จดหมายขา่ ว : NEWSLETTER กองยทุ ธศาสตร์การพฒั นาระบบโลจสิ ติกส์ Last-mile Delivery การจดั สง่ ขน้ั สดุ ทา้ ย โครงการศกึ ษาตน้ ทนุ โลจสิ ตกิ สท์ างการเกษตร โดย สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข่าวสารโลจิสติกส์ ข่าวสารบ้าน กลจ. สถิติด้านโลจิสติกส์ไทย เกรด็ ความรดู้ า้ นโลจิสติกส์ ปีท่ี 4 ฉบบั ที่ 2 เดอื นพฤษภาคม-สงิ หาคม 2564 Vol.4 No.2 May-August 2021 จดหมายขา่ วโลจสิ ตกิ ส์
บทบรรณาธกิ าร จดหมายขา่ ว กองยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาระบบโลจสิ ตกิ ส์ ปั จ จุ บั น โ ล ก อ ยู่ ใ น ยุ ค ข อ ง ก า ร ต่ อ ย อ ด แ ล ะ ผ ส า น ปที ่ี 4 ฉบบั ท่ี 2 เดอื นพฤษภาคม – สิงหาคม 2564 เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมสมัยใหม่ที่นามาปรับใช้ในกิจกรรมทาง จดหมายข่าวกองยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ เศรษฐกิจและการดารงชีวิตของประชาชน โดยเฉพาะ โลจิสติกส์ (กลจ.) เป็นเอกสารสื่อสารความรู้และ การปรับเปล่ียนรูปแบบการค้าไปสู่ระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ พัฒนาการด้านการขนส่งและโลจิสติกส์ รวมทั้งผล (E-commerce) ที่มีความก้าวหน้าและได้รับความนิยม การด าเนินการของกองยุทธศาสตร์การพัฒนา อย่างแพร่หลาย ส่งผลให้กิจกรรมการจัดส่งข้ันสุดท้าย (Last- ระบบโลจิสติกส์ ทั้งนี้ เนื้อหาในจดหมายข่าวเป็นเพียง mile delivery) ซ่ึงเป็นกิจกรรมโลจิสติกส์รูปแบบหนึ่งต้อง ข้อคิดเห็นของผู้เขียนเท่านั้น ท่านที่ประสงค์จะส่ง ปรับเปล่ยี นเพื่อรองรับพฤติกรรมผู้บริโภค การพัฒนาเมือง และ บทความ หรอื เสนอข้อคดิ เหน็ โปรดติดต่อ รปู แบบการดาเนนิ ธุรกจิ ทเี่ ปล่ยี นแปลงไป กองยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาระบบโลจสิ ตกิ ส์ กองยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ (กลจ.) สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ ได้จัดทาจดหมายข่าว กลจ. ฉบับนี้ เพ่ือนาเสนอเร่ืองราวของ และสงั คมแห่งชาติ การจัดส่งข้ันสุดท้ายในรูปแบบต่าง ๆ และแนวโน้มการพัฒนา 962 ถนนกรงุ เกษม แขวงวัดโสมนัส เทคโนโลยีและนวัตกรรมในอนาคต และในโอกาสนี้ ได้รับ เขตปอ้ มปราบศัตรพู ่าย กรุงเทพฯ 10100 ความร่วมมือจากสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวง หรอื ส่งอีเมล์มาที่ [email protected] เกษตรและสหกรณ์ เสนอบทความพิเศษเรื่อง โครงการศึกษา เว็บไซต์ http://bit.ly/LSO-NESDC ต้นทุนโลจิสติกส์ทางการเกษตร ซึ่งเป็นการศึกษาต้นทุน โลจิสติกส์ของสินค้าข้าว ปาล์มน้ามัน และสับปะรดโรงงาน ท่ีปรกึ ษา สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ ของประเทศไทย ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2560-2565) ในการสร้าง ดนุชา พชิ ยนนั ท์ มูลค่าเพิ่มและการบริหารจัดการตลอดท้ังห่วงโซ่อุปทาน ทั้งนี้ ธิดา พทั ธธรรม คณะผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจดหมายข่าว กลจ. จะเป็น สุนทราลักษณ์ เพช็ รกลู ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ผู้ อ่ า น แ ล ะ พ ร้ อ ม รั บ ฟั ง ข้ อ คิ ด เ ห็ น เ พ่ื อ ใ ช้ ประกอบการปรับปรงุ จดหมายข่าวให้ดยี ิง่ ขน้ึ ตอ่ ไป คณะผจู้ ดั ทา กองยุทธศาสตร์ การพฒั นาระบบโลจิสติกส์ จดหมายขา่ วโลจสิ ตกิ ส์
สารบญั 04 L a s t - m i l e D e l i v e r y ก า ร จั ด ส่ ง ขั้ น สุ ด ท้ า ย 08 โ ค ร ง ก า ร ศึ ก ษ า ต้ น ทุ น โ ล จิ ส ติ ก ส์ ก า ร เ ก ษ ต ร กองนโยบายและแผนพัฒนาการเก ษตร สานักงานเศรษฐกิจ การเก ษตร กระทรวงเก ษตรและสหกรณ์ 11 ข่ า ว ส า ร โ ล จิ ส ติ ก ส์ 12 ข่ า ว ส า ร บ้ า น ก ล จ . ส ถิ ติ ด้ า น โ ล จิ ส ติ ก ส์ ไ ท ย 13 เ ก ร็ ด ค ว า ม รู้ ด้ า น โ ล จิ ส ติ ก ส์ Logistics Fun Facts จดหมายขา่ วโลจสิ ตกิ ส์
Last-mile Delivery ก า ร จั ด ส่ ง ข้ั น สุ ด ท้ า ย Last-mile delivery หรือ เกร็ดความรู้ การจัดส่งขั้นสุดท้ายหรือการส่งมอบไมล์สุดท้าย คือ การจัดส่งขั้นสุดท้าย กิจกรรมขนส่งที่สาคัญก่อนท่ีลูกค้าจะได้รับสินค้า ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ เป็นการดาเนนิ งานส่วนสดุ ท้ายของการจัดการโซ่อุปทาน ตอนต้น ที่สินค้าจะถูกขนส่งจากคลังสินค้าไปยังปลายทางหรือ หนา้ ประตูบ้านของลูกค้า โดยมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบ การจัดส่งขั้นสุดท้ายในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น เริ่มต้นจาก การให้บริการตามพฤติกรรมการบริโภคและรูปแบบ การเป็นพ่อค้าเร่หรือพ่อค้าคนกลางของพ่อค้าชาวจีน ซึ่งให้บริการนา การค้าในแต่ละยุคสมัย ซ่ึงปัจจุบันความก้าวหน้าของ สินค้าไปยังท่ีห่างไกลหรือจัดส่งไปยังที่พักของประชาชน เช่น สุรา ฝิ่น นวัตกรรมและเทคโนโลยีท่ียกระดับรูปแบบการค้าไปสู่ เกลือ กระเทียม หมากพลู เสื้อผ้า เป็นต้น เพื่อแลกเปลี่ยนหรือขายกับ ช่องทางพาณิชยอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ทาให้ผู้ผลิตและผู้บริโภค ประชาชน โดยใช้การขนส่งทางน้าเป็นหลัก เนื่องจากสามารถขนส่งได้ สามารถซ้ือขายสินค้าระหว่างกันในตลาดออนไลน์ ในปริมาณมาก จึงเปรียบเหมือนตลาดเคล่ือนที่ เม่ือพายเรือผ่านบ้านใด ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ส่งผลให้ผู้ประกอบการ ก็มักจะส่งสัญญาณ ด้วยการบีบแตรหรือเป่าเขาควาย เพื่อบอกให้รู้ว่า จาเป็นต้องพัฒนาและปรับเปลี่ยนรูปแบบ Last-mile ได้นาสินค้ามาขายแล้ว ซึ่งต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า delivery ให้สอดรับกับทิศทางและรูปแบบการบริโภค เจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) ไทยเริ่มติดต่อค้าขายกับชาติตะวันตกมากขึ้น ที่เปลย่ี นแปลงไป และมีการพัฒนาไปเป็นร้านค้าท่ีเรียกว่า “ห้าง” และแพร่หลายในรัชสมัย ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลท่ี 4) ซ่ึงเป็นผลจาก การสร้างถนนและขุดคลองข้ึนหลายสายในกรุงเทพมหานครฯ โดยห้าง มักต้ังอยู่ในพื้นที่ชุมชนต่าง ๆ ซึ่งประชาชนจะเดินทางมาเพื่อซื้อสินค้า และขนส่งสินค้าข้ันสุดท้ายด้วยตนเอง ทมี่ า: www.saranukromthai.or.th นอกจากนี้ สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 เป็นปัจจัยเร่งให้การบริโภคผ่านช่องทางออนไลน์ มีปริมาณเพ่ิมมากข้ึนจากสถิติการจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เมื่อพจิ ารณาพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต พบว่า ในปี 2563 พบวา่ มีผู้ขอจดทะเบียนเป็นผู้ค้าออนไลน์จานวน 12,883 กอ่ นการแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ราย เพ่ิมขึ้นประมาณร้อยละ 20 จากปี 2562 ในขณะเดียวกัน การซื้อสินค้าออนไลน์ทั่วโลกเติบโตอย่างต่อเนื่องที่ หน่วยงาน Economic Intelligence Center (EIC) ของธนาคารไทย ร้อยละ 4.5 ต่อปี ในขณะท่ีพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ต พาณิชย์ ได้คาดการณ์ว่าในปี 2563 ธุรกิจขนส่งสินค้าจะมีมูลค่าถึง ในประเทศไทยในช่วงทศวรรษท่ีผ่านมา (ปี 2552- 6.6 หม่ืนล้านบาท หรือเติบโตขึ้นประมาณร้อยละ 35 จากปี 2562 2562) มีการใช้อินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้นกว่าร้อยละ 150* โดยบริษัท ไปรษณีย์ไทย จากัด ครองส่วนแบ่งตลาดการขนส่งสินค้า หรือกว่า 47.5 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 70 ของจานวน สูงสุดท่ีร้อยละ 55 รองลงมาเป็นบริษัท เคอร่ี เอ็กซ์เพรส จากัด ประชากรทงั้ หมด นอกจากนี้ มูลค่าพาณชิ ยอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ที่ร้อยละ 30 สาหรับธุรกิจบริการจัดส่งอาหารและสินค้าขายปลีก ประเภทธุรกิจสู่ผู้บริโภค (Business-to-customer (Food and grocery delivery services) มีอัตราการเติบโตสูงขึ้น หรือ B2C) ของไทยเติบโตสูงที่สุดในอาเซียน คิดเป็น เช่นกัน อาทิ บริษัท แกร็บ (ประเทศไทย) จากัด เติบโตสูงข้ึน 2 เท่า มลู ค่ากว่า 46.51 พนั ลา้ นดอลลาร์สหรฐั ฯ และ บริษัท ฟู้ดแพนด้า (ประเทศไทย) จากัด มียอดคาสั่งซื้อสูงขึ้น (ข้อมูลจากการสารวจ Thailand Internet User เป็น 10 เท่าเม่ือเทียบกับปี 2562 และมีแนวโน้มที่จะยังคงเติบโต Behavior 2019 โดยสานักงานพัฒนาธุรกรรมทาง ต่อไปอย่างต่อเน่ือง โดยคาดว่าจะส่งผลให้ธุรกิจการให้บริการจัดส่ง อเิ ล็กทรอนิกส์ หรือ ETDA) ขนั้ สุดท้ายเตบิ โตขึ้นอยา่ งรวดเร็ว จดหมายขา่ วโลจสิ ตกิ ส์ 4
Last-mile Delivery ดงั นั้น จะเหน็ ได้ว่าการจัดส่งข้ันสุดท้ายเป็นกิจกรรมโลจิสติกส์ที่ทวีความสาคัญท้ังด้านมูลค่าการซื้อขายท่ีผ่านระบบออนไลน์และ การจ้างงานที่เพิ่มข้ึน สนับสนุนการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ จดหมายข่าวฉบับน้ีจึงนาเสนอรูปแบบทางเลือก ของการจัดส่งข้ันสุดท้าย รวมถึงโอกาสการเติบโตและเทคโนโลยีในอนาคตท่ีจะเป็นประโยชน์แก่ทุกภาคส่วนท่ีเก่ียวข้อง สามารถพจิ ารณานาไปปรับใชใ้ นการวางแผนและกาหนดแนวทางการปฏบิ ตั ิตอ่ ไป รปู แบบทางเลอื กของการจดั ส่งข้นั สดุ ทา้ ย (Last-mile logistics fulfillment options) ปัจจุบันรูปแบบทางเลอื กของการจดั สง่ ข้ันสุดท้ายมีหลากหลายรูปแบบมากข้ึน เพ่ือรองรับไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภคที่เปล่ียนแปลงไป สามารถแบ่งออกเป็น 6 รปู แบบ ดงั นี้ 1 การซ้ือของท่ัวไป (Conventional Shopping) ผูบ้ ริโภคจะเดินทางไปซ้อื สินคา้ ที่รา้ นค้าปลีกและรบั ผิดชอบการขนสง่ ข้นั สดุ ท้ายด้วยตนเอง ดว้ ยการขับรถยนต์สว่ นตัว ใชร้ ะบบขนสง่ สาธารณะ หรือเดนิ ไปซ้ือสนิ คา้ ที่รา้ น 2 การจัดส่งไปยังจุดรับ ณ สาขาของร้านค้า (Click and Collect) ผู้บริโภค จะสง่ั ซือ้ สินค้าผา่ นชอ่ งทางออนไลน์ โดยสินค้าท่ีส่ังซื้ออาจมีจาหน่ายแล้วที่ร้านค้าหรือ เป็นการส่งสนิ คา้ จากคลงั สินค้าไปยงั สาขาของร้านคา้ จากนั้นผขู้ ายจะจัดสง่ สนิ คา้ ไปยัง สาขาทีล่ ูกคา้ เลือกรับสินค้า ระยะทางการขนส่งเหมือนกับการเดินทางไปซื้อของท่ัวไป แต่ใช้เวลาน้อยลงจากการส่ังซื้อออนไลน์ ซ่ึงการจัดส่งรูปแบบนี้มักใช้กับร้านค้าปลีก หรอื สนิ คา้ อปุ โภคบรโิ ภคอนื่ ๆ 3 การจัดส่งไปยังจุดรับสินค้าด้วยตนเอง (Pickup Points) เม่ือผู้บริโภคสั่งซื้อ สินค้าทางออนไลน์ สินค้าจะถูกจัดส่งไปยังจุดรวบรวมและกระจายสินค้า (Point of Consumption: POC) ซึ่งมักต้ังอยู่บริเวณร้านค้าหรือซุปเปอร์มาร์เก็ตใกล้บ้าน โดยผูบ้ รโิ ภคสามารถรบั สนิ ค้า ณ จุดรวบรวมและกระจายสนิ ค้าท่ใี กลท้ ส่ี ดุ 4 การจัดส่งไปยังจุดตั้งตู้ล็อกเกอร์ (Locker Stations) ลักษณะคล้าย การจัดส่งไปยังจุดรับสินค้าด้วยตนเอง แต่มีข้อได้เปรียบคือการรับสินค้าจะ ไม่ข้นึ อย่กู บั เวลาทาการของรา้ นคา้ โดยตู้ล็อกเกอร์มักเป็นของผู้ให้บริการขนส่งหรือ ผคู้ า้ ปลกี ออนไลนแ์ ละต้ังอยใู่ กล้สถานทส่ี าคญั อาทิ สถานรี ถไฟ สนามบิน 5 การจัดส่งถึงบ้าน (Home Deliveries) ภายหลังที่ผู้บริโภคส่ังซ้ือสินค้า ผ่านช่องทางออนไลน์ ผู้ให้บริการขนส่งจะจัดส่งสินค้าไปยังบ้านของผู้บริโภค โดยตรง ซึ่งเวลาการจัดส่งสินค้าจะต้องสอดคล้องกันทั้งผู้ให้บริการขนส่งและ ผู้บริโภค ท้ังน้ี มีปัจจัยข้อจากัดทม่ี สี ่งผลกระทบต่อรูปแบบการจัดส่งถึงบ้าน ได้แก่ การจัดส่งท่ีล้มเหลวจากการท่ีผู้รับไม่อยู่บ้านทาให้ต้องจัดส่งใหม่ (Redelivery) รวมถึงอาจจะตอ้ งมกี ารส่งคนื สินคา้ (Returns) ไปยงั ผจู้ าหน่าย 6 การจัดส่งไปยังรถส่วนบุคคล (In-car Delivery) ภายหลังจากที่ผู้บริโภค สง่ั ซื้อสนิ ค้าทางออนไลน์ ผู้ให้บริการขนสง่ จะส่งมอบสินค้าไปยังรถยนต์ส่วนบุคคล ของผู้บริโภคท่ีต้องจอดรอในเขตเมือง ณ ช่วงเวลาหน่ึง อย่างไรก็ดี การให้บริการ รปู แบบนย้ี งั คงจากัดขอบเขตการให้บรกิ ารแก่ผู้บรโิ ภคในเขตเมืองใหญ่ 5 จดหมายขา่ วโลจสิ ตกิ ส์
Last-mile Delivery แนวโน้มความเป็นเมอื ง (Urbanization) การเตบิ โตของชนชนั้ กลาง และการจดั ส่งขน้ั สดุ ทา้ ย การเตบิ โตทางเศรษฐกิจของเมืองต่างๆ ทั่วโลก ส่งผลให้ ท่ีจะต้องมีการบูรณาการการกระจายสินค้าในเมืองอย่างเป็น ค่าจ้างแรงงานในเมืองอยู่ในระดับสูงดึงดูดคนจากพ้ืนที่อื่น ระบบ ด้วยนวัตกรรมสมัยใหม่ที่จะช่วยลดต้นทุนรวมของ ย้ายเข้ามาทางานในเมอื งมากขึ้น สง่ ผลใหแ้ นวโนม้ การขยายตวั การเคลื่อนย้ายสินค้าภายในเมือง อาทิ ระบบขนส่งอัจฉริยะ ของความเป็นเมืองสูงข้ึน โดยองค์การสหประชาชาติ (UN) (ITS) ซึ่งเป็นระบบวิเคราะห์เพ่ือใช้ในการบริหารจัดการและ คาดการณ์ว่า ในปี 2573 ประชากรโลกจะเพิ่มขึ้นสูงถึง 8.5 วางแผนการขนส่งและจราจร โดยระบบสามารถประมาณการ พันล้านคน และประชากรโลกราว 5.1 พันล้าน หรือมากกว่า เวลาที่ใช้ในการขนส่งและตรวจจับความผิดปกติบนท้องถนน รอ้ ยละ 60 ของประชากรทงั้ หมดจะอาศัยอยู่ในเมือง และคาดว่า ในขณะเดียวกัน จาเป็นต้องพัฒนาคลังสินค้าในเขตเมือง ความสามารถในการใช้จ่ายและการบริโภคจะเพ่ิมมากข้ึน (Urban warehouses) ให้เป็นศูนย์กลางการกระจายสินค้า สง่ ผลตอ่ ตลาดพาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกสใ์ นพืน้ ทเ่ี ขตเมอื งจะเตบิ โต (Hub & Spoke) เพื่อให้การจัดส่งขั้นสุดท้ายมีระยะทางท่ีส้ัน ขึ้นอย่างมากในทศวรรษหน้า ดังน้ัน การพัฒนาการขนส่ง สะดวก รวดเร็ว และทันต่อความต้องการของผู้บริโภค ข้ัน สุ ดท้ า ย ใน เขตเมื องจ า เป็น ต้ องว า ง แผ น การพั ฒ นา แ บ บ โดยเฉพาะความต้องการการจัดส่งภายในวันเดียวกัน (Same- องค์รวมสู่การเป็น “เมืองโลจิสติกส์ (City Logistics)” day delivery) หรอื การจัดสง่ ทนั ที (Instant delivery) การพฒั นาเทคโนโลยีและนวัตกรรมยานพาหนะไรค้ นขบั (Unmanned vehicles) การจดั สง่ ข้ันสดุ ทา้ ยสาหรบั อนาคต การเติบโตของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในระยะท่ีผ่านมา ชั้นนาในหลายประเทศ อาทิ สหรัฐอเมริกา เนเธอร์แลนด์ ทาให้ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ให้ความสาคัญในการประยุกต์ใช้ ญี่ปุ่น และจีน อยู่ระหว่างการพัฒนาและทดลองเทคโนโลยี เทคโนโลยีใหม่ๆ มากข้ึนเพื่อสร้างทางเลือกใหม่ในการจัดส่ง และนวัตกรรมยานพาหนะไรค้ นขบั สาหรบั การจัดส่งข้นั สดุ ทา้ ย ข้ันสุดท้ายให้แก่ผู้รับและช่วยให้ผู้ให้บริการโลจิสติกส์สามารถ เพื่อลดข้อจากัดการจัดส่งสินค้าในเขตเมือง อาทิ การจราจร ลดระยะเวลาและประหยัดต้นทุนการขนส่งและตอบสนองต่อ ติดขัด สถานท่ีจัดส่งที่ยากต่อการเข้าถึง โดยมีเทคโนโลยีที่อยู่ ความต้องการของลูกค้าทั่วทุกพ้ืนที่ด้วยความสะดวก รวดเร็ว ระหว่างการพฒั นาทนี่ า่ สนใจ อาทิ ปลอดภัย และคงคุณภาพของสินค้า โดยบริษัทเทคโนโลยี จดหมายขา่ วโลจสิ ตกิ ส์ 6
Last-mile Delivery ขบวนรถบรรทุกอัตโนมัติ (Truck Platooning System) เป็นการนาเทคโนโลยี Unmanned vehicles สมัยใหม่มาประยุกต์ใช้ร่วมกันกับรถบรรทุก โดยรถบรรทุกคันหน้าสุดมีคนขับ ในขณะท่ี รถบรรทุกคันท่ีว่ิงตามหลังจะไร้คนขับและได้รับการติดตั้งระบบควบคุมความเร็วใน การ ขับขี่ (Adaptive Cruise Control: ACC) สาหรับประมวลผลข้อมูลจากเรดาร์ คลื่นวิทยุ และกลอ้ ง เพือ่ ควบคมุ ความเร็วระหว่างการขบั ข่ีทเ่ี หมาะสม ปลอดภยั รวมท้ังติดตง้ั ระบบ ควบคุมรถให้อยู่ในเลน (Lane Keep Assist: LKA) ซึ่งจะช่วยควบคุมให้รถกลับไปยัง ช่องทางเดินรถ ซึ่งขบวนรถบรรทุกอัตโนมัติน้ีจะช่วยประหยัดต้นทุนโลจิสติกส์โดยรวม จากการประหยัดพลังงานที่เปน็ ผลจากการลดแรงตา้ นทานอากาศในการขับรถเป็นขบวน และลดจานวนคนขบั รถบรรทกุ อากาศยานไร้คนขับ (Unmanned Aerial Vehicle) หรือ โดรน (Drone) เป็นทางเลือกการขนส่งทางอากาศสาหรับอนาคต โดยเป็นพาหนะที่ทางานด้วยระบบ อัตโนมตั ิสามารถควบคมุ การทางานได้จากระยะไกล ทาให้สามารถจัดส่งถึงพ้ืนท่ีที่ยากต่อ การเข้าถึงจากการขนส่งด้วยวิธีปกติ ส่งผลให้การส่งมอบสินค้ามีความรวดเร็ว ปลอดภัย มีประสิทธิภาพ และประหยัดพลังงาน อย่างไรก็ดี เทคโนโลยีอากาศยานไร้คนขับ ในปัจจุบันยังคงมีข้อจากัดด้านระยะทาง โดยการจัดส่งจะขึ้นอยู่กับระยะทางท่ีสามารถ ควบคมุ ได้เทา่ นน้ั หุ่นยนต์ส่งสินค้าอัตโนมัติ (Automated Delivery Robot) เป็นหุ่นยนต์เคล่ือนที่ อัตโนมัติขนาดเล็ก สามารถเคล่ือนท่ีด้วยตนเองหรือมีการควบคุมด้วยมนุษย์ ปัจจุบัน มีการนาหุ่นยนต์ส่งสินค้าอัตโนมัติมาใช้แล้วในบางพื้นที่ อาทิ สนามบิน มหาวิทยาลัย โรงแรม และองคก์ รขนาดใหญ่ และในช่วงของการแพรร่ ะบาดของเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 ความต้องการหุ่นยนต์ส่งสินค้าเพ่ิมข้ึนอย่างรวดเร็ว เนื่องจากเป็นทางเลือกในการจัดส่ง สินค้าที่สามารถลดการสัมผัสกันระหว่างมนุษย์ได้ อย่างไรก็ดี หุ่นยนต์ส่งสินค้าอัตโนมัติ ยงั คงมีขอ้ จากัดดา้ นระยะทางเช่นเดยี วกับอากาศยานไรค้ นขับ นอกจากการพัฒนาเทคโนโลยีที่กล่าวมาข้างต้น ผู้ประกอบการจาเป็นต้องพัฒนาเทคโนโลยีด้าน การจัดการและการวิเคราะห์ข้อมูลให้ทันสมัยและ มีประสิทธิภาพควบคู่กัน เพื่อให้สามารถรองรับข้อมูล จานวนมากท่ีเกิดขึ้นระหว่างการขนส่งที่จะทาให้ การประมวลผลมคี วามแม่นยาสงู มีประสิทธิภาพสูงสุด ในการขนส่งสินค้าขั้นสุดท้าย รวมท้ังจาเป็นต้องมี การพัฒนาคลังสินค้าในเขตเมือง (Urban Warehouses) ให้เป็นศูนย์กลางการกระจายสินค้า ในขณะที่ภาครัฐ ควรส่งเสริมและพัฒนาการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ เพ่ือปรับเปล่ียนรูปแบบธุรกิจ (Digitalization) โดย การพัฒนาเทคโนโลยี 5G เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพ และรองรับการพัฒนาเทคโนโลยีในอนาคต และ สง่ เสรมิ การวจิ ยั และพฒั นาอตุ สาหกรรมด้านเทคโนโลยี นวัตกรรมด้านการขนส่ง เพ่ือลดต้นทุนการนาเข้า เทคโนโลยขี องผู้ประกอบการ รวมถึงเพ่ิมประสิทธิภาพ การกากับดูแลการดาเนินธุรกิจของผู้ประกอบการขนส่ง เพ่ือให้ผู้บริโภคได้รับประโยชน์สูงสุดจากการใช้บริการ จดหมายขา่ วโลจสิ ตกิ ส์ 7
โ ค ร ง ก า รศึ ก ษ า ต้ น ทุ น โล จิ ส ติ ก ส์ ก า รเ ก ษ ตร ก อ ง น โ ย บ า ย แ ล ะ แ ผ น พั ฒ น า ก า ร เ ก ษ ต ร สา นั ก ง า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ก า ร เ ก ษ ต ร ก ร ะ ท ร ว ง เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2560-2564) ได้ก าหนดกลยุทธ์ในการยกระดับการบริหารจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน ภาคเกษตรกรรม เพื่อสนบั สนนุ การสร้างมูลค่าเพิ่มและการบริหารจัดการตลอดทั้งห่วงโซ่อุปทาน จนถึงจดุ จาหนา่ ยสินคา้ สูผ่ บู้ รโิ ภค ดังนั้น ในปีงบประมาณ 2563 สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรได้จัดทาโครงการศึกษาต้นทุน โลจิสติกส์ของสินค้าเกษตร 3 ชนิด ได้แก่ ข้าว ปาล์มน้ามัน และสับปะรดโรงงาน เพื่อนาไปใช้ ในการกาหนดแนวทางการพัฒนา และการติดตามและประเมินผลการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ภาค เกษตร โดยมีแนวทางการศึกษา ผลการศึกษา ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ เชิงนโยบาย ดงั นี้ แนวทางการศกึ ษา พ้ืนทีด่ าเนินการแยกตามสนิ ค้าเกษตร 3 ชนดิ ครอบคลุมพื้นท่ี 13 จังหวดั ดังน้ี ข้าวขาว ปาลม์ นา้ มัน พษิ ณโุ ลก พจิ ติ ร สพุ รรณบรุ ี กระบ่ี นครศรีธรรมราช พระนครศรีอยธุ ยา นครศรธี รรมราช ข้าวหอมมะลิ สบั ปะรดโรงงาน เชียงราย นครราชสีมา อุบลราชธานี ประจวบคีรีขนั ธ์ ระยอง ราชบรุ ี ชลบรุ ี และพษิ ณโุ ลก การเก็บรวบรวมข้อมลู 345 ใช้แบบสอบถาม สาหรับการจัดเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ผลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการประเมิน ตัวช้ีวัดประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์สินค้าเกษตร (Agriculture Logistics Performance Index: ALPI) ตัวอย่าง ซง่ึ เปน็ การคานวณตามกจิ กรรมโลจสิ ติกสส์ ินค้าเกษตรตลอดโซ่อปุ ทาน กลมุ่ เปา้ หมาย เกษตรกร สถาบันเกษตรกร (สหกรณ์การเกษตร กลุ่มเกษตรกร และวิสาหกิจชุมชน) และสถานประกอบการ ที่ทาธุรกิจรวบรวมผลผลิตสนิ คา้ ทางการเกษตร ผลการศึกษา การประเมินประสิทธิภาพการบริหารจัดการโลจิสติกส์ สินค้าเกษตรครอบคลุมใน 3 มิติ ประกอบด้วย มิติต้นทุน เช่น ต้นทุนขนส่ง ต้นทุนคลังสินค้า และต้นทุนการจัดการ สินค้าคงคลัง มิติเวลา เช่น ระยะเวลาขนส่ง ระยะเวลา การจัดเก็บสินค้าคงคลัง และมิติความน่าเชื่อถือ เช่น อัตรา ความสญู เสยี ระหวา่ งการขนส่ง หรือการถูกตกี ลบั เป็นตน้ จดหมายขา่ วโลจสิ ตกิ ส์ 8
โครงการศึกษาต้นทุนโลจสิ ตกิ ส์การเกษตร มิติตน้ ทนุ มิตเิ วลา พิจารณาจากต้นทุนโลจิสติกส์ต่อยอดขายเฉลี่ยของ พิจารณาจากระยะเวลาในการจัดส่งสินค้าเฉล่ียของ กลุ่มเป้าหมาย (เกษตรกร สถาบันเกษตรกร และโรงงาน กลุ่มเป้าหมาย (เกษตรกร สถาบันเกษตรกร และโรงงาน แปรรูป) พบว่า สับปะรดโรงงานมีต้นทุนโลจิสติกส์ต่อ แปรรูป) พบว่า ข้าวหอมมะลิใช้เวลาเฉล่ียมากท่ีสุด 1.2 วัน ยอดขายเฉลี่ยมากทสี่ ดุ ทีร่ ้อยละ 10.41 ในขณะท่ีข้าวขาว ในขณะที่ข้าวขาวและปาล์มน้ามันใช้เวลาเฉลี่ย 1 วัน และ เฉลี่ยร้อยละ 8.59 ข้าวหอมมะลิเฉล่ียร้อยละ 6.90 และ สับปะรดโรงงานใช้เวลาเฉลีย่ 0.7 วนั ปาลม์ น้ามันเฉลย่ี รอ้ ยละ 8.89 มิตเิ วลา: ระยะเวลาในการจดั สง่ สินคา้ เกษตร (วนั ) ข้าวขาว เกษตรกรมีสัดส่วนต้นทุนโลจิสติกส์ ต่อยอดขายเฉล่ีย 18.31 สถาบันเกษตรกร 1.21ข้าววขานั วขา้ วหอมมะลิ ปาล์มน้ามนั เฉลี่ยร้อยละ 3.92 และโรงงานแปรรูปเฉล่ีย รอ้ ยละ 3.55 วนั 1 วัน ข้าวหอมมะลิ เกษตรกรมีสัดส่วนต้นทุน โลจิสติกส์ต่อยอดขายเฉลี่ย 13.01 สถาบัน สบั ปะรดโรงงาน เกษตรกรเฉล่ียร้อยละ 4.92 และโรงงาน 0.7 วัน แปรรูปเฉลยี่ รอ้ ยละ 2.78 ปาล์มน้ามัน เกษตรกรมีสัดส่วนต้นทุน มิตคิ วามน่าเชอื่ ถือ โลจิสติกส์ต่อยอดขายเฉล่ีย 9.42 สถาบัน เกษตรกรเฉล่ียร้อยละ 3.97 และโรงงาน พิจารณาจากอัตราความสามารถในการจดั ส่งสินค้าได้ครบ แปรรปู เฉลีย่ รอ้ ยละ 13.28 ตามจานวน อัตราความเสียหาย และอัตราสินค้าถูกตีกลับ สับปะรดโรงงาน เกษตรกรมีสัดส่วน โดยเป็นค่าเฉลี่ยของกลุ่มเป้าหมาย (เกษตรกร สถาบัน ต้นทุนโลจิสติกส์ต่อยอดขายเฉลี่ย 5.71 เกษตรกร และโรงงานแปรรูป) พบว่า สถาบันเกษตรกรเฉลี่ยร้อยละ 3.21 และ โรงงานแปรรปู เฉล่ยี ร้อยละ 22.32 1. อัตราความสามารถในการจัดส่งสินค้าได้ครบตาม จานวนเฉลี่ย ข้าวขาวร้อยละ 98.28 ข้าวหอมมะลิ หมายเหตุ ต้นทุนโลจิสติกส์สินค้าเกษตร ประกอบด้วยต้นทุน 4 ส่วน ได้แก่ ร้อยละ 99.63 น้ามันปาล์มร้อยละ 100 และสับปะรด 1) ต้นทุนขนส่ง 2) ต้นทุนการถือครองสินค้า 3) ต้นทุนบริหารคลังสินค้า และ โรงงานร้อยละ 98.26 4) ตน้ ทุนการบริหารจดั การ 2. อัตราความเสยี หายเฉลย่ี ข้าวขาวรอ้ ยละ 3.19 ข้าวหอม มะลิรอ้ ยละ 5.00 นา้ มนั ปาลม์ รอ้ ยละ 0.95 และสับปะรด โรงงานทร่ี ้อยละ 2.52 3. อัตราสินค้าถูกตีกลับเฉล่ีย ข้าวขาวร้อยละ 1.57 ข้าวหอมมะลิร้อยละ 0.35 น้ามันปาล์มร้อยละ 1.66 และสับปะรดโรงงานรอ้ ยละ 1.50 จดหมายขา่ วโลจสิ ตกิ ส์ 9
ท้ังน้ี หากพิจารณาด้านความเสียหายและการถูกตีกลับ โครงการศึกษาตน้ ทนุ โลจสิ ติกส์การเกษตร พบว่า ข้าวหอมมะลิมีค่าเฉล่ียมากที่สุดท่ีร้อยละ 5.35 ในขณะทป่ี าลม์ น้ามันมีคา่ เฉลี่ยนอ้ ยทส่ี ดุ ทรี่ อ้ ยละ 2.61 ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย ปญั หาอปุ สรรค หน่วยงานภาครัฐควรเร่งสร้างองค์ความรู้ด้าน การบรหิ ารจัดการระบบโลจิสติกส์ในระดับฟาร์ม จากการประเมินประสิทธิภาพการบริหาร จัดการ และการเพ่มิ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการสินค้า โลจสิ ติกส์สินค้าเกษตร พบวา่ ต้นทุนโลจสิ ตกิ สท์ ี่สาคญั คอื เกษตรให้แก่เกษตรกร รวมถึงควรให้ความสาคัญ ต้นทุนการขนส่งและต้นทุนมูลค่าความเสียหาย ซึ่งเกิดจาก ในการจัดทาแผนการถ่ายทอดการใช้เทคโนโลยี ก า ร ใ ช้ แ ร ง ง า น ค น แ ล ะ เ ค รื่ อ ง จั ก ร ก ล ก า ร เ ก ษ ต ร ที่ ไ ม่ มี และนวัตกรรมเพื่อการบริหารจัดการโลจิสติกส์ ประสิทธิภาพ ขาดสถานที่หรือส่ิงอานวยความสะดวก สินค้าเกษตรให้แก่เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ในการรักษาและจัดการคุณภาพผลผลิตก่อนส่งมอบไปยัง อย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ และส่งเสิมการใช้ โรงงาน รวมถึงระยะเวลาในการขนส่งที่ยาวนาน ทาให้ เทคโนโลยีดังกล่าว ผลผลติ ได้รับความเสียหาย ผู้ท่ีเก่ียวข้องในการจัดการสินค้าเกษตร ต้ังแต่ สาเหตุ ต้นทาง กลางทาง และปลายทาง ควรหารือถึง แนวทางการรวบรวมและรับมอบสินค้า รวมท้ัง เกษตรกรและสถาบันเกษตรกรส่วนใหญ่ขาดความรู้ การแบง่ ปนั ผลประโยชน์ร่วมกนั เพื่อพัฒนาคณุ ภาพ ความเข้าใจในการบริหารจัดการระบบโลจิสติกส์สินค้า สินค้า และลดต้นทุนโลจิสติกส์สินค้าเกษตร และ เกษตรเบื้องต้น รวมทั้งขาดทักษะในการใช้เทคโนโลยีหรือ กาหนดราคารบั ซอื้ ที่เปน็ ธรรมรว่ มกัน สิ่งอานวยความสะดวกด้านการจัดการโลจิสติกส์ที่มี หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องควรสนับสนุนการรวม ประสิทธิภาพ กลุ่มเกษตรกรรายย่อย เพื่อรวบรวมผลผลิตให้ ขาดการรวมกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการระบบโลจิสติกส์ เพียงพอต่อรอบการขนส่ง การส่งเสริมผู้ใช้บริการ ทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ โลจสิ ตกิ สก์ ารเกษตร (LSP) รวมถงึ การจัดระบบคิว เกษตรกรและสถาบันเกษตรกรมีข้อจากัดด้านแรงงาน เพ่อื ควบคมุ คุณภาพสนิ คา้ การเข้าถึงแหล่งทุน และมีหนี้สินจานวนมากเป็นส่วนใหญ่ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องควรสร้างแรงจูงใจและ สนับสนุนเงินทุนดอกเบ้ียต่าหรือปลอดดอกเบ้ีย ให้ แก่ เกษตรกร สถาบั นเกษตรกร และ ผู้ประกอบการ สาหรับใช้ลงทุนปรับปรุงและ เพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการระบบโลจิสติกส์ ในโซก่ ารผลิตของตนเอง จดหมายขา่ วโลจสิ ตกิ ส์ 10
ขา่ วสารโลจิสตกิ ส์ NLogeiswtic การรถไฟจับมือไปรษณีย์ไทย บุกตลาดขนส่งสินค้าในและต่างประเทศ พร้อมจัดต้ังศูนย์กระจายสินค้าร่วมกัน ขา่ วสด - เม่ือวันที่ 12 มีนาคม 2564 การรถไฟแหง่ ประเทศไทย (รฟท.) และบริษัท ไปรษณีย์ไทย จากัด (ปณท.) ได้ร่วมลงนาม บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ การใช้ทรัพยากรเครือข่ายที่มีอยู่ร่วมกันเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการให้บริการรับส่งสินค้า และ เสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กับระบบขนส่งโลจิสติกส์ของประเทศ สาหรับบริการที่จะร่วมดาเนินการช่วงแรก ได้แก่ บริการ นาจ่ายส่ิงของถึงมือผู้รับปลายทาง (ในประเทศ) บริการขนส่งส่ิงของทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ และการใช้พ้ืนท่ีของ การรถไฟฯ ในการขยายเครือข่ายท่ีทาการไปรษณีย์และหรือจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้า ตลอดจนบริการอื่นๆ เพิ่มเติมในอนาคต อยา่ งไรกต็ าม เชอื่ ว่า รฟท. และ ปณท. จะสามารถลดต้นทุนที่ซ้าซ้อน เกิดความคุ้มค่าในการจัดการ และทาให้ประชาชนได้รับ ความสะดวกในการใช้บริการรับส่งสินค้า ตลอดจนส่งผลดีต่อการพัฒนาระบบขนส่งโลจิสติกส์ของประเทศให้มี ศักยภาพ ในการแขง่ ขนั เพม่ิ ข้นึ ในระยะยาวตอ่ ไป ลาลามูฟ เดินเกมส์รุก เปิดตัวบริการใหม่ เร่ิมต้นเพียง 99 บาท ลดต้นทุนค่าขนส่ง ตอบโจทย์ทุกรูปแบบธุรกิจ ไทยพีอาร์ดอทเน็ต - ลาลามูฟ (LALAMOVE) ผู้ให้บริการขนส่งมืออาชีพ ให้บริการรับ-ส่งสินค้าตามความต้องการ On-demand delivery service) ตลอด 24 ช่ัวโมง บุกตลาดขนส่งเต็มสูบ ต้ังเป้าลดต้นทุนค่าขนส่งให้คู่ค้าทางธุรกิจและ ผปู้ ระกอบการรายยอ่ ย (SME) พร้อมเปิดตวั บรกิ ารใหม่ รถยนต์ 4 ประตู รถยนตอ์ เนกประสงค์ และรถกระบะ ราคาเร่ิมต้นเพียง 99 บาท เพอื่ ตอบโจทยธ์ ุรกจิ ทกุ รปู แบบ โดยให้บริการโลจิสติกส์ครบวงจร ครอบคลุมการขนส่งจากต้นทาง (First mile) ซ่ึงเป็น คลังสินค้า ไปยังผู้ใช้ปลายทาง (Last mile) นอกจากน้ี ยังสามารถกาหนดจุดส่งสินค้าปลายทางหลายจุดได้ในคร้ังเดียว ทาให้ ผู้ประกอบการสามารถบริหารจัดการต้นทุนค่าขนส่ง และเวลาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ให้ธุรกิจเติบโตอย่างต่อเน่ือง ไม่มีสะดุด ทุกชว่ งเวลา สถานีรถไฟนาประดู่ เปิดขนส่งสินค้าคอนเทนเนอร์ บนระบบรางเป็นวันแรก แนวหน้า - เมื่อวันท่ี 11 มีนาคม 2564 ศูนย์อานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ลงพื้นที่ ณ สถานีรถไฟ นาประดู่ อ.โคกโพธ์ิ จ.ปัตตานี ซึ่งมีการขนส่งสินค้าในรูปแบบตู้คอนเทนเนอร์บนระบบรางเป็นวันแรก และเป็นสถานีเดียว ในพื้นท่ี 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยทดลองขนส่งเฟอร์นิเจอร์จากบริษัทในพ้ืนท่ีส่งไปยังปลายทางสถานีรถไฟแหลมฉบัง จ.ชลบุรี น้าหนกั กว่า 8 ตัน ทั้งน้ี สถานีรถไฟนาประดู่มีศักยภาพและความพร้อมในการให้บริการขนส่งสินค้าภาคอุตสาหกรรม ของภาคเอกชนในพ้ืนท่ี สามารถลากตู้คอนเทนเนอร์บรรทุกสินค้าได้มากถึงวันละ 20 ตู้ เดือนละ 12,000 ตู้ เพื่ออานวย ความสะดวกในการกระจายสินค้าจาหน่ายและการส่งออก นอกจากน้ี รศ.ดร.บดินทร์ รัศมีเทศ รองเลขาธิการ ศอ.บต. เผยว่า รฐั บาลมเี ป้าหมายในการยกระดบั สถานีรถไฟนาประดูเ่ ป็นศนู ย์กลางการขนส่งสนิ คา้ ท้งั สินคา้ ทางการเกษตรและอุตสาหกรรม ข่าวต่างประเทศ ขนส่งจีน วางแผนเครือข่ายส่งเสริม Maersk ประกาศปฏิบัติการเรือขนส่งสินค้า China Airlines เปิดตัวบริการขนส่ง การเช่ือมต่อการค้าระหว่างประเทศ คาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ลาแรกภายในปี 2023 สินค้าท่ีอุณหภูมิตา่ ถึง -80°C บิสเนสทูเดย์ – จีนวางแผนการขยายและสร้าง Logistics Manager - A.P. Moller–Maersk Airfreight Logistics - สายการบิน China Airlines เครือข่ ายการขนส่งท่ี ทันสมัยภายในประเทศ สายการเดินเรอื และผใู้ ห้บรกิ ารโลจิสติกส์ชั้นนา เปิดเผย ซ่ึ ง มี ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ใ น ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ข น ส่ ง สิ น ค้ า เพื่อกระตุ้นการเชื่อมต่อ การแจกจ่ายและจัดสรร แผนการปฏิบัติการพาณิชย์นาวีท่ีลดการปล่อยก๊าซ ทางอากาศที่ต้องมีการควบคุมความเย็น โดยสินค้า ทรพั ยากรระหว่างประเทศ และการค้าระหว่างประเทศ คาร์บอน โดยประกาศเปิดตัวเรือขนส่งสินค้าท่ีมี ท่ีต้องอยู่ในสถานท่ีท่ีมีอุณหภูมิต่า จะถูกบรรจุไว้ใน ท่ัวโลก ภายใต้โครงการ “Global 1-2-3 Logistics การปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ลาแรกภายในปี ตู้เก็บสินค้าท่ีมีระบบทาความเย็นในตัว เพ่ือปกป้อง Circle” เพื่อขยายขีดความสามารถและความแข็งแกร่ง 2023 ซงึ่ เรว็ กว่ากาหนดการเดิมของบริษัทฯ ถึงเจ็ดปี สนิ ค้าจากการเปลีย่ นแปลงของอุณหภูมิ และ China ของภาคการขนส่งที่ทันสมัยมีคุณภาพ และเครือข่าย โดย Maersk เปดิ เผยวา่ เรือที่ส่ังประกอบใหม่ท้ังหมด Airlines ยังได้ลงนามในข้อตกลงร่วมกับผู้ให้บริการ ท่ีครบวงจรในอนาคต อีก 15 ปีข้างหน้า ซ่ึงแผนการ ในอนาคตจะได้รบั การตดิ ตัง้ เทคโนโลยีระบบเชื้อเพลิง ตู้เก็บ สินค้า คว บคุมอุ ณห ภูมิแ บ บ ไม่มี ระ บ บ ลงทุนสร้างเครือข่ายการขนส่งของจีนจะช่วยกระตุ้น ร่วม จะช่วยให้บริษัทฯ สามารถปฏิบัติการเรือได้ ทาความเย็นในตัวทั่วโลก เพื่อขยายบริการให้ อุตสาหกรรมโลจิสติกส์ โซ่อุปทานระหว่างประเทศ โดยมีการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ หรือใช้ ครอบคลมุ การส่งมอบสินค้าทต่ี อ้ งควบคุมอุณหภูมิให้ และเครือข่ายการขนส่งท่ีแข็งแกร่งยิ่งข้ึน โดยโครงการ เชื้อเพลิงเรือมาตรฐานแบบกามะถันต่า (VLSFO) ซ่ึง อยู่ในระดับที่ต่ามาก ซึ่งตู้เก็บสินค้า ดังกล่าว วางรากฐานสาหรับการก่อสร้างช่องทางเชื่อมต่อการขนส่ง เรือขนส่งสินค้าพลังงานเมทานอลลาแรก จะเป็นเรือ ไม่จาเป็นต้องใช้แบตเตอร่ี โดยมีการใช้แผงฉนวน ระหว่างภูมิภาค เอื้อประโยชน์ต่อประเทศสมาชิก ถ่ายลาสินค้าท่ีมีขนาดพ้ืนที่ระวางสินค้าราว 2,000 สุญญากาศท่ีได้รับการจดสิทธิบัตร และสารเปล่ียน กลุ่มอาเซียน รวมถึงประเทศในแถบยุโรป เนื่องจาก ทอี ียู ซง่ึ จะนาไปปฏิบัตกิ ารในระดับภูมิภาค แม้ว่าเรือ สถานะที่จะช่วยรักษาระดับอุณหภูมิตามที่กาหนด สินค้าที่ส่งผ่านเส้นทางเครือข่ายรถไฟระหว่างจีนกับ ลาใหม่นี้จะติดตั้งระบบเช้ือเพลิงร่วมท่ีสามารถใช้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นเวลานานถึง 5 วัน ยุโรปมักเป็นสินค้าที่มีมูลค่าสูง การขนส่งผ่านเครือข่าย น้ามันเชื้อเพลิงเรือกามะถันต่าได้ แต่บริษัทฯ ต้ังเป้า นอกจากน้ี ยังรักษาอุณหภูมิการจัดเก็บได้ต่าถึง ที่มีการเช่ือมโยงแบบครบวงจรและมีความเร็วสูง ที่จะปฏิบัติการเรือ โดยใช้เช้ือเพลิงเมทา นอล -80 องศาเซลเซียส เมื่อมีการเพิ่มน้าแข็งแห้งเข้าไป จะสามารถทาให้แต่ละประเทศสามารถติดต่อกันได้ แ บ บ ที่ เ กิ ด จ า ก ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ย ก โ ม เ ล กุ ล ข อ ง น้ า ซงึ่ จะเป็นประโยชนต์ อ่ การจัดเก็บวัคซีนบางประเภท อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้นนอกจากนี้ การพัฒนาเครือข่าย ด้วยไฟฟ้า (e-methanol) หรือเมทานอลชีวภาพ เพอ่ื คงประสิทธิภาพของวัคซนี ในระหวา่ งการขนส่ง การขนส่งท่ีครบวงจรยังสามารถช่วยลดต้นทุนใน (bio-methanol) ตั้งแตว่ ันแรกของการปฏบิ ัติการ การขนสง่ สินค้าลงดว้ ย จดหมายขา่ วโลจสิ ตกิ ส์ 11
ข่าวสารบ้าน กลจ . โ ค ร ง ก า ร ศึ ก ษ า ค ว า ม เ ป็ น ไ ป ไ ด้ ใ น ก า ร เ ช่ื อ ม โ ย ง เ ส้ น ท า ง ข น ส่ ง ท า ง ท ะ เ ล ฝ่ั ง อ่ า ว ไ ท ย แ ล ะ อั น ด า มั น ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย กลจ. สศช. ร่วมกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดทาโครงการศึกษาความเป็นไปได้ ในการเช่ือมโยงเส้นทางขนส่งทางทะเลฝ่ังอ่าวไทยและอันดามันของประเทศไทย โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ทบทวนและวิเคราะห์การศึกษาที่เก่ียวกับการพัฒนาเชื่อมโยง เส้นทางขนส่งทางทะเลทั้งของประเทศไทยและต่างประเทศ วิเคราะห์แนวโน้ม การเปล่ียนแปลงรปู แบบการขนสง่ สนิ ค้าทางทะเลในอนาคต และศึกษาความเหมาะสม และผลกระทบเบื้องต้นของการพัฒนาเส้นทางขนส่งทางทะเลเช่ือมโยงฝั่งอ่าวไทย และอันดามัน ให้ครอบคลุมทุกมิติทั้งด้านเศรษฐกิจ ความมั่นคง สังคม ส่ิงแวดล้อม และกฎหมายรวมท้ังบริบทอ่ืนๆ ที่เก่ียวข้อง ประกอบกับการสารวจความคิดเห็นของ ประชาชนในพ้ืนที่ ทั้งน้ี โครงการฯ มีระยะเวลาในการศึกษา 12 เดือนและคาดว่าจะ แลว้ เสร็จในเดอื นกมุ ภาพันธ์ 2565 โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ ฐ า น ข้ อ มู ล ด้ า น ร ะ บ บ โ ล จิ ส ติ ก ส์ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย กลจ. สศช. รว่ มกับศนู ยค์ วามเป็นเลศิ ด้านโลจสิ ติกส์มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้า ธนบุรี จัดทาโครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านระบบโลจิสติกส์ของประเทศ ไทย โดยเมื่อวันที่ 19 เมษายน 2564 การประชุมคณะกรรมการพิจารณา ผลการดาเนินโครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านระบบโลจิสติกส์ของประเทศ ไทย ครั้งที่ 1/2564 มีมติเห็นชอบรายงานการศึกษาข้ันกลาง (Interim Report) และมีข้อเสนอแนะให้พิจารณาแนวทางการออกแบบและพัฒนา ระบบของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องให้สามารถเช่ือมโยงข้อมูลระหว่างกัน ได้ อย่างมีประสทิ ธิภาพ ส ถิ ติ ด้ า น โ ล จิ ส ติ ก ส์ ไ ท ย Q4/62 Q1/63 Q2/63 Q3/63 Q4/63 Trend มลู ค่าการค้าระหว่างประเทศ 3,559,295 3,711,847 3,119,657 3,361,425 3,507,718 ดชั นผี ลผลติ อตุ สาหกรรม 97.46 102.85 80.21 91.42 96.57 ดชั นกี ารสง่ ผลติ ภัณฑ์ 99.48 100.17 82.19 93.79 97.64 ดัชนสี นิ ค้าสาเรจ็ รปู คงคลงั 135.03 142.02 127.32 118.50 126.72 ดชั นอี ตั ราสว่ นสนิ ค้าคงคลงั 139.20 150.92 203.38 134.93 134.77 Baltic Dry index 1,563 591 782 1,523 1,358 Gasohol 95 23.51 21.58 17.80 19.97 20.21 Diesel 25.94 25.38 20.09 21.95 22.82 NGV 15.63 15.37 15.31 14.82 13.50 จดหมายขา่ วโลจสิ ตกิ ส์ 12
เ ก ร็ ด ค ว า ม รู้ ด้ า น โ ล จิ ส ติ ก ส์ Logistics Fun Facts รู้ ห รื อ ไ ม่ . . . การขนส่งสินค้าในเขตเมืองแบบถึงมือผู้รับ (Last Mile Delivery) ในอเมริกาเหนือ เติบโตจากบริการการขนส่งสินค้าจากเจ้าของธุรกิจสู่ผู้บริโภค (B2C) เนื่องจากการเติบโตของการค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (e-Retailing) และความคาดหวังของ ผู้บริโภคท่ีต้องการสินค้าจากการส่ังซ้ือสินค้าแบบออนไลน์ในวันท่ีสั่ง อีกทั้งผู้บริโภคยินดี ท่จี ะจา่ ยคา่ บรกิ ารในการขนสง่ เพ่ิมเติมจากการสั่งสนิ คา้ ออนไลน์ Box 24 เป็นบริษทั ขนส่งสินค้าสตาร์อพั ที่กอ่ ต้งั โดยคนไทยในปี 2015 ทาธรุ กจิ ใหบ้ รกิ ารล็อกเกอร์อัจฉริยะสาหรับรับของและส่งของ โดยผู้ใช้บริการจะ นาของไปฝากใว้ในล็อกเกอร์และพนักงานส่งสินค้าจะนาสินค้าในล็อกเกอร์ไปส่ง ยังผู้รับต่อไป โดยปัจจุบันมีการขยายธุรกิจไปสู่บริการ WashBox24 ให้บริการ ลูกค้าที่ต้องการใช้บริการซัก อบ รีด เสื้อผ้า MoveBox24 ให้บริการรับส่งพัสดุ ผ่านตู้ล็อกเกอร์ ShopBox24 การรับสินค้าที่สั่งซื้ออนไลน์จากตู้ล็อกเกอร์ DropBox24 รับฝากของในต้ลู อ็ กเกอร์ Last Mile Delivery Startups ทกี่ าลังมาแรงในปี 2021 Postmates แอปพลิเคชันสั่งอาหารแบบเดริเวอรี่ท่ีกาลังมาแรงในสหรัฐ ด้วยความต้องการที่จะช่วยเหลือผู้ประกอบการในท้องถิ่น ปัจจุบันมีพนักงาน ส่งสินคา้ 5 แสนคน และร้านค้าร่วมกวา่ 6 แสนร้าน ใน 50 รฐั ของสหรัฐ Matternet สตาร์ทอัพแนวคิดใหม่สู่อีกข้ันของการขนส่ง โดยใช้ อากาศยานไร้คนขับ (Drone) ในการขนส่งสินค้า ปัจจุบัน Matternet ไดร้ ่วมงานกับบริษัทขนส่งช่ือดังหลายบริษัทเพื่อพัฒนาการขนส่งโดยใช้ อากาศยานไรค้ นขบั StarShip บริษัทขนส่งโดยหุ่นยนต์อัตโนมัติสัญชาติ อังกฤษ กาเนิดมาเพื่อแก้ปัญหาการขนส่งในพื้นที่ที่รถขนส่ง ไม่สามารถเข้าถึงได้ ซอยแคบๆ โดยผู้ใช้บริการสามารถใช้ บริการผ่านแอปพลิเคชันได้อย่างง่ายดาย ทาการขนส่งโดย หนุ่ ยนต์อัตโนมัติทสี่ ามารถรับนา้ หนกั ได้ถึง 100 ปอนด์ จดหมายขา่ วโลจสิ ตกิ ส์ 13
อ้ า ง อิ ง ส่วนที่ 1 Last-Mile Delivery การจดั สง่ ขนั้ สดุ ทา้ ย Organisation for Economic Co-operation and Development (OECD). (2019). Look East instead of West for the future global กรุงเทพธรุ กจิ . (2564). พาณิชย์ชี้คา้ ออนไลนไ์ ทยโตต่อ หว่ ง “แพลตฟอรม์ ” ยักษ์ middle class. Retrieved May 22 2021. From https://oecd- ครองตลาด. สืบคน้ เมอื่ วนั ที่ 25 มนี าคม 2564. จาก https://www.bangkok development-matters.org/2019/05/07/look-east-instead-of- biznews.com/news/detail/928491 west-for-the-future-global-middle-class/ โจห์ ออโต้ไลฟ์. (2558). Adaptive Cruise Control คืออะไร ต่างจาก Cruise United Naton.(2018). Groth rates of urban agglomerations by Control อยา่ งไร. สบื ค้นเม่อื วันที่ 2 มีนาคม 2564. จาก size class 1970-1990 Retrieved February 16 2021. From http://johsautolife.com/index.php/2015-12-30-03-42-00/2015-12-30- https://population.un.org/wup/Maps/ 03-43-37/146-adaptive-cruise-control World Bank Blogs. (2020). How a pandemic-induced boom in ไทยโรโบติสก์. (2559). ขบวนรถบรรทุกไรค้ นขบั จาก 6 บริษัทว่ิงข้ามประเทศ e-commerce can reshape financial services. Retrieved May ในยโุ รป. สืบคน้ เมื่อวนั ท่ี 2 มนี าคม 2564. จาก https://www.thairobotics. 22 2021. From https://blogs.worldbank.org/psd/how-pandemic- com/2016/04/25/european-truck-platooning-challenge/ induced-boom-e-commerce-can-reshape-financial-services ธนาคารไทยพาณิชย์. (2563). Transport & Logistics 2020: อไี อซวี ิเคราะห์ ส่วนท่ี 2 โครงการศกึ ษาตน้ ทนุ โลจสิ ตกิ สก์ ารเกษตร ธรุ กจิ ขนส่งพัสดุในปี 2020 มีแนวโนม้ เตบิ โตตอ่ เน่อื งทา่ มกลางการแข่งขัน กองนโยบายและแผนพฒั นาการเกษตร. (2563). บทความผลการศึกษาโครงการ ท่เี ข้มข้นจากแรงกดดนั ดา้ นราคา. สบื ค้นเมือ่ วนั ท่ี 22 มีนาคม 2564. จาก https://www.scbeic.com/th/detail/file/product/6563/fjvy8kfdv8/EIC_ ศึกษาตน้ ทุนโลจสิ ติกส์การเกษตร. Industry-review_parcel_20200120.pdf ส่วนที่ 3 ข่าวสารโลจสิ ตกิ ส์ โพซิชน่ั น่ิง. (2563). Waymo เรมิ่ ทดสอบ “รถบรรทกุ -มนิ ิเเวนไรค้ นขับ” ว่ิงบน ขา่ วสด. (2564). 16. การรถไฟจับมอื ไปรษณียไ์ ทยบกุ ตลาดขนสง่ สนิ คา้ ถนนจรงิ ในเท็กซสั เเละนิวเมก็ ซโิ ก. สืบคน้ เม่ือวันท่ี 2 มนี าคม 2564. จาก https://positioningmag.com/1262114 ในและตา่ งประเทศ พรอ้ มจัดตง้ั ศูนย์กระจายสินค้ารว่ มกัน. สืบคน้ เมือ่ วนั ท่ี 12 มนี าคม 2564. จากhttps://www.khaosod.co.th/economics มาเกต็ เทียร.์ (2563). สง่ พัสดแุ ข่งกนั ส่ง ดุเดือดตนปาดเหงื่อ. สบื ค้นเมอ่ื วันท่ี /news_6118833 17 มีนาคม 2564. จาก https://marketeeronline.co/archives/141294 ไทยพีอารด์ อทเน็ต. (2564). ลาลามูฟ เดินเกมส์รุก เปิดตัวบริการใหม่ เรม่ิ ตน้ เพียง 99 บาท ลดต้นทนุ คา่ ขนส่ง ตอบโจทยท์ กุ รปู แบบธรุ กิจ. สบื คน้ เมอื่ โลจิสตสิ ก์ไทม์.(2562). Truck Platooning ตอบโจทย์ลดต้นทุนขนสง่ ไดจ้ รงิ ?. วันที่ 18 มีนาคม 2564. จาก https://www.thaipr.net/business/3033721 สบื ค้นเมือ่ วนั ท่ี 2 มนี าคม 2564. จาก http://www.logisticstime.net แนวหน้า. (2564). 'สถานรี ถไฟนาประดู่' เปดิ ขนส่งสนิ ค้าคอนเทนเนอร์ /archives/17258 บนระบบรางเปน็ วันแรก. สบื คน้ เม่ือวนั ท่ี 12 มนี าคม 2564. จาก https://www.naewna.com/business/558323 ศนู ยส์ รา้ งสรรค์งานออกแบบ (TCDC). (2563). มองไปขา้ งหนา้ 2050: พลงั การเตบิ โตของชนชน้ั กลาง (Middle class growth). สบื คนเมอ่ื วันท่ี บิสเนสทูเดย์. (2564). ขนส่งจนี วางแผนเครือขา่ ยส่งเสริมการเช่อื มต่อการค้า 16 กมุ ภาพันธ์ 2564. จาก https://web.tcdc.or.th/th/Articles/ ระหวา่ งประเทศ. สบื คน้ เม่ือวนั ท่ี 17 มีนาคม 2564. จาก Detail/LOOK-ISAN-NOW-Middle-class-growth https://www.businesstoday.co/world/14/03/2021/65430/ สารานุกรมไทยสาหรบั เยาวชนฯ เล่มที่ 28. เร่อื งที่ 3 เรื่องตลาดสมัยรตั นโกสนิ ทร.์ Thanathas Akkhachotkawanich. (2564). Maersk ประกาศปฏบิ ตั กิ ารเรือ สบื คน้ เมือ่ วันที่ 2 มีนาคม 2564. จาก https://www.saranukromthai.or.th ขนส่งสนิ คา้ คารบ์ อนสุทธิเป็นศูนยล์ าแรกภายในปี 2023 . สบื คน้ เม่ือ /sub/book/book.php?book=28&chap=3&page=t28-3-infodetail 9 มีนาคม 2564. จาก https://www.logistics-manager.com/th 06.html /maersk-will-operate-the-worlds-first-carbon-neutral-liner- vessel-by-2023/ สานกั งานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร. (2560). การพฒั นาเมอื ง โลจิสตกิ ส์: แนวทางการวางแผน (Planning). สบื คน้ เม่ือวนั ที่ 8 มนี าคม 2564. Amarat Chaipaiboonwong . (2564). China Airlines เปดิ ตัวบริการขนส่ง สินคา้ ทอ่ี ุณหภมู ติ า่ ถงึ -80°C. สบื ค้นเม่ือวนั ที่ 8 มนี าคม 2564. จาก จาก http://logistics.nida.ac.th/wpcontent/uploads/2017/09 https://www.airfreight-logistics.com/th/china-airlines-launches- /Session-1-CLM.pdf ultra-low-temperature-services-down-to-80c-with-ceiv-pharma- สานักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอีเล็กทรอนกิ ส์. (2563). ETDA เผย ปี 62 คนไทยใช้ certification/ อนิ เทอร์เนต็ เพม่ิ ขนึ้ ฉลยี่ 10 ช่วั โมง 22 นาที Gen Y ครองแชมป์ 5 ปซี ้อน. สืบคน้ เมื่อวนั ที่ 16 กมุ ภาพนั ธ์ 2564. จาก https://www.etda.or.th/th/ จดหมายขา่ วโลจสิ ตกิ ส์ NEWS/ETDA-Revealed-Thailand-Internet-User-Behavior-2019.aspx เอม็ รีพอร์ต. (2563). 4 คา่ ยรถร่วมพฒั นา “ขบวนรถบรรทกุ อตั โนมัต”ิ เปิดตวั 2021 แกป้ ัญหาขาดแคลนแรงงาน. สบื คน้ เม่อื วนั ที่ 2 มีนาคม 2564. จาก https://www.mreport.co.th/news/trend-and-innovation/242-Truck- Platooning-System-launches-2021-in-Japan Bloomberg. (2021). Virus Shrank Global Middle Class for First Time Since 1990s. Retrieved May 22 2021. From https://www.bloombergquint.com/global-economics/pandemic- shrank-global-middle-class-for-first-time-since-1990s
อ้ า ง อิ ง ส่วนที่ 4 สถติ ิดา้ นโลจสิ ตกิ สไ์ ทย Bloomberg. (2021 ). Baltic Exchange Dry Index. Retrieved March 15, 2021 from https://www.bloomberg.com/quote/BDIY:IND Trading Economics. (2021). Baltic Exchange Dry Index. Retrieved March 15, 2021 from https://tradingeconomics.com/ commodity/baltic กระทรวงพาณิชย์. (2564). มลู คา่ การค้าระหว่างประเทศ. สบื ค้นเม่ือวนั ที่ 20 มนี าคม 2564. จาก http://tradereport.moc.go.th /TradeThai.aspx ธนาคารแหง่ ประเทศไทย. (2564). ราคาสนิ คา้ อตุ สาหกรรมทส่ี าคญั . สืบค้น เม่อื วันท่ี 20 มนี าคม 2564. จาก https://www.bot.or.th/Thai/ Statistics/EconomicAndFinancial/RealSector/Pages/Index.aspx สานกั งานนโยบายและแผนพลงั งาน กระทรวงพลงั งาน. (2564).ปิโตรเลยี ม. สืบค้นเมือ่ วันที่ 20 มนี าคม 2564. จาก http://www.eppo.go.th /index.php/th สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.). (2564). ดชั นอี ตุ สาหกรรม. สบื ค้น เม่ือวันที่ 21 มนี าคม 2564. จากhttp://www.oie.go.th/view/1/หน้า แรก/TH-TH/ ส่วนท่ี 5 เกรด็ ความรดู้ า้ นโลจสิ ตกิ ส์ (Logistics Fun Facts) AP. (2020). Last Mile Delivery Market in North America | Growth of E-retailing to Boost the Market Growth. Retrieved 18 May 2021. From https://apnews.com/press release/business- wire/virus-outbreak-technology-business-north-america-lung- disease-e529f9359a62446aa2b350115c6f9b18 Mathieu Arsenault. (2020). 5 Awesome Last-Mile Carrier Startups in 2021. Retrieved 18 May 2021. From https://www.upperinc .com/last-mile-carrier/ จดหมายขา่ วโลจสิ ตกิ ส์
กองยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาระบบโลจสิ ตกิ ส์ สศช. 962 ถนนกรงุ เกษม แขวงวัดโสมนัส เขตป้อมปราบศตั รูพ่าย กรงุ เทพฯ 10100 Website : www.nesdc.go.th Email : [email protected] โทรศัพท์ : 02-280-4085 ตอ่ 5712, 5716 จดหมายขา่ วโลจสิ ตกิ ส์
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: