Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงงานภาษาไทยเรื่องคำกลอน

โครงงานภาษาไทยเรื่องคำกลอน

Published by apirak130348, 2021-08-05 02:40:13

Description: โครงงานภาษาไทยเรื่องคำกลอน

Search

Read the Text Version

โครงงานภาษาไทย(คำกลอน) ผจู้ ัดทำ นายอภิรกั ษ์ เวชรัตน์ ม.๓/๖ เลขท๗่ี ครูที่ปรึกษา นายกิตตน์อิชณน์ พนมรัตน์ เอกสารฉบบั นี้เปน็ สว่ นหนึ่งของรายวชิ โครงงานภาษาไทย โรงเรียนสภาราชนิ ี จังหวัดตรงั สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต๑๓ ภาคเรยี นท่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓



โครงงานภาษาไทย(คำกลอน) ผ้จู ดั ทำ นายอภิรักษ์ เวชรตั น์ ม.๓/๖ เลขท๗่ี ครูทีป่ รึกษา นายกิตตน์อชิ ณน์ พนมรัตน์ เอกสารฉบบั นี้เป็นสว่ นหน่ึงของรายวิชโครงงานภาษาไทย โรงเรียนสภาราชนิ ี จังหวัดตรงั สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต๑๓ ภาคเรยี นท่ี ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓

ก ช่ือเรื่อง:คำกลอน ผู้จัดทำ:นายอภริ ักษ์ เวชรัตน์ ทีป่ รกึ ษา:นายกติ ตน์อชิ ณน์ พนมรัตน์ ปีการศกึ ษา:๒๕๖๓ บทคดั ยอ่ เรือ่ งคำกลอน มจี ดุ มุ่งหมายเพ่อื ศึกษาฉนั ทลักษณข์ อของคำประพันธ์ไทย เพอื่ ให้ผูอ้ ่านเห็น ความสำคญั และคุรค่าของกลอนแปด เพอ่ื ให้ผู้อ่านศึกษาหาความรู้ . เพ่ือให้ผูอ้ ่านนำความรู้ที่ไดไ้ ป ใชป้ ระโยชน์ . เพอื่ อนุรกั ษ์และสบื สานภาษาไทย

ข กติ ตกิ รรมประกาศ ในการทำโครงงานภาษาไทยขา้ พเจ้าขอขอบพระคุณ คุณครกู ติ ตน์อิชณน์ พนมรตั น์ ทไ่ี ด้ ใหค้ วามอนเุ คราะห์ คอยให้คำปรกึ ษาใหค้ วามสะดวกในการทำโครงงาน และขอ้ เสนอแนะเกย่ี วกบั แนวทางในการทำโครงงานภาษไทย ขอบคุณเพือ่ นทกุ คนทีใ่ หค้ วามช่วยเหลือ ตลอดจนคำแนะนำทีเ่ ป็น ประโยชนใ์ นการทำ โครงงาน ท้ายท่สี ดุ ขอกราบขอบพระคณุ คุณพอ่ และคุณแม่ ท่เี ป็นผู้ใหก้ ำลังใจและใหโ้ อกาส การศกึ ษาอันมคี า่ ยิง่ คณะผจู้ ัดทาํ โครงงานภาษาไทย ขอขอบพระคณุ ทกุ ท่านอยา่ งสูงทใ่ี ห้ การสนบั สนนุ เอ้อื เฟื้อและใหค้ วามอนุเคราะห์ชว่ ยเหลือ จนกระท่ังโครงงานภาษาไทยสําเรจ็ ลลุ ่วงไดด้ ว้ ยดี นายอภริ กั ษ์ เวชรตั น์

สารบญั ค เรอื่ ง หน้า บทคัดย่อ ก กติ ตกิ รรมประกาศ ข สารบัญ ค บทที่๑ บทนำ 1 บทท๒่ี เอกสารทเี่ กี่ยวข้อง 2-19 บทท่๓ี วิธกี ารดำเนินงาน 20 บทที่๔ ผลการศึกษาค้นคว้า 21 บทท๕่ี สรปุ ผล อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ 22 บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวตั ผิ ศู้ กึ ษา

1 บทที่๑ บทนำ ๑.ความเปน็ มา ภาษาไทยเป็นภาษาประจำชาติที่มีเอกลักษณ์และวฒั นธรรมมาช้านาน ทไี่ ดส้ บื ทอกต่อกนั มา ภาษาไทยมคี วามไพเราะท้ังภาษพดู และภาษาเขียน และยังสามารถรอ้ ยเรยี งกนั เปน็ บท กลอน โดยเฉพาะกลอนน้ันมฉี ันทลักษณแ์ ละสมั ผสั ในและสมั ผัสนอกสละสลวยมากท้ังการเลน่ คำ ซ้ำคำทำไหผ้ ูท้ ่ีได้อา่ นมคี วามประทับใจมากขน้ึ จำเปน็ อย่างยิ่งที่เราทุกคนควรท่จี ะอนุรกั ษก์ ลอน สืบต่อไป ๒.วตั ถุประสงค์ ๑. เพือ่ ศึกษาฉนั ทลักษณ์ขอของคำประพนั ธไ์ ทย ๒.เพือ่ ให้ผู้อ่านเหน็ ความสำคัญและคณุ คา่ ของกลอน ๓. เพ่อื ใหผ้ ้อู ่านศกึ ษาหาความรู้ ๔.เพอ่ื ใหผ้ ู้อ่านนำความรทู้ ่ไี ด้ไปใช้ประโยชน์ ๕. เพ่ืออนุรกั ษแ์ ละสบื สานภาษาไทย ๓.ขอบเขตการศกึ ษา ๓.๑ สถานที่ โรงเรียนสภาราชินี จงั หวัดตรงั ๓.๒ระยะเวลา ๑ภาคเรยี น ๔.ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะไดร้ บั ๑.ผู้ศกึ ษาได้เข้าใจก่ีกับฉันทลกั ษณ์ของภาษาไทย ๒. ผูศ้ ึกษาไดเ้ ห็นคุณค่าของกลอน ๓.ผ้ศู ึกษาได้รับความรู้ ๔.ผู้อ่านได้นำความรไู้ ปใช้ ๕.ไดอ้ นุรกษแ์ ละสบื ทอดภาษาไทย

2 บทที่๒ เอกสารที่เก่ียวข้อง ในการศึกษาเรื่องคำกลอนผู้จดั ทำไดร้ วบรวมแนวคิดทฤษฎแี ละหลักการต่างๆจากเอกสารที่ เกย่ี วขอ้ งดังต่อไปน้ี แต่เดมิ โบราณเรยี กร้อยกลองหรอื คำประพันธ์ทุกชนดิ ทมี่ ีสัมผสั ระหวา่ งบท ท้ังนัน้ ตอ่ มากลอน มคี วามหมายแคบเข้าคอื หมายถึงคำประพันธ์ชนิดหนึ่งทใ่ี ชถ้ ้อยคำเรียงกนั มสี ัมผัสบทท่ี๑มี๒บทคอื บาทเอกกบั บาทโท บาททห่ี นึ่งแบ่งออกเป็นสองวรรคหรอื ๒ทอ่ นรวม๒วรรคเป็น๑คำกลอน กลอนนน้ั นยิ มแตง่ กนั มากในสมัยปลายอยุธยา ไดร้ ับความนิยมแพรห่ ลายมากกว่าคำประพนั ธ์ ชนดิ อน่ื ๆมารง่ ในสมัยกรุงรตั นโกสินทร์และรุ่งเร่ืองทส่ี ดุ ในสมยั สมเดจ็ พระเลิสหล้านภาลัย กวีที่ สำคัญทส่ี ุดไดแ้ ก่ สทุ รภู่ ซง่ึ ถอื วา่ อนของทา่ นเปน็ กลอนฉบับทไ่ี พเราะท่ีสดุ ๑.กลอนคำอ่าน เปน็ กลอนที่ผแู้ ต่งมีจดุ มงุ่ หมายสำหรับการอ่าน เพ่ือความเพลิดเพลนิ แบง่ เป็น๘ ชนิด ไดแ้ ก่ ๑.กลอนส่ี ๒.กลอนหก ๓.กลอนเจ็ด ๔.กลอนแปด ๕.กลอนเก้า ๖.กลอนนริ าศ ๗.กลอนเพลงยาว ๘.กลอนนทิ าน ๒.กลอนรอ้ ง เปน็ กลอนที่ผู้แต่งมจี ุดมงุ่ หมายสำหรับขบั ร้องหรือขับลำนำเพอ่ื ความไพเราะหรอื เพอ่ื ความสนกุ สนานแบ่งเป็น5ชนดิ ไดแ้ ก่ ๑.กลอนบทละคร ๒.กลอนดอกสรอ้ ย ๓.กลอนเสภา ๔.กลอนสักวา ๕.กลอนเพลงชาวบ้าน ลักษณะของกลอนชนิดต่างๆ

3 ๑.กลอนคำอ่าน เปน็ กลอนทผ่ี ู้แตง่ มีจุดม่งุ หมายสำหรับการอ่าน เพ่ือความเพลิดเพลินแบ่งเป็น๘ ชนดิ ไดแ้ ก่ ๑.๑.กลอนส่ี กลอนสี่ เปน็ คำประพันธ์ประเภทกลอน ใน ๑ บท มี ๒ บาท ๑ บาท มี ๒ วรรค วรรคละ ๔ คำ กลอน ๔ ตามหลักฐานทางวรรณคดไี ทย กลอน ๔ ที่เก่าทสี่ ุดพบในมหาชาติคำหลวงกณั ฑ์มหาพน (สมัยอยธุ ยา) แต่ตอ่ มาไม่ปรากฏในวรรณคดไี ทยมากนกั มักแทรกอยู่ตามกลอนบทละครตา่ ง ๆ ตัวอย่างกลอนส่ี ในวรรณคดไี ทยท่พี บมี ๒ แบบ คอื กลอน ๔ แบบท่ี ๑ คณะ กลอน ๔ แบบน้ี บทหนงึ่ จะประกอบด้วย ๒ บาท บาทละ ๒ วรรค วรรคละ ๔ คำ สมั ผสั แบบกลอนท่ัวไป คือ คำสุดท้ายวรรคหนา้ สมั ผสั กบั คำทสี่ องของวรรคหลงั และคำสดุ ทา้ ย วรรคทส่ี องสัมผัสกบั คำสดุ ทา้ ยวรรคทสี่ าม ส่วนสมั ผัสระหว่างบทก็เชน่ เดยี วกนั คือ คำสดุ ทา้ ย วรรคทสี่ ขี่ องบทแรก สมั ผัสกับคำสดุ ทา้ ยของวรรคท่ีสองของบทถดั ไป กลอน ๔ แบบที่ ๒ คณะ กลอน ๔ แบบน้ี บทหนึง่ ประกอบด้วย ๔ บาท บาทละ ๒ วรรค วรรคละ ๔ คำ สมั ผัสนอก ในทกุ บาท คำสดุ ท้ายของวรรหน้า สัมผัสกบั คำทีส่ องของวรรคหลัง มีสัมผัสระหว่าง บาททส่ี องกบั สาม คอื คำสดุ ทา้ ยวรรทส่ี ส่ี ัมผสั กับคำสุดทา้ ยวรรคท่หี ก สว่ นสัมผัสระหวา่ งบทน้นั จะแตกตา่ งจากแบบแรก เน่อื งจากให้คำสุดทา้ ยของบทแรกสัมผัสกับคำสดุ ทา้ ยของวรรคทส่ี ขี่ อง บทถัดไป ตวั อยา่ งกลอนสี่

4 ดวงจันทรว์ ันเพญ็ ลอยเดน่ บนฟ้า แสงนวลเย็นตา พาใจหฤหรรษ์ ชกั ชวนเพื่อนยา มาเล่นรว่ มกนั เดก็ นอ้ ยสุขสนั ต์ บนั เทิงเริงใจ กฎกลอนส่ี สัมผัสบงั คับของกลอนสี่ มี ๔ แห่ง ดงั น้ี ๑. คำท้ายวรรคแรก สัมผสั คลอ้ งจองกบั คำแรกของวรรคที่ ๒ ๒. คำสดุ ท้ายของวรรคที่ ๒ สัมผัสคล้องจองกับคำสุดทา้ ยของวรรคที่ ๓ ๓. คำสดุ ทา้ ยของวรรคท่ี ๓ สมั ผสั คล้องจองกับคำแรกของวรรคท่ี ๔ ๔. คำสุดท้ายของวรรคที่ ๔ ของบทแรก สัมผสั คลอ้ งจองกบั คำสดุ ท้ายวรรคท่ี ๒ ของบทถดั ไป ๑.๒.กลอนหก ตามหลักฐานทางวรรณคดีไทย กลอนหก พบครง้ั แรกในกลบทศริ ิวบิ ลุ กิตติ สมัยอยุธยาตอน ปลายนอกนนั้ กแ็ ทรกอย่ใู นกลอนบทละคร แต่ท่ีใช้แตต่ ลอดเรอ่ื งเร่ิมมใี นสมัยรัชกาลที่ ๖ แห่งกรุง รตั นโกสินทร์ คอื กนกนคร ของกรมหมนื่ พิทยาลงกรณ์ (น.ม.ส.) กลอนหก บทหนงึ่ ประกอบด้วย ๒ บาท บาทละ ๒ วรรค วรรคละ ๖ คำ สมั ผสั นอก ใหม้ ีสัมผัสระหว่างคำสุดทา้ ยวรรคหน้ากับคำท่ีสองของวรรคหลงั ของทุกบาท และใหม้ ี สัมผสั ระหว่างบาทคือคำสุดท้ายของวรรคที่สองสัมผัสกบั คำสดุ ทา้ ยวรรคที่สาม สว่ นสมั ผัสระหว่าง

5 บท กำหนดใหค้ ำสุดท้ายของบทแรก สัมผสั กับคำสุดท้ายวรรคที่สองของบทถัดไป สัมผสั ใน ไม่บงั คับ แต่หากจะให้กลอนสละสลวยควรมสี มั ผัสระหวา่ งคำทส่ี องกบั คำทส่ี าม หรอื ระหวา่ งคำทสี่ ่ีกบั คำทหี่ ้าของแต่ละวรรค กฎสมั ผสั บังคับของกลอนหก พยางคส์ ดุ ท้ายของวรรคท่ี ๑ บงั คบั ใหส้ มั ผสั กบั พยางคท์ ่ี ๒ ของวรรคท่ี ๒ (บางครง้ั ให้สมั ผสั กบั พยางคท์ ี่ ๓ หรอื ๔ ของวรรคที่ ๒ ก็ได)้ พยางคส์ ดุ ท้ายของวรรคท่ี ๒ บังคับใหส้ ัมผัสกับพยางคส์ ดุ ทา้ ยของวรรคที่ ๓ พยางคส์ ดุ ทา้ ยของวรรคท่ี ๓ บงั คั บให้สัมผัสกับพยางค์ที่ ๒ ของวรรคท่ี ๔ (บางครัง้ ให้สัมผัส กบั พยางคท์ ี่ ๓ หรือ ๔ กไ็ ด้) พยางคส์ ดุ ท้ายของวรรคท่ี ๔ บงั คบั ให้สมั ผัสกับพยางค์สุดทา้ ยของวรรคที่ ๒ ของบทต่อไป ซง่ึ เรียกว่า การสัมผัสระหว่างบทการอ่านกลอนหก กลอนหก แบง่ วรรคการอา่ นเป็น ๒/๒/๒ ๑.๓.กลอนเจด็ เปน็ บทประพันธ์ที่กำหนดให้มวี รรคละ ๗ คำ บางวรรคอาจมี ๘ คำได้ เพราะเป็นคำผสม การส่งสัมผัส คำสดุ ท้ายของกลอนสดับสง่ ไปยงั คำท่ี ๒ หรอื ที่ ๓ ของกลอนรบั คำสุดท้ายของ กลอนรบั ส่งสมั ผสั ไปยังคำสดุ ทา้ ยของกลอนรอง คำทา้ ยของกลอนรอง สง่ สมั ผัสไปยงั คำท่ี ๒ หรอื ท่ี ๓ ของกลอนส่ง คำสดุ ท้ายของกลอนส่ง ส่งสัมผัสไปยังคำสดุ ท้ายของกลอนรับในบทต่อไป มี แผนผงั และตวั อยา่ งดังนี้

6 ๑.๔.กลอนแปดหรอื กลอนสุภาพ กลอนแปดเป็น คำประพันธอ์ กี ชนิดหน่งึ ท่ไี ดร้ บั ความนิยมกนั ทวั่ ไป เพราะเปน็ รอ้ ยกรอง ชนิดทมี่ คี วามเรียบเรียงง่ายต่อการสอ่ื ความหมาย และสามารถส่ือไดอ้ ยา่ งไพเราะ ซ่งึ กลอนแปดมี การกำหนดพยางคแ์ ละสัมผัส มีหลายชนิดแตท่ ีน่ ยิ มคอื กลอนสุภาพ ลักษณะคำประพันธก์ ลอนแปด ๑. บท บทหนง่ึ มี ๔ วรรค วรรคท่ีหนงึ่ เรยี กวรรคสดบั วรรคที่สองเรียกวรรครับ วรรคทส่ี ามเรียกวรรครอง วรรค ทส่ี ่ีเรยี กวรรคสง่ แตล่ ะวรรคมีแปดคำ จึงเรยี กว่า กลอนแปด ๒. เสียงคำ กลอนทุกประเภทจะกำหนดเสียงคำทา้ ยวรรคเป็นสำคัญ กำหนดได้ ดงั นี้ คำท้ายวรรคสดับ กำหนดให้ใช้ได้ทกุ เสียง คำทา้ ยวรรครับกำหนดหา้ มใช้เสยี งสามัญกับ ตรี คำท้ายวรรครองกำหนดใหใ้ ชเ้ ฉพาะเสยี งสามญั กับตรี คำทา้ ยวรรคส่งกำหนดให้ใช้เฉพาะเสียง สามญั กบั ตรี ๓. สมั ผสั

7 ก. สัมผสั นอก หรือสัมผสั ระหวา่ งวรรค อันเปน็ สัมผัสบงั คับ มีดงั นี้ คำสุดทา้ ยของวรรคทห่ี นงึ่ (วรรคสดบั ) สมั ผัสกับคำท่ีสามหรือที่ห้า ของวรรคทส่ี อง (วรรครบั ) คำสุดทา้ ยของวรรคทสี่ อง (วรรครบั ) สัมผัสกับคำสดุ ทา้ ยของวรรคทสี่ าม (วรรครอง) และคำทส่ี ามหรือทห่ี ้าของวรรคท่สี ี่ (วรรคส่ง) สัมผัสระหวา่ งบท ของกลอนแปด คือ คำสุดทา้ ยของวรรคท่สี ี่ (วรรคส่ง) เป็นคำสง่ สัมผสั บังคบั ให้บทต่อไปตอ้ งรับสมั ผสั ทีค่ ำ สดุ ท้ายของวรรคทสี่ อง (วรรครบั ) ข. สมั ผัสใน แต่ละวรรคของกลอนแปด แบ่งชว่ งจังหวะออกเปน็ สามช่วง ดังนี้ หนงึ่ สองสาม – หนึ่งสอง – หนึ่งสองสาม ฉะน้ันสัมผสั ในจึงกำหนดได้ตามชว่ งจังหวะในแต่ละวรรคน่นั เอง ดงั ตวั อยา่ ง อนั กลอนแปด – แปด คำ – ประจำวรรค วางเป็นหลกั – อัก ษร – สนุ ทรศรี ตัวอยา่ งกลอนแปด เร่ืองกานท์กลอนอ่อนดอ้ ยคอ่ ยค่อยหดั แม้นอึดอัดขดั ใจอยา่ ไปเลี่ยง ทีละวรรคถักถ้อยนำรอ้ ยเรยี ง แมไ้ มเ่ คียงเย่ียงเขาจะเศร้าไย วางเค้าโครงโยงคำค่อยนำเขียน เฝ้าพากเพียรเจียรจารนำขานไข จะถกู นดิ ผิดบา้ งช่างปะไร เขียนด้วยใจใฝ่รักอกั ษรา แมไ้ ม่เก่งเพลงกลอนยังออ่ นด้อย แต่ใจรักถกั ถ้อยร้อยภาษา แมถ้ อ้ ยคำนำเขยี นไม่เนียนตา อย่าโมโหโกรธาต่อว่ากนั ทุกทุกวรรคถกั -รา่ ยหมายสืบสาน ทุกอักษรกลอนกานทบ์ นลานฝนั อาบคุณค่าช้านานแห่งวารวัน

8 กฎของกลอนแปด การสมั ผัส ใหค้ ำสดุ ท้ายวรรคแรก(วรรคสดบั ) ไปสัมผสั กับคำท่ี ๓ หรอื ๕ ของวรรคที่ ๒(วรรครบั )ให้ คำสุดท้ายวรรคท่ีสอง(วรรครบั ) ไปสัมผสั กับคำสดุ ทา้ ยของวรรคท่ี ๓(วรรครอง)ใหค้ ำสดุ ทา้ ยของ วรรคที่สาม(วรรครอง) ไปสัมผัสกับคำที่ ๓ หรือ ๕ ของวรรคทสี่ ่ี (วรรคส่ง)การสัมผัสระหว่างบท หรอื เรียกอกี อย่างหน่ึงวา่ “การสัมผัสเช่ือมรอ้ ยระหวา่ งบท” การเชื่อมสมั ผัสระหว่างบท ให้คำ สุดท้ายของวรรคท่สึ ี่ คือ วรรคสง่ ไปสมั ผสั กบั คำสดุ ท้ายของวรรคทส่ี อง คอื วรรครบั ของบทถดั ไป ใหแ้ ต่งเช่อื มบทอย่างน้ี เรื่อยไปจนจบเนื้อความตามท่ีตอ้ งการ การบงั คับสัมผัส มขี อ้ บังคบั สมั ผสั นอก ๓ แหง่ คอื ในบท ๒ แห่ง และสมั ผสั เชอื่ มระหว่างบท ๑ แห่ง และ อีกอยา่ งหนง่ึ ถ้าจะสัมผัสสระ หรือพยญั ชนะเพอื่ ความไพเราะในบทเดียวกนั กจ็ กั ทำให้กลอนแต่ ละบทมีความไพเราะเสียงกลมกลนื ย่งิ ข้นึ ข้อบังคับ เรอ่ื งการกำหนดเสยี งวรรณยุกต์ ในคำสดุ ทา้ ยของแต่ละวรรค มดี งั นี้ คำสุดท้ายของวรรคท่ี ๑ ใช้เสยี ง สามัญ เอก โท ตรี จตั วา แต่ไม่นิยมสามญั คำสดุ ท้ายของวรรคท่ี ๒ ห้ามใช้เสียง สามัญ และตรี นิยมใช้ จัตวา เป็นส่วนมาก คำสดุ ท้ายของวรรคที่ ๓ ใชเ้ สยี ง สามัญ หรือ ตรี หา้ มใช้ เอก โท จัตวา คำสุดทา้ ยของวรรคท่ี ๔ ใช้เสยี งสามญั หรอื ตรี ห้ามเสียง เอก โท จัตวา ส่วนมากนิยมเสยี ง สามญั ๑.๕.กลอนเกา้ เป็นบทประพันธ์ที่กำหนดวรรคละ ๙ คำ บางวรรคอาจมี ๑๐ คำ เพราะเป็นคำผสม การสมั ผัส ท้ังในวรรคและนอกวรรค ท้ังนอกบท มอี ย่างเดียวกับกลอน ๘ มีแผนผงั และตัวอย่างดังน้ี

9 ๑.๖.กลอนนิราศ คอื คำกลอนที่แต่งข้นึ เพอ่ื เลา่ เรอ่ื งการเดนิ ทางไปยงั แห่งใดแห่งหน่ึงโดยรำพนั ถึงการจากคนทร่ี กั ไปยังแหง่ นั้น และไมจ่ ำเป็นวา่ คนท่รี ักจะมีตัวตนจรงิ หรอื ไม่ การประพันธต์ อ้ งใช้ศิลปะในการรำพนั ให้ไพเราะกินใจผอู้ ่าน กลอนนิราศทน่ี ยิ มว่าแต่งดีไดแ้ ก่ นิราศของสุนทรภู่ เช่น นิราศภูเขา ทอง นิราศพระบาท เป็นตน้ สว่ นนริ าศเรอื่ งอื่นที่นับว่าไพเราะดว้ ยความพรรณนา เชน่ นริ าศ ลอนดอน ของหมอ่ มราโชทยั นิราศรอบโลก ของแสงทอง กลอนนิราศมลี กั ษณะบงั คบั อยา่ งกลอนท่วั ไป กำหนดลักษณะเฉพาะเช่นเดียวกบั กลอน เพลงยาว คือขึ้นตน้ ดว้ ยวรรครบั และลงท้ายบทด้วยคำวา่ เอย

10 ๑.๗.กลอนเพลงยาว กลอนเพลงยาวเปน็ กลอนท่ีบงั คับบทขึ้นตน้ เพยี ง ๓ วรรค จัดเป็นกลอนขึน้ ตน้ ไม่เต็ม บท ขึ้นตน้ ด้วยวรรครบั ในบทแรก สว่ นบทต่อๆไป คงมี ๔ วรรคตลอด สมั ผัสเปน็ แบบกลอน สภุ าพ ไมจ่ ำกัดความยาวในการแต่ง แต่นิยมจบดว้ ยบาทคู่ และต้องลงด้วยคำว่าเอย จำนวนคำใน วรรคอย่รู ะหว่าง ๗-๙ คำ วัตถุประสงคสื ำคญั ของเพลงยาวคือใช้เป็นจดหมายโต้ตอบ ระหว่างชาย -หญงิ เพลงยาวปรากฎข้ึนสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ไดแ้ ก่ เพลงยาวพระราชนิพนธ์ เจ้าฟ้าธรร มาธิเบศร์ ทกี่ ล่าวกันว่าทรงนิพนธใ์ หแ้ กเ่ จา้ ฟ้าสงั วาล โดยเหตทุ ีว่ ัตถปุ ระสงค์สำคัญของกลอนเพลง ยาว คอื ใชเ้ ปน็ จดหมายรักและจบลงด้วยคำวา่ \"เอย\"จึงเป็นที่มาของสำนวน \"ลงเอย\" ในภาษาไทย หมายถงึ การตกลงปลงใจที่จะรว่ มชีวิตคู่ ของ ชาย-หญงิ ส่วนชือ่ \"เพลงยาว\" นา่ จะเกิดจากเน้ือความ ของจดหมายแตล่ ะฉบับ ทม่ี ีขนาดยืดยาว หรืออีกประการหนึ่งอาจเกิดจากระยะเวลา ในการผูก สมคั รรกั ใคร่ และโต้ตอบจดหมายกนั จน\"ลงเอย\"ใช้เวลานานก็เป็นได้ อนง่ึ อาจกล่าวไดว้ ่า \"เพลงยาว\"เป็นตวั การสำคัญ ฃขอ้ หนงึ่ ทที่ ำใหผ้ หู้ ญิงไทยสมัยก่อนไม่ มโี อกาสได้รบั การศกึ ษา เพราะผู้ใหญไ่ ม่สง่ เสริม เน่ืองจากเกรงวา่ เม่อื อ่านออกเขยี นไดแ้ ล้ว จะริ\"เลน่ เพลงยาว\"และอาจก่อให้เกิดเร่อื งราวเชงิ ชสู้ าวให้เป็นที่เสื่อมเสียวงศ์ตระกูล ๑.๘.กลอนนิทาน

11 กลอนนทิ านมลี ักษณะเหมือนกลอนนริ าศ ขน้ึ ตน้ ด้วยวรรครับ แล้วแตง่ เป็นเรอ่ื งยาวๆ ทำนองนิทานหรอื นิยาย มีพระเอกนางเอก มตี ัวผรู้ า้ ยหรือตัวอิจฉา องิ หลักธรรมในศาสนา อาจจะ มกี ารรบทพั จับศกึ กระบวนการสงครามหรอื มีความลึกลบั มหัศจรรย์ การแสดงอภินิหาร หรือ ความสามารถของตัวเอกในเร่อื งอาจจะแฝงด้วยลทั ธิ ไสยศาสตร์มกั จะลงเอยดว้ ย ฝา่ ยดีหรอื ฝ่าย ธรรมชนะอธรรม นยิ าย ทำนองนี้มักจะเปน็ เร่อื งเก่ียวกับกษัตรยิ ์หรือเร่ืองจกั รๆวงศ์ๆ เปน็ นิยายประโลม โลก ทีอ่ ่านเพ่อื ความบันเทงิ แต่ก็ไดค้ ตขิ ้อคดิ จากเร่ืองเหล่าน้ี (วเิ ชยี ร เกษประทุม ลักษณะคำ ประพันธไ์ ทย ) ตัวอยา่ งเร่ืองท่ีแต่ง เป็นกลอนนิทานเช่น -เรอ่ื งพระอภัยมณี -เรื่องไชยเชษฐ์ -เร่ืองกากี -เรอ่ื งโคบุตร -เรอ่ื งลักษณะวงศ์ -เรอ่ื งทินวงศ์ -เรอื่ งโสนน้อยเรือนงาม -เรอ่ื งนางสิบสอง -เร่ืองจันทะโครพ -เรอ่ื งสงั ข์ทอง -เรื่องพระสุธน มโนราห์ กฎการแตง่ กลอนนิทาน

12 ๑. กลอนนทิ านจะขึ้นต้นดว้ ยวรรครบั ของบาทเอก ส่วนวรรคสดับปลอ่ ยเว้นว่างไว้ ๒. วรรคหนง่ึ กำหนดคำ ตัง้ แต่ ๗-๙ คำ ๓. สมั ผัสและความไพเราะอื่นๆ เหมือนกบั กลอนแปด ๔.กลอนนทิ านจะแตง่ ส้นั ยาวอย่างไรกต็ ามจะตอ้ งจบด้วยบาทโท ๒.กลอนรอ้ ง เป็นกลอนท่ีผแู้ ต่งมจี ดุ มุง่ หมายสำหรับขบั รอ้ งหรือขับลำนำเพ่ือความไพเราะหรอื เพ่อื ความสนกุ สนานแบง่ เป็น๕ชนดิ ไดแ้ ก่ ๒.๑.กลอนบทละคร เปน็ คำประพนั ธ์ชนิดหนึง่ ซึง่ แต่งข้ึนเพอื่ ใชใ้ นการเล่นละคร ต้องอาศัยทำนองขบั รอ้ ง และเคร่ืองดนตรีประกอบ แตง่ เสร็จต้องนำไปซักซอ้ มปรับปรุง ดงั น้นั จำนวนคำของแตล่ ะวรรคจึง ไม่เทา่ กัน ขน้ึ อยู่กบั จังหวะขบั รอ้ งเปน็ สำคญั ว่าโดยหลกั มแี ต่ ๖ คำ ถงึ ๙ คำ แตท่ ีป่ รากฏว่าใช้ มากสดุ คือ ๖ คำ เช่นเร่อื งรามเกยี รติ์ เฉพาะวรรคแรกข้ึนต้น ใช้ ๒ คำ ถึง ๔-๕ คำ บางคราวก็ส่ง สมั ผัสไปยงั วรรคที่ ๒ บางคราวกไ็ ม่ส่ง คำทใ่ี ช้เช่น เมอื่ น้ัน, บดั น,ี้ นอ้ งเอย๋ นอ้ งรัก แมก้ ลอนสดบั จะใช้คำพูดเพียงสองคำ ก็ถือถือว่าเตม็ วรรค โดยลกั ษณะสัมผสั ในวรรคและ นอกวรรค นิยมใชแ้ บบกลอนสภุ าพ แตง่ เป็นตอน ๆ พอจบตอนหนง่ึ ขน้ึ ตอนต่อไปใหม่ ไมต่ อ้ งรบั สัมผสั ไปถึงตอนทจี่ บ เพราะอาจเปลีย่ นทำนองตามบทบาทตวั ละคร ทข่ี ้นึ ต้นว่า เมอื่ น้ัน ใชส้ ำหรบั พระเอกหรือผ้นู ำในเรอ่ื ง บดั นัน้ ใช้สำหรับเสนา กลอนนเ้ี ป็นกลอนผสม คือ กลอน ๖ กลอน ๗ กลอน ๘ หรอื กลอน ๙ ผสมกันตามจงั หวะ มแี ผนผังและตัวอย่างดงั น้ี

13 ๒.๒. กลอนดอกสร้อย เป็นกลอนทีเ่ เตง่ ขนึ้ เพอื่ ขับรอ้ ง กลอนดอกสร้อย ๑ บท มี ๔ บาท จะมี ๒ วรรค ใน ๑ วรรค จะมี ๗-๙ พยางค์ ยกเว้นวรรคท่ี จะมี ๔ พยางค์ และพยางคท์ ่ี ๒ จะมีคำว่า เอ๋ย สว่ นวรรค สุดทา้ ยของบทจะลงทา้ ยดว้ ยคำว่า เอย เสมอ การสัมผัสบังคับ ๑. พยางคส์ ดุ ทา้ ยของวรรคที่ ๑ บงั คบั ให้สมั ผสั กบั พยางคท์ ่ี ๓ ของวรรคที่ ๒ (บางคร้ังผอ่ นผนั ให้ สัมผสั กับพยางคท์ ี่ ๑,๒,๔, หรือ ๕ ของวรรคท่ี ๒ กไ็ ด)้ ๒. พยางค์สดุ ทา้ ยของวรรคท่ี ๒ บงั คับให้สัมผสั กบั พยางคส์ ดุ ทา้ ยของวรรคท่ี ๓ ๓. พยางค์สดุ ท้ายของวรรคที่ ๓ บังคับให้สัมผัสกับพยางคท์ ี่ ๓ ของวรรคที่ ๔ (บางคร้ังผ่อนผนั ให้ สัมผัสกบั พยางคท์ ่ี ๑,๒,๔ หรอื ๕ ของวรรคท่ี ๔ กไ็ ด้) ๔. พยางค์สุดท้ายของวรรคสุดท้ายในบทที่ ๑ บงั คบั สมั ผัสกับพยางค์สุดทา้ ยของวรรคที่ ๒ ในบท ถดั ไป ตวั อยา่ ง การสมั ผสั บังคับ และการแบง่ วรรคในการอ่าน กลอนดอกสร้อย

แมวเอ๋ย/แมวขโมย 14 หนา ดซู ูบซีด/อดิ โรย/เสยี หนัก เดก็ ชายเกง่ /คนด/ี มเี มตตา สำราญ ให้ข้าวปลา/อ่มิ หนำ/แสน จากแมวโทรม/ถอดรูปแล้ว/เปน็ เเมวสวย แถมยงั ช่วย/จบั หนู/อยู่ในบา้ น กตญั ญ/ู รู้คุณ/รูท้ ำงาน ชีวติ ก/็ เบกิ บาน/สำราญเอย จตุ ภูมิ วงษ์แกว้ ๒.๓.กลอนสกั วา

15 ลักษณะกลอนสักวา คำว่าสักวา เขยี นเป็นสักรวากม็ ีคำว่าสักวาน้ีย่อมาจากสักวาทะ หรือ สกั วาทซี ง่ึ เป็นคำตรงกันขา้ มกบั คำปรวาทะ หรอื ปรวาทีเพราะในการเลน่ สักวานน้ั มกี ารโตต้ อบกนั เปน็ บทกลอนการเล่นสกั วาเปน็ การเล่นอยา่ งหน่งึ ของชาวไทยมมี าแตส่ มยั อยธุ ยาเมื่อถึงฤดูน้ำ มากนเทศกาลทอดกฐิน ทอดผ้าป่าและเท่ียวทงุ่ ในสมัยนน้ั ผมู้ ีบรรดาศกั ด์ติ ้ังแตเ่ จา้ นายลงมาจะ พาบรวิ ารซึ่งเป็นนักร้องทงั้ ต้นบทและลูกคู่ มีโทน ทบั กรบั ฉ่ิง ลงเร่ือไปเทย่ี วบางลำก็เป็นเรือชาย บางลำกเ็ ปน็ เรอื หญงิ เมือ่ ไปพบปะประชุมกันในท้องทงุ่ ต่างฝา่ ยก็คิดบทสกั วาร้องโต้ตอบ กันสักวานั้นต้องคิดเป็นกลอนสดโตใ้ ห้ทนั กนั ผูช้ ำนาญการประพนั ธเ์ ทา่ น้ันจงึ จะบอกบทสักวาได้ สักวานิยมเล่นกนั มาจนถึงรชั กาลท่ี ๕ กรุงรัตนโกสนิ ทร์ กฎกลอนสักวา ๑. กลอนสกั วาบทหนง่ึ มี ๘ วรรค หรอื ๒ คำกลอน วรรคหนึ่งใช้คำตั้งแต่ ๖-๙ คำ ถ้าจะ แต่งบทต่อไปตอ้ งข้ึนบทใหม่ ไมต่ ้องมีสมั ผัสเกย่ี วข้องกับบทต้น ๒. กลอนสักวาตอ้ งข้ึนตน้ ด้วยคำวา่ สกั วาและลงท้ายดว้ ยคำว่าเอย ๓.สมั ผัสและคงามไพเราะอ่นื ๆเหมือนกบั กลอนสุภาพ ๔.วิธีเลน่ สกั วาในปัจจุบนั ผดิ แผกไป จากเดิมเลก็ น้อย คอื ร้องบทไหวค้ รูด้วยเพลงพระทอง แบบโบราณ ให้เปน็ ตัวอยา่ งเพียงบทเดยี วบทต่อๆไปทง้ั บทเชิญชวนและบทเรือ่ งร้องเพลง ๒ ชน้ั ธรรมดาทงั้ น้ีเพอ่ื รกั ษาเวลาทม่ี ีเพยี งประมาณ ชั่วโมงครง่ึ เท่านนั้ และเพิ่มรสในการฟังเพลงโดย เพ่ิมวงป่ีพาทยไ์ มน้ วมสำหรับคลอเสียงด้วย การเลน่ กแ็ สดงกนั บนเวทีมกี ระดานดำ ๕ แผน่ เรยี งกัน ดา้ น หลัง มคี นเขยี นกลอนสกั วาตามคำบอกแผ่นละคน ผ้บู อกสักวาน่ังประจำโตะ๊ คนละโต๊ะ อยู่ หน้าเวทีใกลก้ ับคนร้องของตน แทนการนัง่ ในเรอื คนละลำอย่างโบราณ ตวั อย่างกลอนสกั วา สกั วาหวานอ่ืนมีหม่ืนแสน ไมเ่ หมือนแมน้ พจมานท่ีหวานหอม กลิ่นประเทียบเปรยี บดวงพวงพะยอม อาจจะน้อมจติ โนม้ ด้วยโลมลม แมน้ ล้อลามหยามหยาบไมป่ ลาบปล้มื ดังดูดดมื่ บรเพ็ดตอ้ งเข็ดขม

16 ผ้ดู ไี พร่ไมป่ ระกอบชอบอารมณ์ ใครฟังลมเมนิ หน้าระอาเอย ๒.๔.กลอนเสภา เปน็ คำประพนั ธ์ชนดิ หนึ่ง ซึ่งแตง่ เพอื่ ใช้ขับ เพราะใช้เป็นกลอนขับ จงึ กำหนดคำไม่แนน่ อน มุ่งการขบั เสภาเป็นสำคญั จึงใช้คำ ๗ คำ ถึง ๙ คำ การส่งสัมผสั นอกเหมือนกับกลอนสภุ าพ แต่ไม่บังคับหรอื ห้ามเสยี งสงู ตำ่ ตามจำนวนคำแตล่ ะวรรค อยู่ในเกณฑก์ ลอน ๗-๙ เช่น เสภาขนุ ช้างขุนแผน มีแผนผังและตัวอย่างดังนี้

17 ๒.๕.กลอนเพลงชาวบา้ น เปน็ คำคลอ้ งจองทางกาพย์ กลอนแปดทีช่ าวบา้ นแต่งขึน้ หรือพูนข้นึ มลี กั ษณะกระทดั รัด ใจความสมบูรณ์ ทเ่ี ป็นลายลกั ษณ์อักษรนั้นมนี อ้ ยมาก ส่วนมากนน้ั จะเปน็ การผกู ขึ้นในใจแลว้ บอก ใหผ้ ู้อืน่ รับรู้ มกี ารสรา้ งอักเตรสในหลายรูปแบบมีดงั นี้ ๑. ประเภทดดุ ่าเหตุการณ์ที่เกดิ ขน้ึ ในสมัยนัน้ : ดังตวั อยา่ งในคำกลอนดงั ต่อไปนี้ \"ถึงเดอื นสิบปรี ะกาพระโคกหัก ทำฤทธ์ยิ ักษ์ชิงลามือควา้ ขวาน ตีหวั เณรถงึ แตกแหกรา้ วราน ทา่ นสมภารอยไู่ ม่ได้ภายนอกครอง\" วดั โคกหกั อยู่ในตำบลโตนดดว้ น อำเภอควนพนู จังหวัดพทั ลุง นายหนู ขา้ วหอมเสอ้ อยตู่ ำบลเคียง กันเป็นผแู้ ตง่ \"วา่ สิรสิ บิ ตรีนำ ยิงดำหัวแบรนอบแบ้ขา\" ขุนโจรดำหัวแพร ถกู จา่ ตำรวจสิริ แสงอไุ ร กับสิบตำตรวจตรีนำ นาคะวโิ รจน์ยงิ ตายทบี่ า้ นหนองช้างคลอดตำบล โตนดดว้ น อำเภอควนขนนุ จังหวัดพทั ลงุ มี พ.ศ. ๒๔๖๒ \"ท่บี อโดบอดวนยา่ นยอแดง อดกนั หรอขึน้ กินสิน้พี รา้ วเหมอ\" กล่าวถึง

18 ความอดยากของชาวบา้ นบอ่ โด บ่อควน บ่อแดง อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา สมัยสงครามโลก ครั้งที่ ๒ ผแู้ ตง่ โดยนายแดง ชาวอำเภอระโนด จงั หวัดสงขลา เปน็ ต้น ๒. ประเภท ประชดประชนั เสียดสี เปรียบเปรย ผกั ดีปลาดหี วาย (ถวาย) ชีวัดนอก ขไ้ี มอ่ อกเยี่ยวไม่ออกบอกชวี ัดใน\" วัดปรางหมู่\" ตัง้ อยใู่ นอำเภอเมอื งพัทลุง จงั หวดั พทั ลงุ โดยมี ๒ วดั วัดปรางหมใู นมีหลวงพ่อส่งเปน็ เจ้าอาวาส เป็นหมอยา หมอดฤู กษด์ ูยาม เป็นช่างโลงศพ จรวด ดอกไม้ อ้ายตมู มคี นมาหาเก่ียวกับงานศพ หรอื ยามเจ็บไขอยเู่ สมอ วัดปรางหมู่นอกอยู่ทางทิศตะวนั ออกหา่ งกันประมาณ ๒ เส้น (ปจั จุบันมี ถนนสางควรขนนุ พทั ลุงผา่ นกวาง สมยั ทา่ นครูอินทโมฬีเจา้ อาวาส ไดม้ ีคนนำภัตตาหาร ไปถวายไม่ ขาดหลวงพ่อเลยแต่งกลอนประชดชาวบ้าน ความว่า \"กลองหนงั โนรา ดังกว่ากลองวัด\" (เป็นการประชดประชันชาวบ้านท่ไี ปสนใจดูโนราดูหนังตะลงุ น้ันหมายถงึ ว่าการเขา้ วดั ในเฉพาะที่ จะทำบุญทำทานเท่าน้นั ) ๓. ประเภทความเชอื่ ดังตัวอย่างต่อไปน้ี \"หา้ มเผาผีวันศกุ ร์ ห้ามโกนจกุ วันองั คาร ห้ามแตง่ งานวันพุธ\" (ตามลักษณะความเชื่อดงั กลา่ วมีความเชื่อวา่ ถ้าทำงานในวันที่ห้ามกจ็ ะเกิดโทษ หรือมอี ันเป็นไป อย่างใดอย่างหน่ึงและถือปฏิบัติจนถงึ ทกุ วนั น้ี) ตัวอยา่ งเชน่ วนั ทักทิน เป็นวันรา้ ย ห้ามมใิ หท้ ำการ วนั ทกั ทิน ใครทำการใด เช่น แต่งงาน ขึน้ บา้ นใหม่ จะเกดิ โทษ ไดแ้ ก่ วันอาทติ ยข์ ึน้ ๑ ค่ำ แรม ๑ คำ วันจันทรข์ ้ึน ค่ำแรม ๔ ค่ำ วันองั คารขึน้ ๕ ค่ำ แรม ๕ ค่ำ วันพธุ ข้นึ ๙ คำ่ แรม ๙ ค่ำ วันพฤหัสบดี ๖ คำ่ แรม ๒ คำ่ วันศกุ ร์ข้นึ ๘ คำ่ แรม ๘ คำ่ วันเสาร์ ๙ คำ่ แรม ๙ ค่ำ * ตวั อย่าง (ในการคบเลือกคน) จนี คำ เทศขาว สาวพุงใหญ่ ไทย ตาเหล่ เข้หวงก้งั ห้ามไปพบประสมาคมบคุ คลประเภทน้ี ไว้ใจไม่ได้ และห้ามเขา้ ใกล้จะเขท้ มี่ หี าง กดุ ปลายหมอ เป็นจระเข้ทด่ี รุ า้ ย ตวั อยา่ งการทำกจิ กรรม (\"การนาค ซากผี การนางชสี บิ เท่า การ

19 บ่าวสารไดบ้ ุญหวา\") คอื เช่ือกันวา่ การไปช่วยงานแต่งงานนัน้ จะได้อนิสงฆ์ มากกว่าทจี่ ะไปช่วย ดา้ นอ่นื ๆ ๔. ประเภทตเี ตอื นใจ \"เมือ่ แมวอยู่หนูเปรียบเงียบสงดั เมอื่ แมวลัดหลีกไปไกลสถานฝ่ายพวกหนู กรกู ราววิ่ง ร้าวรานเสียงสะท้อนหวั่นไหวอยใู่ นครัว (ผูแ้ ตง่ คือ มหาสมนกึ ครูสอนบาลีวดั สวุ รรณ แต่งข้นึ เพื่อเตอื นสตใิ หน้ ักเรยี นอย่ใู นความเรียบร้อย เมอื่ ไม่มีครสู อน) \"ปากบ่อเล็กกินได้ไม่รูเ้ บือ่ กินส้ินเรอื สิ้นบางส้ินไมก้ อ กนิ เปน็ เงนิ เป็นทองลายคลอ้ จอง กินววั มงลกู เต้ากินข้าวปลา (ผ้แู ตง่ นายแดง ชาวอำเภอระโนด จังหวดั สงขลา เป็นผู้แต่งเพอ่ื เตอื นสตใิ นการเลน่ การพนนั เปน็ จุดให้หมดเนอื้ หมดตัว) ฯลฯ ประเภทอปุ มาปไมย เป็นข้อคิดเตอื นใจ \"เยี่ยวเหมือนเสยี งป่ี ขี้เหมอื นยอดเทริด แสดงถึงผูน้ ้นั มีสขุ ภาพสมบรู ณ์ รอ้ นเหมอื นไฟเดือนห้า รา้ ยเหมือนฟ้าเดือนหก หมายถงึ ร้อนมากและรา้ ยมาก

20 บทท๓่ี วิธีการศกึ ษาค้นคว้า ขั้นเตรยี ม ๑. เตรยี มหวั ขอ้ กลอนที่จะศกึ ษาค้นคว้า ๒. เตรียมเลือกหัวข้อกลอนทเ่ี ปน็ กลอน ๓.ศกึ ษารายละเอียดของกลอน ขนั้ ดำเนนิ การ ๑.ศึกษาการทำเว็บไซค์ ๒.ตกแตง่ ภาพเพื่อนำไปประกอบลงบนเว็บไซค์ ๓.ศกึ ษาการใสข่ ้อความลงบนเว็บไซค์ ๔.ทำการเชอ่ื มโยงเวบ็ ไซค์ ๕.หาประวัตขิ องกลอน ๖ หาฉันทลกั ษณ์ของกลอน ๗. หาตวั อย่างกลอน ๘. ประวัติผู้ทำเวบ็ ไซค์

21 บทท่๔ี ผลการศึกษาค้นคว้า การจดั ทำโครงงานคอมพวิ เตอร์ การพัฒนาเว็บไซต์เพอ่ื การศึกษา เรือ่ ง เวบ็ ไซตภ์ าษาไทย น้ี สรุปผลการดำเนนิ งานโครงงานและข้อเสนอแนะ ไดด้ งั นี้ ๑. สรุปผลการพัฒนาเว็บไซต์ ผู้จดั ทำไดพ้ ฒั นาเวบ็ ไซต์เพือ่ การศกึ ษา เร่ือง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (Hardware) ซ่ึงมีรายละเอยี ด ดังน้ี ๑.๑เน้ือหาบทเรียน ๑.๒ แบบทดสอบ ๑.๓ ขอ้ สอบ ๒. การทดสอบการพฒั นาเว็บไซต์ ในการทดสอบ การพัฒนาเว็บไซต์เพอ่ื การศกึ ษา เรอ่ื ง เวบ็ ไซต์ภาษาไทย ผจู้ ดั ทำไดใ้ ชว้ ิธกี าร ทดสอบ โดยผจู้ ัดทำ ทดสอบการเลือกใชเ้ มนตู ่าง ๆ การทำแบบทดสอบ การศึกษาเนอ้ื หา ข้อมลู ที่ นำมาทดสอบเปน็ ทัง้ ข้อมลู ท่ถี กู ตอ้ งและข้อมูลท่ีผดิ พลาด จากการทดสอบ พบว่าเว็บไซตเ์ พ่อื การศึกษา เรอ่ื ง เว็บไซตภ์ าษาไทย ทไี่ ดพ้ ัฒนาข้นึ นี้สามารถ ทำงานได้ครบความตอ้ งการของผใู้ ช้ คอื เนือ้ หาบทเรียน แบบทดสอบ ข้อสอบ ๓. ผลการประเมนิ ประสิทธิภาพ ผลการประเมนิ ประสิทธภิ าพของการพัฒนาเว็บไซต์เพอ่ื การศึกษา เรื่อง เว็บไซต์ภาษาไทย มี คา่ เฉลี่ยรวม อยใู่ นระดบั ทด่ี ี

22 บทท๕ี่ สรปุ อภปิ รายและข้อเสนอแนะ จากการจดั ทำโครงงานภาษาไทยเร่ือง คำกลอน ไดศ้ ึกษาขอ้ มูลจากหนงั สือ วารสารอนิ เตอร์เนต็ และ โดยมีวตั ถุประสงค์ เพอ่ื ศกึ ษาฉันทลักษณ์ขอของคำประพันธ์ไทย เพ่อื ให้ผูอ้ า่ นเห็น ความสำคัญและครุ ค่าของกลอนแปด เพื่อให้ผูอ้ ่านศึกษาหาความรู้ เพื่อให้ผูอ้ ่านนำความร้ทู ่ีไดไ้ ปใช้ประโยชน์ เพอ่ื อนรุ กั ษแ์ ละสืบสานภาษาไทย

บรรณานุกรม ภาษาไทย หนังสือ ช่ือผแู้ ตง่ หนงั สือ สถาพร ฉันทป์ ระสูตร หนงั สือ เคล็ดวิชาโครง พิมพค์ รัง้ ท่ี๒ ปีท่ีพิมพ์๒๐๑๗ ชอื่ ผแู้ ต่งหนงั สอื ยุทธ โตอดิเพทย,์ สธุ ีย์ พุ่มกมุ าร หนังสอื คูม่ อื เรียนเขียนกลอน สำนักพมิ พ์ แมค่ ำ ผาง,สนพ. ปีที่พมิ พ๒์ ๐๑๖

ภาคผนวก

ประวตั ิผูจ้ ดั ทำ ชอ่ื เรือ่ ง(คำประพนั ธ์ไทยประเภทคำกลอน) ๑.นายอภริ กั ษ์ เวชรัตน์ ประวัตสิ ่วนตวั เกิด วนั ที่๑๓ มีนาคม พทุ ธศักราช๒๕๖๓ อายุ๑๓ปี ทอี่ ยู่ ๑๐๙ หมู่ท๓ี่ ตำบลนาหมืน่ ศรี อำเภอนาโยง จังหวดั ตรงั ประวัตกิ ารศกึ ษา พุทธศักราช๒๔๖๐ ช้นั ประถมศึกษาปีท๖ิ โรงเรยี นวัดควนวิเศษ พุทธศักราช๒๕๖๓ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ๓่ี โรงรีสภาราชนิ ี จังหวดั ตรงั




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook