภาคเหนือรถเกิดอบุ ัตเิ หตุทาให้ไฟไหม้รถท้ังคนั เพราะแอลกอฮอลเ์ ปน็ เชอ้ื เพลิงอย่างดจี ึงได้มีการคิดนาแอลกอฮอล์มาทาเปน็ เชื้อเพลิงแข็งเพ่อื ความปลอดภยั แทน โรงงานแอลกอฮอลม์ กี ารปรับปรงุ การกลนั่ เรือ่ ยมาต่อมากส็ ามารถผลิตแอลกอฮอล์บรสิ ุทธ์ิ95 %หรอืทีเ่ รียกว่าเอทานอลได้เป็นผลสาเร็จวัตถดุ บิ ทใ่ี ช้ในการผลิตเอทานอล วัตถุดบิ ทใี่ ช้ผลิตเอทานอลแบง่ ออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้ คอื 1.วัตถดุ ิบประเภทแปง้ ไดแ้ ก่ ธญั พืช ขา้ วเจา้ ขา้ วสาลี ขา้ วโพด ข้าวบารเ์ ลย์ ขา้ วฟ่าง และพวกพชื หัวเช่น มนั สาปะหลัง มนั ฝรง่ั มนั เทศ เปน็ ต้น 2.วัตถดุ ิบประเภทนา้ ตาล ได้แก่ อ้อย กากนา้ ตาล บตี รูต ข้าวฟ่างหวาน เป็นต้น 3.วตั ถดุ บิ ประเภทเส้นใย ส่วนใหญเ่ ปน็ ผลพลอยได้จากผลผลิตทางการเกษตร เช่น ฟางขา้ ว ชานออ้ ยซังข้าวโพด ราขา้ ว เศษไม้ เศษกระดาษ ข้เี ลอ่ื ย วชั พืช รวมทัง้ ของเสยี จากโรงงานอุตสาหกรรม เชน่ โรงงานกระดาษ เป็นตน้ (คน้ จาก https://sites.google.com/site/pattaniknowlege/_/rsrc/1393735932202/bi-xo- disel/p18avthdj51e617g1fgr16savpr5.jpg )

8 เม่อื โรงงานแอลกอฮอลข์ องโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาสามารถผลิต แอลกอฮอล์บริสุทธ์ิ 95เปอรเ์ ซ็นต์ และทดลองนาไปผสมกับน้ามันเบนซนิ เตมิ เครื่องยนต์ แต่ไมป่ ระสบความสาเร็จ เพราะแอลกอฮอล์บริสทุ ธ์ิ 95 เปอร์เซ็นตม์ นี า้ ผสมอยู่ด้วย ต้องนาไปกลั่นแยกนา้ เพ่ือให้ได้แอลกอฮอลบ์ ริสุทธิ์ 99.5 เปอรเ์ ซ็นต์หรือเอทานอล ก่อนนาไปผสมกับน้ามันเบนซิน โครงการส่วนพระองค์สวนจติ รลดาจงึ นาแอลกอฮอล์บริสุทธ์ิ 95 เปอรเ์ ซ็นตไ์ ปผา่ นกระบวนการ แยกน้าทสี่ ถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งประเทศไทยเพ่ือใหไ้ ดเ้ อทานอล และนากลับมาผสมกบั นา้ มันเบนซนิ ท่โี ครงการสว่ นพระองค์สวนจติ รลดา ปี พ.ศ.2537 โครงการสว่ นพระองค์สวนจิตรลดาขยายกาลังการผลิตเอทานอลเพอื่ ใหม้ ีปริมาณเพียงพอผสมกบั นา้ มันเบนซนิ 91 ในอัตราส่วน 1:9 ไดเ้ ปน็ น้ามันแก๊สโซฮอล์ เติมให้กบั รถยนต์ทกุ คนั ของโคร งการสว่ นพระองคส์ วนจิตรลดา ซงึ่ เปน็ หนึง่ ในหกโครงการเฉลิมพระเกยี รติ เนอ่ื งในวโรกาสทพี่ ระบาทสมเด็จพร ะเจ้าอยหู่ ัวทรงครองสิริราชสมบตั ิครบ 50 ปี ของสานกั พระราชวงั เมอ่ื วันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ.2538 สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดาเนนิ ไปทรงเปิดโรงงานผลติ แอลกอฮอล์เปน็ เชือ้ เพลิง โดยโรงกล่ันใหมน่ มี้ กี าลังการผลิตแอลกอฮอลไ์ ดช้ ั่วโมงละ 25 ลติ รในกระบวนการกลน่ั จะไดน้ ้ากากส่าเป็นน้าเสีย ซงึ่ ส่วนหนงึ่ ใช้รดกองปุ๋ยหมกั ของโรงงานปยุ๋ อินทรยี ์ (คน้ จาก https://sites.google.com/site/pattaniknowlege/_/rsrc/1393735932202/bi-xo- disel/p18avthdj51e617g1fgr16savpr5.jpg ) การผสมแอลกอฮอล์กบั เบนซนิ ของโครงการส่วนพระองค์สวนจติ รลดาในระยะแรกเปน็ การนานา้ มนัและเอทานอลมาผสมในถังธรรมดา ใช้แรงงานคนเขย่าให้เข้ากัน ต่อมาบริษัท ปตท. จากัด (มหาชน)

9(การปโิ ตรเลียมแห่งประเทศไทยในเวลานน้ั ) จึงนอ้ มเกล้าน้อมกระหม่อมถวายหอผสมและสถานบี ริ การน้ามันแก๊สโซฮอลแ์ ก่โครงการสว่ นพระองค์สวนจิตรลดา ปี พ.ศ.2544 ภาคเอกชน 2 กล่มุ นอ้ มเกลา้ น้อมกระหม่อมถวายเครื่องแยกน้าออกจากเอทาน อล(Dehydration Unit) 2 แบบ คือ เครื่อง Molecular Sieve Dehydration Unit และเครื่อง MembraneDehydration Unit (ค้นจาก https://www.alibaba.com/showroom/biodiesel-machine.html) ปัจจุบนั สถานีบริการเชื้อเพลงิ ในโครงการส่วนพระองคส์ วนจิตรลดา นอกจากผลิตน้ามนั แก๊สโซฮ อล์เติมให้กับรถยนต์ทุกคันของโครงการแล้ว งานทดลองผลิตภณั ฑ์เช้ือเพลิงของโครงการส่วนพระองคส์ วนจติ รลดายังเปน็ แหล่ง ความรแู้ ก่ประชาชนที่สนใจอกี ดว้ ยขน้ั ตอนการผลิตน้ามนั แก๊สโซฮอล์และสูตรการผสมทโี่ ครงการสว่ นพระองค์สวนจิตรลดา (ค้นจาก https://www.alibaba.com/showroom/biodiesel-machine.html)

10ขน้ั ตอนการผลติ น้ามนั แก๊สโซฮอล์ในเชงิ พาณิชย์ นาวตั ถดุ บิ อยา่ งเช่นขา้ ว ขา้ วโพด มนั สาปะหลงั อ้อย ขา้ วฟา่ งหวาน ฯลฯ ไปผา่ นกระบวนการหมักจากนน้ั นาไปผ่านกระบวนการกลน่ั และแยกให้บริสุทธ์ิ ซ่งึ จะทาให้ได้เอทานอล 95 เปอรเ์ ซน็ ต์ หลงั จากน้ันนาไปผ่านกระบวนการแยกน้า ทาให้ได้เป็นเอทานอล 99.5 เปอร์เซ็นต์ ก่อนนาไปผสมกับน้ามันเบนซนิถ้าผสมกบั นา้ มนั เบนซิน 87 กจ็ ะไดเ้ ป็นนา้ มันแก๊สโซฮอล์ 91 ถา้ ผสมกบั นา้ มนั เบนซิน91 ก็จะไดเ้ ปน็ น้ามันแก๊สโซฮอล์ 95 (ค้นจาก https://www.alibaba.com/showroom/biodiesel-machine.html)จากพระราชดาริสู่ประชาชน 1 ชว่ งปี พ.ศ.2528-2530 บรษิ ัท ปตท. จากดั (มหาชน) และบรษิ ทั บางจากปิโตรเลยี ม จากัด (มหาชน)เปิดจาหนา่ ยน้ามันแก๊สโซฮอล์ได้ระยะหนึง่ ก็ต้องหยุดไปเพราะราคาน้ามนั เบนซนิ ในเวลานั้นถูกกว่ารา คาแอลกอฮอล์ 95 เปอร์เซน็ ต์จึงไมค่ ้มุ ค่ากบั การนามาจาหน่าย อย่างไรก็ตามโครงการส่วนพระองค์สวนจติ รลดายั งคงศึกษาวิจัยเก่ียวกับน้ามันแก๊สโซฮอล์อยา่ งต่อเนื่องมาตลอดดงั นัน้ เมื่อเกิดวิกฤตราคาน้ามนั การนาผลการศึกษาวจิ ยั เรือ่ งพลงั งานทดแทนตามพระราชดาริมาต่อยอดขยายผลในเชิงพาณชิ ย์จงึ เป็นไปไดอ้ ย่างรวดเร็ว พ.ศ.2539 รฐั บาลมนี โยบายยกเลกิ การเติมสารตะกัว่ เพือ่ แกไ้ ขปัญหามลพิษทางอากาศ ทาให้โรงกลน่ัน้ามันต้องนาเข้าสารเพิ่มออกเทน MTBE (Methyl Tertiary Butyl Ether) มาผสมกับน้ามันเบนซินแทนอย่างไรกต็ าม สาร MTBE ซง่ึ นอกจากชว่ ยลดมลพิษทางอากาศแลว้ ยังประหยดั เงนิ ตราตา่ งประเทศปีละหลายร้อยล้านบาท รวมทง้ั ช่วยใหเ้ กษตรกรสามารถขายผลิตผลทางเกษตรในราคาสูงข้นึ

11 (คน้ จาก https://www.alibaba.com/showroom/biodiesel-machine.html) พ.ศ.2544 บรษิ ัท ปตท. จากดั (มหาชน)ร่วมกับโครงการสว่ นพระองค์สวนจิตรลดาผลิตและจาหน่ายนา้ มันแกส๊ โซฮอลโ์ ดยเริ่มจาหนา่ ย ณ สถานบี รกิ ารน้ามัน ปตท.บรเิ วณสานักงานใหญถ่ นนวิภาวดีรงั สติ ปเี ดียวกนั บริษัท บางจากปิโตรเลยี ม จากดั (มหาชน)รว่ มกับสถาบนั วจิ ัยวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแหง่ ประเทศไทยผลิตเอทานอลบรสิ ุทธ์ิ 99.5 เปอรเ์ ซน็ ต์จากมันสาปะหลังแล้วนามาผสมกับนา้ มันเบนซินในสัดส่วน 10 เปอร์เซ็นต์ ทดแทนสาร MTBE เปน็ นา้ มันแก๊สโซฮอล์ ออกเทน 95 จนกระทงั่ ปจั จุบันเปดิ จาหน่ายทว่ั ประเทศผา่ นสถานีบรกิ ารกวา่ 600 แหง่ รวมถึงนาเอทานอลมาผสมเปน็ น้ามนั แก๊สโซฮอล์ 91เป็นรายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ตง้ั แตป่ ี พ.ศ.2547 ภายในเวลาเพยี งไม่กปี่ ีน้ามันแก๊สโซฮอล์กไ็ ด้รับความนิยมในหมู่ประชาชนท่ัวไปอยา่ งกว้างขวางซึ่งนอกจากชว่ ยลดการนาเขา้ น้ามันลงไดส้ ว่ นหนึ่งแลว้ ยังช่วยลดมลภาวะเป็นพิษในอากาศได้อกี ดว้ ย (คน้ จาก https://www.alibaba.com/showroom/biodiesel-machine.html)

12ดีโซฮอล์ น้ามันเชอื้ เพลิงที่ได้จากการผสมน้ามันดีเซลกับแอลกอฮอล์ เพอ่ื นาไปใช้แทนนา้ มันของเครือ่ งยนต์ดเี ซลโครงการดโี ซฮอล์เริ่มขน้ึ ในปี พ.ศ.2541 โดยโครงการสว่ นพระองค์สวนจติ รลดาทดลองผสมแอลกอฮ อล์95เปอร์เซ็นตก์ บั น้ามนั ดเี ซลและสารอิมลั ซิไฟเออรซ์ ึง่ มคี ุณสมบตั ทิ าให้แอลกอฮอลก์ บั นา้ มันดีเซลผสมเข้ากัน ได้โดยไมแ่ ยกกันท่อี ตั ราสว่ น14:85:1 ดโี ซฮอลจ์ ะใชก้ ับเคร่ืองยนต์ดีเซล เช่นรถแทรกเตอรข์ องโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาจากผลการทดลองพบวา่ สามารถใช้เปน็ เช้ือเพลงิ ไดด้ ีพอสมควรและสามารถลดควันดาลงไปประมาณ 50 เปอร์เซน็ ต์ ปัจจบุ นั ดโี ซฮอล์เป็นโครงการศึกษาวจิ ัยภายในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาเท่าน้นั ยงั ไม่มกี ารนาออกมาใชใ้ นเชงิ พาณิชย์ไบโอดเี ซล ไบโอดีเซล (Biodiesel) คือ นา้ มันพชื หรือน้ามันสตั วร์ วมท้ังน้ามันใช้แลว้ จากการปรุงอาหารนา มาทาปฏิกริ ยิ ายาทางเคมกี ับแอลกอฮอล์เรียกอกี อย่างวา่ สารเอสเตอร์ มีคณุ สมบตั ิใกลเ้ คยี งกับน้ามนั ดีเซลมากและในกระบวนการผลิตยังได้กลเี ซอรอลเปน็ ผลพลอยไดซ้ ่ึงสามารถนามาใชใ้ นอุตสาหกรรมเครื่องสาอางอีกด้วย (ค้นจาก https://www.alibaba.com/showroom/biodiesel-machine.html)วตั ถดุ บิ สาหรบั การผลิตไบโอดเี ซล วตั ถุดบิ ในการผลติ ไบโอดีเซลได้แก่นา้ มนั พชื และนา้ มนั สัตว์ทุกชนิด แต่การนาพชื น้ามันชนิดใดมาทาเปน็ ไบโอดีเซลน้นั แตกตา่ งกนั ไปตามลักษณะสภาพภูมอิ ากาศและภูมิประเทศ เชน่ ประเทศสหรัฐอเมริกาทาจากถว่ั เหลอื งซง่ึ ปลูกเป็นจานวนมาก สว่ นในประเทศแถบยโุ รป ทาจากเมลด็ เรพและเมล็ดทานตะวนั เป็นต้น

13 สาหรับในประเทศไทยผลิตไบโอดีเซลจากมะพรา้ วและปาลม์ นา้ มัน โดยผลการวจิ ัยในปจั จุบัน พบว่าปาล์มคือพชื ที่ดแี ละเหมาะสมที่สุดในการนามาใช้ทาไบโอดีเซล เพราะเป็นพชื ท่มี ศี ักยภาพในการนามาผลิตเป็นเชอ้ื เพลิงสงู กว่าพืชนา้ มันชนิดอืน่ จากการที่มีตน้ ทนุ การผลิตตา่ ใหผ้ ลผลติ ตอ่ พ้นื ทส่ี ูง ปาล์มน้ามันให้ผลผลิตน้ามนั ตอ่ ไร่สงู กว่าเมล็ดเรพซึ่งใช้เปน็ วัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซลในประเทศแถบยุโรปถึง ๕ เท่า และสูงกว่าถ่ัวเหลืองท่ใี ชก้ นั มากในสหรัฐอเมริกาถึง 10 เท่า (ค้นจาก https://sites.google.com/site/pattaniknowlege/_/rsrc/1393735932202/bi-xo- disel/p18avthdj51e617g1fgr16savpr5.jpg ) เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ.2547 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีรับส่ังกับผู้บริหารบริษัท โตโยต้ามอเตอร์ (ประเทศไทย) จากดั พร้อมดว้ ยผบู้ รหิ ารจากประเทศญี่ปุ่นท่ีมาเข้าเฝา้ ฯเรื่องเมล็ดสบดู่ า วา่ นา่ จะมีคณุ สมบตั บิ างอยา่ งดีกว่าน้ามันปาล์มในการทา ไบโอดีเซล เพราะต้นสบู่ดาเจรญิ เตบิ โตได้เร็วกว่าปาลม์ น้า มันและสามารถเก็บผลผลิตไดห้ ลังจากปลูกไม่เกนิ 1 ปี นอกจากนัน้ สบู่ดายังไม่เป็นอาหารของมนุษย์หรือสตั ว์ แม้จะมีขอ้ เสยี เร่อื งพษิ ของเมล็ดสบู่ดาที่อาจเกิดขน้ึ แก่มนุษย์ไดห้ ากรบั ประทานหรือสัมผสั บริษัท โตโยต้า ฯจึงร่วมกับหลา ยห น่วยงา น อัน ได้แก่ สถา บัน วิจัยและพัฒน า แ ห่ งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) และ Toyota Technical Center Asia-Pacificจดั ทาโครงการวจิ ัยเรื่องเมล็ดสบูด่ า ทัง้ นจ้ี ากการศกึ ษาเบอื้ งตน้ พบว่า ต้นสบู่ดาขยายพันธงุ์ ่ายและมีอายุยืนกวา่ ต้นปาล์ม โดยมีอายุยืนถงึ 50 ปี และเร่มิ เก็บผลผลิตได้เมื่ออายุ 5-8 เดอื น สาหรบั โครงการวจิ ยั ในข้ันตอ่ ไปจะเป็นการศึกษาแบบครบวงจร ต้ังแต่การวิจัยเมล็ดพันธุ์ที่ให้น้ามันสูงสุด การปลูก แมลงที่เป็นศัตรูพืชและเป็นประโยชน์การเกบ็ เมลด็ การสกัดนา้ มนั การทดสอบกบั เครอื่ งยนต์ รวมท้งั การศกึ ษาเร่อื งต้นทนุ การผลติ ดว้ ย

14 (ค้นจาก https://sites.google.com/site/pattaniknowlege/_/rsrc/1393735932202/bi-xo- disel/p18avthdj51e617g1fgr16savpr5.jpg ) นอกจากพชื ดงั กล่าวมาแลว้ น้ามนั พชื ใช้แลว้ ก็สามารถนามาทาไบโอดีเซลได้เช่นกนั และน้ามนั พืชใช้แลว้ กเ็ ปน็ วัตถดุ บิ อีกชนดิ หนึ่งทโี่ ครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาใช้ผลิตไบโอดีเซลมาเนน่ิ นานแล้ว โดยนาน้ามันเหลือใชจ้ ากหอ้ งเครอ่ื งมาทาเป็นไบโอดเี ซล ปจั จุบนั บรษิ ทั บางจากปิโตรเลยี ม จากัด (มหาชน) ก็เร่มิ รับซอื้ นา้ มันพืชใช้แล้วไปทาเปน็ ไบโอดีเซลเช่นกนัหลักการผลติ ไบโอดีเซล วตั ถดุ บิ ทมี่ ีศักยภาพในการผลิตไบโอดีเซลในประเทศไทยได้แก่ นา้ มนั พชื ใชแ้ ล้วและพชื นา้ มนั โดยนามาผสมกับเมทานอลหรอื เอทานอล จะไดเ้ มทิลเอสเตอร์หรือเอทลิ เอสเตอร์ ซง่ึ ก็คอื ไบโอดเี ซล และได้กลีเซอรอลเปน็ ผลพลอยได้ ซึง่ สามารถนามาใชใ้ นอตุ สาหกรรมและเครอื่ งสาอางอกี ด้วย (ค้นจาก https://www.alibaba.com/showroom/biodiesel-machine.html)

15ข้นั ตอนในการผลิตไบโอดีเซลในเชิงพาณิชย์ นาพืชนา้ มนั เชน่ ปาล์มน้ามนั มะพร้าว สบูด่ า ละหุ่ง ฯลฯ ไปผา่ นกระบวนการบีบหรือสกัดด้วยตัวทาละลา ยทา ให้ได้น้า มัน พืช หลังจ า กนั้น ผ่า นกร ะบวน กา รทา ให้บริสุทธ์ิ น า ไปผ่า น กร ะบวนการtransesterification ด้วยการเติมสารตระกูลแอลกอฮอล์ จะได้เปน็ ไบโอดเี ซล (คน้ จาก https://www.alibaba.com/showroom/biodiesel-machine.html)การริเรม่ิ ไบโอดเี ซลจากปาล์มในไทย การพัฒนาและวิจัยน้ามันปาล์มเพื่อสนองพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เร่ิมดาเนินการเมื่อวันที่ 9 กันยายน 2518ในคราวที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั รัชกาลที่ 9 ทอดพระเนตรสวนปาล์มน้ามันทีน่ ิคมสร้างตนเองพัฒนาภาคใต้ อ.ควนกาหลง จ.สตูลเน่อื งจากขณะน้ันปาล์มน้ามันยงั เป็นพืชที่ไม่ค่อยมใี ครรู้จกั และพระองคม์ กี ระแสรบั สั่งให้สรา้ งเครือ่ งหีบน้ามันปาล์มขนาดเลก็ ขน้ึ เอง โดยไม่ตอ้ งซ้ือจากต่างประเทศ วันท่ี 2 ตลุ าคม 2526 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั รชั กาลที่ 9 มพี ระราชดาริให้ทาการวิจัยและพฒั นาโรงงานสกดั นา้ มนั ปาล์มขนาดเลก็ ใหก้ ลุ่มเกษตรสวนปาล์มรายยอ่ ย เน่ืองจากมจี านวนโรงงานน้อย ทาให้เกษตรกรที่ปลกู ปาล์มนา้ มันตอ้ งมคี า่ ใชจ้ า่ ย และประสบกับปญั หาในการนาผลผลติ มาจาหนา่ ยใหแ้ ก่โรงงานซ่ึงอยู่ไกลจ ากสวน ปาล์ม ทา ให้ถูกกดราคา ถึง ได้สร้า งโรงงาน สา ธิตการสกัดน้ามัน ปา ล์มขึ้นในมหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทรใ์ นปี 2527

16 (ค้นจาก https://sites.google.com/site/pattaniknowlege/_/rsrc/1393735932202/bi-xo- disel/p18avthdj51e617g1fgr16savpr5.jpg) วันที่ 23 กันยายน 2528 พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว รัชกาลที่ 9 ได้ทรงมีพระราชดารใิ ห้ไปทดลองสร้างโรงงานใหก้ ลุ่มเกษตรกรสหกรณ์นิคมอ่าวลึก จ.กระบี่ จากนั้นคณะนกั วจิ ัยก็ได้พัฒนาปรับปรุงจน ถึงปี2534 ก็ได้พัฒนาระบบการทอดปาล์มภายใต้สภาพสุญญากาศขึ้นเปน็ ผลสาเร็จ ทาให้น้ามันปาล์มที่ได้มีคุณภาพดี กรดไขมันอสิ ระตา่ และมสี สี วย วันที่ 8 ตุลาคม 2531 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงมีพระราชกระแสให้สร้างโรงงานแปรรปูนา้ มนั ปาลม์ ขนาดเล็กครบวงจรที่ศูนยศ์ ึกษาการพัฒนาพิกุลทองอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ จ.นราธวิ าสซ่ึงเสรจ็ ในปี พ.ศ.2533 ในปี พ.ศ.2543 โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาและกองงานส่วนพร ะองค์วังไกลกั งวลอาเภอหวั หนิ จังหวัดประจวบครี ขี ันธเ์ รม่ิ การทดลองนานา้ มนั ปาลม์ มาใช้เป็นเชอ้ื เพลิงสาหรับเคร่ืองยนต์ดีเซลจากการทดสอบพบว่า นา้ มนั ปาล์มบรสิ ทุ ธิ์ 100 เปอรเ์ ซ็นต์สามารถใช้เป็นนา้ มันเชอื้ เพลิงสาหรับเครื่องยนต์ดีเซลโดยไม่ต้องผสมกับน้ามันเช้อื เพลิงอื่น ๆหรอื อาจใชผ้ สมกบั น้ามันดเี ซลได้ต้ังแต่ 0.01 เปอรเ์ ซ็นต์ ไปจนถงึ99.99 เปอร์เซ็นต์

17 (คน้ จาก http://www.erdi.cmu.ac.th/index.php/content/85?category=18)ไบโอดีเซลในประเทศไทยไบโอดเี ซลในประเทศไทยแบ่งออกเปน็ สองมาตรฐาน คอื ไบโอดีเซลชมุ ชนและไบโอดีเซลเชิงพาณชิ ย์ 1.ไบโอดีเซลชมุ ชน คอื ไบโอดเี ซลทกี่ ลัน่ ออกมาเปน็ น้ามันพชื เหมอื นน้ามนั ท่ีใช้ปรุงอาหารท่เี รยี กกันว่าปาลม์ น้ามนั โคโคด่ ีเซลเป็นไบโอดีเซลที่เหมาะกับเครอื่ งยนต์ดีเซลสูบเดียว รอบเครอ่ื งยนตค์ งทเี่ ช่น รถเดนิ ลากรถอแี ตน๋ เคร่ืองสบู น้าแตไ่ ม่เหมาะกับการใช้กับเคร่อื งยนต์ดีเซลเพราะในระยะยาวจะทาใหเ้ กิดยางเหนียวในเครอื่ ง

18 (คน้ จาก http://www.erdi.cmu.ac.th/index.php/content/85?category=18) 2. ไบโอดเี ซลเชิงพาณชิ ย์ เปน็ การนาน้ามันพชื ไปผา่ นขัน้ ตอน transesterfication เปน็ สารเอสเตอร์ทเ่ี รยี กกันวา่ B100 นามาผสมกบั นา้ มันดีเซล อยา่ งเช่น น้ามัน B5 ก็คอื มนี ้ามนั ดเี ซลในอัตราส่วนน้ามัน ดีเซลตอ่ น้ามนั พชื ที่ผา่ นกระบวนการ 95:5 จะได้ B5 (คน้ จาก http://www.erdi.cmu.ac.th/index.php/content/85?category=18)

19จากพระราชดาริสปู่ ระชาชน 2  เมื่อคร้ังที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดาเนินไปทรงประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ เข่อื นคลองทา่ ดา่ นจงั หวัดนครนายก ในวันท่ี 2 มิถนุ ายน พ.ศ.2544 รถยนต์พระท่ีนง่ั ติดสติก๊ เกอร์ท้าย รถวา่ \"รถคันนี้ใชน้ ้ามนั ปาลม์ 100%\"  เดอื นถดั มา บรษิ ัท ปตท. จากัด (มหาชน)เปิดโครงการนารอ่ งจาหนา่ ยน้ามันดีเซลปาล์มบริสุทธิ์ใน วันที่ 11 กรกฎาคมพ.ศ.2544 ซงึ่ ปัจจบุ ัน ปตท.มสี ถานจี าหน่ายนา้ มันชนิดนี้ 4 สถานแี ละได้ขยายการ บรกิ ารนา้ มันไบโอดีเซล B5 จานวน 30 สถานี  ส่วนบรษิ ัท บางจากปโิ ตเลียม จากดั (มหาชน)เขา้ ร่วมทดลองผลิตและจาหนา่ ยไบโอดีเซล (B5 ใน ระยะแรกและ B5 ในปจั จบุ ัน)ทส่ี ถานบี รกิ ารน้ามนั บางจาก ถนนมหิดล จงั หวัดเชียงใหม่ เม่อื กลางปี 2547 ในระยะแรกจาหน่ายให้กับรถยนต์รับจา้ งสองแถวท่ีเขา้ ร่วมโครงการ 1300 คันตอ่ มาได้ขยาย การจาหนา่ ยใหก้ บั ประชาชนทั่วไป

20 บทท่ี 3 บทสรปุ โครงการพัฒนาพลงั งานแกส๊ ชีวภาพ เร่ิมทาการวิจัยเมอ่ื ปี พ.ศ. 2528 เนื่องจากพระบาทสมเด็จ พระ-เจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 9 ทรงพระปรีชาสามารถพระวิสัยทัศนด์ ้านพลังงานทดแทน คาดการณ์ว่าในอนาคตจะเกิดการคาดแคลนน้ามัน จึงให้เกิดการวิจัยและทดลองผลิตภัณฑ์เช้ือเพลิงเร่ิมขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2528ภายในโครงการของสวนจิตรลดา และมีกระแสรับส่ั งให้ศึกษาต้น ทุนการผลิตแอลกอฮ อล์จา ก อ้อยและไดพ้ ระราชทานเงนิ ทุนวิจยั การดาเนินงาน 925,500 บาท เพ่ือใชใ้ นการจดั สร้างอาคารและอปุ กรณ์ต่า งๆในการทดลอง ในปี 2518 ได้มีการพัฒนาและวิจัยน้ามันปาล์ม ต่อมาในปี 2528 จนถึงปี 2534 คณะผู้วิจัยกไ็ ด้พัฒนาปรับปรุงจนได้น้ามันปาล์มที่มีคุณภาพดี ในปี 2543 ภายในโครงการสวนจิตรลดาได้มีกา ร น านา้ มันปาล์มมามาใชเ้ ป็นเชอ่ื เพลงิ โดยไม่ตอ้ งผสมกบั นา้ มันเช้ือเพลงิ อ่นื ๆ วัน ที่ 9 พฤษภา คม พ.ศ. 2529 พร ะบา ทสมเด็จ พร ะเจ้า อยู่หัวรัชกา ลที่ 9 พร้อมด้วยสมเดจ็ พระรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดาเนินทรงเปิดอาคารโครงการค้นคว้าน้า มันเช้ือเพลิงและเร่ิมผลิตแอลกอฮอล์จากอ้อยโดยสามารถผลิตเอทิลแอลกอฮอล์ความบริสุทธ์ิ 91% และได้ปรับปรุงการกลั่นเรื่อยมาต่อมาก็สา มารถผลิตแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ 95% หรือที่เรียกว่าเอทาน อลไดเ้ ปน็ ผลสาเรจ็ ในปี 2541 โดยโครงการจิตรลดาได้ทดลองผสมได้เป็นน้า มัน ดีโซฮ อล์ จากการทดลองใช้น้าดโี ซฮอล์กับรถแทรกเตอรข์ องภายในโครงการ พบว่าเกิดควันดาลดลง 50% ปจั จุบันยงั ไมม่ กี ารผลิตออกมาในเชิงพาณิชย์

21 บรรณานุกรมนิรันดร์ สมุ าลี. (2554). กวา่ จะไดม้ าเป็น น้ามนั ไบโอดีเซลสายพนั ธ์ุ ม.อ. สงขลา: วจิ ัยและพฒั นา มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์.Joilzi Bm. (2012). วิกฤตการณ์พลงั งานและการปอ้ งกันแกไ้ ขปญั หาวกิ ฤตการณพ์ ลังงาน. ค้นจาก https://sites.google.com/site/joilzibm12สถาบันวจิ ยั และพฒั นาพลังงานนครพงิ ค์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่. (2010). ค้นจาก http://www.erdi.cmu.ac.th/index.php/content/85?category=18


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook