A W A R D 2020 แนวทางปฏบิ ตั สิ ำหรับผปู้ ระกอบการอุตสาหกรรม ตามเกณฑ์มาตรฐานความรับผิดชอบตอ่ สังคม ของผปู้ ระกอบการ (CSR-DIW) โครงการสง่ เสรมิ โรงงานอุตสาหกรรมให้มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม และชุมชนอย่างยัง่ ยืน (CSR Beginner and CSR-DIW) (ภายใตค้ ่าใช้จ่ายในการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ)
รายการทบทวน การดาเนนิ งาน หลกั ฐานทีเ่ กยี่ วข้อง (มี / ไม่มี / NA) กาหนดไวใ้ นแผนงาน หรอื โครงการด้านความ รับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร เชน่ กจิ กรรม โครงการ One manager one community , โครงการจติ อาสาต่างๆ , กิจกรรมความ รับผดิ ชอบต่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดลอ้ ม ต่างๆ - จดั ต้งั คณะกรรมการจากพนกั งานทกุ ระดบั ให้ เข้ามามสี ว่ นร่วมในกจิ กรรม (10) บุคลากรทที่ าหน้าท่ตี ัดสินใจในนามของ มี - ขอบเขตรับผิดชอบคณะกรรมการชดุ ต่างๆ องคก์ รในบทบาทตา่ ง ๆ ควรไดร้ บั การ - ตารางคู่มอื อานาจดาเนนิ การ กาหนดอานาจการตัดสินใจ และความ - Job Description (ศกึ ษาอานาจหน้าท่ตี าม รบั ผิดชอบท่ีมคี วามสมดุล ตาแหนง่ หนา้ ทีท่ ีแ่ สดงในผงั โครงสร้างของ องค์กร) (11) ติดตามผลการตดั สนิ ใจในการดาเนินงานทง้ั - ระเบียบบริษทั ขององค์กร ดา้ นบวกและด้านลบ เพ่ือใหม้ ่ันใจว่าการ - หนงั สือรับมอบอานาจทีม่ ีความสอดคล้องกบั ตัดสินใจเหลา่ นนั้ ไดถ้ ูกตดิ ตามจากผทู้ ่ีไดร้ ับ ระบบหน้าที่ของงาน (ไดแ้ ก่ การมอบอานาจ มอบหมาย ตามชว่ งเวลาท่ีกาหนด ทางการเงิน, หรอื ในกรณีทีผ่ ู้บริหารไป ตา่ งประเทศ) (12) มกี ารทบทวนและประเมินผลกระบวนการใน - รายละเอยี ดการตัดสนิ ใจในแต่ละเรอื่ ง การกากบั ดแู ลองคก์ รตามช่วงระยะเวลาท่ี (อานาจดาเนนิ การ การอนุมัติลงนาม) กาหนดไว้ เพ่ือนาไปส่กู ารปรับกระบวนการ ดังกล่าวใหไ้ ดผ้ ลลพั ธต์ ามท่กี าหนดไวแ้ ละ มี - กระบวนการและหลกั ฐานในการตดิ ตามผลการ สื่อสารการเปลยี่ นแปลงนั้นท่ัวท้ังองคก์ ร ตัดสินใจในการดาเนินงานขององค์กร เชน่ การ ตดิ ตามผลการดาเนินการแกไ้ ขขอ้ ร้องเรียนจาก ลกู คา้ ชุมชน เป็นตน้ - จัดใหม้ กี ารประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ทกุ เดอื น เพ่อื ติดตามการดาเนนิ งานอย่างใกล้ชิด - กาหนดให้มีการประชุมคณะจัดการตาม ระยะเวลาทก่ี าหนดไว้ เพือ่ กาหนดทิศทาง และ ติดตามการดาเนนิ งานของกจิ การ - การประเมินผลความพึงพอใจของผู้มีส่วนไดเ้ สยี ทกุ กล่มุ มี - รายงานผลประชุมทบทวนดา้ นการกากับดูแล องค์กรโดยคณะกรรมการบริหาร หรอื การ ตรวจสอบการดาเนินงานโดยกรรมการ ตรวจสอบภายใน 21
รายการทบทวน การดาเนินงาน หลักฐานที่เก่ียวขอ้ ง (มี / ไม่มี / NA) - การทวนสอบอานาจหนา้ ท่ี ความรับผดิ ชอบ ของผูบ้ รหิ าร มีรอบการทวนสอบท่ชี ดั เจน - การตรวจสอบการทางานของคณะกรรมการ กากับดูแลองคก์ ร - การทบทวนการดาเนินงานของคณะกรรมการ ตา่ งๆ - การประเมนิ การกากับดูแลกจิ การในโครงการ - รายงานของคณะกรรมการกากับดูแลกิจการ - รายงานประจาปี - การประชุมผู้ถอื หุ้นประจาปี 22
6.3 กฎหมาย และข้อกาหนดอืน่ ๆ ผปู้ ระกอบการอุตสาหกรรมควรกำหนดแนวทำงในการให้ได้มาของกฎหมาย และขอ้ กาหนดอื่นๆ พร้อมระบุ และประเมินควำมสอดคล้องกบั การดาเนินงานด้านความรบั ผิดชอบต่อสงั คม รวมทั้งมีการ ทบทวนเป็นระยะๆ ตำมช่วงเวลำท่ีกำหนด เพ่ือให้มั่นใจได้ว่ามีการปฏิบัติตามกฎหมายและข้อกาหนด อ่ืนๆ ตามทีไ่ ด้ระบุไว้ สาระสาคญั ตามเกณฑก์ ารปฏิบัติ การดาเนินงานความรับผิดชอบต่อสังคมนั้น ประเด็นพื้นฐานท่ีผู้ประกอบการต้องปฏิบัติคือ ต้องมี การปฏิบัติที่สอดคล้อง หรือเกินกว่าท่ีกฎหมาย หรือข้อกาหนดอื่นๆ กาหนดไว้ ดังน้ัน ผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมจึงต้องจัดให้มีกระบวนการท่ีสามารถให้ได้มา รวมถึงระบุ และประเมินควำมสอดคล้อง กบั กฎหมายและขอ้ กาหนดอนื่ ๆ ท่ีเกีย่ วขอ้ ง และมกี ารทบทวนเป็นระยะๆ ตามช่วงเวลาทก่ี าหนด การระบุ หมายถึง การทีผ่ ูป้ ระกอบการอตุ สาหกรรมช้บี ่งกฎหมาย และข้อกาหนดอ่นื ๆ ท่ีเกีย่ วข้องกบั หัวข้อหลกั ด้านความรับผิดชอบตอ่ สังคม 7 หัวข้อ เชน่ - การกากับดูแลองค์กร เช่น ด้านธุรกิจ เช่น พระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จากัด พ.ศ.2535 ด้านการเงิน อาทิ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ประมวลรัษฎากร เร่ือง ภาษีธุรกิจเฉพาะ ด้านการ ประกอบกิจการอุตสาหกรรม อาทิ จรรยาบรรณทางธุรกจิ ขององคก์ ร เป็นต้น - สิทธิมนุษยชน เช่น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560 กฎบัตรสหประชาชาติกับ ปฏิญญาสากลว่าด้วยสทิ ธมิ นษุ ยชน พ.ร.บ.สง่ เสรมิ และพฒั นาคุณภาพชวี ติ คนพิการ พ.ศ. 2550 เปน็ ต้น - การปฏิบัติด้านแรงงาน เช่น พ.ร.บ.ประกันสงั คม พ.ศ. 2533 พ.ร.บ.สง่ เสริมการพัฒนาฝมี ือ แรงงาน พ.ศ. 2545 พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน ฉบับท่ี 5 และ 6 พ.ศ. 2560 ฉบบั ที่ 7 พ.ศ. 2562 พ.ร.บ.ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน พ.ศ. 2554 เปน็ ต้น - สิ่งแวดล้อม เช่น พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 และ ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2561 พ.ร.บ. การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2550 พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ. 2535 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2562 และ ฉบบั ที่ 3 พ.ศ. 2562 เป็นต้น 23
- การดาเนินงานอย่างเป็นธรรม เช่น พ.ร.บ.การแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 พ.ร.บ. เคร่อื งหมายการค้า พ.ศ. 2534 พ.ร.บ.การบัญชี พ.ศ. 2543 พ.ร.บ. ลิขสทิ ธิ์ พ.ศ. 2537 พ.ร.บ. วา่ ดว้ ย การกระทาความผดิ เก่ยี วกบั คอมพวิ เตอร์ พ.ศ. 2550 เป็นตน้ - ประเด็นด้านผู้บริโภค เช่น พ.ร.บ.คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 และฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2541 พ.ร.บ.ว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ พ.ศ. 2542 พ.ร.บ.มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 พระราชบญั ญัตคิ วามรับผิดชอบตอ่ ความเสยี หายทเ่ี กดิ ข้ึนจากสนิ ค้าท่ีไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551 เป็นตน้ - การมสี ว่ นร่วมและการพฒั นาชมุ ชน เช่น พ.ร.บ.สหกรณ์ พ.ศ. 2542 พ.ร.บ.ภาษีโรงเรอื นและทด่ี นิ พ.ศ. 2475 พ.ร.บ.ภาษีป้าย พ.ศ. 2510 พ.ร.บ.สาธารณสุข พ.ศ. 2535 เปน็ ต้น การประเมินความสอดคลอ้ ง หมายถึง การทผี่ ปู้ ระกอบการอุตสาหกรรมนารายละเอยี ดของกฎหมาย และขอ้ กาหนดอ่นื ๆ ที่เก่ียวขอ้ งซงึ่ อาจประกอบดว้ ยตัวช้ีวัด ขอ้ กาหนดตา่ งๆ เปรยี บเทยี บกับผลการปฏิบตั ิของ องค์กร การทบทวนเป็นระยะ หมายถึง การที่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมดาเนินการทบทวนผลการปฏิบัติ เปรียบเทยี บกบั กฎหมาย ขอ้ กาหนดอืน่ ๆ เป็นช่วงเวลาเพื่อพิจารณาความสอดคลอ้ งอยเู่ สมอ ตวั อยา่ งสาหรับการประยกุ ต์ใช้ ตัวอย่าง แบบฟอร์มการทบทวนกฎหมายและข้อกาหนดอ่นื ๆ ทเ่ี ก่ียวข้อง ช่อื โรงงานอุตสาหกรรม……บ…ร…ิษ…ัท…ไท…-…ท…มั …(ม…ห…าช…น…)………………………………………… 1. การกากับดูแลองคก์ ร ความสอดคลอ้ งกับกฎหมาย การดาเนนิ การ กรณีทไ่ี ม่สอดคลอ้ ง ท่ี กฎหมายและข้อกาหนดทเี่ กยี่ วขอ้ ง ผูร้ บั ผิดชอบ ไม่ ไม่ สอดคลอ้ ง เกีย่ วข้อง สอดคลอ้ ง 1 พระราชบญั ญตั มิ หาชนจากดั ฝ่ายบรหิ าร พ.ศ. 2535 และกฎหมายอ่นื ท่เี กย่ี วขอ้ ง 2 พระราชบัญญตั กิ ารบญั ชี พ.ศ. 2543 และ ฝ่ายบัญชี กฎหมายอ่ืนท่เี ก่ียวข้อง 3 พระราชบัญญตั ิจดทะเบยี นเครื่องจกั ร พ.ศ. ฝา่ ยบริหาร 2514 ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2530 และกฎหมาย อื่นทเ่ี กยี่ วขอ้ ง 24
2. สทิ ธมิ นษุ ยชน ความสอดคล้องกบั กฎหมาย การดาเนนิ การ กรณีทีไ่ มส่ อดคลอ้ ง ท่ี กฎหมายและขอ้ กาหนดที่เกย่ี วข้อง ผูร้ บั ผดิ ชอบ ไม่ ไม่ สอดคล้อง เกย่ี วขอ้ ง สอดคลอ้ ง 1 รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย ฝา่ ยทรัพยากร พ.ศ. 2560 บุคคล 2 พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิ ฝ่ายทรัพยากร มนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ บคุ คล 3 กฎกระทรวง กาหนดจานวนคนพกิ ารที่ ฝ่ายทรพั ยากร นายจ้างหรือเจ้าของสถานประกอบการ บคุ คล และหน่วยงานของรฐั จะตอ้ งรับเขา้ ทางาน และจานวนเงนิ ท่ีนายจ้างหรือ เจ้าของสถานประกอบการจะต้องนาส่ง เขา้ กองทุนส่งเสรมิ และพัฒนาคุณภาพ ชวี ิตคนพกิ าร พ.ศ. 2554 3. การปฏิบตั ิด้านแรงงาน ความสอดคลอ้ งกับกฎหมาย การดาเนินการ ที่ กฎหมายและข้อกาหนดทเี่ ก่ยี วขอ้ ง ผ้รู ับผดิ ชอบ ไม่ ไม่ กรณที ่ีไม่สอดคล้อง สอดคล้อง เก่ยี วขอ้ ง สอดคลอ้ ง 1 พระราชบัญญัติคุม้ ครองแรงงาน ฝ่ายทรพั ยากร พ.ศ.2541, ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551, บคุ คล ฉบบั ที่ 3 พ.ศ. 2551 ฉบับท่ี 4 พ.ศ. 2553 ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2560 และ (ฉบบั ที่ 6) พ.ศ. 2560 ฉบบั ที่ 7 พ.ศ. 2562 2 ประกาศกรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครอง ฝา่ ยทรพั ยากร แรงงาน เรือ่ ง แบบแสดงสภาพการ บุคคล จ้างและสภาพการทางานของสถาน ประกอบกิจการ พ.ศ. 2551 3 พรบ. ประกนั สังคม พ.ศ. 2533 และ ฝ่ายทรัพยากร พรบ. ประกันสงั คม (ฉบบั ท่ี 2) บคุ คล พ.ศ.2537 4 พรบ. กองทนุ สารองเลย้ี งชีพ พ.ศ. ฝ่ายทรพั ยากร 2530 ฉบับท่ี 2 และฉบับที่ 3 พ.ศ. บุคคล 2550 25
ความสอดคล้องกบั กฎหมาย การดาเนินการ ที่ กฎหมายและข้อกาหนดท่เี กี่ยวขอ้ ง ผู้รบั ผิดชอบ ไม่ ไม่ กรณีทไ่ี มส่ อดคล้อง สอดคล้อง เก่ียวข้อง สอดคล้อง 5 พรบ. ปอ้ งกนั และระงบั อัคคีภยั ฝา่ ยอาชีว พ.ศ. 2542 อนามยั และ ความปลอดภยั 6 กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการ ฝ่ายอาชีว บริหารและการจัดการด้านความ อนามยั และ ปลอดภยั อาชวี อนามยั และ ความปลอดภยั สภาพแวดล้อมในการทางานในทอี่ บั อากาศ พ.ศ.2547 7 กฎกระทรวง กาหนดมาตรฐานในการ ฝา่ ยอาชีว บรหิ ารและการจัดการด้านความ อนามัยและ ปลอดภยั อาชวี อนามยั และ ความปลอดภัย สภาพแวดลอ้ มในการทางานเกี่ยวกบั งานก่อสร้าง พ.ศ.2551 8 พรบ. ฟน้ื ฟสู มรรถภาพคนพิการ ฝ่ายทรัพยากร พ.ศ.2534 บุคคล 9 ประกาศกระทรวงแรงงาน เรอ่ื ง ฝ่ายอาชวี อนา กาหนดสารเคมอี ันตรายทีใ่ ห้นายจ้าง มยั และความ จัดใหม้ ีการตรวจสุขภาพของลกู จา้ ง ปลอดภัย พ.ศ. ๒๕๕๒ 4. ส่งิ แวดลอ้ ม ความสอดคล้องกบั กฎหมาย การดาเนินการ ท่ี กฎหมายและขอ้ กาหนดทเี่ ก่ยี วขอ้ ง ผรู้ ับผิดชอบ ไม่ ไม่ กรณที ่ีไม่สอดคล้อง สอดคล้อง เกยี่ วขอ้ ง สอดคล้อง 1 พระราชบัญญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 แผนกอนรุ ักษ์ ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2562 และ ฉบับที่ 3 พลังงานและ พ.ศ. 2562 สง่ิ แวดล้อม 2 พระราชบัญญัติการนคิ มอุตสาหกรรม แผนกอนรุ ักษ์ แหง่ ประเทศไทย พ.ศ.2522 ฉบบั ที่ 2 พลังงานและ พ.ศ. 2534 ฉบบั ที่ 3 พ.ศ. 2539 และ ส่ิงแวดล้อม ฉบบั ท่ี 4 พ.ศ. 2550 26
ความสอดคลอ้ งกบั กฎหมาย การดาเนินการ ที่ กฎหมายและข้อกาหนดท่เี ก่ียวข้อง ผูร้ บั ผิดชอบ ไม่ ไม่ กรณที ีไ่ ม่สอดคลอ้ ง สอดคลอ้ ง เกี่ยวขอ้ ง สอดคล้อง 3 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง แผนกอนรุ ักษ์ กาหนดคา่ ปริมาณของก๊าซซัลเฟอร์ได พลังงานและ ออกไซด์สารเจอื ปนในอากาศท่ีระบาย ส่งิ แวดลอ้ ม ออกจากโรงงานซงึ่ ใช้น้ามนั เตาเป็น เชื้อเพลงิ ในการเผาไหม้ พ.ศ.2547 4 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรอ่ื ง แผนกอนุรักษ์ กาหนดค่าปรมิ าณของสารเจือปนใน พลงั งานและ อากาศทรี่ ะบายออกจากโรงงาน สิ่งแวดลอ้ ม พ.ศ. 2549 5 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรอ่ื ง แผนกอนรุ ักษ์ กาหนดคุณลกั ษณะน้าทิ้งที่ระบาย พลงั งานและ ออกนอกโรงงานใหม้ คี ่าแตกตา่ งจากท่ี ส่ิงแวดล้อม กาหนดไว้ในประกาศกระทรวง อุตสาหกรรม ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๓๙) เรื่อง กาหนดคณุ ลกั ษณะของน้าทิง้ ที่ ระบายออกจากโรงงาน 6 ประกาศกรมควบคุมมลพษิ เรอื่ ง แผนกอนรุ กั ษ์ วิธีการเก็บตัวอย่างนา้ ทง้ิ ความถี่ พลังงานและ และระยะเวลาในการเก็บตัวอยา่ งนา้ สง่ิ แวดลอ้ ม ทงิ้ จากโรงงานอุตสาหกรรมและนคิ ม อตุ สาหกรรม 7 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง แผนกอนรุ ักษ์ แผนการดาเนนิ การ แก้ไข ระบบเอกสารกากบั การขนส่ง พลังงานและ แผนการดาเนนิ การ ของเสียอันตราย พ.ศ. ๒๕๔๗ สิ่งแวดลอ้ ม แก้ไข 8 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรอ่ื ง แผนกอนรุ กั ษ์ แผนการดาเนนิ การ แกไ้ ข หลักเกณฑแ์ ละวิธีการแจ้งรายละเอยี ด พลงั งานและ เก่ียวกบั สิงปฏิกลู หรอื วสั ดุท่ีไมใ่ ชแ้ ล้ว ส่งิ แวดล้อม จากโรงงาน โดยทางสื่ออิเลก็ ทรอนคิ ส์ (Internet) พ.ศ. ๒๕๔๗ 9 ประกาศกระทรวงอตุ สาหกรรม เรอ่ื ง แผนกอนุรักษ์ การกาจัดสงิ่ ปฏิกลู หรอื วัสดไุ มใ่ ชแ้ ลว้ พลงั งานและ พ.ศ.๒๕๔๘ ส่ิงแวดล้อม 27
5. การดาเนนิ งานอย่างเปน็ ธรรม ความสอดคลอ้ งกบั กฎหมาย การดาเนนิ การ กรณที ไ่ี มส่ อดคลอ้ ง ที่ กฎหมายและขอ้ กาหนดท่เี กี่ยวข้อง ผ้รู ับผดิ ชอบ ไม่ ไม่ สอดคล้อง เกีย่ วขอ้ ง 1 พระราชบญั ญตั ิลขิ สิทธิ์ พ.ศ. 2537 และ สอดคล้อง กฎหมายอ่ืนทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ฝ่ายจัดซ้ือ 2 พรบ. สิทธบิ ตั ร พ.ศ.2522, ฉบบั แกไ้ ข เพ่มิ เตมิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2535 และฉบับ ฝ่ายขายใน แก้ไขเพมิ่ เตมิ (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2542 และ ประเทศ กฎหมายอน่ื ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง ฝ่ายขายใน 3 พระราชบญั ญัตกิ ารแข่งขนั ทางการค้า พ.ศ. ประเทศ 2560 ประกาศคณะกรรมการการแขง่ ขัน ทางการค้า เร่ือง หลักเกณฑ์การเปน็ ผู้ ฝ่ายขาย ประกอบธุรกจิ ซึง่ มีอานาจเหนือตลาด ตา่ งประเทศ ประกาศคณะกรรมการกลาง วา่ ด้วยราคา สินคา้ และบริการและกฎหมายอนื่ ท่ี ฝ่ายขาย เกยี่ วข้อง ต่างประเทศ 4 พระราชบญั ญัตกิ ารตอบโต้การทุม่ ตลาด ฝ่ายจัดซื้อ และการอุดหนุนซึง่ สนิ คา้ ตา่ งประเทศ พ.ศ. 2542 และกฎหมายอน่ื ที่เกย่ี วขอ้ ง ฝ่ายขายใน ประเทศ 5 พระราชบัญญัตมิ าตรการปกป้องจากการ ฝา่ ยขายใน นาเข้าสินค้าทีเ่ พ่ิมขึ้น พ.ศ. 2550 และ ประเทศ กฎหมายอื่นทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ฝา่ ยขายใน 6 พระราชบัญญตั วิ ่าดว้ ยการกระทาความผิด ประเทศ เก่ียวกับคอมพวิ เตอร์ พ.ศ. 2550 ฉบบั ที่ 2 ฝา่ ยจัดซอ้ื พ.ศ. 2560 และกฎหมายอ่ืนที่เก่ียวข้อง 7 พระราชบญั ญตั คิ วามลับทางการคา้ พ.ศ. 2545 และกฎหมายอน่ื ที่เก่ยี วขอ้ ง 8 พระราชบญั ญัตเิ คร่อื งหมายการคา้ พ.ศ. 2534 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2543 และกฎหมาย อ่ืนที่เกี่ยวข้อง 9 ประมวลกฎหมายอาญา 10 อนุสญั ญาสหประชาชาตวิ า่ ด้วยการตอ่ ต้าน การทจุ รติ พ.ศ. ๒๕๔๖ 28
6. ประเด็นด้านผบู้ ริโภค ผู้รบั ผิดชอบ ความสอดคล้องกับกฎหมาย การดาเนินการ กรณีทไ่ี ม่สอดคลอ้ ง ท่ี กฎหมายและขอ้ กาหนดท่ีเกีย่ วข้อง ไม่ ไม่ สอดคล้อง เกี่ยวข้อง สอดคล้อง 1 พระราชบญั ญตั ิค้มุ ครองผู้บรโิ ภค พ.ศ. ฝา่ ยขายใน 2522 และฉบบั ท่ี 2 พ.ศ. 2541 และ ประเทศ กฎหมายอน่ื ทเี่ กย่ี วข้อง ฝา่ ยควบคมุ 2 พระราชบญั ญตั มิ าตรฐาน คุณภาพ ผลิตภัณฑอ์ ุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 และ กฎหมายอืน่ ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ฝ่ายจดั ซือ้ 3 พระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยการกระทาความผดิ เก่ยี วกบั คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2560 และกฎหมายอื่นทเ่ี กยี่ วข้อง 7. การมีส่วนรว่ มและการพฒั นาชุมชน ความสอดคล้องกบั กฎหมาย การดาเนนิ การ กรณีทีไ่ ม่สอดคล้อง ท่ี กฎหมายและขอ้ กาหนดทเ่ี ก่ยี วข้อง ผรู้ ับผิดชอบ ไม่ ไม่ สอดคลอ้ ง เกี่ยวข้อง สอดคล้อง 1 รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. แผนกชุมชน 2560 สัมพันธ์ 2 พระราชบญั ญัติสง่ เสริมสวสั ดิการสงั คม ฉบบั ท่ี ๑ (พ.ศ. ๒๕๔๖) และฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๐) และกฎหมายอน่ื ที่เกีย่ วขอ้ ง 3 กฎกระทรวงกาหนดสิง่ อานวยความสะดวก แผนกชมุ ชน ในอาคารสาหรบั ผ้พู กิ ารหรอื ทุพพลภาพ สมั พันธ์ และคนชรา พ.ศ. ๒๕๔๘ 4 พระราชบัญญัตสิ ่งเสรมิ และพัฒนาคุณภาพ แผนกชุมชน ชีวติ คนพกิ าร พ.ศ. ๒๕๕๐ และกฎหมาย สัมพนั ธ์ อ่ืนท่ีเกย่ี วขอ้ ง 5 พระราชบญั ญตั ผิ สู้ ูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ และ แผนกชมุ ชน พระราชบญั ญตั ผิ ูส้ ูงอายุ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. สัมพันธ์ ๒๕๕๓ และกฎหมายอ่ืนทเ่ี ก่ียวขอ้ ง 6 พระราชบัญญตั สิ าธารณสุข พ.ศ. 2535 แผนกชุมชน ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ. 2550 ฉบับท่ี 3 พ.ศ. 2560 สมั พนั ธ์ และกฎหมายอืน่ ทเ่ี ก่ียวข้อง 29
ความสอดคลอ้ งกบั กฎหมาย การดาเนนิ การ ที่ กฎหมายและข้อกาหนดทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ผรู้ บั ผิดชอบ ไม่ ไม่ กรณีท่ีไม่สอดคลอ้ ง สอดคลอ้ ง เกย่ี วขอ้ ง สอดคล้อง 7 พระราชบัญญตั ิภาษโี รงเรือนและทีด่ นิ แผนกชมุ ชน พ.ศ. 2475 ,ฉบบั แกไ้ ขเพม่ิ เติม และ สัมพันธ์ กฎหมายอ่ืนทเ่ี ก่ยี วข้อง 8 พระราชบัญญตั ิภาษปี ้าย พ.ศ. 2510 ,ฉบบั แผนกชมุ ชน แก้ไขเพ่มิ เติม และกฎหมายอื่นทเี่ กย่ี วข้อง สัมพันธ์ 9 พระราชบัญญตั ภิ าษบี ารุงท้องที่ พ.ศ. แผนกชุมชน 2508 ฉบับแก้ไขเพ่ิมเติม และกฎหมายอ่นื สัมพนั ธ์ ท่เี ก่ยี วข้อง 30
6.4 ขอ้ รอ้ งเรยี น ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมควรจัดให้มีกระบวนการที่เก่ียวข้องกับข้อร้องเรียนด้านชุมชน และสิ่งแวดล้อม ซงึ่ ครอบคลุมถึงการรบั การพจิ ารณา การดาเนนิ การแก้ไขและป้องกัน ท้ังน้ีผู้ประกอบการอุตสาหกรรมควรจัดเก็บผลกำรดำเนินงำนด้ำนกำรร้องเรียน เป็นบันทึก ไมน่ ้อยกวำ่ 1 ปีนบั จำกปดิ ข้อรอ้ งเรียน สาระสาคัญตามเกณฑ์การปฏบิ ตั ิ สถานประกอบการที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม ควรเป็นสถานประกอบการที่สามารถอยู่ร่วมกัน กับสงั คมและชุมชนไดอ้ ย่างมคี วามสขุ ดังน้ันผปู้ ระกอบการอตุ สาหกรรมควรจัดให้มกี ระบวนการ การรับขอ้ ร้องเรียน การพจิ ารณาข้อร้องเรยี น การดาเนนิ การแกไ้ ขและปอ้ งกัน การจัดเกบ็ บนั ทกึ ผลการดาเนนิ งานต่อขอ้ ร้องเรียน กระบวนการรับข้อร้องเรียนควรกาหนดให้ครอบคลุมท้ังภายในและภายนอกองค์กร ซึ่งสามารถ กาหนดกลไกในการดาเนินงานให้มีความเป็นธรรม (ดูข้อ 5.2.4 ในเล่มมาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคม ของผู้ประกอบการ: CSR-DIW) เมื่อมีการรับเรื่องร้องเรียนมาแล้ว ผู้ประกอบการควรกาหนดให้มี ผู้รับผิดชอบในการพิจำรณำข้อมูลเหล่านั้น เพื่อนามาแก้ไขปัญหาเบื้องต้น ค้นหาสาเหตุและแนว ทางแก้ไขปัญหาท่ีแท้จริง โดยอาจประสานกับผู้ร้องเรียนให้เข้ามามีส่วนร่วมในการกาหนดแนวทางในการ แก้ไขและป้องกันปัญหำไม่ให้เกิดซ้า ตลอดจนกาหนดวิธีกำรจัดเก็บบันทึกผลการดาเนินงานต่อ ข้อร้องเรียนไว้เพื่อเป็นหลักฐานไม่น้อยกว่ำ 1 ปี นับจำกปิดข้อร้องเรียน 31
ตวั อย่างสาหรับการประยุกต์ใช้ ตัวอย่าง การดาเนนิ งานขอ้ รอ้ งเรยี นภายในองค์กร 32
ตัวอยา่ งสาหรับการประยุกต์ใช้ ตัวอย่าง การดาเนนิ งานขอ้ รอ้ งเรยี นภายนอกองคก์ ร 33
ตัวอยา่ งสาหรับการประยกุ ตใ์ ช้ ตัวอยา่ ง การดาเนินงานข้อรอ้ งเรยี นภายนอกองคก์ ร (หนังสอื ตรวจสอบขอ้ ร้องเรยี นจากภายนอก) 34
6.5 การวเิ คราะห์และจดั ลาดบั ผมู้ สี ่วนไดเ้ สยี ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมควรกาหนดแนวทางช้ีบ่งผู้มีสว่ นได้เสียที่มีความสัมพันธ์อันเกิดจาก กิจกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการขององค์กรทัง้ ภายในและภายนอก รวมท้ังจัดทำรำยชอื่ ผ้มู ีสว่ นได้เสยี ไว้เปน็ เอกสำร และทาการทบทวนตำมระยะเวลำที่กาหนด เพื่อให้แนใ่ จว่ายังมคี วามเหมาะสมกบั องคก์ ร ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมควรกาหนดแนวทางจัดลำดับควำมสำคัญของการปฏิบัติที่อยู่บน พ้ืนฐานของการบูรณาการความรับผิดชอบต่อสังคมทั่วทั้งองค์กร โดยประเมินจากผลประโยชน์ และ ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อองค์กรและผ้มู ีส่วนได้เสีย โดยจัดทำเป็นเอกสำรและทบทวนตำมระยะเวลำ ทก่ี าหนด สาระสาคัญตามเกณฑก์ ารปฏิบัติ การดาเนินงานความรบั ผิดชอบต่อสงั คม เป็นการดาเนินงานที่คานึงถึงผมู้ ีสว่ นได้เสีย โดยเกณฑ์การ ปฏิบัติตามมาตรฐานความรับผดิ ชอบต่อสงั คมของผู้ประกอบการ (CSR-DIW) มีสาระสาคัญที่ควรปฏิบตั ดิ ังน้ี คอื ชี้บ่งผู้มีส่วนได้เสีย ที่มีความสัมพันธ์ท้ังภายในและภายนอกกับองค์กร รวมท้ังจัดทำรำยช่ือ ผู้มีส่วนได้เสียไว้เป็นเอกสำร และทาการทบทวนตำมระยะเวลำท่ีกาหนด เพ่ือให้แน่ใจว่าเหมาะสมกับการ ดาเนนิ การขององคก์ รในช่วงเวลาน้ันๆ เริ่มต้นการช้ีบ่งผู้มีส่วนได้เสีย โดยผู้ประกอบการอุตสาหกรรมต้องพิจารณาให้ครอบคลุม ทุกกลุ่มผมู้ ีส่วนได้เสียที่มคี วามสัมพนั ธ์กับกิจกรรม ผลิตภัณฑ์และบริกำรขององค์กร อาทิ พนักงาน ชุมชน รอบขา้ ง คู่ค้า ผู้บริโภค ผู้จัดหาวตั ถดุ ิบ สือ่ มวลชน NGOs สถาบนั การเงิน ฯลฯ ต้องจัดทารายชื่อหรือทะเบียนผู้มีส่วนได้เสียไว้เป็นเอกสาร เพื่อให้มีหลักฐานที่แสดงว่า ผู้ประกอบการอุตสาหกรรม ได้พิจารณาและช้ีบ่งผู้มีส่วนได้เสียอย่างครอบคลุมและครบถ้วนรายช่ือหรือ ทะเบียนผู้มีส่วนได้เสยี ท่ีจดั ทาข้ึนมานี้ จะถูกนามาใช้ประกอบการพิจารณา และวางแผนดาเนินงานร่วมกบั ผมู้ สี ว่ นได้เสยี แตล่ ะกลมุ่ ไดอ้ ย่างเหมาะสมต่อไป 35
ดาเนินการทบทวนรายช่ือผู้มีส่วนได้เสียตามระยะเวลาท่ีเหมาะสม ทั้งน้ี ตลอดระยะเวลา การดาเนินงานขององค์กรทีเ่ ปลยี่ นแปลงไป กลุ่มผู้มีสว่ นได้เสยี ขององค์กรอาจมีการเปล่ียนแปลงตามไปด้วย จงึ ตอ้ งมกี ารดาเนินการทบทวนเป็นระยะ จัดลำดับควำมสำคัญของการปฏิบัติที่อยู่บนพ้ืนฐานของการบูรณาการความรับผิดชอบต่อสังคม ทั่วท้ังองค์กร โดยประเมินจากผลประโยชน์ และผลกระทบ ที่อาจเกิดข้ึนต่อองค์กรและผู้มีส่วนได้เสีย โดยจัดทำเป็นเอกสำรและมีการทบทวนตำมระยะเวลำที่กาหนด เพื่อให้มีความทันสมัยและเพ่ือจัดลาดับ ความสาคญั ของผมู้ สี ว่ นได้เสีย การจัดลาดับความสาคัญของผู้มีส่วนได้เสีย มีไว้เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพิจารณาตัดสินใจ ดาเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร ว่าควรจะดาเนินการกับผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มใดก่อนหลัง ทง้ั น้ีกระบวนการจัดลาดบั ความสาคญั ไดก้ าหนดแนวทางการประเมินไวส้ องมุมมอง คอื - ผลประโยชน์ ให้พิจารณาถึง “ความสมั พันธ์ระหว่างผลประโยชน์ของผู้มีส่วนไดเ้ สยี กับ การพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื ” - ผลกระทบ ให้พิจารณาถึง “ผลกระทบจากการตัดสินใจหรือการดาเนินกิจกรรมของ องคก์ รในมมุ มองของผ้มู ีสว่ นไดเ้ สีย” โดยการดาเนนิ การจดั ลาดับความสาคัญผมู้ สี ว่ นได้เสียน้ี ตอ้ งจัดทาเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร เพื่อใช้ ในการจดั การตอบสนองตอ่ กลมุ่ ผู้มีสว่ นได้เสยี ขององคก์ ร ดาเนินการทบทวนรายชื่อผ้มู ีส่วนได้เสยี ตามระยะเวลาท่เี หมาะสม ทงั้ น้ีเนื่องจากวา่ สภาวการณ์ ในแต่ละช่วงระยะเวลาอาจมีการเปลี่ยนแปลงสง่ ผลให้กลุ่มผู้มีสว่ นไดเ้ สียทสี่ าคัญเปลยี่ นแปลงได้เช่นกัน 36
ตัวอย่างสาหรบั การประยกุ ต์ใช้ 1. การช้ีบ่งผมู้ ีส่วนไดเ้ สีย ให้ดาเนินการระบุผู้มีส่วนได้เสีย โดยพิจารณาขอบเขตจากกิจกรรม ผลิตภัณฑ์ และบริการของ องคก์ ร โดยอาจพิจารณาตลอดทั้งหว่ งโซ่คณุ ค่า (Value Chain) โดยการชี้บ่งผู้มีส่วนได้เสียด้านชุมชนน้ี สามารถพิจารณาได้ 2 ส่วน คือ ชุมชนใกล้ (ชุมชนที่มี โอกาสได้รับผลกระทบจากองค์กร เช่น รัศมีประมาณ 5 กิโลเมตร ให้นามาสู่การพิจารณาก่อน) และชุมชนไกล (พิจารณาประเดน็ ตามข้อกาหนด และโอกาสที่องค์กรอาจสง่ ผลกระทบถงึ ) ทั้งนี้ หากองค์กรยังไม่เคยดาเนินการช้ีบ่งผู้มีส่วนได้เสียด้านชุมชนมาก่อน อาจเริ่มต้นจากการ ขอขอ้ มลู จากองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ทกี่ ากับดแู ลพ้ืนที่ เพ่ือสนับสนนุ ขอ้ มูลให้ 1.ผูถ้ ือหุ้น 8. ภาครฐั 2.พนักงาน 7. NGOs องคก์ ร 3.ชุมชน 6.ผู้จดั หา 4.ผ้บู ริโภค วัตถดุ บิ 5.ผจู้ ดั จาหน่าย ภาพที่ 1 ตวั อย่างการช้ีบ่งผมู้ ีสว่ นไดเ้ สยี 37
2. การจดั ทาทะเบยี นผมู้ สี ว่ นได้เสยี เม่ือช้ีบ่งผมู้ ีสว่ นได้เสียแลว้ ให้นาผู้มีส่วนได้เสยี ทไ่ี ด้ช้บี ่งไว้ ระบุลงในตารางการจดั ทาทะเบยี น ผมู้ ีสว่ นได้เสยี เพือ่ ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ในการทบทวนขององค์กร ดังนี้ ตัวอย่าง ตารางการจัดทาทะเบียนผ้มู ีส่วนได้เสยี ท่ี ผมู้ สี ่วนได้เสยี รายการผู้มีส่วนได้เสีย หมายเหตุ 1 ผูถ้ อื หนุ้ รายใหญ่ จานวนหุ้นมากกวา่ รอ้ ยละ 15 2 พนกั งาน รายย่อย จานวนหุ้นนอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 15 3 ชุมชน พนักงานประจา พนักงานรบั เหมารายชน้ิ อา้ งอิงทะเบยี นรายช่อื ลูกคา้ 4 ผบู้ รโิ ภค ชุมชนตารวจนา้ 5 ผู้จัดจาหนา่ ย ชุมชนคงกระพนั ชาตรี ชุมชนซอยบญั ชา 6 ผู้จัดหาวตั ถุดิบ ตวั แทนจาหน่าย 94 ราย ห้างหุน้ ส่วนจากดั หลินปงิ 7 NGOs ร้าน ชว่ งช่วง 8 ภาครฐั ร้าน หลินฮยุ้ บรษิ ทั เช็ง เชง็ ร้านปว๋ ยเล็ง Buffo shop มลู นิธิคมุ้ ครองผบู้ ริโภค สานักงานอตุ สาหกรรมจงั หวดั กรมสรรพากรจงั หวดั สานักงานสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงานจงั หวดั 38
3. การประเมินผลประโยชน์ และผลกระทบ การประเมินผลประโยชน์และผลกระทบน้ี ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมต้องคานึงถึงหลกั การ ความรับผิดชอบต่อสังคมด้านการยอมรับถึงผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสีย (Respect for Stakeholder Interests) “ผ้ปู ระกอบการอุตสาหกรรมตอ้ งชี้บ่งผมู้ สี ่วนได้เสีย เคารพต่อผลประโยชนแ์ ละความตอ้ งการของ ผู้มีส่วนได้เสีย สานึกในสิทธิทางกฎหมายและผลประโยชน์ท่ีชอบด้วยกฎหมาย คานึงถึงความสามารถของ ผูม้ ีสว่ นได้เสียในการตดิ ต่อและการเขา้ ไปดาเนินการร่วมกบั องค์กร คานงึ ถึงความสัมพันธร์ ะหว่างผลประโยชน์ ของผู้มีส่วนได้เสียกับการพัฒนาอย่างยั่งยืนรวมถึงความสัมพันธ์ระหว่างผมู้ ีส่วนได้เสียกับองค์กร นอกจากน้ี ต้องพิจารณาผลกระทบจากการตัดสินใจหรือการดาเนนิ กจิ กรรมขององคก์ รในมมุ มองของผ้มู ีสว่ นไดเ้ สยี ” ทั้งนี้ เพ่ือให้การประเมินเพ่ือจัดลาดับความสาคัญมีความชัดเจนจึงได้กาหนดระดับคะแนนสาหรับ การประเมินไว้ดังนี้ ระดับ Stakeholder ไดร้ บั ระดบั Stakeholder ไดร้ ับ คะแนน ผลประโยชน์ คะแนน ผลกระทบ 1 จากการดาเนินงานขององคก์ ร 1 จากการดาเนนิ งานขององคก์ ร 2 มากทส่ี ดุ 2 นอ้ ยที่สดุ 3 มาก 3 น้อย 4 น้อย 4 มาก น้อยท่ีสดุ มากที่สดุ สาหรับวิธกี ารประเมินน้ันสามารถทาได้โดยการใช้ ตารางวเิ คราะห์ผลประโยชนแ์ ละผลกระทบต่อการ ดาเนนิ งานขององคก์ ร ซ่ึงมขี ั้นตอนการปฏบิ ัตดิ ังน้ี 1. นาผูม้ ีสว่ นได้เสียขององค์กรท่ีได้ชบ้ี ง่ ไวม้ าใส่ในตารางให้ครบทุกกล่มุ 2. สรุปประเด็นสาคัญ หรือ Keyword ที่สาคัญ ท่ีได้จากผลการทบทวนสถานะเริ่มต้น เพื่อเป็น กรอบในการพิจารณาให้ระดับคะแนน ในช่อง “มาตรการที่มอี ยู่ (ผลจากการทบทวนสถานะเริ่มตน้ ) ” 3. ระบุระดบั คะแนน “Stakeholder ไดร้ บั ผลประโยชนจ์ ากการดาเนนิ งานขององค์กร” โดย ระดบั คะแนน 1 หมายถึง Stakeholder ไดร้ บั ผลประโยชน์จากการดาเนินงานขององคก์ รมากท่ีสุด ระดับคะแนน 2 หมายถึง Stakeholder ได้รบั ผลประโยชน์จากการดาเนินงานขององค์กรมาก ระดบั คะแนน 3 หมายถงึ Stakeholder ไดร้ ับผลประโยชนจ์ ากการดาเนนิ งานขององค์กรน้อย ระดบั คะแนน 4 หมายถึง Stakeholder ได้รับผลประโยชน์จากการดาเนนิ งานขององค์กรน้อยทสี่ ุด 39
4. ระบุผลกระทบท่ียงั มอี ยู่ในปจั จบุ ัน และอาจเกิดข้ึนในอนาคต “พิจารณาจากมาตรการท่ีมีอยู่ และผลจากการทบทวนสถานะเรมิ่ ตน้ ” 5. ระบุระดบั คะแนน “Stakeholder ไดร้ ับผลกระทบจากการดาเนนิ งานขององค์กร” โดย ระดบั คะแนน 1 หมายถงึ Stakeholder ได้รบั ผลกระทบจากการดาเนนิ งานขององคก์ รนอ้ ยทสี่ ดุ ระดับคะแนน 2 หมายถงึ Stakeholder ไดร้ ับผลกระทบจากการดาเนนิ งานขององคก์ รนอ้ ย ระดบั คะแนน 3 หมายถึง Stakeholder ได้รบั ผลกระทบจากการดาเนนิ งานขององคก์ รมาก ระดับคะแนน 4 หมายถึง Stakeholder ไดร้ ับผลกระทบจากการดาเนนิ งานขององคก์ รมากทสี่ ดุ หมายเหตุ 1. การให้ระดับคะแนนน้ันให้ใช้การ Vote หรือ ฉันทามติ จากคณะทางานความรับผิดชอบต่อ สังคมทีม่ าจากฝา่ ยงานตา่ งๆ ในองค์กร และหาค่าเฉล่ียเพอ่ื ใชเ้ ปน็ ระดบั คะแนนในแตล่ ะ Stakeholder 2. ต้องระมัดระวังการให้คะแนนด้านผลประโยชน์ และผลกระทบ เพราะความหมายของคะแนน แต่ละระดบั จะมคี วามหมายท่ีตรงขา้ มกัน 40
ตัวอย่าง ตารางวิเคราะห์ผลประโยชน์และ ผมู้ ีสว่ นได้เสยี มาตรการทีม่ ีอยู่ Stakeholder ไดร้ บั ผลประ ผู้ถือหุน้ (ผลจากการทบทวนสถานะเร่มิ ตน้ ) จากการดาเนนิ งานขององ พนักงาน ระดบั 1 2 3 4 ชมุ ชน ผูบ้ ริโภค - การบริหารงานของบริษัทมีความโปร่งใส 1(5)+2(2)+3(0)+4(0)=9 ตรวจสอบได้ทกุ ข้ันตอน คา่ เฉลย่ี 1.29 - สวัสดิการสงู กวา่ กฎหมายกาหนด 1(0)+2(4)+3(3)+4(0)=17 - มีการจดั สภาพแวดล้อมการทางานที่ดีตาม คา่ เฉลีย่ 2.42 ISO 14001 - มีการดแู ลเรอ่ื งความปลอดภัยในการทางาน ตามมาตรฐาน ISO 45001 - มีการจัดอบรมเพิ่มความรู้ทักษะให้กับ พนักงาน - การกิจกรรม Happy Work Place - คา่ แรงสงู กว่าคา่ แรงขั้นต่า - มีโครงการธรรมา 1(0)+2(7)+3(0)+4(0)=14 ภิบาลสง่ิ แวดล้อม คา่ เฉลี่ย 2.00 - ชุมชนสัมพนั ธ์ - บริษทั คืนถน่ิ - โครงการพนี่ ้องร่วมคิดจิตอาสา - โรงงานไดร้ บั การรบั รอง ISO 9001, ISO 1(7)+2(0)+3(0)+4(0)=7 14001, Reach, ISO 45001, TLS 8001, คา่ เฉล่ยี 1.00 ISO 50001
ะผลกระทบต่อการดาเนนิ งานขององค์กร ะโยชน์ ผลกระทบทีย่ งั มีอย่ใู นปัจจบุ นั Stakeholder ได้รับผลกระทบ งคก์ ร และอาจเกดิ ข้นึ ในอนาคต จากการดาเนินงานขององค์กร 9/7 - รายได้ที่อาจลดลงหากองค์กรทาใหเ้ กิดผล ระดบั 4 3 2 1 กระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน 1(0)+2(0)+3(6)+4(1)=22/7 7/7 - ปญั หาเรื่องเสยี งดังจากเครื่องจกั รที่อยู่ใน ค่าเฉลี่ย 3.14 ระหว่างการดาเนนิ การปรบั ปรงุ ในแต่ละ 1(0)+2(0)+3(2)+4(5)=26/7 กระบวนการ ค่าเฉลย่ี 3.71 - ความเสย่ี งด้านสุขภาพของพนกั งาน ไม่มเี วลาออกกาลงั กายทาให้เกดิ ภาวะอ้วนลง 1(0)+2(0)+3(7)+4(0)=21/7 พงุ ค่าเฉลย่ี 3.00 - พนักงานบางสว่ นขาดการมีส่วนร่วมในกิจกรรม กบั ชมุ ชน/โครงการจติ อาสา เน่ืองจากเวลาการ ทางานไม่สัมพันธก์ ับกจิ กรรมต่างๆ 4/7 ชุมชนได้รับผลกระทบจากปัญหาน้าเสียของ โรงงานบ้างและไดร้ ับผลกระทบจากการขนส่ง สง่ ผลให้การจราจรติดขัด 7/7 บางครั้งพบว่าข้อร้องเรียนเร่ืองการให้บริการ 1(0)+2(3)+3(4)+4(0)=18/7 และคุณภาพทีไ่ มเ่ ปน็ ไปตามมาตรฐาน คา่ เฉลี่ย 2.57 41
ผ้มู สี ่วนได้เสยี มาตรการทม่ี ีอยู่ Stakeholder ได้รับผลประ (ผลจากการทบทวนสถานะเรม่ิ ต้น) จากการดาเนนิ งานขององ ผู้จดั จาหน่าย - มผี ลิตภัณฑ์ใหม่เพ่ือเพมิ่ ทางเลอื กใหก้ บั ระดับ 1 2 3 4 ผู้จดั หาวตั ถุดบิ ผบู้ รโิ ภค 1(6)+2(1)+3(0)+4(0)=8 NGOs - สินค้ามคี วามปลอดภยั ไม่สง่ ผลกระทบตอ่ ค่าเฉลย่ี 1.14 ภาครัฐ ผูบ้ ริโภคและสง่ิ แวดล้อม 1(0)+2(1)+3(6)+4(0)=20 - มีมาตรการในการต่อตา้ นการคอรปั ชั่นโดยงด ค่าเฉลย่ี 2.86 รบั ของขวญั และมีการกาหนด COC ที่ เกีย่ วข้องกบั ผู้จัดจาหนา่ ยใหป้ ฏบิ ตั ิเพอื่ ให้ 1(0)+2(1)+3(6)+4(0)=20 สอดคลอ้ งกบั เจตนารมณข์ ององค์กร ค่าเฉลี่ย 2.86 - มีการตรวจประเมนิ ณ แหล่งผลติ 1(4)+2(3)+3(0)+4(0)=10 - มนี โยบายการจัดซ้ือจัดจ้างชัดเจน โปรง่ ใส ค่าเฉลย่ี 1.43 สามารถตรวจสอบได้ - มกี ารประเมนิ หลังการซ้ือขายและแจ้งผลการ ประเมินให้ทราบ - มกี ิจกรรม Open House - - การใหข้ อ้ มูลและรายงานทถ่ี ูกต้อง - เป็นแหล่งเย่ยี มชม ศกึ ษาดงู าน - สนบั สนุนกิจกรรมใหแ้ กภ่ าครัฐ
ะโยชน์ ผลกระทบท่ียังมีอยู่ในปัจจบุ ัน Stakeholder ไดร้ ับผลกระทบ งคก์ ร และอาจเกิดขึน้ ในอนาคต จากการดาเนินงานขององค์กร ระดับ 4 3 2 1 8/7 มีความเส่ียงด้านเศรษฐกิจเน่ืองจากยังไม่มี 1(0)+2(3)+3(4)+4(0)=18/7 มาตรการในการทบทวนสัญญาหากเกดิ สภาวะที่ ค่าเฉลยี่ 2.57 เปลยี่ นแปลงหลงั จากที่ได้ทาสัญญาไปแลว้ 0/7 - ยังไม่สามารถผลิตสินคา้ ได้ทุกๆครง้ั เมื่อมคี วาม 1(3)+2(3)+3(1)+4(0)=12/7 ตอ้ งการเร่งด่วน คา่ เฉลี่ย 1.71 - กรณีที่มกี ารเปล่ยี นแปลงผลิตภัณฑ์ใหม่ ผูจ้ ัดหา วตั ถุดบิ ไม่สามารถพัฒนาได้ทนั ตามความต้องการ 0/7 ไดร้ ับรายละเอยี ดข้อมูลและข่าวสารไม่ครบถ้วน 1(0)+2(2)+3(5)+4(0)=19/7 ตามความต้องการในบางครัง้ คา่ เฉล่ีย 2.71 0/7 การส่งรายงานล่าช้า หรือข้อมูลไม่ครบถ้วน 1(6)+2(1)+3(0)+4(0)=8/7 โดยเฉพาะในช่วงกฎหมายใหมบ่ งั คับใช้ คา่ เฉล่ยี 1.10 42
Search