2 การบริหารงบประมาณ การบริหารและการจดั การศึกษาของโรงเรยี น มวี ตั ถปุ ระสงค์เพือ่ ให้โรงเรยี นจัดการศกึ ษาอยา่ งเปน็ อสิ ระ คลอ่ งตัว สามารถบรหิ ารการจัดการศึกษาได้สะดวด รวดเร็ว มปี ระสทิ ธภิ าพแ2ละมีความรับผิดชอบ โรงเรยี นบ้านนานวน นอกจากมีอานาจหน้าท่ตี ามวัตถปุ ระสงคข์ ้างต้นแล้ว ยงั มีอานาจหนา้ ท่ตี ามที่กฏ ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ดว้ ยการบรหิ ารจดั การและขอบเขตการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องโรงเรียนขน้ั พื้นฐานทเี่ ปน็ นิติ บุคคลสังกัดเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา พ.ศ 2546 ลงวันท่ี 7 กรกฏาคม พ.ศ. 2546 กฎหมายการศึกษาแห่งชาติ และกฎหมายระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ จงึ กาหนดให้ โรงเรียนนิติบคุ คลมอี านาจหน้าที่ ดงั นี้ 1. ให้ผ้อู านวยการโรงเรียนเป็นผู้แทนนิติบุคคลในกจิ การทว่ั ไปของโรงเรยี นท่ีเกยี่ วกับบุคคลภายนอก 2. ให้โรงเรียนมอี านาจปกครอง ดูแล บารงุ รกั ษา ใชแ้ ละจัดหาผลประโยชนจ์ ากทรัพยส์ นิ ที่มีผ้บู ริจาคให้ เวน้ แต่การจาหนา้ ยอสงั หารมิ ทรพั ย์ที่มีผู้บริจาคให้โรงเรียน ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานของโรงเรยี น 3. ให้โรงเรยี นจดทะเบยี นลิขสิทธ์ิหรอื ดาเนนิ การทางทะเบียนทรัพยส์ ินตา่ งๆ ทมี่ ผี ูอ้ ุทิศให้หรือโครงการซอ้ื แลกเปลีย่ นจากรายไดข้ องสถานศกึ ษาให้เปน็ กรรมสิทธิ์ของสถานศกึ ษา 4. กรณีโรงเรียนดาเนินคณดีเปน็ ผฟู้ อ้ งร้องหรือถกู ฟอ้ งรอ้ ง ผู้บรหิ ารจะตอ้ งดาเนนิ คดแี ทนสถานศึกษาหรือ ถกู ฟอ้ งร่วมกบั สถานศกึ ษา ถ้าถกู ฟ้องโดยมิไดดอ้ ย่ใู นการปฏิบัตริ าชการ ในกรอบอานาจ ผบู้ ริหารตอ้ ง รับผดิ ชอบเป็นการเฉพาะตวั 5. โรงเรียนจดั ทางบดลุ ประจาปแี ละรายงานสาธารณะทุกส้นิ ปงี บประมาณ
3 งบประมาณที่สถานศกึ ษานามาใชจ้ า่ ย 1. แนวคิด การบรหิ ารงานงบประมาณของสถานศึกษามงุ่ เน้นความเปน็ อิสระ ในการบรหิ ารจัดการมีความคล่องตัว โปร่งใส ตรวจสอบได้ ยดึ หลักการบริหารมุง่ เนน้ ผลสมั ฤทธิ์และบริหารงบประมาณแบบมุ่งเนน้ ผลงาน ใหม้ กี ารจัดหา ผลประโยชน์จากทรพั ย์สิทของสถานศกึ ษา รวมทั้งจดั หารายได้จากบรกิ ารมาใช้บรหิ ารจัดการเพอ่ื ประโยชน์ทาง การศกึ ษา สง่ ผลให้เกิดคุณภาพท่ีดีข้ึนต่อผูเ้ รียน 2. วัตถปุ ระสงค์ เพือ่ ให้สถานศึกษาบรหิ ารงานดา้ นงบประมาณมคี วามเปน็ อิสระ คลอ่ งตวั โปร่งใสตรวจสอบได้ 2.1 เพ่ือใหไ้ ด้ผลผลิต ผลลัพธเ์ ปน็ ไปตามข้อตกลงการใหบ้ รกิ าร 2.2 เพ่ือใหส้ ถานศกึ ษาสามารถบริหารจัดการทรพั ยากรทีไ่ ด้อยา่ งเพยี งพอและประสทิ ธภิ าพ 3. ขอบข่ายภารกิจ 3.1 กฎหมาย ระเบียบ และเอกสารทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง 1. พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพม่ิ เติม(ฉบบั ที่ 2) 2. พระราชบัญญัติบรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2546 3. ระเบยี บวา่ ด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2545 4. หลกั สูตรการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 5. แนวทางการกระจายอานาจการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาและสถานศกึ ษาตามกฎกระทรวง กาหนด หลักเกณฑ์และวธิ กี ารกระจายอานาจการบรหิ ารและการจัดการศึกษา พ.ศ. 2550
4 รายจ่ายตามงบประมาณ จาแนกออกเป็น 2 ลกั ษณะ 1. รายจา่ ยของสว่ นราชการและรัฐวิสาหกจิ - งบบคุ ลากร - งบดาเนินงาน - งบลงทนุ - งบเงนิ อุดหนนุ - งบร่ายจ่ายอืน่ งบบุคลากร หมายถงึ รายจ่ายทกี่ าหนดให้จ่ายเพอื่ การบริหารงานบุคคลภาครัฐ ไดแ้ กร่ ายจ่ายที่จา่ ยใน ลกั ษณะเงนิ เดอื น ค่าจ้างประจา ค่าจา้ งชว่ั คราว และคา่ ตอบแทนพนกั งานราชการ รวมถึงราจจ่ายทกี่ าหนดใหจ้ ่าย จากงบรายจ่ายอ่ืนใดในลกั ษณะราจจ่ายดังกล่า งบดาเนนิ งาน หมายถงึ รายจา่ ยท่กี าหนดให้จา่ ยเพอื่ การบริหารงานประจา ได้แก่ รายจา่ ยที่จา่ ยใน ลักษณะคา่ ตอบแทน คา่ ใช้สอย ค่าวสั ดุ และค่าสาธารณูปโภค รวมถงึ ราจา่ ยท่กี าหนดให้จา่ ยจากงบรายจา่ ยอื่นใด ในลักษณะรายจ่ายดังกลา่ ว งบลงทนุ หมายถึง รายจ่ายทีก่ าหนดใหจ้ ่ายเพ่อื การลงทุน ไดแ้ ก่ รายจ่ายท่จี ่ายในลกั ษณะค่าครุภัณฑ์ ค่า ทดี่ ินและสิง่ กอ่ สร้าง รวมถึงรายจา่ ยท่ีกาหนดให้จ่ายจากงบรายจ่ายอืน่ ใดในลกั ษณะรายจา่ ยดงั กลา่ ว งบดาเนนิ งาน หมายถึง รายจา่ ยทีก่ าหนดให้จ่ายเพือ่ การบรหิ ารงานประจา ไดแ้ ก่ รายจ่ายทจ่ี า่ ยใน ลกั ษณะคา่ ตอบแทน คา่ ใชส้ อย ค่าวสั ดุ และค่าสาธารณูปโภค รวมถึงรายจ่ายที่กาหนดให้จา่ ยจากงบรายจา่ ยอนื่ ใด ในลกั ษณะรายจ่ายดังกลา่ ว งบลงทนุ หมายถึง รายจ่ายที่กาหนใหจ้ า่ ยเพ่ือการลงทนุ ไดแ้ ก่ รายจ่ายทีจ่ ่ายในลักษณะคา่ ครุภัณฑ์ ค่า ทดี่ ินและส่งิ ก่อนสรา้ ง รวมถงึ รายจ่ายทีก่ าหนดใหจ้ า่ ยจากงบรายจ่ายอ่นื ใดในลักษณะรายจ่ายดงั กลา่ ว งบเงินอุดหนนุ หมายถงึ รายจา่ ยท่ีกาหนดให้จา่ ยเป็นคา่ บารงุ หรือเพอ่ื ช่วยเหลอื สนบั สนนุ งานของ หนว่ ยงานอสิ ระตามรัฐธรรมนญู หรือหนว่ ยงานของรฐั ซงึ่ มิใชส่ ่วนกลางตาม พ.ร.บ. ระเบยี บบริหารราชการแผน่ ดิน หน่วยงานในกากับของรฐั องคก์ ารมหาชน รฐั วสิ าหกิจ องคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ รวมถึงเงนิ อดุ หนุน งบ พระมหากษัตริย์ เงินอุดหนนุ ศาสนา งบรายจ่ายอน่ื หมายถงึ รายจ่ายทไ่ี ม่เข้าลักษณะประเภทงบรายจา่ ยใดงบรายจา่ ยหนึง่ หรอื รายจ่ายท่ี สานกั งานงบประมาณกาหนดให้ใช้จา่ ยในงบรายจ่ายน้ี เชน่ เงนิ ราชการลับ เงินค่าปรบั ที่จา่ ยคืนให้แก่ผขู้ ายหรอื ผู้ รับจ้าง ฯลฯ อัตราเงินอุดหนนุ รายหวั นักเรยี นต่อปกี ารศกึ ษา ระดับกอ่ นประถมศึกษา 1,700 บาท ระดบั ประถมศกึ ษา 1,900 บาท ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ 3,500 บาท ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย 3,800 บาท การจดั สรรเงนิ อุดหนุนรายหัวนักเรยี น แบง่ การใชต้ ามสัดส่วน ด้านวชิ าการ : ด้านบรหิ ารทั่วไป : สารอง จ่ายทงั้ 2 ด้านคือ
5 1. ดา้ นวชิ าการ ใหส้ ัดสว่ นไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 60 นาไปใชไ้ ด้ในเรอื่ ง 1.1 จดั หาวัสดุและครุภัณฑ์ทจี่ าเปน็ ตอ่ การเรยี นการสอน 1.2 ซอ่ มแซมวสั ดอุ ปุ กรณ์ 1.3 การพัฒนาบคุ ลาการด้านการสอน เชน่ สง่ ครเู ขา้ อบรมสัมมนา ค่าจา้ งชว่ั คราวของครูปฏิบตั ิการ สอน ค่าสอนพิเศษ 2. ด้านบรหิ ารทวั่ ไป ให้สัดสว่ นไม่เกินร้อยละ 30 นาไปใชไ้ ดใ้ นเรอ่ื ง 2.1 คา่ วสั ดุ ครุภัณฑ์และคา่ ทด่ี ิน สิ่งกอ่ สร้าง คา่ จ้างช่ัวคราวทีไ่ มใ่ ชป่ ฏิบตั ิการสอนค่าตอบแทน คา่ ใช้ สอย 2.2 สารองจ่ายนอกเหนือดา้ นวิชาการและด้านบรหิ ารทัว่ ไป ให้สดั ส่วนไมเ่ กินร้อยละ 20 นาไปใชใ้ น เร่ืองงานตามนโยบาย เงินอุดหนุนปจั จยั พ้นื ฐานสาหรบั นกั เรียนยากจน 1. เปน็ เงินที่จดั สรรให้แก่สถานศึกษาทมี่ นี ักเรยี นยากจน เพ่อื จดั หาปัจจัยพน้ื ฐานที่จาเปน็ ต่อการดารงชีวติ และ เพิม่ โอกาศทางการศกึ ษา เป็นการชว่ ยเหลอื นักเรยี นนทย่ี ากจน ชั้นป.1 ถงึ ม.3 ให้มโี อกาสได้รบั การศึกา ในระดับท่ีสงู ข้นึ (ยกเว้นสถานศกึ ษาสงั กัดสานกั บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ) 2. นกั เรยี นยากจน หมายถึง นกั เรียนทผ่ี ู้ปกครองมีรายได้ต่อครัวเรอื น ไมเ่ กิน 40,000 บาท 3. แนวการใช้ ใหใ้ ช้ในลักษณะ ถัวจ่าย ในรายการต่อไปนี้ 3.1 ค่าหนังสือและอปุ กรณ์การเรยี น(ยมื ใช้) 3.2 คา่ เสอ้ื ผ้าและวสั ดุเครื่องแต่งกายนักเรียน(แจกจ่าย) 3.3 คา่ อาหารกลางวัน (วตั ถดุ ิบ จ้างเหมา เงินสด) 3.4 ค่าพาหนะในการเดินทาง (เงนิ สด จ้างเหมา) 3.5 กรณีจา่ ยเป็นเงินสด โรงเรยี นแตง่ ตงั้ กรรมการ 3 คน รว่ มกันจ่ายเงินโดยใช้ใบสาคัญรับเงินเป็น หลกั ฐาน 3.6 ระดับประถมศกึ ษา คนละ 1,000 บาท/ปี 3.7 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ คนละ 3,000 บาท/ปี 1.1รายจ่ายงบกลาง 1. เงินสวสั ดกิ ารคา่ รักษาพยาบาล/การศกึ ษาบุตร/เงนิ ชว่ ยเหลือบตุ ร 2. เงินเบย้ี หวัดบาเหน็จบานาญ 3. เงนิ สารอง เงินสมทบ และเงนิ ชดเชยข้าราชการ 4. เงินสมทบของลูกจา้ งประจา 2. รายจ่ายงบกลาง หมายถึง รายจ่ายท่ตี ั้งไว้เพอื่ จดั สรรให้สว่ นราชการและรฐั วิสาหกิจโดยทัว่ ไปใช้จ่าย ตามรายการดังตอ่ ไปน้ี 1. “เงินเบย้ี หวดั บาเหน็จบานาญ” หมายความวา่ รายจา่ ยที่ตั้งไวเ้ พอ่ื จ่ายเปน็ เงนิ บานาญ ขา้ ราชการ เงนิ บาเหนจ็ ลกู จ้างประจา เงินทาขวัญขา้ ราชการและลกู จ้าง เงินทดแทนข้าราชการวิสามญั เงนิ ค่า ทดแทนสาหรบั ผ้ไู ดร้ ับอันตรายในการรกั ษาความมนั่ คงของประเทศ เงินชว่ ยพเิ ศษขา้ ราชการบานาญเสียชีวติ เงินสงเคราะหผ์ ู้ประสบภัยเนอื่ งจากการชว่ ยเหลอื
6 ขา้ ราชการ การปฏบิ ตั งิ านของชาติหรอื การปฏิบัติตามหนา้ ทมี่ นุษยธรรม และเงินชว่ ยคา่ ครองชีพผรู้ บั เบ้ยี หวดั บานาญ 2. “เงินชว่ ยเหลือข้าราชการ ลูกจา้ ง และพนกั งานของรฐั ” หมายความวา่ รายจา่ ยทตี่ ั้งไว้เพอื่ จา่ ยเปน็ เงินสวสั ดิการชว่ ยเหลอื ในด้านต่างๆ ให้แก่ขา้ ราชการ ลูกจ้าง และพนักงานของรฐั ได้แก่ เงนิ ชว่ ยเหลือ การศึกษาของบตุ ร เงนิ ชว่ ยเหลอื บตุ ร และเงนิ พิเศษในการณตี ายในระหว่างรับราชการ 3. “เงนิ เลื่อนขน้ั เลื่อนอนั ดบั เงนิ เดอื นและเงนิ ปรับวฒุ ขิ ้าราชการ หมายความว่ารายจ่ายทตี่ ง้ั ไว้ เพ่ือจา่ ยเป็นเงนิ เลอื่ นขัน้ เล่อื นอนั ดับเงนิ เดือนขา้ ราชการประจาปี เงนิ เลอื่ นขน้ั เล่อื นอันดบั เงนเดือนข้าราชการทไ่ี ดร้ บั เลือ่ นระดับ และหรอื แต่งตงั้ ใหด้ ารงตาแหนง่ ระหวา่ งปีและเงนิ ปรบั วฒุ ขิ า้ ราชการ 4. “เงินสารอง เงินสมทบ และเงนิ ชดเชยของข้าราชการ” หมายความว่า รายจ่ายทต่ี ง้ั ไว้เพอื่ จ่ายเป็นเงินสารอง เงนิ สมทบ และเงนิ ชดเชยท่ีรัฐบาลนาสง่ เข้ากองทนุ บาเหนจ็ บานาญขา้ ราชการ 5. “เงินสมทบของลกู จ้างประจา” หมายความว่า รายจา่ ยท่ีตั้งไว้เพื่อจา่ ยเป็นเงนิ สมทบที่ รัฐบาลนาสง่ เข้ากองทุนสารอง เลี้ยงชีพลกู จา้ งประจา 6. “คา่ ใชจ้ ่ายเกีย่ วกับการเสด็จพระราชดาเนและตอ้ นรบั ประมขุ ต่างประเทศ หมายความวา่ รายจา่ ยทต่ี ง้ั ไว้เพอื่ เป็นคา่ ใช้จ่ายสนับสนนุ พระราชภารกิจในการเสดจ็ พระราชดาเนนิ ภายในประเทศ และหรือ ต่างประเทศ และคา่ ใช้จ่ายในการต้อนรบั ประมขุ ตา่ งประเทศทม่ี ายาเยอื นประเทศไทย 7. “เงนิ สารองจา่ ยเพอ่ื กรณฉี กุ เฉนิ หรือจาเป็น” หมายความว่า รายจา่ ยท่ตี ง้ั สารองไว้เพ่อื จดั สรรเปน็ ค่าใช้จ่ายในกรณฉี ุกเฉนิ หรอื จาเป็น 8. “คา่ ใชจ้ ่ายในการดาเนนิ การรกั ษาความมนั่ คงของประเทศ” หมายความว่า รายจ่ายท่ีตัง้ ไว้ เพอ่ื เป็นค่าใชจ้ ่ายในการดาเนินงานรักษาความมั่นคงของประเทศ 9. “เงินราชการลบั ในการรักษาความมน่ั คงของประเทศ” หมายความวา่ รายจา่ ยทีต่ งั้ ไวเ้ พื่อ เบกิ จา่ ยเปน็ เงนิ ราชการลับในการดาเนนิ งานเพ่ือรกั ษาความมัน่ คงของประเทศ 10.“คา่ ใช้จ่ายตามโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ” หมายความวา่ รายจ่ายท่ตี ้งั ไว้เพ่อื เปน็ ค่าใชจ้ ่าในการดาเนนิ งานตามโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ 11.“คา่ ใชจ้ ่ายในการราษาพยาบาลข้าราชการ ลกู จ้าง และพนักงานของรฐั ” หมายความวา่ รายจา่ ยทตี่ ้งั ไว้เป็นค่าใช้จา่ ยในการชว่ ยเหลือค่ารักษาพยาบาลข้าราชการ ลกู จ้างประจา และพนกั งานของรฐั เงนิ นอกงบประมาณ 1. เงนิ รายได้สถานศึกษา
7 2. เงนิ ภาษหี กั ณ ทจ่ี า่ ย 3. เงนิ ลูกเสอื เนตรนารี 4. เงินยุวกาชาด 5. เงินประกนั สญั ญา 6. เงนิ บรจิ าคที่มวี ตั ถุประสงค์ เงนิ รายไดส้ ถานศกึ ษา หมายถงึ เงินรายได้ตามมาตรา 59 แห่ง พ.ร.บ. การศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ซง่ึ เกดิ จาก 1. ผลประโยชน์จากทรพั ยส์ ินที่เป็นราชพัสดุ 2. คา่ บรกิ ารและค่าธรรมเนียม ท่ีไมข่ ัดหรอื แยง้ นโยบาย วตั ถุประสงคแ์ ละภารกจิ หลักของสถานศกึ ษา 3. เบ้ยี ปรับจากการผิดสญั ญาลาศกึ ษาต่อและเบ้ยี ปรับการผิดสัญญาซ้ือทรพั ยสินหรือจ้างทาของจากเงนิ งบประมาณ 4. คา่ ขายแบบรูปรายการ เงนิ อดุ หนนุ อปท. รวมเงนิ อาหารกลางวนั 5. ค่าขายทรัพยส์ นิ ที่ได้มาจากเงนิ งบประมาณ งานพสั ดุ
8 “การพัสดุ” หมายความวา่ การจัดทาเอง การซอื้ การจ้าง การจ้างท่ีปรึกษา การจ้างออกแบบและ ควบคุมงาน การแลกเปล่ยี น การเชา่ การควบคุม การจาหน่าย และการดาเนินการอ่นื ๆ ทก่ี าหนดไว้ในระเบยี บน้ี “พัสดุ” หมายความว่า วัสดุ ครภุ ณั ฑ์ ทีด่ นิ และสิ่งก่อสรา้ ง ท่ีกาหนดไวใ้ นหนังสือ การจาแนกประเภท รายจ่ายตามงบประมาณของสานักงบประมาณ หรอื การจาแนกประเภทรายจ่าย ตามสัญญาเงนิ กูจ้ ากต่างประเทศ “การซื้อ” หมายความว่า การซือ้ พสั ทุ ุกชนิดท้ังที่มกี ารติดตั้ง ทดลอง และบรกิ ารทเ่ี ก่ียวเนอ่ื งอ่ืนๆ แต่ไม่ รวมถึงการจดั หาพัสดุในลกั ษณะการจา้ ง “การจ้าง” ให้หมายความรวมถงึ การจา้ งทาของและการับขนตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ และ การจา้ งเหมาบรกิ าร แตไ่ ม่รวมถงึ การจา้ งลูกจ้างของสว่ นราชการตามระเบียบของกระทรวงการคลัง การบั ขนในการ เดินทางไปราชการตามกฎหมายวา่ ด้วยค่าใชจ้ ่ายในการเดินทางไปราชการ การจา้ งทปี่ รึกษ การจ้างออกแบบและ ควบคมุ งาน และการจา้ งแรงงานตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ขอบขา่ ยภารกิจ 1. กฎหมาย ระเบียบ และเอกสดารทเี่ กีย่ วข้อง 2. ระเบยี บสานกั นายกรัฐมนตรีว่าดว้ ยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และแก้ไขเพ่มิ เติม 3. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพสั ดดุ ้วยวิธกี ารทางอิเล็กทรอนกิ ส์ พ.ศ. 2549 4. แนวทางการปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บสานักนายกรฐั มนตรี วา่ ด้วยการพัสดดุ ้วยวิธกี ารทางอิเล็กทรอนกิ ส์ พ.ศ. 2549 หนา้ ทีแ่ ละความรบั ผดิ ชอบ 1. จดั วางระบบและปฏิบัติงานเกีย่ วกบั จดั หา การซ้ือ การจา้ ง การเกบ็ รักษา และการเบิกพสั ดุ การควบคมุ และการจาหน่ายพสั ดุให้เปน็ ไปตามระเบียบท่ีเกย่ี วข้อง 2. ควบคุมการเบิกจ่ายเงินตามประเภทเงนิ ให้เปน็ ไปตามแผนปฏิบตั ิราชการรายปี 3. จัดทาทะเบียนทีด่ ินและส่ิงก่อสร้างทุกประเภทของสถานศกึ ษา 4. ประสานงานและวางแผนในการใช้พื้นท่ขี องสถานศกึ ษา ให้เป็นไปตามแผนพัฒนาการศึกษา 5. กาหนดหลักเกณฑว์ ิธีการและดาเนนิ การเกยี่ วกบั การจดั หาประโยชน์ท่ีราชพัสดุการใช้และการขอใช้อาคาร สถานทข่ี องสถานศกึ ษาให้เปน็ ไปตามกฎหมายและระเบียบทเ่ี กีย่ วขอ้ งควบคุมดู ปรับปรงุ ซอ่ มแซม บารงุ รกั ษาครุภณั ฑ์ ใหอ้ ยู่ในสภาพเรียบร้อยตอ่ การใชง้ านและพัฒนาอาคารสถานท่ี การอนุรกั ษพ์ ลงั งาน การรักษาสภาพแวดล้อม และระบบสาธารณูปโภคของสถานศึกษาใหเ้ ป็นระเบยี บและสวยงาม 6. จัดเวรยามดูแลอาคารสถานที่ของสถานศกึ ษาให้ปลอดภัยจากโจรภยั อัคคภี ัยและภัยอื่นๆ 7. จัดวางระบบและควบคุมการใชย้ านพาหนะ การเบิกจ่ายนา้ มันเช้อื เพลิงการบารุงรกั ษาและการพัสดตุ า่ งๆ ทีเ่ กยี่ วกบั ยานพาหนะของสถานศกึ ษาให้เป็นไปตามระเบียบท่ีเกี่ยวขอ้ ง 8. ใหค้ าแนะนา ชี้แจง และอานวยความสะดวกแกบ่ ุคลากรในสถานศึกษาเกี่ยวกับงานในหน้าท่ี 9. เกบ็ รกั ษาเอกสารและหลักฐานต่างๆ ไวเ้ พื่อการตรวจสอบและดาเนินการทาลายเอกสารตามระเบยี บที่ เกยี่ วขอ้ ง 10.ประสานงานและใหค้ วามรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานตา่ งๆ ทง้ั ภายในและภายนอกสถานศึกษา 11.เสนอโครงการและรายงานการปฏิบัติงานในหน้าที่ตามลาดบั ข้ัน 12.ปฏิบัตอิ ่ืนตามทไ่ี ด้รบั มอบหมาย
9 สวัสดิการและสิทธปิ ระโยชน์ 1. ค่าใช้จา่ ยในการเดนิ ทางไปราชการ 1.1กฎหมายและระเบียบที่เกย่ี วข้อง 1.2พระราชกฤษฎกี าคา่ ใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2526 และทแ่ี กไ้ ขเพมิ่ เตมิ 1.3ระเบียบกระทรวงการคลังวา่ ดว้ ยการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดนิ ทางไปราชการ พ.ศ. 2550 2. ค่าใช้จา่ ยในการเดินทางไปราชการ การอนมุ ัตเิ ดนิ ทางไปราชการ ผู้มอี านาจอนุมัติให้เดนิ ทางไปราชการ อนุมัตริ ะยะเวลาในการเดินทาง ลว่ งหนา้ หรอื ระยะเวลาหลงั เสรจ็ สิน้ การปฏิบัตริ าชการไดต้ ามความจาเป็น 3. การนบั เวลาเดินทางไปราชการเพ่อื คานวณเบย้ี เล้ียง กรณพี ักคา้ ง 3.1ให้นบั 24 ชว่ั โมงเป็น 1 วนั 3.2ถา้ ไม่ถงึ 24 ชั่วโมงหรอื เกนิ 24 ชัว่ โมง และส่วนท่ีไมถ่ งึ หรอื เกนิ 24 ช่วั โมง นับได้เกนิ 12 ช่ัว โง ให้ถือเป็น 1 วนั 4. การนบั เวลาเดินทางไปราชการเพ่อื คานวณเบ้ยี เลี้ยงเดินทาง กรณไี ม่พักค้าง 4.1หากนับไดไ้ ม่ถึง 24 ชัว่ โมงและส่วนที่ไมถ่ ึงนบั ไดเ้ กิน 12 ชว่ั โมง ใหถ้ อื เปน็ 1วนั 4.2หากนับได้ไม่เกิน 12 ชวั่ โมง แตเ่ กิน 6 ช่วั โมงขึน้ ไป ใหถ้ ือเปน็ ครึง่ วัน 5. การนับเวลาเดนิ ทางไปราชการเพือ่ คานวณเบีย้ เล้ียงเดนิ ทาง 6. กรณลี ากจิ หรือลาพักผ่อนก่อนปฏบิ ัตริ าชการ ให้นับเวลาตั้งแต่เริ่มปฏิบัติราชการเป็นตน้ ไป 7. กรณีลากิจหรือลาพกั ผ่อนหลังเสร็จสนิ้ การปฏิบตั ิราชการ ใหถ้ อื ว่าสิทธใิ นการเบกิ จ่ายเบยี้ เลี้ยงเดินทางสิน้ สดุ ลงเมือ่ สน้ิ สดุ เวลาการปฏิบัติราชการ 8. หลักเกณฑก์ ารเบิกค่าเช่าท่ีพักในประเทศ การเบกิ คา่ พาหนะ 1. โดยปกตใิ ห้ใชย้ านพาหนะประจาทางและให้เบิกค่าพาหนะโดยประหยัด 2. กรณีไม่มยี านพาหนะประจาทาง หรอื มแี ตต่ อ้ งการความรวดเรว็ เพอื่ ประโยชนแ์ กท่ างราชการ ให้ ใชย้ านพาหนะอน่ื ได้ แตต่ อ้ งชี้แจงเหตุผลและความจาเป็นไว้ในหลกั ฐานขอเบิกคา่ พาหนะนัน้ 3. ข้าราชการระดบั 6 ข้ึนไป เบิกคา่ พาหนะรบั จา้ งได้ ในกรณีต่อไปนี้ 3.1การเดินทางไป-กลบั ระหวา่ งสถานทอ่ี ยู่ ท่ีพัก หรอื สถานที่ปฏิบัติราชการกบั สถานี ยานพาหนะประจาทาง หรอื สถานทีจ่ ัดพาหนะทใี่ ช้เดนิ ทางภายในเขตจงั หวดั เดยี วกนั 3.2การเดนิ ทางไป-กลบั ระหวา่ งสถานทอ่ี ยู่ ทีพ่ ัก กบั สถานที่ปฏิบตั ิราชการภายในเขตจังหวัด เดยี วกนั วันละไม่เกิน 2 เท่ียว 3.3การเดินทางไปราชการในเขตกรุงเทพมหานคร กรณเี ป็นการเดินทางข้ามเขตจังหวดั ใหเ้ บกิ
10 ตามอตั ราที่กระทรวงการคลงั กาหนด คือ ให้เบกิ ตามทีจ่ ่ายจรงิ ดงั น้ี ระหวา่ งกรุงเทพมหานครกบั เขต จงั หวัดติดตอ่ กรุงเทพมหานคร ไมเ่ กินเทยี่ วละ่ 400 บาท เดนิ ทางขา้ มเขตจงั หวัดอ่นื นอกเหนอื กรณี ดงั กล่าวขา้ งต้นไมเ่ กนิ เทยี่ วละ 300 บาท 3.4ผูไ้ มม่ ีสิทธเิ บกิ ถ้าตอ้ งนาสมั ภาระในการเดนิ ทาง หรือสิ่งของเคร่ืองใช้ของทางราชการไปด้วย และเป็นเหตุให้ไม่สะดวกที่จะเดินทางโดยยานพาหนะประจาทาง ใหเ้ บิกค่าพาหนะรบั จา้ งได(้ โดยแสดง เหตุผลและความจาเป็นไวใ้ นรายงานเดนิ ทาง) 3.5การเดนิ ทางล่วงหน้า หรือไม่สามารถกลับเม่อื เสร็จสิ้นการปฏิบตั ิราชการเพราะมีเหตสุ ่วนตัว (ลากจิ - ลาพกั ผอ่ นไว)้ ให้เบิกค่าพาหนะเทา่ ท่ีจ่ายจรงิ ตามเส้นทางท่ไี ดร้ บั คาสั่งให้เดินทางไปราชการ กรณีมีการเดินทางนอกเส้นทางในระหวา่ งการลาน้ัน ใหเ้ บิกคา่ พาหนะได้เท่าทจ่ี า่ ยจริงโดยไมเ่ กนิ อตั ราตาม เส้นทางท่ีไดร้ บั คาสง่ั ใหเ้ ดินทางไปราชการ 3.6การใชย้ านพาหนะส่วนตวั (ใหข้ ออนุญาตและไดร้ บั อนญุ าตแล้ว) ใหไ้ ดร้ บั เงนิ ชดเชย คือ รถยนต์กิโลเมตรละ 4 บาท ค่าใช้จา่ ยในการฝกึ อบรม การฝกึ อบรม หมายถึง การอบรม ประชุม/สมั มนา (วิชาการเชิงปฏิบตั ิการ) บรรยายพิเศษ ฝึกงาน ดู งาน การฝึกอบรม ประกอบด้วย 1. หลักการและเหตุผล 2. โครงการ/หลกั สตู ร 3. ระยะเวลาจดั ทแี่ นน่ อน 4. เพ่ือพฒั นาหรือเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั ิงาน คา่ รกั ษาพยาบาล ค่ารักษาพยาบาล หมายถึง เงินทีส่ ถานพยาบาลเรียกเกบ็ ในการรกั ษาพยาบาลเพ่ือให้ร่างกายกลบั สสู่ ภาวะ ปกติ (ไมใ่ ช่เป็นการปอ้ งกันหรอื เพือ่ ความสวยงาม) 1. ระเบียบและกฎหมายท่เี กี่ยวข้อง 1.1พระราชกฤษฎกี าเงินสวัสดิการเกีย่ วกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2523 และแกไ้ ขเพ่มิ เตมิ ( 8 ฉบับ) 1.2ระเบียบกระทรวงการคลังวา่ ดว้ ยการเบิกจา่ ยเงินสวัสดิการเกย่ี วกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2545 2. ผู้ทีม่ สี ิทธริ บั เงินคา่ รกั ษาพยาบาล คอื ผู้มีสิทธและบุคคลในครอบครัว 2.1บดิ า 2.2มารดา 2.3คสู่ มรสท่ีชอบดว้ ยกฎหมาย
11 2.4บตุ รทช่ี อบดว้ ยกฎหมาย ซึง่ ยังไมบ่ รรลนุ ิตภิ าวะ หรือบรรลุนติ ิภาวะแลว้ แต่เปน็ คนไร้ความสามารถ หรอื เสมือนคนไร้ความสามารถ(ศาลสง่ั ) ไมร่ วมบุตรบุญธรรมหรอื บุตรซงึ่ ได้ยกเป็นบุตรบุญธรรมบคุ คล อื่นแลว้ 3. ผูม้ ีสิทธิ หมายถึง ขา้ ราชการ ลูกจ้างประจา ผุ้รับเบีย้ หวดั บานาญ และลกู จ้างชาวต่างประเทศซ่ึงได้รับ คา่ จา้ งจากเงนิ งบประมาณ คา่ รักษาพยาบาบ แบง่ เปน็ 2 ประเภท ประเภทไข้นอก หมายถงึ เขา้ รับการรักษาในสถานพยาบาลของทางราชการโดยไม่ได้นอนพกั รกั ษาตัว นาใบเสร็จรบั เงนิ มาเบิกจ่าย ไมเ่ กนิ 1 ปี นับจากวนั ทีจ่ ่ายเงิน ประเภทไขใ้ น หมายถงึ เข้ารบั การรกั ษาในสถานพยาบาลของเอกชน หรือสถานพยาบาลของทาง ราชการ สถานพยาบาลเอกชน ใช้ใบเสร็จรับเงินนามาเบกิ จา่ ยเงิน พร้อมให้แพทย์รับรอง “หากผู้ปว่ ยมไิ ด้เจ้ารับ การรกั ษาพยาบาลในทนั ทีทนั ใด อาจเป็นอันตรายถึงชวี ิต” และสถานพยาบาลทางราชการ ใช้หนงั สือรับรองสทิ ธิ กรณยี งั ไม่ได้เบิกจ่ายตรง การศกึ ษาบตุ ร คา่ การศึกษาของบตุ ร หมายความวา่ เงินบารงุ การศกึ ษา หรือเงินค่าเลา่ เรียน หรือเงนิ อืน่ ใดทส่ี ถานศกึ ษา เรยี กเกบ็ และรฐั ออกใหเ้ ปน็ สวสั ดิการกับข้าราชการผูม้ ีสทิ ธิ 1. ระเบียบและกฎหมายทีเ่ ก่ยี วข้อง 1.1 พระราชราชกฤษฎีกาเงนิ สวสั ดกิ ารเกีย่ วกบั การศึกษาของบตุ ร พ.ศ. 2523 1.2 ระเบียบกระทรวงการคลงั วา่ ด้วยการเบกิ จ่ายเงินสวัสดกิ ารเกีย่ วกบั การศกึ ษาของบตุ ร พ.ศ. 2547 1.3 หนงั สอื เวียนกรมบญั ชีกลาง กค 0422.3/ว 161 ลงวันท่ี 13 พฤษภาคม 2552 เรอื่ ง ประเภทและอัตราเงินบารุงการศึกษาในสถานศกึ ษาของทางราชการ และคา่ เลา่ เรียนในสถานศึกษาของ เอกชน และกรมบัญชกี ลาง ท่ี กค 0422.3/ว 226 ลงวันที่ 30 มถิ ุนายน 2552 เร่อื งการ เบกิ งนิ สวัสดิการเก่ียวกับการศึกษ่าของบตุ ร 2. ผูท้ ีม่ สี ิทธิรบั เงินค่าการศกึ ษาของบตุ ร 2.1 บตุ รชอบโดยกฎหมายอายไุ ม่เกิน 25 ปีบรบิ รู ณ์ ในวนั ท่ี 1 พฤษภาคมของทุกปี ไมร่ วมบตุ รบุญ ธรรม หรือบตุ รซง่ึ ไดย้ กใหเ้ ปน็ บตุ รบุญธรรมคนอนื่ แลว้ 2.2 ใชส้ ิทธิเบกิ ได้ 3 คน เวน้ แต่บตุ รคนที่ 3 เป็นฝาแฝดสามารถนามาเบิกได้ 4 คน 2.3 เบกิ เงนิ สวัสดิการเก่ียวกบั ศึกษาบุตรภายใน 1 ปี นบั ตง้ั แต่วันเปิดภาคเรยี นของแต่ละภาค จานวนเงินท่ีเบิกได้ 1. ระดับอนุบาลหรือเทียบเทา่ เบกิ ได้ปีละไม่เกนิ 4,650 บาท 2. ระดบั ประถมศกึ ษาหรือเทียบเท่า เบิกได้ปลี ะไม่เกนิ 3,200 บาท 3. ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ /มธั ยมศึกษาตอนปลาย/หลักสูตรประกาศนยี บตั รวิชาชพี (ปวช.) หรือ เทยี บเท่า เบกิ ได้ปลี ะไมเ่ กนิ 3,900 บาท 4. ระดบั อนุปริญญาหรือเทียบเทา่ เบกิ ไดป้ ีละไมเ่ กนิ 11,000 บาท
12 คา่ เช่าบา้ น 1. ระเบยี บและกฎหมายท่เี กี่ยวขอ้ ง 1.1 พระราชกฤษฎีกาคา่ เช่าช้านขา้ ราชการ พ.ศ. 2550 1.2 ระเบยี บกระทรวงการคลังว่าดว้ ยการเบกิ จา่ ยเงินค่าเช่าบา้ น พ.ศ. 2549 2. สิทธกิ ารเบกิ เงนิ ค่าเช่าบ้าน 2.1 ได้รบั คาสงั่ ใหเ้ ดนิ ทางไปประจาสานกั งานใหม่ในต่างทอ้ งท่ี เวน้ แต่ 2.1.1 ทางราชการได้จัดที่พักอาศัยใหอ้ ยู่แลว้ 2.1.2 มเี คหสถานเป็นของตนเองหรอื คสู่ มรส 2.1.3 ได้รับคาสงั่ ใหเ้ ดินทางไปประจาสานกั งานใหมใ่ นต่างท้องท่ีตามคารอ้ งขอของตนเอง 2.2 ข้าราชการผไู้ ดร้ ับคาส่ังให้เดนิ ทางไปประจาสานักงานในท้องท่ีท่รี บั ราชการคร้ังแรกหรอื ทอ้ งทที่ ก่ี ลับเข้า รับราชการใหม่ ใหม้ สี ิทธิไดร้ ับเงินค่าเชา้ บา้ น (พระราชกฤษฎีกาเชา่ บ้าน 2550 (ฉบับท่ี 2) มาตรา 7) 2.3 ข้าราชการมีสิทธไิ ด้รบั เงินค่าเชา่ บ้านตง้ั แต่วันทีเ่ ช่าอยู่จรงิ แตไ่ มก่ อ่ นวนั ทรี่ ายงานตวั เพอ่ื เข้ารับหนา้ ที่ (พระราชกฤษฎีกาค่าเช่าบ้าน 2547 มาตรา 14) 2.4 ขา้ ราชการซ่ึงมีสิทธิไดร้ บั เงนิ ค่าเช่าบ้านได้เชา่ ซื้อหรอื ผ่อนชาระเงนิ กู้เพือ่ ชาระราคาบ้านทค่ี ้างชาระอยู่ ในท้องที่ที่ไปประจาสานกั งานใหม่ มีสทิ ธินาหลกั ฐานการชาระคา่ เชา่ ซ้อื หรอื ค่าผ่อนชาระเงนิ กูฯ้ มา เบิกได้ (พระราชกฤษฎกี าค่าเช่าบา้ น 2547 มาตรา 17) กองทนุ บาเหน็จบานาญขา้ ราชการ (กบข.) 1. กฎหมายทเ่ี กย่ี วข้อง 1.1 พ.ร.บ.กองทนุ บาเหน็จบานาญขา้ ราชการ พ.ศ. 2539 มาตรา 3 ในพระราชบญั ญตั นิ ้ี (ส่วนท่เี ก่ยี วข้อง) บานาญ หมายความว่า เงินท่จี า่ ยใหแ้ ก่สมาชิกเปน็ รายเดอื นเมอ่ื สมาชิกภาพของสมาชิกสนิ้ สดุ ลง บาเหน็จตกทอด หมายความว่า เงินที่จ่ายให้แก่สมาชิก โดยจา่ ยให้คร้งั เดียวเมอื่ สมาชกิ ภาพ ของสมาชกิ สิ้นสุดลง บาเหน็จตกทอด หมายความว่า เงนิ ทจ่ี า่ ยใหแ้ ก่ทายาทโดยจา่ ยให้คร้งั เดยี วในกรณีที่สมาชิก หรอื ผูร้ ับบานาญถงึ แก่ความตาย 1.2 พ.ร.บ.กองทนุ บาเหนจ็ บานาญขา้ ราชการ (ฉบบั ท่ี 2 ) พ.ศ. 2542 2. ข้าราชการทกุ ประเภท (ยกเวน้ ราชการทางการเมอื ง) มสี ทิ ธสิ มัครเปน็ สมาชกิ กบข. ได้แก่ ขา้ ราชการครู ข้าราชการใหม่ ได้แก่ ผู้ซึ่งเข้ารับราชการหรอื โอนมาเปน็ ราชการตงั้ แตว่ นั ท่ี 27 มีนาคม 2540 เปน็ ตน้ จะตอ้ ง เป็นสมาชิก กบข. และสะสมเงินเข้ากองทุน สมาชิกท่ีจ่ายสะสมเขา้ กองทุนในอัตรารอ้ ยละ 3 ของเงินเดือนเปน็ ประจาทกุ เดือน รฐั บาลจะจ่ายเงินสมทบใหก้ ับสมาชกิ ในอตั รารอ้ ยละ 3 ของเงินเดือนเปน็ ประจาทกุ เดือน เช่นเดียวกนั และจะนาเงนิ ดังกล่าวไปลงทนุ หาผลประโยชน์เพอ่ื จ่ายใหก้ บั สมาชกิ เมื่อกอกจากราชการ
13 ระเบียบสานกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมสวสั ดิการและสวสั ดภิ าพครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาวา่ ด้วยการฌาปนกิจสงเคราะห์เพอื่ นครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา(ช.พ.ค.) ในระเบียบนี้ ช.พ.ค. หมายความว่า การฌาปนกจิ สงเคราะห์ช่วยเพื่อนครแู ละบุคลากรทางการศึกษาการ จดั ตัง้ ช.พ.ค. มคี วามมุ่งหมายเพอื่ เปน็ การกศุ ลและมวี ัตถุประสงค์ให้สมาชิกไดท้ าการสงเคราะหซ์ ึง่ กันและกนั ในการ จัดการศพและสงเคราะหค์ รอบครัวของสมาชิก ช.พ.ค. ทถ่ี ึงแกก่ รรมหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการจ่ายเงนิ ค่าจัดการศพและ เงนิ สงเคราะหค์ รอบครวั ใหเ้ ปน็ ไปตามทค่ี ณะกรรมการ ช.พ.ค. กาหนด ครอบครัวของสมาชกิ ช.พ.ค หมายถึง บุคคลตามลาดับ ดังน้ี 1. คสู่ มรสท่ชี อบด้วยกฎหมาย บุตรท่ีชอบดว้ ยกฎหมาย บุตรบญุ ธรรม บตุ รนอกสมรสท่ีบิดารบั รองแล้ว และบิดามารดาของสมาชิก ช.พ.ค. 2. ผ้อู ยูใ่ นอปุ การะอยา่ งบตุ รของสมาชิก ช.พ.ค. 3. ผู้อุปการะสมาชิก ช.พ.ค. ผมู้ ีสทิ ธิไดร้ บั การสงเคราะหต์ ามวรรคหนึ่งยังมชี ีวิตอยู่ หรอื มีผู้รับมรดกยงั ไมข่ าดสายแล้วแต่กรณีใน ลาดบั หนึ่งๆ บุคคลที่อย่ใู นลาดับถัดไปไมม่ ีสิทธิได้รบั เงนิ สงเคราะหค์ รอบครัวระเบียบนี้ การสงเคราะห์ครอบครวั ของสมาชกิ ช.พ.ค. สาหรบั บตุ รให้พิจารณาให้บตุ รสมาชกิ ช.พ.ค. ได้รับ ความชว่ ยเหลอื เป็นเงินทนุ สาหรบั การศกึ ษาเล่าเรยี นเป็นลาดับแรก สมาชกิ ช.พ.ค. ต้องระบุบุคคลใดบุคคลหนึง่ หรอื หลายคน เปน็ ผ้มู ีสิทธิรบั เงนิ สงเคราะห์ สมาชิก ช.พ.ค. มหี น้าท่ีดังต่อไปน้ี 1. ตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามระเบียบน้ี 2. สง่ เงนิ สงเคราะหร์ ายศพ เมอื่ สมาชิก ช.พ.ค. อ่ืนถึงแกก่ รรมศพละหนงึ่ บาทภายใตเ้ งื่อนไขดังต่อไปนี้ 3. สมาชกิ ช.พ.ค. ที่เป็นขา้ ราชการประจา ข้าราชการบานาญและผทู้ ่ีมเี งนิ เดอื นหรือรายได้ รายเดือน ตอ้ ง ยินยอมให้เจ้าหน้าที่ผจู้ ่ายเงนิ เดอื นหรือเงนิ บานาญเป็นผหู้ ักเงนิ เพอื่ ชาระเงินสงเคราะหร์ ายศพ ณ ท่ีจ่าย ตามประกาศรายช่อื สมาชกิ ช.พ.ค. ท่ีถงึ แกก่ รรม คาจากดั ความ แผนการปฏิบตั ิงาน และแผนการใช้จา่ ยงบประมาณ หมายถงึ แผนแสดงรายละเอยี ดการปฎบิ ตั ิงาน และ แสดงรายละเอยี ดการใชจ้ ่ายงบประมาณรายจา่ ยตามแผนการปฏบิ ตั งิ านของโรงเรยี นบ้านนานวนในรอบปงี บประมาณ การใช้จ่ายงบประมาณ หมายถึง การใช้จา่ ยงบประมาณรายจ่ายของโรงเรียนบ้านนานวน เพื่อดาเนินตาม แผนการปฏิบัตงิ านในรอบปี การจัดสรรงบประมาณ หมายถงึ การจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยตามพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจ่าย ประจาปี หรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพ่ิมเติม ให้ส่วนราชการใช้จ่ายหรือก่อหนี้ผูกพัน ทั้งนี้ อาจ ดาเนนิ การโดยใชก้ ารอนุมัตเิ งินประจางวดหรอื โดยวธิ ีการอืน่ ใดตามทีส่ านกั งบประมาณกาหนด เป้าหมายยทุ ธศาสตร์ หมายถึง ผลสัมฤทธิ์ทก่ี ารใช้จ่ายงบประมาณต้องการจะใหเ้ กิดตอ่ นักเรียน บุคลากร โรงเรียนบา้ นนานวน
14 แผนการปฏิบตั ิงาน หมายถึง แผนการปฏบิ ตั งิ านของโรงเรยี นบา้ นนานวน ในรอบปีงบประมาณ แผนการใช้จ่ายงบประมาณ หมายถึง แผนแสดงรายละเอียดการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายสาหรับ โรงเรยี นบา้ นนานวน เพอื่ ดาเนนิ งานตามแผนการปฏิบตั งิ านในรอบปีงบประมาณ โครงการ หมายถงึ โครงการท่กี าหนดขน้ึ เพื่อใช้จา่ ยเงนิ เป็นไปตามในระหว่างปงี บประมาณ งบรายจา่ ย หมายถึง กลุ่มวัตถุประสงค์ของรายจ่าย ทีก่ าหนดใหจ้ า่ ยตามหลักการจาแนกประเภทรายจ่าย ตามงบประมาณ จาแนกงบรายจ่ายตามหลักจาแนกประเภทงบประมาณตามงบรายจา่ ย ดงั นี้ งบบุคลากร หมายถึง รายจ่ายท่ีกาหนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานบุคคลภาครัฐ ได้แก่ รายจ่ายในลักษณะ เงินเดือน ค่าจ้างประจา ค่าจ้างช่ัวคราว และค่าตอบแทนพนักงานราชการ รวมถึงรายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายจากงบ รายจ่ายอ่ืนในลักษณะดงั กลา่ ว งบดาเนินงาน หมายถึง รายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายเพ่ือการบริหารงานประจา ได้แก่รายจ่ายที่จ่ายในลักษณะ ค่าตอบแทน ค่าใชส้ อย ค่าวัสดุ คา่ สาธารณปู โภค งบลงทุน หมายถึง รายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายเพื่อการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายในลักษณะ ค่าครุภัณฑ์ ค่าที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง งบเงินอุดหนุน หมายถึง รายจ่ายท่ีกาหนดให้จ่ายเป็นค่าบารุง หรือเพ่ือช่วยเหลือสนุบสนุนการดาเนินงาน ของหน่วยงานองค์กรตามรฐั ธรรมนญู หรอื หน่วยงานของรฐั ซ่ึงมใิ ช่ส่วนราชการสว่ นกลางตามพระราชบญั ญัติระเบียบ บริหารราชการแผ่นดิน หน่วยงานในกากบั ของรัฐองค์การมหาชน รัฐวสิ าหกิจ องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น สภาตาบล องค์การระหว่างประเทศบิติบุคคล เอกชนหรือกิจการอันเป็นสาธารณประโยชน์ รวมถึง เงินอุดหนุนงบ พระมหากษตั ริย์ เงนิ อดุ หนุนการศาสนา และรายจา่ ยทสี่ านกั งบประมาณกาหนดใหจ้ า่ ยในงบรายจ่ายนี้ งบรายจ่ายอ่ืน หมายถึง รายจ่ายท่ีไม่เข้าลักษณะประเภทงบรายจ่ายใดงบรายจ่ายหนึ่ง หรือรายจ่ายที่ สานักงบประมาณกาหนดให้ใชจ้ ่ายในงบรายจ่ายนี้ เช่น (1) เงินราชการลับ (2) เงินคา่ ปรบั ที่จา่ ยคืนใหแ้ ก่ผู้ขายหรือผู้รับจา้ ง (3) ค่าจ้างท่ีปรึกษาเพ่ือศึกษา วิจัย ประเมินผล หรือพัฒนาระบบต่างๆซึ่งมิใช่เพ่ือการจัดหา หรือปรับปรุง ครุภัณฑท์ ี่ดินหรือสงิ่ ก่อสรา้ ง (4) คา่ ใช้จ่ายในการเดนิ ทางไปราชการตา่ งประเทศชั่วคราว (5) ค่าใช้จา่ ยสาหรบั หน่วยงานองคก์ รตามรัฐธรรมนูญ (สว่ นราชการ) (6) คา่ ใช้จา่ ยเพ่ือชาระหน้เี งนิ กู้ (7) ค่าใชจ้ ่ายสาหรบั กองทนุ หรือเงินทนุ หมุนเวยี น
15 หน้าทค่ี วามรบั ผิดชอบ กลุ่มการบรหิ ารงบประมาณ นางจิตรา มีแก้ว ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้ากลุ่มบริหารงบประมาณ มีหน้าท่ีดูแล กากับติดตาม กลั่นกรอง อานวยความสะดวก ให้คาแนะนาปรึกษาการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ท่ีปฏิบัติงานในกลุ่มบริหารงบประมาณ ตาม ขอบข่ายและภารกิจการบริหารงบประมาณ ปฏิบัติหน้าท่ีท่ีเก่ียวข้องกับการจัดระบบบริหารองค์กรการประสานงาน และให้บริการสนับสนุน ส่งเสริมให้ฝ่ายบริหารงบประมาณต่าง ๆ ในโรงเรียนสามารถบริหารจัดการและดาเนินการ ตามบทบาทภารกิจ อานาจหน้าที่ด้วยความเรียบร้อยตลอดจนสนับสนุนและให้บริการข้อมูล ข่าวสาร เอกสาร ส่ือ อุปกรณ์ทางการศึกษาและทรัพยากรท่ีใช้ในการจัดการศึกษาแก่เจ้าหน้าท่ีของแต่ละฝ่ายงานเพ่ือให้ฝ่ายงานบริหาร จดั การไดอ้ ย่างสะดวกคล่องตวั มคี ณุ ภาพและเกดิ ประสิทธผิ ล ขอบขา่ ยกลมุ่ การบริหารงบประมาณ มีดังน้ี 1. การจัดทาแผนงบประมาณและคาขอตงั้ งบประมาณเพ่อื เสนอต่อเลขาธกิ ารคณะกรรมการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน ผู้รับผดิ ชอบ นางจติ รา มีแก้ว หนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบปฏิบัติงานดังน้ี 1) จัดทาข้อมูลสารสนเทศทางการเงนิ ของสถานศึกษา ได้แก่ แผนช้ันเรียน ข้อมูลครูนักเรียน และ สงิ่ อานวยความสะดวกของสถานศึกษา โดยความรว่ มมอื ของสานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา 2) จดั ทากรอบงบประมาณรายจา่ ยลว่ งหนา้ และแผนงบประมาณ 3) เสนอแผนงบประมาณขอความเหน็ ชอบต่อคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานเพื่อใช้เป็นคา ขอตงั้ งบประมาณตอ่ สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา 2. การจัดทาแผนปฏบิ ัติการใชจ้ า่ ยเงนิ ตามทีไ่ ดร้ บั จดั สรรงบประมาณจากสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ัน พน้ื ฐานโดยตรง ผู้รบั ผิดชอบ นางจติ รา มแี ก้ว หนา้ ทรี่ บั ผิดชอบปฏิบัตงิ านและผรู้ บั ผิดชอบโครงการฯ ดงั น้ี 1) จดั ทาแผนปฏิบัติการประจาปีและแผนการใช้จ่ายงบประมาณภายใต้ความรว่ มมอื ของสานกั งาน เขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา 2) ขอความเห็นชอบแผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณต่อคณะกรรมการสถานศกึ ษา ขัน้ พ้นื ฐาน 3. การอนมุ ตั กิ ารใชจ้ ่ายงบประมาณทไ่ี ด้รบั จัดสรร ผรู้ บั ผิดชอบ นางจติ รา มีแกว้ หนา้ ที่รับผดิ ชอบเสนอโครงการดังนี้ - ผู้อานวยการสถานศกึ ษาอนุมตั ิการใช้จ่ายงบประมาณตามงาน/โครงการท่กี าหนดไว้ในแผนปฏิบัติ การประจาปี และแผนการใช้จ่ายเงินภายใตค้ วามรว่ มมอื ของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา 4. การขอโอนและการขอเปลีย่ นแปลงงบประมาณ ผู้รบั ผดิ ชอบ นางจิตรา มแี ก้ว หนา้ ที่รับผดิ ชอบปฏิบัติงานดังน้ี 1) ตรวจสอบรายละเอียดรายการงบประมาณท่ีจาเป็นต้องขอโอนหรือเปลี่ยนแปลงเช่นเดียวกับ สถานศึกษาประเภทที่ 1 เสนอความเห็นชอบคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน แล้วเสนอ ขอโอนหรือ เปลยี่ นแปลงรายการงบประมาณต่อสานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา เพอื่ ดาเนนิ การตอ่ ไป 5. การรายงานผลการเบิกจา่ ยงบประมาณ ผรู้ ับผดิ ชอบ นางจติ รา มแี กว้ หน้าทรี่ ับผดิ ชอบปฏบิ ัติงานดังน้ี 1) รายงานผลการดาเนินงาน ผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณประจาปี ไปยังสานักงานเขต พื้นทก่ี ารศึกษา
16 6. การตรวจสอบ ตดิ ตามและรายงานการใช้งบประมาณ ผรู้ ับผิดชอบ นางสาวปทิตตา บุญชิต หน้าทร่ี ับผดิ ชอบปฏิบตั งิ านดงั นี้ 1) จัดการให้มกี ารตรวจสอบและติดตามให้ กลมุ่ ฝา่ ยงาน ในสถานศึกษา รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน และผลการใช้จ่ายงบประมาณ เพ่ือจัดทารายงานผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณตามแบบที่สานัก งบประมาณกาหนด และจัดส่งไปยังสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาทุกไตรมาส ภายในระยะเวลาที่สานักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษากาหนด 2) จัดทารายงานประจาปีท่ีแสดงถึงความสาเร็จในการปฏิบัติงาน และจัดส่งให้สานักงานเขตพน้ื ท่ี การศึกษาภายในระยะเวลาที่สานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษากาหนด 7. การตรวจสอบ ตดิ ตามและรายงานการใช้ผลผลิตจากงบประมาณ ผรู้ บั ผิดชอบ นางสาวปทติ ตา บุญชิต หน้าทรี่ บั ผิดชอบปฏิบัตงิ านดงั น้ี 1) ประเมนิ คุณภาพการปฏบิ ตั งิ านตามที่ไดร้ บั มอบหมาย 2) วางแผนประเมนิ ประสิทธภิ าพ และประสิทธผิ ลการดาเนินงานของสถานศึกษา 3) วิเคราะห์และประเมินความมีประสิทธิภาพ ประหยัด และความคุ้มค่าในการใช้ทรัพยากรของ หน่วยงานในสถานศึกษา 8. การระดมทรพั ยากรและการลงทุนเพ่ือการศกึ ษา ผู้รับผดิ ชอบ นางสาวปทติ ตา บุญชติ หนา้ ท่ีรับผดิ ชอบปฏิบัตงิ านดังนี้ 1) วางแผน รณรงค์ ส่งเสรมิ การระดมทุนการศกึ ษาและทนุ เพื่อการพฒั นาการศึกษาให้ดาเนนิ งาน ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและเกดิ ประสทิ ธิผล คมุ้ คา่ และมคี วามโปรง่ ใส 2) จัดทาข้อมูลสารสนเทศ และระบบการรับจ่ายทุนการศึกษาและเพ่ือการพัฒนาการศึกษาให้ ดาเนนิ งานได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและเกดิ ประสทิ ธิผล คมุ้ คา่ และมคี วามโปร่งใส 3) สรุป รายงาน เผยแพร่ และเชิดชูเกียรติผู้สนับสนุนทุนการศึกษาและทุนเพื่อการพัฒนา สถานศกึ ษา โดยความชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน 9. การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรเพือ่ การศึกษา ผรู้ บั ผดิ ชอบ นางสาวปทิตตา บุญชิต หนา้ ทรี่ บั ผิดชอบปฏิบัตงิ านดังน้ี 1) จัดทารายการทรัพยากรเพ่อื เป็นสารสนเทศไดแ้ ก่แหล่งเรียนรภู้ ายในสถานศึกษา แหลง่ เรียนรใู้ น ท้องถิ่นท้ังท่ีเป็นแหล่งเรียนร้ธู รรมชาติและภูมิปัญญาท้องถิ่น แหล่งเรียนรู้ที่เปน็ สถานประกอบการ เพื่อการรับรู้ของ บคุ ลากรในสถานศึกษา นักเรยี นและบคุ คลทั่วไปจาไดเ้ กดิ การใช้ทรพั ยากรรว่ มกนั ในการจดั การศึกษา 2) วางระบบหรือกาหนดแนวปฏิบัติการใชท้ รพั ยากรรว่ มกนั กับบคุ คล หน่วยงานรัฐบาลและเอกชน เพ่ือใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สุด 3) กระตุ้นให้บุคคลในสถานศึกษาร่วมใช้ทรัพยากรภายในและภายนอก รวมท้ังให้บริการการใช้ ทรัพยากรภายในเพอ่ื ประโยชนต์ อ่ การเรยี นรู้และส่งเสรมิ การศึกษาในชมุ ชน 4) ประสานความร่วมมือกับผู้รับผิดชอบแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรท่ีมนุษย์สร้าง ทรัพยากรบคุ คลที่มีศกั ยภาพให้การสนบั สนุนการจัดการศึกษา 5) ดาเนินการเชิดชูเกียรติบุคคลและหนว่ ยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ท่ีสนับสนุนการใช้ทรัพยากร ร่วมกนั เพอื่ การศกึ ษาของสถานศึกษา 10. การวางแผนพัสดุ ผ้รู บั ผดิ ชอบ นางสาวปทติ ตา บุญชติ หนา้ ทรี่ ับผิดชอบปฏิบัติงานดงั นี้
17 1) การวางแผนพัสดลุ ่วงหน้า 3 ปี ให้ดาเนินการตามกระบวนการของการวางแผนงบประมาณ 2) การจัดทาแผนการจัดหาพัสดุให้ฝ่ายท่ีทาหน้าท่ีจัดซื้อจัดจ้างเป็นผู้ดาเนินการ โดยให้ฝ่าย ที่ต้องการใช้พัสดุ จัดทารายละเอียดพัสดุท่ีต้องการ คือรายละเอียดเก่ียวกับปริมาณ ราคา คุณลักษณะเฉพาะ หรือ แบบรูปรายการและระยะเวลาท่ีตอ้ งการนี้ต้องเปน็ ไปตามแผนปฏิบตั ิการประจาปี (แผนปฏบิ ตั ิงาน) และตามทร่ี ะบุไว้ ในเอกสารประกอบพระราชบญั ญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี สง่ ให้ฝ่ายท่ีทาหน้าท่ีจัดซือ้ จัดจ้างเพ่อื จดั ทาแผนการ จัดหาพสั ดุ 3) ฝา่ ยท่จี ัดทาแผนการจัดหาพัสดุทาการรวบรวมขอ้ มลู รายละเอียดจากฝ่ายที่ต้องการใชพ้ สั ดุโดยมี การสอบทานกับแผนปฏิบัติงานและเอกสารประกอบพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี และความ เหมาะสมของวิธีการจัดหาว่าควรเป็นการซ้ือ การเช่าหรือการจัดทาเองแล้วจานาข้อมูลที่สอบทานแล้วมาจัดทา แผนการจดั หาพสั ดใุ นภาพรวมของสถานศกึ ษา 11. การกาหนดแบบรูปรายการหรือคุณลักษณะเฉพาะของครุภัณฑ์หรือส่ิงก่อสร้างที่ใช้เงินงบประมาณเพื่อ สนองต่อเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ผู้รบั ผดิ ชอบ นางจิตรา มีแก้ว หนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบปฏบิ ัตงิ านดังนี้ 1) กาหนดแบบรูปรายการหรือคุณลักษณะเฉพาะเพื่อประกอบการขอต้ังงบประมาณ ส่งให้ สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา 2) กรณีท่ีเป็นการจัดหาจากเงินนอกงบประมาณให้กาหนดแบบรูปรายการหรือคุณลักษณะเฉพาะ ได้โดยให้พิจารณาจากแบบมาตรฐานก่อนหากไม่เหมาะสมก็ให้กาหนดตามความต้องการโดยยึดหลักความโปร่งใส เป็นธรรมและเปน็ ประโยชนก์ ับทางราชการ 12. การจัดหาพัสดุ ผ้รู ับผิดชอบ นางจิตรา มแี ก้ว หน้าทีร่ ับผดิ ชอบปฏบิ ัติงานดังนี้ 1) การจดั หาพสั ดุถือปฏิบัติตามระเบยี บว่าดว้ ยการพัสดขุ องส่วนราชการและคาสง่ั มอบอานาจของ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน 2) การจัดทาพัสดุถือปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาว่าด้วยการให้สถานศึกษารับจัดทารับ บรกิ าร 13. การควบคมุ ดแู ล บารุงรักษาและจาหน่ายพสั ดุ ผูร้ ับผดิ ชอบ นางจิตรา มแี ก้ว หนา้ ทรี่ ับผิดชอบปฏบิ ตั ิงานดงั นี้ 1) จดั ทาทะเบยี นคมุ ทรพั ยส์ ินและบญั ชีวัสดไุ ม่วา่ จะไดม้ าดว้ ยการจัดหาหรือการรบั บริจาค 2) ควบคมุ พสั ดใุ ห้อยใู่ นสภาพพรอ้ มการใช้งาน 3) ตรวจสอบพัสดุประจาปี และให้มีการจาหน่ายพัสดุท่ีชารุด เส่ือมสภาพหรือไม่ใช้ในราชการอีก ต่อไป 4) พัสดทุ เ่ี ป็นท่ีดินหรือส่ิงกอ่ สรา้ ง กรณที ่ีไดม้ าดว้ ยเงนิ งบประมาณให้ดาเนนิ การขึน้ ทะเบยี น เป็น ราชพัสดุ กรณที ีไ่ ดม้ าจากการรบั บรจิ าคหรอื จากเงินรายได้สถานศกึ ษาใหข้ ้นึ ทะเบยี นเป็นกรรมสทิ ธข์ิ องสถานศกึ ษา 14. การรบั เงนิ การเกบ็ รกั ษาเงนิ และการจ่ายเงนิ ผรู้ บั ผดิ ชอบ นางจิตรา มแี ก้ว หนา้ ที่รบั ผิดชอบปฏบิ ตั งิ านดงั นี้ 1) การปฏิบตั เิ ก่ยี วกบั การรับเงิน และการจ่ายเงินให้ปฏิบตั ิตามระเบยี บทก่ี ระทรวงการคลังกาหนด คือ ระเบียบการเกบ็ รกั ษาเงินและการนาเงินส่งคลังในหน้าท่ีของอาเภอ พ.ศ. 2520 โดยสถานศึกษาสามารถกาหนด วิธีปฏบิ ัติเพมิ่ เตมิ ได้ตามความเหมาะสมแต่ต้องไม่ขัดหรอื แยง้ กับระเบียบดังกลา่ ว
18 2) การปฏิบัติเกี่ยวกับการเก็บรักษาเงินให้ปฏิบัติตามระเบียบท่ีกระทรวงการคลังกาหนด คอื ระเบยี บการเกบ็ รกั ษาเงนิ และการนาเงินสง่ คลงั ในส่วนของราชการ พ.ศ. 2520 โดยอนโุ ลม 15. การนาเงนิ สง่ คลงั ผู้รับผดิ ชอบ นางจติ รา มแี กว้ หนา้ ทร่ี ับผดิ ชอบปฏิบัติงานดงั นี้ 1) การนาเงินส่งคลังให้นาส่งต่อสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาภายในระยะเวลาท่ีกาหนดไว้ตาม ระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนาเงินส่งคลังในหน้าท่ีของอาเภอพ.ศ. 2520 หากนาส่งเป็นเงินสดให้ต้ัง คณะกรรมการนาสง่ เงนิ ดว้ ย 16. การจดั ทาบญั ชกี ารเงนิ ผ้รู บั ผดิ ชอบ นางจิตรา มีแกว้ หนา้ ทร่ี บั ผิดชอบปฏิบัติงานดังนี้ 1) ให้จัดทาบัญชีการเงินตามระบบที่เคยจัดทาอยู่เดิม คือ ตามระบบท่ีกาหนดไว้ในคู่มือการบัญชี หน่วยงานยอ่ ย พ.ศ. 2515 หรอื ตามระบบการควบคมุ การเงนิ ของหนว่ ยงานยอ่ ย พ.ศ. 2544 แล้ว แตก่ รณี 17. การจัดทารายงานทางการเงนิ และงบการเงิน ผ้รู บั ผิดชอบ นางจิตรา มแี กว้ หนา้ ทร่ี ับผดิ ชอบปฏบิ ตั ิงานดงั นี้ 1) จัดทารายงานตามที่กาหนดในคมู่ ือการบัญชสี าหรับหน่วยงานย่อย พ.ศ. 2515 หรือ ตามระบบ การควบคมุ การเงนิ ของหน่วยงานย่อยพ.ศ. 2515 แลว้ แต่กรณี 2) จัดทารายงานการรับจ่ายเงินรายได้สถานศึกษา ตามที่สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พืน้ ฐานกาหนด คอื ตามประกาศสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานว่าด้วยหลักเกณฑ์ อัตราและวธิ กี ารนา เงินรายได้สถานศึกษาไปจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาท่ีเป็นนิติบุคคลรายได้สถา นศึกษาไป จา่ ยเปน็ คา่ ใช้จา่ ยในการจดั การของสถานศึกษาท่เี ปน็ นติ ิบุคคลในสงั กดั เขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา 18. การจดั ทาและจดั หาแบบพมิ พบ์ ัญชี ทะเบยี นและรายงาน ผรู้ บั ผิดชอบ นางจิตรา มแี กว้ หนา้ ท่รี บั ผิดชอบปฏิบัติงานดังน้ี 1) แบบพิมพ์บัญชี ทะเบียนและแบบรายงานให้จัดทาตามแบบท่ีกาหนดในคู่มือการบัญชีสาหรับ หน่วยงานยอ่ ย พ.ศ. 2515 หรือตามระบบการควบคุมการเงนิ ของหน่วยงานยอ่ ย พ.ศ. 2544
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: