Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบเครื่องเย็น

ระบบเครื่องเย็น

Published by bank.charuek, 2017-08-05 22:37:13

Description: ระบบเครื่องเย็นอุตสาหกรรม

Search

Read the Text Version

การบาํ รงุ รกั ษา ระบบทาํ ความเยน็ อตุ สาหกรรม ทฤษฎี วัฏจกั รการทําความเยน็ วัฎจักรการทําความเย็นที่นิยมใชกันอยางแพรหลายมี วัฎจักรการทําความเย็นแบบใชหลกั การกดดันไอ และวฎั จักรการทําความเย็นโดยการดดู ซึม เครอ่ื งทําความเย็นสาํ หรับการปรบัอากาศทใี่ ชก ันอยางแพรห ลายมีดงั นี้ 1.เครื่องทําความเย็นแบบกดดันไอหรือแบบอัดไอ (vapor compressionrefrigeration unit)ภาพที่ 1 อปุ กรณห ลกั ในกระบวนการทาํ ความเยน็ ดว ยการอัดไอ 1 การบาํ รุงรกั ษาระบบทาํ ความเยน็ อุตสาหกรรม

1.1 กระบวนการทําความเย็นดวยการอัดไอประกอบดวยอปุ กรณ 4 ชิ้น คอื เคร่อื งอดั ไอหรือคอมเพรสเซอร ทาํ การอดั ไอนํ้ายา เชน ฟรอี อนหรอื แอมโมเนยี จาก สภาวะความดันต่าํ อณุ หภูมติ า่ํ ใหม คี วามดันสงู อุณหภมู สิ งู เครอื่ งอดั ไอมีหลายชนิด เชน ลูกสบู สกรู โรตารี่ และเซนตรฟิ วจ คอนเดนเซอร รบั ไอนาํ้ ยาจากเคร่ืองอัดไอ แลวถายเทพลังงานความรอ นใหก บั อากาศหรือ นาํ้ หลงั จากนน้ั กล่นั ตัวเปน น้ํายาเหลวทีม่ คี วามดันสงู อปุ กรณล ดความดัน เมอ่ื นา้ํ ยาเหลวผา นไป ความดนั ลดลง ทาํ ใหน าํ้ ยาทมี่ อี ยอู ณุ หภมู ติ าํ่ ลง เครื่องทาํ ระเหย รบั นาํ้ ยาทงั้ เหลวและกาซทอ่ี ุณหภมู ติ า่ํ เพอ่ื รับความรอ นจากตวั กลางท่ี รอ น และตอ งทาํ ใหเย็นลงโดยทต่ี ัวกลางดงั กลา ว ไดแก อากาศในหอ งปรับอากาศหรือนา้ํ เยน็ แลว สง นา้ํ เย็นไปตามทอเพือ่ สง ความเย็นไปยังสถานท่หี างออกไป เชน ในระบบ ชลิ เลอร หรือทาํ ใหนา้ํ เกลือเย็นลงเพอ่ื ใชใ นระบบอุณหภูมิตํ่าเปน ตน 1.2 ระบบทาํ ความเย็นแบบอัดไอ ประกอบดว ย 2 ระบบหลัก ดงั นี้ (1) ระบบขยายตัวโดยตรง (direct expansion system) ภาพท่ี 2 การขยายตวั โดยตรง เปน วธิ กี ารท่คี วามรอ นถกู แลกเปลย่ี นโดยตรง ระหวา งอากาศทจ่ี ะทําการปรับกับสารใหค วามเยน็ ระบบนโี้ ดยทวั่ ไปพบใน การบํารุงรกั ษาระบบทําความเย็นอตุ สาหกรรม 2

ก) เครอ่ื งทาํ ความเยน็ และเครอ่ื งทําลมเย็น (เครอ่ื งปรับและเปาลม เครอ่ื งขดทอ และพดั ลม) ข) เคร่อื งปรบั อากาศแบบชุด ค) เคร่อื งปรบั อากาศสาํ หรบั หอง (2) ระบบขยายตัวทางออม (indirect expansion system) ภาพที่ 3 การขยายตวั โดยทางออ ม เปนวิธีการท่ีความรอนถูกแลกเปลี่ยนโดยทางออม ระหวางอากาศที่จะถูกปรับกบั สารใหความเยน็ โดยใชส อื่ ตัวกลางคือน้าํ ระบบนีป้ ระกอบดวยหนวยทาํ ความเย็นกับหนวยอุปกรณท ม่ี ีทอขดและพัดลม ระบบนี้โดยทั่วไปพบใน ก) เคร่ืองทํานํา้ เย็น (water chilling unit) ข) เครอื่ งทํานา้ํ เย็นใชเครอ่ื งอดั แบบหอยโขง (centrifugal water chilling unit) หรอื แรงเหว่ยี งหนศี ูนยก ลาง การบํารุงรักษาระบบทาํ ความเย็นอุตสาหกรรม 3

2.เครื่องทําความเยน็ แบบดูดซมึ (absorption refrigeration unit) ภาพท่ี 4 วงจรการทาํ ความเย็นแบบดดู ซึม ภาพที่ 5 ชิลเลอร/ฮที เตอรแ บบดูดซมึ ทมี่ กี ารเผาไหมใ นตวั การบํารงุ รกั ษาระบบทําความเยน็ อตุ สาหกรรม 4

2.1 กระบวนการทําความเย็นแบบดูดซึม ประกอบดว ย อปุ กรณห ลกั (ดังภาพที่ 4,5) คอื แอบซอรบ เบอร คอื ตวั ดดู ซมึ ความรอ น เปนทบ่ี รรจุน้าํ เกลือ เชน ลเิ ธยี มโบรไมด เคร่อื งทาํ ระเหย เปน ทบี่ รรจุน้าํ บรสิ ุทธิ์ ทาํ หนา ทีเ่ ปนน้าํ ยา ในชน้ิ สว นทง้ั สองเกลือจะดูดนา้ํ จากเคร่อื งทาํ ระเหย นา้ํ เกลือจงึ เจือจางลง สวนนํา้ จะเย็นตวั ลง ดงั นน้ั ถา ตอ ทอ เขาในเคร่อื งทาํ ระเหยแลวฉีดน้าํ ทีเ่ ยน็ นี้ไปท่ีทอ นํา้ ในทอ จะเย็นตัวสามารถนาํ ไปใหความเย็นได เจนเนอเรเตอร เปน ทซ่ี ง่ึ นา้ํ เกลือในแอบซอรบ เบอรที่เจอื จางลงจากการดูดไอนํา้ ท่ี ระเหยถกู สบู มารบั ความรอน ทาํ ใหนํา้ ระเหย นา้ํ เกลือจะเขม ขนข้นึ อกี คร้ังแลวสง กลับไป ยงั แอบซอรบเบอร คอนเดนเซอร เปน ทที่ ไี่ อนา้ํ ระเหยในเจนเนอเรเตอรไดมาคายความรอ นแลวกล่ัน ตวั เปน นา้ํ แลวกลบั ไปในเครื่องทาํ ระเหยใหมเ ปนการครบวัฏจักร2.2 เครอ่ื งทําความเย็นแบบดูดซมึ สามารถจาํ แนกไดเ ปน 2 ประเภทคือ (1) เครอื่ งทาํ นํา้ เย็นแบบดูดซึมชนั้ เดียว (single stage absorption water chilling unit) (2) เครอื่ งทําน้าํ เยน็ แบบดูดซึมสองช้ัน (two stage absorption water chilling unit) ภาพที่ 6 การเปรยี บเทยี บระบบทําความเยน็ แบบดูดซึม 2 ประเภท (ก) ชน้ั เดยี ว (ข) สองช้นั การบํารงุ รักษาระบบทําความเยน็ อตุ สาหกรรม 5

เครือ่ งอัดหรอื คอมเพรสเซอร (Compressor) เครอ่ื งอัดแบงเปน 2 ชนดิ ใหญๆ ดงั นี้ คอื เคร่ืองอัดแบบเปล่ียนปรมิ าตร (positive compressor) เปน เครื่องอดั ท่ีดดู เอาไอเขามาในกระบอกสูบแลวอัด มกั มอี ปุ กรณค วบคุมมากและมีเสยี งดงั ขนาดของเครือ่ งอดั ชนิดนีจ้ ะใหญกวา แบบไมปรบั เปลี่ยนปรมิ าตร เคร่อื งอัดแบบไมเ ปล่ียนปริมาตร (non positive compressor) เปนเคร่ืองอดั ทดี่ ดู ไอเขาไปแลวเรงความเร็วโดยใบพัดเพ่ือเปล่ียนความเร็วเปนความดัน จะมีขนาดเล็กกวาเครื่องอัดแบบเลย่ี นปรมิ าตร(ลูกสบู ) มีเสยี งเบาและทาํ งานไดเท่ยี งตรงมากกวาดวย(1) การแบง ชนิดของเคร่ืองอดั ตามวธิ กี ารอดัวธิ ีอัดแบบเปลยี่ น เครอื่ งอดั แบบลกู สบู อดั ทางเดยี ว (single acting) ปริมาตร (positive (reciprocating compressor) อดั สองทาง (double acting) compression เคร่ืองอดั แบบลกู สบู หลายสเตจ method) (multistage reciprocating compressor) วธิ ีอัดแบบใช แรงเหวย่ี ง เครือ่ งอดั แบบโรตารี (rotary compressor) (centrifugal compression เคร่อื งอัดแบบสกรู (screw compressor) method) เครอ่ื งอัดแรงเหว่ยี งสเตจเดยี วหรอื เคร่อื งอัดแบบหอยโขง สเตจเดียว (single stage centrifugal compressor) เครอ่ื งอดั แรงเหวย่ี งหลายสเตจหรือเครอื่ งอัดแบบหอยโขง หลาย สเตจ (multi stage centrifugal compressor) - เคร่อื งอัดแบบลูกสบู ประกอบดว ยสวนสาํ คญั คือ ลูกสูบ กระบอกสูบ และวาลว ดดู และอดั น้ํายาลกู อดั จากการเคลอ่ื นทข่ี น้ึ ลงของลูกสบู โดยมีวาลวเปน ตวั ควบคุมการเขา ออกของน้าํ ยา (ภาพที่ 6) การบาํ รุงรักษาระบบทําความเยน็ อุตสาหกรรม 6

ภาพท่ี 6 เครอื่ งอดั แบบลูกสูบ- เครือ่ งอัดแบบโรตารี่ มี 2 แบบ คอื แบบอดั ดว ยลกู เบ้ยี วสองตัว ตามภาพท่ี 7 แบบลูกเบีย้ วสองตวั ชดุ หมนุ ดา นในจะหมนุ เพื่อใหเ กิดการอดั ของนาํ้ ยา โดยมชี ดุ นอกซึ่งอยกู ับที่เปนเปลือกใหช ดุ หมนุ ดานในหมนุ อดั นา้ํ ยาไปอยา งตอเน่อื งในขณะท่ีแผน กน้ั จะคอ ยๆว่งิ เขา ออกเพอื่ ใชใ นการอดั ภาพท่ี 7 แบบลกู สูบเบ้ียวสองตวั การบาํ รงุ รักษาระบบทาํ ความเย็นอตุ สาหกรรม 7

แบบอดั ดว ยใบพดั เคล่ือนท่ี ตามภาพที่ 8 คลา ยภาพที่ 7 ตางกันทีจ่ ะมีแผน กน้ั หลายอนั และแผนก้นั จะหมนุ ไปกบั ชดุ หมนุ ดานในพรอมๆกบั ว่งิ เขา ออกในขณะทําการอัดน้าํ ยา ภาพท่ี 8 แบบใบพดั เคลือ่ นที่ จะเหน็ ไดว า เมื่อเปรียบเทยี บกันแลว เครอื่ งอดั แบบโรตารีจ่ ะมขี นาดเลก็ และเบา กวาแบบลูกสูบ มีโครงสรางไมซับซอนและช้ินสวนนอยกวารวมท้ังมีประสิทธิภาพดีกวา แตใ นขณะเดยี วกนั แบบโรตารจ่ี ะผลติ ไดย ากกวาเพราะตอ งการชนิ้ สว นทม่ี คี วามเทย่ี งตรงสงู ในอนาคตเครอ่ื งอัดโรตารแี่ บบลกู เบย้ี วสองตวั คงจะมใี ชก ันอยางกวา งขวาง - สโคลลคอมเพรสเซอร จากภาพท่ี 9 ประกอบดว ย สโคลล (Scroll) 2 ตวั ตวั สขี าวจะอยูกบั ที่ในขณะทตี่ วั สดี ําจะหมนุ ไปรอบๆน้าํ ยาทจี่ ะอัดไหลดา นนอกของสโคลล แลว คอ ยๆถกู อัดจากการหมนุ ของสโคลลจนกระท่งั จะไหลออกทจ่ี ุดศูนยก ลางของสโคลล ภาพที่ 9 แบบสโคลล การบํารุงรักษาระบบทาํ ความเย็นอุตสาหกรรม 8

- เคร่อื งอดั แบบสกรเู ดยี ว จากภาพที่ 10 ประกอบดว ยสกรู 2 แบบ คอื ตวั เมียและตัวผู ซงึ่ จะขบกันอยู ในขณะท่ีตวั เมยี หมนุ จะดูดน้ํายาเขา และอดั ในขณะผานตัวสกรูและไหลออกในดานตรงขา ม ภาพท่ี 10 แบบสกรูเดยี ว - เคร่อื งอดั แบบแรงเหวีย่ ง จากภาพท่ี 11 ประกอบดวยใบพัดและเปลือก ใบพัดจะหมุนดวยความเร็วประมาณ10,000 รอบตอนาที เพื่อเปล่ียนน้ํายาใหมีความเร็วสูงข้ึนและจะเปล่ียนรูปไปเปนความดนั ตามตอ งการ ภาพท่ี 11 แบบแรงเหวี่ยง การบาํ รุงรกั ษาระบบทาํ ความเยน็ อตุ สาหกรรม 9

(2) การแบง ตามรปู ราง แบบยืน (vertical type) แบบนอน (horizontal type) แบบหลายกระบอกสบู (multicylinder type) อาทแิ บบตวั V และแบบตวั W(3) การแบงตามความเรว็ ท่ีหมนุ แบบหมุนชา (low speed type) แบบหมนุ เร็ว (high speed type)(4) การแบงตามชนิดของสารทาํ ความเย็น เคร่ืองอดั แอมโมเนีย (ammonia compressor) เครอ่ื งอัดฟรอี อน (freon compressor) เครือ่ งอดั คารบอนไดออกไซด (CO2 compressor)(5) การแบงตามการสรา ง แบบเปด (open type) เครอ่ื งอดั แบบนจี้ ะถกู ขบั ใหหมุนดว ยกาํ ลังจากภายนอก เชน มอเตอรเคร่ืองยนตโดย ผานสายพานหรือขอตอตรงลักษณะนี้จะมีดานหน่ึงเปนเพลาโผลออกมา เพ่ือใชตอกับ แหลง พลงั งานภายนอก บรเิ วณเพลาจะมชี ดุ ซลี เพื่อปอ งกันการรั่วของนา้ํ ยา เคร่ืองอัด แบบนจ้ี ะงา ยในการถอดชิ้นสว นทช่ี าํ รดุ ออกมาตรวจสอบและเปล่ียน นยิ มใชใ นงาน หอ งเยน็ ทวั่ ไป แบบประกอบปด (semi hermetic type) เครื่องอัดนี้หองอัดและมอเตอรรวมกันอยูในเปลือกเดียวกัน เปลอื กถูกยดึ ติดกันดวย นอ็ ตซงึ่ สามารถคลายออกเพ่ือซอมแซมกลไกทช่ี ํารุดได ไมม ชี ุดซลี ทาํ ใหไมม ปี ญ หาการรว่ั ของนํา้ ยาบอยนกั แบบหมุ ปด (hermetic type) เครื่องอัดแบบนี้หองอัดและมอเตอรรวมกันอยูในเปลือกเดียวกัน สวนของเปลือกยึด ดวยกันโดยการเชื่อม ทําใหคอมเพรสเซอรแบบน้ีตัดปญหาการร่ัวของนํ้ายาที่เปลือกไป หมดสนิ้ มกั ใชใ นเครื่องอดั ขนาดเลก็ เชนเดยี วกบั แบบโรตารี่ เครื่องอดั แบบน้เี มอ่ื เสยี ตอง เปลย่ี นใหมท ้งั ตัว การบํารุงรกั ษาระบบทําความเย็นอตุ สาหกรรม 10

เครื่องควบแนน (Condenser) เครอื่ งควบแนน หรอื คอนเดนเซอรส ามารถแบง ไดเ ปน 4 ประเภท ดงั น้ี (1) เครอ่ื งควบแนนแบบทอ และถังนอน (Horizontal shell and tube condenser) (2) เครื่องควบแนนแบบขดทอ และถัง (Shell and coil condenser) (3) เครือ่ งควบแนน แบบทอสองช้นั (Double tube type condenser) (4) เครอ่ื งควบแนน ระบายความรอ นดว ยอากาศ (Air cooled condenser) เครอ่ื งควบแนนแบบทอ และถงั นอน ใชใ นเครอ่ื งขนาดใหญ ชนดิ ระบายความรอนดวยนํ้า ลกั ษณะเปน ทอ ทองแดงมีครีบ จํานวนมากสอดอยูในทอเหล็กขนาดใหญ และยึดใหมั่นคงกับฝาปดดานขาง โดยการ ขยายทอ ทองแดง นา้ํ ทรี่ ะบายความรอ นจะไหลอยใู นทอ ทองแดง ในขณะทีน่ ้ํายาจะไหลวน เวยี นอยภู ายนอกทอทองแดง (ภายในทอเหล็ก) เครอ่ื งควบแนนแบบทอ สองช้นั ใชใ นเครอ่ื งระบายความรอ นดว ยน้าํ ขนาดเล็ก นา้ํ ท่รี ะบายความรอ นจะไหลอยูภายใน ของทอใน ในขณะที่นํ้ายาจะไหลอยูภายนอกทอใน โดยจะวิ่งในทิศทางตรงขามกับนํ้า ปกตผิ วิ นอกทอ ในจะทําเปน รองเพ่ือเพม่ิ พื้นผิวในการระบายความรอ นสงู ข้ึน เครอ่ื งควบแนน ระบายความรอ นดว ยอากาศ ใชใ นเครอ่ื งเกอื บทกุ ขนาดซึ่งระบายความรอนดว ยอากาศ ลกั ษณะเปน ทอ ทองแดง รูปตวั ยู (U) สอดอยใู นแผนครบี อลมู เิ นยี ม เพ่ือเพิ่มพ้นื ผวิ ในการถายเทความรอนเครือ่ งทาํ ระเหย (Evaporator) เคร่ืองทําระเหยเปนอุปกรณแลกเปลี่ยนความรอ น ที่มีหนาทส่ี าํ คัญที่สดุ ในวัฎจกั รการทําความเยน็ เพราะมีหนาทใ่ี นการทาํ ความเยน็ นอกจากนั้นยังมหี ลายชนดิ และมรี ูปรา งตา ง ๆ กนัตามแตง านทนี่ าํ ไปใช ทัง้ น้เี พราะเคร่อื งทาํ ระเหย จะตองทําใหวัตถแุ ละส่งิ ตาง ๆ ในสภาวะตา ง ๆเยน็ ลง (อาทิ อากาศ แกส และนํ้าในสภาวะของเหลว หรือของแขง็ ) อยา งมีประสิทธิภาพสงู สดุ และสะดวกทสี่ ุด การบาํ รุงรกั ษาระบบทาํ ความเยน็ อุตสาหกรรม 11

เครอ่ื งทําระเหย อาจแบง เปน ประเภทตามสภาวะของสารทาํ ความเยน็ ในเครื่องทําระเหย ดงั น้ี - แบบขยายตัวแหง (dry expansion type) - แบบทว มก่งึ เดียว (semi-flooded type) - แบบทว มหมด (flooded type) - แบบระบบปม ของเหลว (liquid pump system) ชนดิ ของเครื่องทําระเหย - เครอื่ งทําระเหยแบบขดทอและถัง (Shell and coil evaporator) - เครอ่ื งทาํ ระเหยขยายตวั แหงแบบทอและถัง (Dry expansion type shell and tube evaporator) - ขดทอ ทาํ ใหอ ากาศเยน็ (Air cooled coil)การใช การบาํ รงุ รกั ษา และการแกไ ขขอขัดของของเครื่องทําความเยน็ เครอ่ื งทําความเยน็ ที่ตดิ ตัง้ เสรจ็ หรอื ซอ มเสร็จใหมๆ จะตอ งทดลองเดนิ เครื่อง และปรบัแกไขขอบกพรองตางๆกอนการใชงานปกติ ในระหวางการใชงานปกติประจําวันจะตองตรวจการทาํ งานของเครอื่ งทาํ ความเย็นในเรอื่ งตอไปน้ี 1) อณุ หภมู ขิ องน้าํ หลอเยน็ หรอื ของอากาศหลอเยน็ 2) อณุ หภมู ิของสวนตา งๆ ของเคร่อื งปรบั อากาศ เสอ้ื สูบ และกระบอกสูบของเครือ่ งอดัเคร่ืองควบแนน ลูกปน ฯ) 3) เสยี งจากการทํางาน และการสน่ั สะเทือน 4) แรงดนั ไฟฟา และกระแสไฟฟาของเครอื่ งทาํ ความเย็น หอทําน้าํ เย็น ปม นํ้า ฯ 5) ความดนั และอณุ หภมู ขิ องน้าํ มนั หลอ ล่ืนในเคร่อื งอัด 6) ความดนั และอณุ หภูมิของสารทําความเย็นทไี่ หลในวัฎจักรการทําความเยน็ 7) องศาในการเปดวาลวขยายตวั 8) ความสะอาดของน้าํ มันหลอ ลน่ื การทํางานของวัฎจักรการทําความเยน็ จะเปนไปดว ยดีถา การระเหยและการควบแนนของสารทําความเย็นเปนไปดวยความเรียบรอย ความเขาใจอยางถอ งแทเกีย่ วกับการแปรเปลี่ยนของตวั ประกอบเหลาน้จี ะชว ยใหสามารถทราบความผิดปกติตา งๆ ของระบบไดร วดเรว็ สามารถคน หาสาเหตแุ ละวิธกี ารแกไ ขไดอยา งถกู ตอง การบํารงุ รกั ษาระบบทาํ ความเยน็ อุตสาหกรรม 12

ตาํ แหนง ท่ีจะตองคอยตรวจสอบระหวา งการทาํ งานปกติของเคร่อื งทําความเย็น ตําแหนงที่ การวัด ภาวะการทาํ งานปกติ ตรวจสอบ ทอ ดดู แกส เขา ความดนั ของแกสทด่ี ดู (ความดันอ่ิมตัวท่ีอุณหภูมิระเหยของสารทําความ เครอ่ื งอดั เย็น) – (ความดันท่ีตกในทอดูดแกส ) อุณหภมู ขิ องแกส ทด่ี ูด [(อณุ หภมู ิระเหย) + (องศารอ นยวดยง่ิ ) องศารอน ยวดยง่ิ เปน 10°C ทอสง แกส จาก ความดันของแกสที่สง (ความดันอิ่มตัวท่ีอุณหภูมิควบแนนของสารทํา เครอ่ื งอดั ความเยน็ ) + (ความดันท่ตี กในทอสงแกส) อณุ หภมู ิของแกสทีส่ ง [100°C หรือต่ํากวา ข้ึนอยูกับชนิดของสารทํา ความเยน็ และภาวะการใชง าน]เครื่องอัดหรือคอมเพรสเซอร ปมนํ้ามนั ความดันนาํ้ มัน เปลย่ี นไปตามอุณหภูมขิ องน้ํามัน จะตอ งคอยปรบั หลอ ลนื่ ใหอ ยใู นเกณฑ (ความดนั ทางดูด) + 1.2 ~ 3.0 kg/cm2 อณุ หภมู นิ ํ้ามนั 50°C หรอื ตา่ํ กวา ขน้ึ อยูกับภาวะการใชง าน มาตรน้ํามนั ปรมิ าตรนา้ํ มัน ถงึ ระดับทีก่ าํ หนด ความสะอาดของน้าํ มนั จะตอ งใส (ปราศจากความขุนมวั ) หวั กระบอกสูบ อณุ หภมู ิหัวกระบอกสบู 120°C หรอื ตาํ่ กวา ขนึ้ อยกู ับชนิดของสารทาํ ความเยน็ และภาวะการใชง าน เสยี งวาลว จะตอ งเปนจังหวะปราศจากเสยี งผิดปกติ หอ งขอเหว่ยี ง อณุ หภมู ิของหองขอ จะเกิดการอดั เปยกถา ต่าํ ถงึ 50°C เหวยี่ ง เสยี ง จะตอ งปราศจากเสยี งผดิ ปกติหรือเสยี งเคาะ ประกบั อุณหภูมิ จะตอ งปราศจากเสียงผิดปกติหรือเสยี งเคาะ รับเพลา (Bearing)มอเตอร กาํ ลงั ไฟฟา โวลท อยใู นเกณฑทก่ี ําหนด (ภายใน ±10%) ทจี่ า ย แอมแปร อยใู นเกณฑท ีก่ าํ หนด (ภายในคา ท่ีกาํ หนดใหมอเตอรใชงาน) การบาํ รงุ รกั ษาระบบทําความเยน็ อตุ สาหกรรม 13

มอเตอรไฟฟา ตําแหนง ท่ี การวดั ภาวะการทาํ งานปกติ ตรวจสอบ อุณหภมู ิ ประกบั รับ จะตองมีอุณหภูมิที่เม่ือเอามือจับดานนอกของ เพลา อุณหภูมิ ประกับเพลาจะรูส ึกอนุ จะตอ งไมส ูงเกนิ ไป เปลือกหมุ ขดลวด อุณหภมู เิ พ่ิม อณุ หภมู ทิ ีเ่ พิม่ จะตองอยูใ นเกณฑขึน้ อยกู ับชนดิ ของฉนวน (ชั้น A 65°C ชน้ั E 80°C)พัดลม ประกับรับ อณุ หภูมิ จะตอ งมอี ณุ หภมู ิเม่อื เมือ่ เอามือจับดานนอกของ เพลา ประกบั เพลาจะรสู กึ อุน ความตงึ ความตงึ พอเหมาะเมอื่ เอาน้วิ กดจะยบุ เลก็ นอ ย สายพาน อณุ หภูมทิ ชี่ อ งทางเขา จะตอ งไมส ูงเกนิ ไป (เมอ่ื เทยี บกับคาที่ออกแบบ) อณุ หภมู ิทช่ี อ งทางออก จะตอ งพอเหมาะ สงู กวา อุณหภูมินํ้าเขา 5 - 10°C นา้ํ ระบาย อตั ราการไหล จะตอ งเทากบั คาทก่ี าํ หนด ความรอ น ความดันน้ํา จะตองสงู พอทจี่ ะเอาชนะความตานทานในเครอื่ ง ควบแนนและทอนา้ํเครื่องควบแนน มาตรวดั ระดับ ระดบั สารทําความเย็น จะตอ งมรี ะดับสารทาํ ความเยน็ เหลวอยูเล็กนอ ย ใหม อี ุณหภมู ิต่าํ กวา อณุ หภมู ิอ่มิ ตัวท่ีความดัน ทอสงสารทํา อณุ หภูมขิ องของเหลว ควบแนน 5°C ความเยน็ เหลว ทที่ างออก จะตองไมมกี ารลดตํ่าของอณุ หภูมมิ ากผิดปกติ ชอ งทางออก อุณหภูมิของสารทํา จะตองปราศจากฟอง ของเครื่องดดู ความเยน็ เหลว ความช้นื จะตอ งอยใู นเกณฑก ารเพ่ิมทยี่ อมได ข้ึนอยูก บัหัว จายสารทําความเย็น ชนดิ ของฉนวน (สาํ หรับชัน้ A 65°C) แกว มองการ ฟอง ไหลของสารทาํ ความเยน็ เหลว ขดลวดของ การเพิม่ อณุ หภมู ิ วาลว โซลินอยด การบาํ รงุ รักษาระบบทาํ ความเย็นอตุ สาหกรรม 14

หัวจายทํา ตําแหนงที่ การวัด ภาวะการทาํ งานปกติ ความเย็น ตรวจสอบ อณุ หภูมิของสารทํา ชองทางเขา ความเย็นเหลว จะตอ งไมมกี ารลดตา่ํ หรือเพ่ิมขึน้ ของอณุ หภมู ิมาก ของวาลว ผดิ ปกติ ขยายตวั อณุ หภูมทิ ช่ี องทางเขา อณุ หภมู ทิ ่ีชอ งทางออก การคาํ นวณความสามารถในการทาํ ความเยน็ ควร อากาศ ทาํ จากความแตกตางของอุณหภูมแิ ละปรมิ าตร ปริมาตรอากาศ อากาศ แลวจงึ ตรวจสอบกบั คาในการออกแบบเครื่องทําระเหย ปริมาตรอากาศ จะตอ งเปน 90% ของคา ทีก่ าํ หนด หรอื มากกวา ขดทอ ทําความ การควบแนน การควบแนน จะตอ งเปน ไปอยางสม่ําเสมอ เย็น เมอื่ ตรวจสอบกบั คา อุณหภมู ิอิ่มตวั ที่ความดนั การ ชองทางออก อณุ หภูมริ ะเหย ระเหยแลว มคี า สูงกวาพอสมควร ของสารทาํ เทา กบั ความดันท่กี าํ หนด (ความดนั ดูด) ความเยน็ ความดันระเหย การบํารุงรักษาระบบทําความเย็นอุตสาหกรรม 15

ขอกาํ หนดเพ่อื ตรวจสอบและบํารุงรกั ษาการตรวจสอบและการใชบรกิ ารประจําสัปดาห เครอื่ งทาํ ความเย็น 1) ตรวจดูคอมเพรสเซอร ดูความตึงและการสึกหรอของสายพาน ทําความสะอาด มอเตอร 2) ขณะท่ีเครื่องกําลังทํางาน ตรวจดูการรั่วไหลเน่ืองจาก ความดันเกจท่ีปลอยออกสงู กวา ปกต,ิ การปลอ ยออกของรลี ีฟวาลวสบู รรยากาศ, ระดับนํ้าในกระจกมองนํ้ายามี มากเกินไป ปม 1) ตรวจสอบความดันของปม ในดา นดูดและดานอดั 2) ตรวจสอบความรอ นของแบร่ิงมอเตอรแ ละปม 3) ตรวจสอบและปรับประเก็นอัดเพลาของซีลแบบอัดโดยยอมใหมีน้ําหยดไดทุกๆ สองวินาที นวิ แมตกิ แอรค อมเพรสเซอร 1) ตรวจสอบความดันอากาศในถังอัด 2) ถา ยน้าํ ทิง้ ในถงั อดั 3) ตรวจสอบระดับนา้ํ มันของแอรคอมเพรสเซอร 4) ตรวจสอบตาํ แหนงและความตึงของสายพาน คลู ลิ่งทาวเวอร 1) ตรวจสอบพดั ลมโดยดสู ภาพและตาํ แหนง ของสายพานตวั วี รวมถงึ เสยี งทดี่ งั และการส่ัน ทผี่ ดิ ปกติ 2) ตรวจสอบระดบั น้ําและลกู ลอย 3) ตรวจสอบอตั ราการระเหยออกของนาํ้ 4) ตรวจสอบการอุดตันของสเปรยนอซเซิล 5) ตรวจสอบคณุ ภาพนาํ้ หลอเยน็ 6) ทาํ ความสะอาดเคร่อื งกรอง 7) ปรบั วาลว ลกู ลอยใหมีระดบั นา้ํ ที่เหมาะสม 8) ตรวจสอบสง่ิ สกปรกทส่ี ะสมอยูในหอระบายนํ้า ถายทง้ิ และใสนา้ํ สะอาดลงไป 9) หลอ ล่นื แบริง่ พดั ลม การบํารุงรักษาระบบทําความเย็นอุตสาหกรรม 16

10) ตรวจสอบการเชือ่ มตอ เพลา และตรวจสอบระดบั น้ํามนั ในชดุ เกยี ร 11) ตรวจสอบการเกิดสนิมและการกดั กรอนของสว นตางๆ ในหอทาํ นา้ํ เยน็ ทีท่ ําดวยเหล็ก หลอ ทง้ั หมดและบางสวน สาํ หรบั แนวทางการตรวจสอบดังกลาวน้ี ไดเสนอเปน แนวทางกับการตรวจสอบดว ยตารางไวเรียบรอยแลว ในเอกสารน้ีการตรวจสอบและใหบรกิ ารประจําเดอื น เครื่องทําความเยน็ 1) ตรวจสอบการไหลของสารทาํ ความเย็นทางกระจกมองนา้ํ ยา ตอ งมลี กั ษณะราบเรียบ และปราศจากฟอง 2) ตรวจสอบการรว่ั ไหลของสารทําความเย็นและนํ้ามนั รอบเครือ่ งอัดเพลากนั รว่ั , กระจก มองนาํ้ ยา, วาลว ประตู ,ทอตอ แบบหนา แปลน และ วาลวนิรภัยในเครอื่ งควบแนน 3) ตรวจสอบสวติ ซต ัดเมอื่ ความดนั สงู จะตอ งต่ํากวาคา ท่ีตง้ั ในวาลวนริ ภัยอยา งนอย 25 ปอนด 4) เมอื่ ปด การทาํ งานระบบ ใหส งั เกตจดุ ตัดความดนั ของสวิตซต ดั เมือ่ ความดนั ต่ํา 5) เมอ่ื ปด การทาํ งานระบบใหเชค็ ดงั น้ี - ตาํ แหนงและความตึงของสายพาน - ทาํ ความสะอาดเครอ่ื งกรองสารทาํ ความเยน็ เหลว 6) ปด ระบบการทาํ งาน และตรวจสอบความแนนของจุดตอดานความดนั สูง ทดสอบการ รัว่ ไหล ตรวจสอบแผน ดักนาํ้ มัน และวาลวลูกลอยใหเ ปล่ียนถาจําเปน 7) ตรวจสอบความถว งจาํ เพาะของสารละลายในเครอื่ งดูดซบั ใหม ีความเขม ขน ที่ถกู ตอ ง นวิ แมติกแอรค อมเพรสเซอร 1) ทดสอบวาลวระบายความดันของอากาศ 2) ทาํ ความสะอาดเคร่ืองกรองอากาศ 3) ตรวจสอบความแนน ของสกรูและโบลท 4) ตรวจสอบการรว่ั ไหลของอากาศทจี่ ดุ ตอ ทกุ จดุ โดยใชสบู ขณะเครือ่ งอดั อากาศกาํ ลัง ทาํ งาน และตรวจสอบการสญู เสยี ของความดนั อากาศในระบบทอ สาํ หรบั แนวทางการตรวจสอบดังกลาวน้ี ไดเสนอเปน แนวทางกับการตรวจสอบดว ยตารางไวเรียบรอ ยแลว ในเอกสารนี้ การบํารุงรกั ษาระบบทําความเยน็ อุตสาหกรรม 17

การตรวจสอบทกุ 3 เดือน ปม 1) หลอ ลน่ื แบร่ิงมอเตอรและปม สําหรับแนวทางการตรวจสอบดังกลา วน้ี ไดเสนอเปนแนวทางกบั ตรวจสอบดวยตารางไวเรยี บรอยแลวในเอกสารน้ีการตรวจสอบทกุ 1 ป เครอื่ งทําความเย็น 1) หลอล่ืนแบรงิ่ มอเตอร ตามเงอ่ื นไขทีร่ ะบุและขอ แนะนาํ ทกี่ ําหนดไว 2) ตรวจสอบความแนน ทีจ่ ดุ ตอของสายไฟทุกจดุ ในกลองเชอื่ มตอ และ คอนแทคเตอร 3) มอเตอรไฟฟา - เปา มอเตอรด วยลม - ทาํ ความสะอาดและตรวจสอบสวติ ซสตารท มอเตอร 4) ตรวจสอบความแนน ของโบลททุกตัว 5) เม่ือปดระบบทําความเย็นเปนเวลานาน ใหปด วาลวของเหลวและทําการปมดาวน ระบบ รวมถึงเชค็ การร่วั ของระบบทําความเยน็ 6) หลอลื่นวาลวการไหล คอนเดนเซอร 1) ทาํ ความสะอาดคอนเดนเซอร ถาคอนเดนเซอรเกดิ การอดุ ตันใหป ฎิบัตดิ ังนี้ - ถา คอนเดนเซอรเ ปน แบบทอ นอน ใหท าํ ความสะอาดทอ นาํ้ ระบายความรอ นซึง่ จะ ถกู สเกลเคลอื บอยู ทาํ ความสะอาดโดยใชแปรงลวดออ นๆ - ถา เปน แบบขดทอ ใหทําความสะอาดโดยใชส ารเคมลี าง 2) หลังจากทําความสะอาดและตรวจเช็ค แลวใหเติมน้ําบําบัดลงไปเพื่อปองกันการ กดั กรอ น ระดบั น้าํ ตอ งเพียงพอเพอ่ื การปองกนั การเปนนาํ้ แขง็ ชลิ เลอร 1) ชลิ เลอรจะถูกบาํ บัดดวยสารเคมลี งไปในวงจรนา้ํ แบบปด ไมจ าํ เปนตองถายน้ําท้ิง ถา ไมเ กิดการเปนนํา้ แข็ง ปม 1) ตรวจสอบและสังเกตการทํางานของสวนตางๆของปมทุกตัว วาทํางานปกติเปนไป ตามมาตรฐานทีร่ ะบไุ วห รือไม 2) เปล่ียนประเก็นอัดเพลาเม่ือตองปรับบอยหรือเมื่อปรับถึงตําแหนงสุดของปมแลว ใหตรวจสอบสภาพของเพลาขณะถอดประเกน็ อดั เพลา การบาํ รงุ รักษาระบบทาํ ความเยน็ อตุ สาหกรรม 18

นวิ แมตกิ แอรคอมเพรสเซอร 1) เปลย่ี นนา้ํ มนั หลอ ลนื่ อา งขอ เหวีย่ งและเพลาขอ เหวย่ี ง 2) ตรวจสอบนาํ้ มันท่ีแบร่งิ มอเตอร หอผ่ึงนํ้าหรอื คลู ลงิ่ ทาวเวอร 1) ทาํ ความสะอาดหอผงึ่ นํา้ 2) สําหรับหอผึ่งนํ้าท่ีทําดวยไมใหอุดรอยแตกราว และเปดดูขอตอรางลิ้นแลวประสาน โดยใชย างเรซนิ แมสตกิ จากนนั้ ขันโบลททกุ ตวั ใหแ นน 3) ทาํ ความสะอาดและหลอ ล่ืนแบร่งิ พัดลม 4) เปลย่ี นสายพานตวั วีที่ตอ พดั ลม ปรับความตงึ และตาํ แหนง ใหถ ูกตอ ง 5) ทาํ ความสะอาดและหลอ ล่ืนแบร่ิงมอเตอร 6) เปด การทาํ งานของมอเตอรแ ละพดั ลม ตรวจสอบความรอ นของแบรง่ิ มอเตอรแ ละพดั ลม 7) ใสสารเคมีบําบัดน้ําในตําแหนงท่ปี อนเขา หอทําน้าํ เยน็ โดยอตั โนมัติ (ท่คี อนเดนเซอร และชลิ เลอร) 8) ตรวจสอบระบบนํ้าท่ีปอนเขาหอทาํ ความเย็นใหไดระดบั ทีเ่ หมาะสมในการทํางานของ ระบบ ตรวจสอบระดบั นาํ้ และปรบั ลกู ลอย 9) เปด ระบบทาํ นา้ํ เยน็ และปรับอตั ราการระเหย 10) ทาํ รายการของสว นตางๆทีต่ อ งการการซอมแซมอยา งเรงดวน 11) ชวงปลายฤดูหนาวใหปฎิบัตดิ งั นี้ 1.ทาํ ความสะอาดหอผงึ่ นํา้ 2.ถา ยนาํ้ ทง้ิ เฉพาะในสว นของหอผ่งึ นาํ้ ถา จาํ เปน ตองถายนา้ํ ทิง้ ทง้ั ระบบ ใหเ ปดวาลว ทกุ ตวั ทาํ ความสะอาดเครือ่ งดักละอองนา้ํ , ไสใน, ระบบบานเกล็ด และหวั ฉีดนํ้า 3.ถอดสายพานตัววจี ากพดั ลม และทําการจัดเกบ็ 4.ซอมแซมสว นตา งๆของหอผึ่งนา้ํ ในชวงน้ี เพอื่ ใหพ รอ มทจ่ี ะนาํ ไปใชงาน 5.เมื่อหอผง่ึ นา้ํ แหง สนทิ ทาํ ความสะอาดผิวตัวถังในจดุ ที่จะประสานดว ยกาวเรซนิ สาํ หรบั แนวทางการตรวจสอบดงั กลาวน้ี ไดเสนอเปน แนวทางกับการตรวจสอบดว ยตารางไวเ รียบรอ ยแลวในเอกสารนี้ การบํารุงรักษาระบบทาํ ความเยน็ อุตสาหกรรม 19

กรณีศกึ ษาและตวั อยา งประกอบตวั อยา ง 1 ระบบทาํ ความเยน็ ของบรษิ ทั หอ งเย็นแหง หนึ่ง จ. ชลบรุ ี ทต่ี ดิ ตงั้ ใชงาน และมี การบาํ รุงรักษาดี ทาํ ใหป ระหยดั พลังงานไดด ี ดังแสดงภาพถา ยอุปกรณตางๆดังน้ี ภาพที่ 12 แสดงการตดิ ตงั้ คอมเพรสเซอร ภาพท่ี 12 แสดงการหุมฉนวนที่ทอนํ้าเยน็ ดวยโฟมสามารถปอ งกนั การสูญเสยี ความเย็นออกจากทอ ไดด เี ปน ตัวอยางของระบบหอ งเยน็ ทีต่ องการเก็บรกั ษาหรอื ถนอมอาหารเชนเดียวกบัภาพที่ 13 การบํารุงรกั ษาระบบทําความเย็นอุตสาหกรรม 20

ภาพท่ี 13 แสดงสว นของทอ ทตี อออกมาจากคอมเพรสเซอรภาพที่ 14 หอผงึ่ นา้ํ ภาพท่ี 14 แสดงหอผง่ึ น้ําเพ่ือระบายความรอนท้งิ สบู รรยากาศ และทอทตี่ อ มายังหอผง่ึ น้ําดงั แสดงในภาพท่ี 15 ภาพที่ 15 แสดงทอ ทส่ี ง ไปยังหอผง่ึ นาํ้ การบํารงุ รกั ษาระบบทําความเย็นอุตสาหกรรม 21

ภาพที่ 16 แสดงพัดลมดึง ความรอ นออกจากหอผงึ่ นํา้ ภาพที่ 16 แสดงดานบนของหอผึง่ น้าํ ใหเหน็ มอเตอรที่ใชขับพดั ลมใหด ดู อากาศจากดา นลา งของหอผง่ึ ขน้ึ สดู า นบน ภาพที่ 17 แสดงชดุ คอยลเยน็ ภาพท่ี 17 แสดงการตดิ ต้ังคอยลเย็นไวดานบนของหองเย็น อาจมีปญหาบา ง คอื การวางสงิ่ ทตี่ อ งการแชเ ยน็ ไมเ ปน ระเบยี บ บางครง้ั ขวางกนั้ ลมเยน็ ทพ่ี ดั ลมเปา ออกสภู ายในหอ งเยน็ นี้ การบาํ รงุ รกั ษาระบบทาํ ความเยน็ อตุ สาหกรรม 22

ภาพที่ 18 แสดงทอระบายนา้ํ ออกจากคอยลเย็น ภาพท่ี 18 แสดงการตอทอ ระบายนํ้าท่เี กดิ จากการควบแนน ออกจากคอยลเ ยน็ ขณะเดยี วกนั ตอ งมีการหุมฉนวนไวดวย ภาพท่ี 19 แสดงปม สง นํ้า เย็นไปยังชุดคอยลเยน็ การบาํ รุงรกั ษาระบบทําความเยน็ อุตสาหกรรม 23

ภาพท่ี 20 แสดงการระบายความรอนดวย คอนเดนเซอร ภาพท่ี 20 แสดงคอนเดนเซอรของหอ งแชค วามเยน็ อีกหองท่ีขาดการบาํ รุงรักษา ทําใหเ กิด การอุดตันที่ครีบและขดคอยลรอนข้ึน สวนภาพที่ 21 แสดงดานตรงขามท่ีติดพดั ลมระบาย ความรอนออกจากคอยลร อ น ภาพท่ี 21 พดั ลมระบาย ความรอ นออก จากคอนเดนเซอร การบาํ รงุ รักษาระบบทาํ ความเยน็ อตุ สาหกรรม 24

ภาพท่ี 22 แสดงทางเขา -ออกหองเย็น ภาพที่ 22 ภาพบนแสดงประตหู อ งเยน็ ขณะปด ภายในประตูตดิ ต้งั ฉนวนกนั ความรอ นท่ีทําดว ยโฟม ทําใหสามารถกันความเย็นสูญเสียไดดี สว นภาพลา งใชมานพลาสตกิ ปอ งกนั ความเยน็ สญู เสยี ออกมาจากหองเย็น ในขณะทีต่ อ งการนําสนิ คาเขาหรอื ออกจากหอ งเยน็ การบาํ รงุ รกั ษาระบบทาํ ความเยน็ อุตสาหกรรม 25

ตวั อยา ง 2 ระบบทาํ ความเยน็ ทเี่ ปน หอ งแชแ ขง็ เพอื่ เกบ็ รกั ษากงุ แชแ ขง็ แหง หนง่ึ ทอี่ าํ เภอมหาชยั ดงั ภาพอปุ กรณต า ง ๆ ตอ ไปนี้ ภาพที่ 23 แสดงการจัดแผง ควบคุมการทํางานของหองแช แข็งที่ตองจัดใหเปนระเบียบ และควบคมุ ไดงา ยภาพท่ี 23 แสดงแผงวงจรควบคุมการทาํ ความเย็น ภาพท่ี 24 แสดงปมสารทํา ความเย็นท่ีอัดผานทอไปเขา ท  อ ส า ร ทํ าความเย็นภายใน หอ งแชแ ขง็ ดงั ภาพท่ี 25 ซ่ึงใช สาํ หรบั แชแข็งกงุ สดภาพท่ี 24 แสดงชดุ ปมสารทาํ ความเยน็ ภาพที่ 25 แสดงชุดของทอ สารทําความเยน็ ในหอ งแชแขง็การบาํ รงุ รักษาระบบทาํ ความเย็นอตุ สาหกรรม 26

ภาพท่ี 26 ภาพบนสุด แสดงการ จัดลําเลียงกุงสดเพื่อสงเขาเคร่ือง ดวยสายพานลํ าเลียงทํ าใหกุง เยน็ จดั ซ่ึงท่จี ุดทางออกแสดงดว ย ภาพกลาง จะพบวา เมื่อผาน กระบวนการแลวกุงสดจะเย็นจัด และมีน้ําแข็งเกาะเปนจํานวนมาก ในข้ันตอนน้ีการสูญเสียพลังงาน สูงมาก เพราะเปนระบบการ ทํางานที่เปดและอยูภายในอาคาร จากน้ันจะนําไปใชน้ําพนใสกุงสด ทเ่ี ยน็ จดั เพื่อใหผิวกุงมนั ดงั แสดง ตามภาพลางสุด กอ นนําไปแชแขง็ ในตูแชแข็งตอไป หากพิจารณา ออกแบบระบบใหม ใหท ํางาน ตอเนื่องเปนระบบปดก็จะชวยลด การสญู เสียพลังงานไดมากทเี ดียวภาพที่ 26 กระบวนการทําใหก งุ เย็นจัดกอนเขาหองแชแขง็ การบาํ รงุ รักษาระบบทาํ ความเยน็ อตุ สาหกรรม 27

ภาพท่ี 27 แสดงการเกาะของน้าํ แข็งทีอ่ ปุ กรณทาํ ความเย็นภายในหอ งแชแขง็ ภาพที่ 27 แสดจดุ บกพรอ งดงั ภาพดานบน ตวั โครงสรา งของหองที่ใชท ําใหกุงสดเย็นจัดเกิดการรั่วซึมแลวกอตัวเปนน้ําแข็งเกาะอยู ลักษณะนี้ตองทําการแกไขตัวโครงสรางนี้ใหมขณะเดยี วกนั ภาพดา นลาง เกดิ การเกาะของนา้ํ แข็งท่คี อยลเ ยน็ ภายในหองแชแ ข็งเปน ปญ หาทม่ี ักพบกับระบบการแชแข็งเชนนี้ ซึ่งตองการบํารุงรักษาเพื่อขจัดนํ้าแข็งท่ีเกาะออกเปนระยะรวมท้ังตอ งพจิ ารณาระบบการจัดการของส่ิงท่ีแชแข็งดวย การบํารงุ รกั ษาระบบทาํ ความเย็นอุตสาหกรรม 28

ตวั อยาง รายการบํารุงรักษาอปุ กรณท าํ ความเย็น ตารางการบาํ รงุ รักษา Air Handling Unit & Fan coil Unit ประจําทุกเดอื น วนั ท่.ี ............เดอื น....................ป.................. ย่ีหอเครอื่ งปรับอากาศ.......................รุน................หมายเลขเครื่อง....................ช่ือผทู าํ การบํารงุ รกั ษา............................................ ชอ่ื หวั หนาผูค วบคุม.......................................รายการซอมบาํ รงุ รักษา ผลการซอ มบํารงุ รกั ษาและแกไข หมายเหตุ ใชงานไดป รกติ สภาพตองปรบั ปรงุ /สาเหตเุ พราะทําความสะอาดตัวกรองอากาศตรวจสอบคอยลตรวจสอบสายพานการปรบั ต้ังสายพานตรวจสอบทอ ระบายนํา้ตรวจสอบหนาสัมผสั ของสวิตซแมเหลก็ตรวจสอบการทาํ งานของอปุ กรณค วบคมุตรวจสอบการร่วั ของทอ นํา้ เย็นและนา้ํ กลบัตรวจสอบอณุ หภมู ขิ องนาํ้ตรวจสอบความดันของนํา้ตรวจสอบอณุ หภูมขิ องลมกลับตรวจสอบดกู ารสนั่ และเสยี งทด่ี งั ผดิ ปรกติตรวจสอบคา กระแสไฟฟาและแรงดนั ไฟฟาความเหน็ ของผูทําการบํารงุ รักษา มีดังน:ี้ ...............................................................................................................................................................…………………................................................................................. ลงชื่อ............................................ (..........................................) ผูท ําการบํารุงรักษาความเหน็ ของวศิ วกรหรือผคู วบคมุ มดี ังน้ี...............................................................................................................................................................………................................................................................................ ลงชือ่ .......................................... (........................................) วิศวกรหรือผคู วบคมุ การบํารุงรกั ษาระบบทาํ ความเยน็ อุตสาหกรรม 29

ตารางการบาํ รุงรกั ษา Air Handling Unit & Fan coil Unit ประจําทุก 6 เดอื น วันที่.............เดอื น....................ป.................. ย่ีหอเครื่องปรบั อากาศ.......................รุน................หมายเลขเคร่ือง....................ช่ือผูทาํ การบํารงุ รกั ษา............................................ ชอ่ื หวั หนา ผูค วบคุม....................................... รายการซอ มบาํ รงุ รักษา ผลการซอมบาํ รุงรักษาและแกไข หมายเหตุ ใชง านไดปรกติ สภาพตอ งปรับปรุง/สาเหตุเพราะทําความสะอาดคอยลทําความสะอาดถาดน้ําท้งิทําความสะอาดทอระบายทาํ ความสะอาดโบลเ วอรตรวจสอบอัดจารบีมอเตอรทําความสะอาดหนาสัมผัสของสวติ ซแ มเ หลก็ตรวจสอบขอตอสายไฟฟาทุกจุดใหแนนทําการลา งกรองสเตรนเนอรตรวจสอบการทํางานของวาลวท่ีมอเตอรต ร ว จ ส อ บ ก า ร ทํ า ง า น ข อ งเทอรโมสแตทความเหน็ ของผทู ําการบํารงุ รักษา มดี ังนี้:...........................................................................................................................................................………....................................................................................................……………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ ............................................ (..........................................) ผูทําการบาํ รงุ รักษาความเห็นของวิศวกรหรือผูควบคุม มดี งั นี้.....................................................................................................................................................................……....................................................................................................................................................……................................................................................................... ลงช่ือ.......................................... (........................................) วิศวกรหรอื ผคู วบคมุ การบาํ รุงรกั ษาระบบทําความเยน็ อตุ สาหกรรม 30

ตารางการบาํ รงุ รกั ษาเคร่อื งทาํ ความเยน็ ประจําทกุ 3 เดอื น 1 ป วนั ที.่ ............เดอื น....................ป.................. ยี่หอ เครื่องทําความเยน็ .......................รนุ ................หมายเลขเครอื่ ง.................... ช่ือผทู ําการบํารุงรักษา............................................ ชอ่ื หวั หนา ผูควบคมุ ....................................... รายการซอ มบาํ รุงรกั ษา ผลการซอ มบาํ รงุ รักษาและแกไข หมายเหตุ ใชง านไดปรกติ สภาพตองปรับปรุง/สาเหตเุ พราะตรวจสอบ ทกุ 3 เดือน1. ตรวจสอบและทําความสะอาดโซลินอยดวาลวของออยคลู เลอรตรวจสอบทกุ ป1. ตรวจสอบคา กระแสและแรงดันไฟฟา2. ตรวจสอบการรั่วซึม3. ตรวจสอบสวติ ซแ ละหนา สมั ผัสทุกตวั4. ตรวจสอบจุดตอ ทข่ี นั ดว ยน็อตใหแนน5. ตรวจสอบและทําความสะอาดตคู วบคมุ6. ตรวจสอบคา ความสะอาดของคอยลข องทอคอนเดนเซอรใ นชิลเลอรโดยใชส ารเคมี7. ตรวจสอบอุปกรณห ลกั ๆ ของชลิ เลอร8. เปลี่ยนน้ํามันเครอ่ื งคอมเพรสเซอรพ รอ มไสก รองนํ้ามัน9. เปล่ียนตัวกรองน้าํ ยาหรอื สารทาํ ความเยน็10. ตรวจสอบเสียงที่ผิดปรกตเิ นื่องจากการสัน่ สะเทือน11. ตรวจสอบการทาํ งานของเกจวดั ความดนั ตา ง ๆความเห็นของผูทําการบํารุงรักษามีดังน้ี:.......…......................................................................…...................................….................................….................................................…………………................................. ลงชื่อ............................................ (..........................................) ผูทาํ การบาํ รุงรักษาความเหน็ ของวศิ วกรหรือผคู วบคุมดังน.ี้ ............................................................................................……………………………………………………………………………………………………………………….…...... ลงช่ือ.......................................... (........................................) วิศวกรหรอื ผูควบคุม การบํารุงรกั ษาระบบทาํ ความเยน็ อุตสาหกรรม 31

ตารางการบํารงุ รกั ษาหอผ่งึ นํา้ (Cooling Tower) ประจําทกุ 1 เดอื น 3 เดือน 6 เดือน 1 ป วนั ท.่ี ............เดือน....................ป. ................. ย่ีหอเครือ่ งหอผึง่ นา้ํ .......................รุน................หมายเลขเคร่ือง....................ชื่อผทู าํ การบํารงุ รกั ษา............................................ ช่อื หัวหนา ผูควบคุม....................................... รายการซอ มบาํ รุงรกั ษา ผลการซอ มบํารงุ รักษาและแกไ ข หมายเหตุ ใชงานไดปรกติ สภาพตอ งปรับปรุง/สาเหตุเพราะ ตรวจสอบทกุ 1 เดือน 1. กระแสไฟฟาทม่ี อเตอร 2. การทาํ งานของลูกลอยและระดับนํา้ 3. ตรวจสอบระบบไฟฟาทค่ี วบคุมมอเตอร 4. ตรวจสอบสายพานและมูเลย  5. ตรวจสอบระดับของนํา้ มันเกียร 6. ตรวจสอบการรว่ั ซึมของเกียร 7. ตรวจสอบถาดรองนํ้า 8. ตรวจสอบลูกลอย 9. ตรวจสอบเสียงดงั ผิดปรกติ 10. ตรวจสอบการส่ันสะเทอื นท่ีผิดปรกติ ตรวจสอบทุก 3 เดือน 1. ตรวจสอบข้ัวสายไฟฟา และขอ ตอตา ง ๆ 2. ตรวจสอบความตงึ ของลวดยึดโยงทอนาํ้ 3. ตรวจสอบและลางตวั กรองสเตรนเนอร 4. ตรวจสอบและหลอลนื่ แบริ่งมอเตอร 5. ตรวจสอบการทํางานของหวั ฉีดวา อดุ ตนั หรือไม ตรวจสอบ ทุก 6 เดือน 1. ตรวจสอบและทาํ ความสะอาดพดั ลม 2. ตรวจสอบและทาํ ความสะอาดมอเตอร, เกยี ร 3. ตรวจสอบและทําความสะอาดตวั กรองและถาดรองรับนํ้า ตรวจสอบทุก 1 ป 1. ตรวจสอบการทํางานและเปลย่ี นนํ้ามันเกียร การบํารงุ รกั ษาระบบทาํ ความเย็นอุตสาหกรรม 32

ความเห็นของผทู ําการบาํ รงุ รกั ษา มดี ังนี:้ ...............................................................................................................................................................…................................................................................................…… ลงชอื่ ............................................ (..........................................) ผูทาํ การบาํ รุงรักษาความเห็นของวิศวกรหรอื ผูควบคมุ มีดงั นี.้ ...........................................................................................................................................................…............................................................................................……..............................................................….................................................................................................… ลงชื่อ.......................................... (........................................) วิศวกรหรอื ผคู วบคมุ การบํารุงรักษาระบบทําความเยน็ อุตสาหกรรม 33

เอกสารอา งอิง1. ธนาคม สนุ ทรชยั นาคแสง, การจดั การพลงั งานในอตุ สาหกรรม, ภาควชิ าวศิ วกรรมเครอ่ื งกล คณะวศิ วกรรมศาสตร สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ, 2543.2. Seymour G. Price , Air Conditioning for Building Engineers and Managers , Industrial Press Inc., 1970.3. Wilbert F. Stoecker , Jerold W. Jones , Refrigeration&Air Conditioning, McGraw- Hill ,1982.4. การอนุรกั ษพลังงานในอาคาร , กรมพฒั นาและสง เสริมพลังงาน กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิง่ แวดลอม 2543.5. ระบบกกั เก็บความเยน็ ดว ยน้ําแขง็ , เอกสารเผยแพรข องกรมพฒั นาและสงเสรมิ พลังงาน กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และส่ิงแวดลอ ม 2543.6. ASHRAE, ASHRAE Handbook, Fundamental, ASHRAE Inc., Atlanta, GA, 1989. การบาํ รุงรกั ษาระบบทาํ ความเยน็ อุตสาหกรรม 34

สารบัญ หนาทฤษฎี 1 วฏั จกั รการทําความเย็น 1 เครอ่ื งอัดหรือคอมเพรสเซอร (Compressor) 6 เคร่ืองควบแนน (Condenser) 11 เคร่ืองทาํ ระเหย (Evaporator) 11 การใช การบํารุงรกั ษาและการแกไ ขขัดของของเคร่ืองทาํ ความเย็น 12 16ขอ กาํ หนดเพ่ือตรวจสอบและบํารงุ รักษา 16 การตรวจสอบและการใชบริการประจาํ สปั ดาห 17 การตรวจสอบและใหบริการประจําเดือน 18 การตรวจสอบทกุ 3 เดือน 18 การตรวจสอบทกุ 1 ป 20 20กรณศี ึกษาและตัวอยางประกอบ 26 ตวั อยา ง 1 29 ตวั อยาง 2 34 ตวั อยาง รายการบาํ รงุ รกั ษาอุปกรณท ําความเยน็เอกสารอางองิการบาํ รงุ รกั ษาระบบทําความเยน็ อตุ สาหกรรม 35


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook