MINISTER’S FORWORD กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา มีภารกิจหลักใน การส่งเสริมการท่องเที่ยวของประเทศให้เกิดการพัฒนาที่ ยั่งยืน ทั้งนี้เพื่อส่งเสริมให้การท่องเที่ยวเป็นแหล่งสร้าง รายได้ สอดคล้องกับแนวโน้มของตลาดโลก รวมถึงเพิม่ ขดี ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ผ ม ม ี ค ว า ม ย ิ น ด ี เ ป ็ น อ ย ่ า ง ย ิ ่ ง ท่ี แ ผ น ก ล ย ุ ท ธ ์ เ พื่ อ การขับเคลื่อนการท่องเที่ยวสีขาวภายใต้โมเดลเศรษฐกิจ BCG พ.ศ. 2564 -2565 ได้แสดงให้เห็นถึงเจตนารมณ์ที่ มุ่งม่ันในการขับเคลื่อนนโยบายการท่องเที่ยวสีขาวภายใต้ โมเดลเศรษฐกิจ BCG ซ่ึงจะเป็นก้าวยา่ งท่สี ำคัญในการชว่ ย ส่งเสริมให้อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเปลี่ยนผ่านไปสู่ การท่องเที่ยวอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคมและ สิ่งแวดล้อม นายพพิ ัฒน์ รัชกิจประการ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง การท่องเที่ยวและกีฬา CONTENTS บทสรุปผบู้ รหิ าร บทนำ ประเด็นการขับเคลอื่ นสำคญั ▪ การสร้างความร่วมมือเพ่ือการขบั เคลือ่ นการท่องเทีย่ วสีขาวภายใต้โมเดลเศรษฐกิจ BCG อย่างเป็นรูปธรรม ▪ การพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเที่ยวและผลิตภัณฑ์ทางการท่องเท่ยี วเพ่ือตอบสนองกระแสนยิ มการทอ่ งเท่ยี วอย่างย่ังยนื ▪ การลดคารบ์ อนฟตุ พรนิ้ ท์ท่ีเกิดจากภาคการท่องเท่ียว ▪ การลดการใช้ทรัพยากรและของเหลือทิง้ ▪ การรับมือกบั การเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ ตัวชว้ี ดั ภาคผนวก SUSTAINABLE TOURISM STRATEGIC PLAN: CLEAN TOURISM TO BCG IN ACTION
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร และบริการดา้ นการทอ่ งเทยี่ ว และในด้านอปุ สงค์ (Demand Side) การท่องเที่ยวสามารถสร้างอุปสงค์ในระบบเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเป็นภาคส่วนที่มีความสำคัญต่อ BCG ผ่านการบริโภคของนักท่องเที่ยว ทั้งนี้ การท่องเที่ยว การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทย โดยในปี 2562 สามารถขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามโมเดลเศรษฐกิจ ประเทศไทยมีรายได้จากการท่องเที่ยวสูงถึง 3.03 ล้านล้าน BCG ดงั นี้ บาท กอ่ ใหเ้ กิดการจา้ งงานภายในระบบถึง 4,366,392 คน ใน ขณะเดียวกัน ความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยว A - awareness การสร้างความตระหนักถึงความสำคัญของ ของประเทศไทยปรากฎชัดจากผลการจัดอันดับ Travel and การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและผลิตภัณฑ์ด้านการท่องเที่ยว Tourism Competitiveness Index ในปี 2019 โดย World ด้วยโมเดลเศรษฐกจิ BCG Economic Forum ได้จัดให้ประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ 31 B - balance การส่งเสริมให้เกิดการบริหารจัดการแหล่ง จาก 140 ประเทศทั่วโลก ท่องเทย่ี ว และผลติ ภัณฑ์ดา้ นการท่องเทีย่ วอย่างสมดุลทั้งด้าน เศรษฐกจิ สังคม และสิง่ แวดลอ้ ม อย่างไรก็ตาม การเจริญเติบโตด้านการท่องเที่ยวในห้วงเวลา C – connectivity การใช้การท่องเที่ยวเพื่อเป็นเครื่องมือใน ที่ผ่านมาได้ส่งผลกระทบเชิงลบต่อทรัพยากรธรรมชาติและ การเชื่อมโยงวิถีชีวิตของนักท่องเที่ยวเข้ากับกิจกรรมทาง สิ่งแวดล้อมอย่างมีนัยสำคัญจนเกิดกระแสความกังวลจาก การท่องเที่ยวที่สนับสนุนการพัฒนาประเทศตามโมเดล ภาคส่วนต่าง ๆ จนนำไปสู่การมุ่งเน้นที่จะปรับทัศนคติต่อ เศรษฐกิจ BCG แนวทางในการพัฒนาการท่องเที่ยวไปสู่เป้าหมายที่เน้นเชิง D - demand การสร้างอุปสงค์ในระบบเศรษฐกิจ BCG ผ่าน คุณภาพมากกว่าปริมาณ เพื่อให้เกิดการพัฒนาการท่องเที่ยว อุปสงค์ของผู้ประกอบการ และการบรโิ ภคของนกั ทอ่ งเทยี่ ว อย่างสมดุลทั้งด้านเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม สอดคล้องตาม E - encouragement การกระตุ้นให้นักท่องเที่ยวสนับสนุน แนวทางการพัฒนาทีย่ ั่งยนื ขององค์การสหประชาชาติ (SGDs) สินค้าและบริการที่สนับสนุนให้เกิดการขับเคลื่อนตามโมเดล โดยสะท้อนผ่านแผนยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ เศรษฐกจิ BCG ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ และแผนพัฒนา การทอ่ งเทีย่ วแหง่ ชาติ ทล่ี ้วนมุ่งใหเ้ กิดการท่องเทีย่ วทย่ี ง่ั ยนื แผ นกลยุทธ์เพื่อการขับเคลื่อนการท่องเที่ยวสีขาว ภายใต้ โมเดลเศรษฐกิจ BCG พ.ศ. 2564 -2565 ฉบับนี้ จึงได้วาง กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาในฐานะหน่วยงานหลัก วิสัยทัศน์ให้ภาคการท่องเที่ยวมีบทบาทนำในการขับเคลื่อน ในการขับเคลื่อนการพัฒนาการท่องเที่ยวของประเทศไทยได้ การพัฒนาประเทศด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG โดยมีประเด็น ตระหนักในความสำคัญของการมุ่งเน้นการท่องเที่ยว การขับเคลื่อนสำคญั 5 ประเดน็ ประกอบไปดว้ ย อยา่ งยัง่ ยืนเพือ่ ตอบสนองต่อความจำเปน็ ท้ังในเชิงการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เชิงนโยบายทั้งระดับ 1. การสร้างความร่วมมือเพือ่ การขบั เคลอ่ื น สากลและระดับชาติ รวมไปถึงตอบสนองต่อกระแสนิยม นักท่องเที่ยวสมัยใหม่ที่ให้ความสำคัญกับการท่องเที่ยวที่เป็น การท่องเท่ยี วสขี าวภายใต้เศรษฐกจิ BCG อยา่ งเป็น มิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม ทงั้ นี้ การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืน จะเป็นเครื่องมือสำคัญที่จะสร้างประโยชน์ทางเศรษฐกิจ รปู ธรรม สังคม และสง่ิ แวดล้อมให้กบั ประเทศไทย 2. การพฒั นาแหลง่ ทอ่ งเท่ียวและผลติ ภณั ฑ์ทาง ภาคการท่องเที่ยวมีบทบาทอย่างสำคัญในการขับเคลื่อน การท่องเที่ยวเพือ่ ตอบสนองกระแสนยิ มการ การพัฒนาประเทศตามโมเดลเศรษฐกิจ BCG โดยในด้าน ท่องเท่ียวย่ังยืน อุปทาน (Supply side) ผู้ประกอบการสามารถปรับตัวและ นำโมเดลเศรษฐกิจ BCG มาใช้เป็นแนวทางในการผลิตสินค้า 3. การลดคารบ์ อนฟุตพรนิ้ ทท์ ี่เกดิ จากการทอ่ งเทย่ี ว 4. การลดการใช้ทรพั ยากรและของเหลอื ทิง้ 5. การรับมือกบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ SUSTAINABLE TOURISM STRATEGIC PLAN: CLEAN TOURISM TO BCG IN ACTION
หน่วยงานภาครัฐและเอกชนในห่วงโซ่อุตสาหกรรม กลมุ่ โครงการขบั เคลื่อนเศรษฐกจิ สเี ขียว การท่องเที่ยว จำเป็นจะต้องมีการปรับตัวอย่างเหมาะสม (Green economy) เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนประเด็นสำคัญทั้ง 5 ประเด็นข้างต้น 1. โครงการ มาตรการท่องเที่ยวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม อย่างจริงจงั และเปน็ รูปธรรม ท้งั น้ี ผลลัพธ์ของการดำเนินการ ดงั กลา่ วไมเ่ พยี งแต่เปน็ การส่งมอบความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม และความปลอดภัยด้านสุขอนามัย ( Amazing เท่านั้น แต่ยังถือเป็นโอกาสในการเพิ่มขีดความสามารถ Thailand Eco Safety & Health Administration : ทางการแข่งขันให้กับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวไทยอีกด้วย Eco + SHA) ทง้ั นี้ การขับเคล่ือนการทอ่ งเที่ยวสขี าวภายใต้โมเดลเศรษฐกิจ 2. โครงการตรวจประเมินและรับรองมาตรฐานการ BCG ประกอบด้วยโครงการสำคัญ ดงั นี้ ท่องเท่ยี วอาเซียน 3. โครงการส่งเสริมและพัฒนาผู้ประกอบการท่องเที่ยว กลุ่มโครงการขับเคลื่อนเศรษฐกจิ ชีวภาพ และบริการสู่มาตรฐานการท่องเที่ยวปลอดภัยด้าน (Bio economy) สขุ อนามัยและรักษส์ ่ิงแวดล้อม (ECOSHANG) 1. โครงการการศกึ ษาออกแบบการพัฒนาแหล่งท่องเท่ยี ว 4. โครงการส่งเสริมการประเมินและรับรองมาตรฐาน แหล่งทอ่ งเที่ยว ในเขตพัฒนาการทอ่ งเทีย่ ว 5. โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพเพื่อยกระดับ 2. โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพเพื่อยกระดับ ชุมชน เพื่อเข้าสู่มาตรฐาน 6. โครงการส่งเสริมศักยภาพการบริหารจัดการและสร้าง ชุมชนเพ่อื เข้าสู่มาตรฐาน เครอื ขา่ ยการพัฒนาแหล่งท่องเทย่ี วสคู่ วามยั่งยืน 3. โครงการจดั ทำแผน Sand Dune ชุมพร 7. โครงการกีฬาสขี าว 4. กิจกรรมการสง่ เสรมิ ให้ใช้วัสดแุ ละอุปกรณ์ท่ีทำจากวัสดุ 8. โครงการสายตรวจจกั รยานและเดนิ เทา้ 9. โครงการท่องเท่ยี วย่ังยืนในพน้ื ทพี่ ิเศษเปา้ หมาย ธรรมชาติในการจัดการแข่งขนั 10. โครงการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชนอยู่ดีมีสขุ (Happy 5. โครงการพัฒนาการท่องเท่ยี วอารยธรรมอสี านใต้โดยใช้ CBT) ฐานเศรษฐกจิ ชีวภาพ กลุ่มโครงการขบั เคลือ่ นเศรษฐกจิ หมุนเวียน (Circular economy) 1. โครงการธรรมนญู การทอ่ งเทีย่ ว 2. โครงการเมืองท่องเท่ียวสะอาด 3. โครงการลดของเสียจากการให้บริการอาหารของ ผูป้ ระกอบการด้านการท่องเที่ยว (Zero Food waste) 4. โครงการพัฒนานวัตกรรมส่งเสริมการออกกำลังกาย และเล่นกีฬาของประชาชนที่มีการรณรงค์ด้าน สิง่ แวดล้อม 5. กิจกรรมการลดใช้ทรัพยากรจากการจดั การแข่งขนั กฬี า 6. โครงการ Clean Run 7. โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพเพื่อยกระดับ ชุมชนเพอ่ื เข้าสมู่ าตรฐาน SUSTAINABLE TOURISM STRATEGIC PLAN: CLEAN TOURISM TO BCG IN ACTION
SUSTAINABLE TOURISM STRATEGIC PLAN: CLEAN TOURISM TO BCG IN ACTION
บทนำ เพื่อปกป้อง สงวนรักษา และพัฒนาสิ่งเหล่านี้ใหป้ ระชาชนร่นุ หลัง อันเปน็ ความหมายของ “การทอ่ งเทยี่ วอย่างยงั่ ยืน” ตาม Sustainable Tourism นยิ ามขององคก์ ารการทอ่ งเท่ยี วโลก (UNWTO) โอกาสและทางรอดของการทอ่ งเที่ยวในอนาคต การพฒั นาทีย่ ่งั ยนื เราไมส่ ามารถปฏิเสธไดว้ ่าการท่องเทยี่ วเป็นเคร่อื งมอื สำคญั ใน การพัฒนาที่ตอบความต้องการของคนรุ่นปัจจุบันโดยไม่ การสร้างรายได้ให้กับประเทศ อีกทั้งยังสามารถกระจายส่วน ทำให้คนรุ่นอนาคตต้องเสียโอกาสในการตอบสนอง แบ่งของรายได้ไปสู่ชุมชนให้เกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตและ ความต้องการ ซึ่งครอบคลุมเนื้อหาทั้งด้านเศรษฐกิจ ลดความเหลื่อมล้ำ อย่างไรก็ตาม ด้วยรูปแบบของสินค้าและ สงั คม และส่ิงแวดลอ้ ม บริการด้านการท่องเที่ยวประกอบด้วยผู้มีส่วนเกี่ยวข้องท้ัง The Global Code of Ethics for Tourism (GCET) ทางตรงและทางอ้อมเปน็ วงกวา้ ง สง่ ผลใหเ้ กิดการใชท้ รัพยากร จรรยาบรรณการท่องเที่ยวโลกมุ่งลดผลกระทบของ สำหรับการท่องเที่ยวในปริมาณมหาศาลอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ การท่องเทย่ี วทมี่ ีตอ่ ส่งิ แวดล้อมและมรดกทางวฒั นธรรม ไม่วา่ จะเป็นทรพั ยากรทางธรรมชาติ ดิน น้ำ อากาศ และอ่นื ๆ แนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพยี ง จึงอาจกล่าวได้ว่า การเติบโตในภาคการท่องเที่ยวจำเป็น การพัฒนาที่ตั้งบนพื้นฐานของทางสายกลาง คำนึงถึง จะต้องพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทั้งในฐานะ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันใน สินค้า เช่น ชายหาดและปะการังที่สวยงาม หรือในฐานะ ตัวเอง ตลอดจนใช้ความรู้และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน วัตถุดิบในการให้บริการ เช่น น้ำ ไฟฟ้า เป็นต้น เมื่อพิจารณา ในการดำรงชีวิต ในมิติของเศรษฐศาสตร์ จึงกล่าวได้ว่า อุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว โมเดลเศรษฐกจิ BCG ไม่เพียงแต่จะก่อให้เกิดรายรับต่อประเทศเท่านั้น แต่ยังมี การพัฒนาเพื่อตอบโจทย์การพัฒนาที่ยั่งยืน อย่างน้อย 5 ต้นทุนด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมท่ีประเทศได้ ด้าน ได้แก่ การผลิตและบริโภคที่ยั่งยืน การรับมือต่อ ลงทุนไปอีกมหาศาล ดังปรากฏในรายงานผลการศึกษาบัญชี การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ การอนุรักษ์ความหลากหลาย ประชาชาติด้านการท่องเที่ยวที่รวมต้นทุนด้านสิ่งแวดล้อม ทางชีวภาพ ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน และ ของสำนกั งานปลัดกระทรวงการท่องเทีย่ วและกฬี า ด้วยเหตุนี้ การลดความเหล่อื มลำ้ จึงจำเป็นที่จะต้องมีการทบทวนความเหมาะสมในการบริหาร จัดการทรัพยากรในภาคการท่องเที่ยวให้เกิดประสิทธิภาพ สูงสดุ และลดผลกระทบต่อส่งิ แวดล้อมเพอ่ื ดำรงไวใ้ นระยะยาว สอดคล้องกับองค์การท่องเที่ยวโลก (UNWTO) ที่ได้ระบุว่า “การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เป็นหนทางรอดสำหรบั ธุรกจิ ในอตุ สาหกรรมการทอ่ งเท่ยี ว” เมื่อพิจารณาถึงกรอบแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การ สหประชาชาติ (SDGs) หลักจรรยาบรรณการท่องเที่ยวโลก (The Global Code of Ethics for Tourism) ป ร ั ช ญ า เศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาที่ประเทศไทยใช้เป็นแนวทางใน การพัฒนาและบริหารประเทศตลอดมาจนพัฒนาไปสู่โมเดล เศรษฐกิจ BCG สามารถประมวลกรอบแนวคดิ และสรปุ ไดถ้ งึ เ ป ้ า ห ม า ย ก า ร พ ั ฒ น า ด ้ า น ก า ร ท ่ อ ง เ ท ี ่ ย ว ท ี ่ ค ำ น ึ ง ถ ึ ง ขี ด ความสามารถในการรองรับของธรรมชาติ ชุมชน ขนบธรรมเนยี มประเพณี และวถิ ชี ีวิตท่ีเกีย่ วกับการท่องเที่ยว
โมเดลเศรษฐกิจ BCG Green economy ในมิติดา้ นการทอ่ งเทีย่ ว คือ การดำเนินกิจกรรมการท่องเที่ยวอย่างสมดุลทั้ง 3 ด้าน คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบให้การขับเคลื่อนการพัฒนา ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยมุ่งเน้น เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว การพฒั นาการท่องเทย่ี วไปสูค่ วามยงั่ ยนื (Bio – Circular – Green Economy : BCG Model) : โมเดล เศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนเป็นวาระแห่งชาติ เมื่อวันที่ 19 การท่องเทย่ี วกับการขับเคล่อื น BCG Model มกราคม 2564 เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนประเทศไทยอย่าง เป็นรูปธรรม ทง้ั น้ี โมเดลเศรษฐกจิ BCG มคี วามสอดคล้องกับ การทอ่ งเท่ียวมบี ทบาทอย่างสำคญั ในการขับเคลอ่ื นการพฒั นา เปา้ หมายการพฒั นาที่ยัง่ ยืนและหลกั การของปรชั ญาเศรษฐกจิ ประเทศตามโมเดลเศรษฐกิจ BCG โดยในด้านอุปทาน พอเพียง ซึ่งเป็นหลักสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม (Supply side) ผู้ประกอบการสามารถปรับตัวและนำโมเดล ของประเทศไทย โดยโมเดลเศรษฐกิจ BCG ทำหน้าที่บูรณาการ เศรษฐกจิ BCG มาใชเ้ ป็นแนวทางในการผลิตสนิ คา้ และบริการ การพัฒนาตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ ใช้องค์ความรู้ทางด้าน ด้านการท่องเที่ยว และในด้านอุปสงค์ (Demand Side) วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมสร้างมูลค่าเพิ่มจาก การท่องเที่ยวสามารถสร้างอุปสงค์ในระบบเศรษฐกิจ BCG ฐานความหลากหลายของทรัพยากรชวี ภาพและวัฒนธรรม ผ่านการบริโภคของนักท่องเที่ยว ทั้งนี้ การท่องเที่ยวสามารถ ขบั เคล่ือนการพฒั นาประเทศตามโมเดลเศรษฐกจิ BCG ดงั นี้ โมเดลเศรษฐกจิ BCG ในมิติดา้ นการทอ่ งเทยี่ ว A - awareness การสร้างความตระหนักถึงความสำคัญของ Bio economy ในมติ ิด้านการท่องเทยี่ ว การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและผลิตภัณฑ์ด้านการท่องเที่ยว คือ การท่องเที่ยวที่เน้นการอนุรักษ์ธรรมชาติ การนำทุน ด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG เช่น การพัฒนากิจกรรม ธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพมา การท่องเที่ยวจากฐานทรัพยากรทางชีวภาพที่จะทำให้คนใน สร้างคุณค่าและรายได้ให้กับกลุ่มสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ที่เป็น ท้องถิ่นเห็นคุณค่าจากทรัพยากรทางชีวภาพ ผสานกับมรดก อัตลักษณ์ของท้องถิ่นชุมชน ตลอดจนทัศนียภาพที่สวยงาม ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม และสามารถพัฒนาต่อยอดสู่ ของพื้นที่ วิว ทิวทัศน์ สัตว์หายาก รวมถึงภูมิปัญญาท้องถ่ิน การท่องเที่ยวที่สร้างมูลค่าขึ้นมาได้ในอนาคต การแนะนำ การท่องเที่ยวชีวภาพเป็นการตลาดแบบ outside in คือ การ นักท่องเที่ยวให้รู้จักสถานท่ีท่องเที่ยวที่ท้าทาย เช่น พื้นที่ขาด สร้างหรอื สือ่ สารความนา่ สนใจของพน้ื ท่ชี ุมชนและดึงดูดให้คน แคลนน้ำเพอื่ ให้เกิดความตระหนกั ในความสำคญั ของการใช้นำ้ ภายนอกเขา้ มาสัมผสั เย่ยี มชมสถานท่ี วิถีชมุ ชน เลือกชมสินคา้ และบริการ ทำให้สนิ คา้ จากภูมปิ ัญญาและทรัพยากรชีวภาพมี B - balance การส่งเสริมให้เกิดการบริหารจัดการแหล่ง ปริมาณและมูลค่าเพิม่ ข้ึน รวมทั้งสินค้าประเภทบริการท่สี ร้าง ทอ่ งเทย่ี วและผลติ ภณั ฑ์ดา้ นการท่องเทีย่ วอยา่ งสมดุล ทั้งด้าน เศรษฐกิจให้กับชุมชนได้ เมื่อชุมชนมีรายได้จากทรัพยากร เศรษฐกิจ สังคม และสงิ่ แวดล้อม เชน่ การบริหารจัดการแหลง่ ท้องถ่ินตนเอง กจ็ ะกระต้นุ ให้ชมุ ชนแบ่งผลกำไรหรือรายได้มา ท่องเที่ยวอย่างเหมาะสมตามขีดความสามารถในการรองรับ ทำกจิ กรรมอนุรักษ์ฟ้ืนฟูทรพั ยากรธรรมชาตใิ หม้ ีความยง่ั ยนื ของสภาพแวดล้อม Circular economy ในมิติด้านการท่องเทยี่ ว C – connectivity การใช้การท่องเที่ยวเพื่อเป็นเครื่องมือใน คือ การวางแผนใช้ทรัพยากรของผู้ประกอบการด้าน การเชื่อมโยงวิถีชีวิตของนักท่องเที่ยวเข้ากับกิจกรรมทาง การท่องเที่ยว อาทิ การบริการโรงแรมและที่พัก การบริการ การท่องเที่ยวที่สนับสนุนการพัฒนาประเทศตามโมเดล อาหารและเครื่องดื่ม การขนส่งผู้โดยสารทางอากาศ เพื่อให้ เศรษฐกิจ BCG ผ่านเรื่องเล่า (Storytelling) หรือการสื่อสาร ทรัพยากรดังกล่าวสามารถกลับคืนสู่สภาพเดิมและนำกลับมา ของผู้มีอิทธิพลทางสังคมผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ เช่น ใช้ใหมไ่ ด้ เชน่ ส่งเสรมิ การใชซ้ ำ้ และลดของเหลือทิง้ ในปรมิ าณ การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์สัตว์ป่า การสนับสนุนให้ผู้รับบริการ ที่ต่ำที่สุด การให้ความสำคัญกับการจัดการของเสียจากการ โรงแรมใช้ผา้ ขนหนซู ำ้ เพื่อลดการใช้นำ้ ผลติ และบรโิ ภคท้งั ระบบ เปน็ ต้น D - demand การสร้างอุปสงค์ในระบบเศรษฐกิจ BCG ผ่าน อุปสงค์ของผู้ประกอบการ และการบริโภคของนักท่องเที่ยว
2 เช่น ผู้ประกอบการร้านอาหารเลือกซื้อวัตถุดิบจาก เศรษฐกิจ BCG เช่น สนับสนุนให้ใช้บริการขนส่งทีใ่ ช้เชื้อเพลงิ ผู้ประกอบการที่มีระบบการผลิตสินคาเกษตรพรีเมียม (เน้น ชีวภาพ หรือการเล่าประสบการณ์ของตนเองให้ผู้ติดตาม คณุ ภาพ โภชนาการ ความปลอดภยั และการผลติ ที่ยงั่ ยนื ) เพื่อน และครอบครัวได้รับทราบ การรณรงค์การท่องเที่ยว อยา่ งมีความรบั ชอบ E - encouragement การกระตุ้นให้นักท่องเที่ยวสนับสนุน สินค้าและบริการที่สนับสนุนให้เกิดการขับเคลื่อนตามโมเดล SUSTAINABLE TOURISM STRATEGIC PLAN: CLEAN TOURISM TO BCG IN ACTION
2 วิสัยทศั น์ ยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันและการจัดการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโดยมีการกำหนดแผนย่อยการพัฒนา ภาคการทอ่ งเทยี่ วมีบทบาทนำในการขบั เคลอ่ื น ระบบนเิ วศการท่องเทย่ี วเพอ่ื สอดรบั กบั เปา้ หมายดงั กล่าวด้วย การพัฒนาประเทศด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG นอกจากน้ี ยังมีแผนที่เกี่ยวข้อง เช่น แผนปฏิรูปประเทศด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมซึ่งมุ่งเน้นปฏิรูประบบ พนั ธกิจ กลไกรองรับการใชป้ ระโยชนแ์ ละอนุรกั ษ์ความหลากหลายทาง ชีวภาพอย่างยั่งยืน โดยมีข้อกังวลต่อภาคการท่องเที่ยวใน 1. มบี ทบาทอย่างเขม้ แขง็ ในการสง่ เสรมิ ผูป้ ระกอบการและ ฐานะประเด็นท้าทายที่ส่งผลกระทบต่อการบรรลุเป้าหมาย แหล่งท่องเที่ยวให้ปฏิบัติตามแนวทางการท่องเที่ยว อันนำไปสู่ ข้อเสนอ BCG In Action: The New Sustainable สขี าวเพ่ือสง่ เสรมิ การท่องเทย่ี วอยา่ งยัง่ ยนื Growth Engine เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว โดยมุ่งเน้นการพัฒนาใน 4 สาขา ซ่ึง 2. เป็นผู้นำในการส่งเสริมให้มีการลดของเสียใน รวมถงึ การท่องเท่ยี วและเศรษฐกจิ สร้างสรรค์ดว้ ย ภาคการทอ่ งเทยี่ วดว้ ยโมเดลเศรษฐกิจ BCG แม้การทอ่ งเท่ียวอยา่ งย่ังยนื จะเป็นประเดน็ ท่ีไดร้ ับความสนใจ 3. สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนตระหนักรู้ในการท่องเที่ยว ในเชิงนโยบายมีการขับเคลื่อนผ่านแผนในทุกระดับ แต่เพื่อให้ ย่ังยนื ประเทศไทยมีความสามารถในการปรับตัว เปลี่ยนแปลงให้ สอดคล้องกับบริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ใน ความสำคัญของแผน ฐานะหน่วยงานภาครัฐที่มีหน้าที่สำคัญในการพัฒนา การท่องเที่ยวของประเทศ จึงได้จัดทำแผนกลยุทธ์เพื่อ การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนเป็นประเด็นที่มีความสำคัญทั้งใน การขับเคลอื่ นการทอ่ งเที่ยวสขี าวภายใตโ้ มเดลเศรษฐกิจ BCG ระดับสากลและในระดับประเทศ ในระดับสากลนั้น องค์การ พ.ศ. 2564 – 2565 เพื่อเป็นกรอบการดำเนินงานให้เกิดข้ึน สหประชาติได้กำหนดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยื น อย่างเปน็ รปู ธรรม (Sustainable Development Goals – SDGs) ซึ่งประชาคม โลกตกลงร่วมกันที่จะใช้เป็นกรอบในการดำเนินงานด้าน ประเดน็ สำคญั เชิงกลยุทธ์ การพฒั นา โดยมเี ปา้ หมาย 17 ข้อ ท้ังน้ี กระทรวงการทอ่ งเที่ยว และกีฬาเป็นผู้รับผิดชอบหลักในการขับเคลื่อนเป้าหมายที่ 8 จากการถอดบทเรียนการระดมความเห็นของบุคลากรที่ การจ้างงานที่มีคุณค่าและการเติบโตทางเศรษฐกิจ และ เกี่ยวข้อง ตลอดจนการศึกษากรอบแนวคิดและแผนการ เป้าหมายที่ 12 แผนการบริโภคและการผลติ ทย่ี ่ังยนื พัฒนาด้านการท่องเที่ยวทั้งในระดับประเทศและระดับสากล กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาจึงได้จัดทำกรอบแนวคิด ในขณะเดียวกัน แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ได้มุ่งเน้นให้เกิด การขับเคลอ่ื นการท่องเทย่ี วสีขาวภายใต้โมเดลเศรษฐกิจ BCG การต่อยอดการทอ่ งเท่ียวอยา่ งยั่งยืน เพื่อเพิ่มมูลค่าของสินคา้ โดยมุ่งเน้นการขับเคลื่อนที่ตอบโจทย์เป้าหมายการพัฒนาที่ และบริการด้านการท่องเที่ยวใหส้ อดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้าน ย่งั ยืน โดยเฉพาะเปา้ หมายท่ี 8 การจ้างงานที่มคี ณุ ค่าและการ การสร้างความสามารถในการแข่งขัน เช่นเดียวกับแผนพัฒนา เติบโตทางเศรษฐกิจ และเป้าหมายที่ 12 แผนการบริโภคและ เศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 ทม่ี ่งุ เนน้ การทอ่ งเทยี่ ว การผลิตที่ยั่งยืนซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวง อยา่ งยงั่ ยนื ในดา้ นการพฒั นาบุคลากร ยกระดบั ผ้ปู ระกอบการ การท่องเที่ยวและกีฬา โดยในการพัฒนาที่ยั่งยืนดังกล่าว และนำไปสู่การปรบั ปรงุ กฎหมายและพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐาน ประกอบไปด้วยเป้าหมายการพัฒนาใน 4 มิติ คือ การเติบโต และกรอบการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน การตระหนักในคุณค่าแห่ง (พ.ศ. 2566-2570) ได้กำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศไทย วัฒนธรรม การมีความมั่นคงปลอดภัยของสังคม และ ในอนาคต โดยมุ่งพลิกโฉมประเทศไทยให้ก้าวไปสู่การเป็น การปกปอ้ งทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม ประเทศที่มี “เศรษฐกิจสร้างคุณค่า สังคมเดินหน้าอย่าง ยั่งยืน” โดยมีหมุดหมายที่ 2 การท่องเที่ยวเน้นคุณค่า ได้ วางเป้าหมายให้ไทยจุดหมายของการท่องเที่ยวที่เน้นคุณค่า และความยั่งยืน สำหรับแผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (5) ประเด็นด้านการท่องเที่ยวนั้น ได้ระบุเป้าหมายของการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนเพื่อลดความเหลื่อล้ำทางสังคมพร้อม SUSTAINABLE TOURISM STRATEGIC PLAN: CLEAN TOURISM TO BCG IN ACTION
3 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ได้มีนโยบาย เกิดการขับเคลื่อนอยา่ งเป็นรปู ธรรม เพื่อสรา้ งความยั่งยืนทาง ในการขับเคลื่อนการท่องเทีย่ วตามแนวทางการทอ่ งเทีย่ วและ สิ่งแวดล้อมและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของการ กีฬาสีขาว ซึ่งเป็นทั้งคุณสมบัติและเป้าหมายของ ท่องเทีย่ วไทย การพัฒนาการท่องเที่ยว อันประกอบไปด้วย สะดวก สะอาด ปลอดภัย เป็นธรรม และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แนวทาง ประเด็นการขบั เคล่อื นสำคญั จำนวน 5 ประเด็น ไดแ้ ก่ ดังกล่าวสอดรับตามหลักจรรยาบรรณการท่องเท่ียวโลก (The 1. การสร้างความรว่ มมือเพือ่ การขบั เคลื่อน Global Code of Ethics for Tourism) โดยมีความมุ่งหมาย การท่องเทย่ี วสขี าวสู่ความยง่ั ยนื ตามโมเดล เพื่อสง่ เสริมการท่องเที่ยวอย่างมีความรับผิดชอบตลอดห่วงโซ่ เศรษฐกิจ BCG อยา่ งเปน็ รูปธรรม การทอ่ งเทยี่ ว 2. การพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเท่ียวและผลติ ภัณฑ์ทาง การท่องเทยี่ วเพอ่ื ตอบสนองกระแสนิยม ด้วยเหตนุ ี้ เพื่อใหก้ ารขบั เคล่ือนการทอ่ งเที่ยวสีขาวตามโมเดล การท่องเทย่ี วย่งั ยนื เศรษฐกิจ BCG เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม กระทรวง 3. การลดคาร์บอนฟุตพร้ินท์ทเ่ี กดิ จาก การท่องเที่ยวและกีฬาจึงได้กำหนดประเด็นการขับเคลื่อน ภาคการทอ่ งเที่ยว สำคญั ที่หน่วยงานภาครัฐและเอกชนในหว่ งโซ่อุตสาหกรรมทุก 4. การลดการใช้ทรัพยากรและของเหลือทิง้ ภาคส่วน จำเป็นจะต้องมีการปรับตัวอย่างเหมาะสม เพื่อให้ 5. การรับมอื กบั การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ SUSTAINABLE TOURISM STRATEGIC PLAN: CLEAN TOURISM TO BCG IN ACTION
4 SUSTAINABLE TOURISM STRATEGIC PLAN: CLEAN TOURISM TO BCG IN ACTION
5 ประเดน็ การขบั เคลอ่ื นสำคัญ 1. การสรา้ งความรว่ มมือเพอ่ื การขบั เคล่ือนการทอ่ งเทยี่ วสขี าวภายใต้โมเดลเศรษฐกิจ BCG อยา่ งเป็นรปู ธรรม ภาครัฐ เชื่อมโยงเป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืนในทุกมิติ ทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม ในระดับนโยบาย และการ วางแผนเพอื่ การขบั เคลอ่ื นการท่องเท่ยี วสขี าวสู่ภายใต้โมเดลเศรษฐกจิ BCG ผู้บริโภค สื่อสารและแสดงออกถึงทัศนคติทีใ่ ห้ความสำคัญในเรื่องสิ่งแวดล้อม และความเต็มใจจ่ายในการซื้อสินค้าและบริการที่มี มลู ค่าและมีความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม อุตสาหกรรม นำแนวทางการท่องเที่ยวสีขาวภายใต้โมเดลเศรษฐกิจ BCG ไปใช้ในการประกอบธุรกิจ พร้อมใช้ระบบเทคโนโลยี การส่ือสารสมัยใหม่เพอื่ สรา้ งกระแสการทอ่ งเที่ยวย่งั ยืนรว่ มกนั ชมุ ชน มสี ่วนร่วมในการพฒั นา สร้างเครอื ขา่ ยและความรใู้ นการพฒั นาการท่องเท่ียวอยา่ งยงั่ ยนื ทำไมเรื่องนจ้ี งึ สำคัญ เราจะทำอะไรตอ่ ไป ในการขับเคลื่อนการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ต้อง อาศัยความร่วมมือของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ • ส่งเสริมและผลักดันการทำงานเชิงบูรณาการมาก ผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องในการทำงานเชิงบูรณาการเพื่อไปสู่ ขึ้นเพื่อขับเคลื่อนไปสู่เป้าหมาย SDGs ผ่านกลไก เปา้ หมายรว่ มกัน การทำงานของ ท.ท.ช. ประเทศไทยมีการดำเนนิ การเพ่ือไปสเู่ ป้าหมายของการพัฒนา • ขับเคลื่อนและเสริมสร้างศักยภาพระดับจังหวัด ที่ยั่งยืน (SDGs) 17 เป้าหมายภายใต้การขับเคลื่อนของ ผา่ นกลไกเขตพฒั นาการทอ่ งเทย่ี ว 15 เขต คณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ซึ่งมี นายกรัฐมนตรีเป็นประธาน และกระทรวงการท่องเที่ยวและ • หน่วยงานนำมาตรการ/แนวทางในการขับเคลื่อน กีฬาได้รับมอบหมายเป็นหน่วยงานรับผิดชอบและ การท่องเที่ยวสีขาวภายใต้โมเดลเศรษฐกิจ BCG ประสานงานหลัก รายเป้าหมายย่อย (Target) ในการ บรรจุเป็นโครงการสำคัญ (Flagship Project) ใน ขับเคลื่อนการพัฒนาการท่องเที่ยวให้บรรลุเป้าประสงค์ 2 ข้อ แผนปฏบิ ตั ริ าชการ 4 ปี ประกอบดว้ ย เป้าประสงค์ที่ 8 ส่งเสริมงานที่มีคุณค่าและการ เจรญิ เติบโตทางเศรษฐกจิ และเป้าประสงค์ท่ี 12 มกี ารบรโิ ภค • ส่งเสริมความร่วมมือเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยว และการผลิตอยา่ งยงั่ ยืน อยา่ งย่ังยนื ระหวา่ งประเทศ หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง รวมถึงกระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬาได้มีการทำงานร่วมกับองค์กร ผู้เชี่ยวชาญทั้งใน ประเทศและต่างประเทศอย่างเข้มแข็ง แสดงถึงความ กระตือรือร้นของรัฐบาลไทยในการผลักดันเป้าหมาย การพฒั นาท่ีย่ังยนื (SDGs) SUSTAINABLE TOURISM STRATEGIC PLAN: CLEAN TOURISM TO BCG IN ACTION
6 SUSTAINABLE TOURISM STRATEGIC PLAN: CLEAN TOURISM TO BCG IN ACTION
7 ประเด็นการขับเคลอ่ื นสำคัญ 2. การพฒั นาแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วและผลิตภัณฑ์ทางการท่องเท่ียวเพ่ือตอบสนองกระแสนยิ มการท่องเทย่ี วอยา่ งย่ังยืน ทำไมเรื่องนจ้ี ึงสำคญั ความย่ังยืนของสิ่งแวดล้อม พัฒนาเข้าสู่มาตรฐานโรงแรมสี นักท่องเที่ยวทั่วโลกตระหนักถึงภัยธรรมชาติ และหันมานิยม เขียวของอาเซียน โดยมีข้อกำหนดจำนวน 11 หมวด การท่องเที่ยวที่ไม่ส่งผลกระทบทางลบต่อสิ่งแวดล้อม จึง ครอบคลุม การจัดทำแผนงาน ด้านสิ่งแวดล้อม การใช้ จำเป็นอย่างยิ่งที่การท่องเที่ยวไทยต้องพยายามปรับตัว โดย ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การจัดการขยะ การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและผลิตภัณฑ์ทางการท่องเที่ยว ประสิทธิภาพพลังงาน ประสิทธิภาพน้ำและคุณภาพน้ำ การ และการสื่อสารการตลาดให้ผสานการท่องเที่ยวตามแนว จัดการคุณภาพอากาศ การจัดการน้ำเสียและการบำบัด การ ทางการท่องเที่ยวย่ังยนื มากข้ึน เพอื่ เปน็ กลไกในการผลกั ดนั ให้ จัดการขยะมีพิษและขยะอันตราย รวมถึงการคำนึงถึงความ การเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นไปอย่างมศี กั ยภาพสงู ร่วมมือกับชุมชนและองค์ท้องถิ่น โดยการจัดทำมาตรฐาน และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เพราะ โรงแรมสเี ขียวของอาเซียน จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ผู้ประกอบการ นอกจากจะเป็นการช่วยลดต้นทุนทางธุรกิจและรักษาสมดุล ในการยกระดับมาตรฐานการบริการท่องเที่ยว และสนับสนุน ทางธรรมชาติแล้ว ยังสามารถตอบสนองต่อกระแสความ การไปสู่ป้าหมายของอาเซียน ในฐานะแหล่งท่องเที่ยวที่มี ต้องการของนักท่องเที่ยวที่ให้ความสำคัญกับการท่องเที่ยวท่ี คุณภาพของโลก การส่งเสริมท่องเที่ยวสีเขียวจะเป็นแหล่ง ยง่ั ยืนมากข้นึ รายไดแ้ ละกระจายรายได้สชู่ ุมชน และสอดคลอ้ งกับพฤตกิ รรม นกั ทอ่ งเท่ยี วทสี่ นใจเร่อื งสง่ิ แวดล้อม สังคม และชมุ ชน ปัจจุบัน โรงแรมทั่วโลกให้ความสำคัญกับการลงทุนหรือการ ส่งเสริมแนวคิดอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมมากขึ้น ภายใต้แนวคิด เราจะทำอะไรตอ่ ไป โรงแรมสเี ขียว ซงึ่ โรงแรมดงั กล่าวได้จดั ทำแผนการดำเนินงาน เสริมสร้างศักยภาพของผู้ประกอบการท่องเท่ียวยั่งยืนให้ เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งนำนวัตกรรมหรือ เทคโนโลยใี หม่มาใช้ในการให้บริการหรือการจัดการของเสียท่ี มากขึ้น และดึงดูดผู้ลงทุนรายใหม่ให้มีมาตรฐาน เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งช่วยลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การจดั การด้านสิ่งแวดลอ้ มสูง เพม่ิ ผลกำไร และเพิม่ ความพึงพอใจใหก้ ับผู้ใชบ้ รกิ าร สร้างความเชื่อมั่นในคุณค่าของแบรนด์ประเทศไทยโดย ผลักดันการส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบ Responsible กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาได้จัดทำยุทธศาสตร์ส่งเสริม Tourism อย่างเปน็ รูปธรรมในทกุ มติ ิ การท่องเที่ยวสีเขียว (Green Tourism) พ.ศ. 2560-2564 ส่งเสริมให้ธุรกิจในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและแหล่ง เพอื่ สง่ เสรมิ การประกอบกิจการที่ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ท่องเที่ยวเสนอเข้าสู่การรับรองมาตรฐานในระดับสากล และเป็นทนี่ า่ ยินดีทผี่ ปู้ ระกอบการท่องเทีย่ วและชุมชน รวมถึง เช่น มาตรฐาน Global Sustainable Tourism Council คนไทยรุ่นใหม่มีความตื่นตัว ให้ความสำคัญต่อผลกระทบต่อ (GSTC) สิ่งแวดล้อมมากขึ้น กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาได้ ร่วมมือกับ สวทช. จัดทำ National Guideline ด้านขีด สนับสนุนโครงการและการรับรองเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวสี เขียวที่สำคัญหลายโครงการ เช่น ใบไม้เขียว โรงแรมสีเขียว ความสามารถในการรองรับ (Carrying Capacity) ของ และมาตรฐานโรงแรมสเี ขียวของอาเซียน เป็นตน้ แหล่งท่องเท่ียวที่สำคัญ ได้แก่ ภูเขา ทะเล และ กรณศี ึกษา : มาตรฐานโรงแรมสีเขยี วของอาเซียน กรมการท่องเที่ยว เป็นหน่วยงานหลักของประเทศไทยใน วฒั นธรรม การสนับสนนุ และส่งเสริมให้ธุรกิจโรงแรมของไทยตระหนกั ถึง จัดทำบัญชีประชาชาตดิ า้ นการท่องเที่ยวที่รวมต้นทุนด้าน สิ่งแวดล้อม (TSA-SEEA) เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบ การวดั ผลและการวางแผนเชิงนโยบายอย่างเปน็ รปู ธรรม SUSTAINABLE TOURISM STRATEGIC PLAN: CLEAN TOURISM TO BCG IN ACTION
8 SUSTAINABLE TOURISM STRATEGIC PLAN: CLEAN TOURISM TO BCG IN ACTION
9 ประเดน็ การขับเคล่อื นสำคัญ 3. การลดคารบ์ อนฟุตพริน้ ท์ท่เี กดิ จากภาคการท่องเที่ยว แล้ว 7,712 tonCO2e เทียบเท่าการดูดซับ CO2 ต่อปีของ ต้นไม้ จำนวน 856,904 ต้น จากการจัดการประชุมและ ทำไมเรื่องนจี้ ึงสำคญั สมั มนาทเี่ ปน็ มติ รกับส่งิ แวดลอ้ ม ผ ล ก า ร ว ิ จ ั ย ข อ ง ม ห า ว ิ ท ย า ล ั ย ซ ิ ด น ี ย ์ ป ร ะ ม า ณ ก า ร ว่ า กรณศี กึ ษา : เกาะหมาก แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วคารบ์ อนต่ำ อุตสาหกรรมท่องเที่ยว ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่าง ประมาณ 4,500 ลา้ นตนั ในแตล่ ะปี คิดเป็นร้อยละ 8 ของกา๊ ซ ยั่งยืน (อพท.) ได้ริเริ่มโครงการบริหารจัดการการแหล่ง เรือนกระจกที่ปล่อยสู่บรรยากาศโลก ด้วยเหตุนี้ เมือง ท่องเที่ยวแบบคาร์บอนต่ำ ซึ่งเป็นกลยุทธ์หนึ่งในการส่ือสารที่ ท่องเที่ยวทั่วโลกจึงได้วางแนวทางเพื่อพัฒนาเมืองสู่การเป็น ช่วยส่งเสริมภาพลักษณ์ให้กับแหล่งท่องเที่ยวคุณภาพ สร้าง “เมอื งคาร์บอนตำ่ ” โอกาสในการรับรู้ให้กับนักท่องเที่ยว และช่วยลดต้นทุน การ ผลิต และการประหยัดพลังงาน โดยมีการจัดทำธรรมนูญเกาะ ข้อมูลขององค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การ หมาก 8 ข้อ เพื่อผลักดันให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ปล่อย มหาชน) รายงานว่านักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางมายัง คาร์บอนนอ้ ยท่สี ดุ ในประเทศไทย ทำให้การทอ่ งเที่ยวบนเกาะ ประเทศไทยมีการปล่อยก๊าซเรอื นกระจกรวมกันประมาณ 50 หมากมีการเติบโตและอยู่ในความสนใจของนักท่องเที่ยวมา ลา้ นตันต่อปี เฉลย่ี ตอ่ คนสูงเป็นอนั ดับท่ี 6 ของโลกในปี 2556 โดยตลอด ภาคการท่องเที่ยวของไทย มีความเปราะบางอย่างยิ่งต่อ เราจะทำอะไรตอ่ ไป การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เพราะส่งผลให้เกิดการกดั เซาะของชายฝั่ง ภาวะภัยแล้งและน้ำท่วม การเปลี่ยนแปลง • ขยายผลองค์ความรู้ที่พัฒนาขึ้นภายใต้ศูนย์วิชาการ ปริมาณและรูปแบบการการกระจายของฝนรายปี ตลอดจน นานาชาติด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (CITC) อุณหภูมิที่สูงขึ้น ซึ่งล้วนสง่ ผลต่อความงดงามและบรรยากาศ เพื่อความเข้าใจเรื่องผลกระทบที่เกิดจากกการใช้ ของแหล่องท่องเที่ยว โดยเฉพาะการท่องเที่ยวชายฝั่งทะเล ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน จนเป็นผลกระทบต่อเนื่องไปยังเศรษฐกิจของประเทศอย่าง การท่องเทีย่ วแก่บุคลากรในอตุ สาหกรรมการท่องเทยี่ ว หลกี เลย่ี งไมไ่ ด้ • ส่งเสริมให้ภาครัฐ ภาคเอกชน รวมถึงผู้ประกอบการใน กรณีศกึ ษา : โครงการ Care the Bear อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวทำกิจกรรมชดเชยคาร์บอน การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) ได้ร่วมมือกับตลาด เพอ่ื เป็นการแสดงความรบั ผิดชอบต่อสงั คม หลักทรัพยแ์ ห่งประเทศไทยและองค์กรพันธมิตรอื่นๆ รวม 50 องค์กร ในการผลักดันการท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบ รวมถึง • สร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องกิจกรรมชดเชยคาร์บอนของ สร้างความตระหนักให้นักท่องเที่ยวและชุมชนเจ้าของ การจัดกิจกรรมด้านการท่องเที่ยวและกีฬา ให้แก่ทุกภาค ทรัพยากรร่วมลดภาวะโลกรอ้ นจากการลดการปล่อยก๊าซเรอื น สว่ นที่เกี่ยวข้อง กระจกจากกิจกรรมท่องเที่ยว เพื่อนำไปสู่การท่องเที่ยวยั่งยนื ด้วยการจัดทำเครื่องมือช่วยคำนวณค่าการปล่อยก๊าซเรือน • ส่งเสริมศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม กระจก หรือ Digital Eco Calculator Kit โดยตั้งแต่เริ่ม การท่องเที่ยว ให้มีความสามารถในการนำเสนอการจัด ดำเนินการในปี 2561 สามารถลดปริมาณคาร์บอนฟุตพริ้นท์ กิจกรรมแบบ Carbon Neutral Event SUSTAINABLE TOURISM STRATEGIC PLAN: CLEAN TOURISM TO BCG IN ACTION
10 SUSTAINABLE TOURISM STRATEGIC PLAN: CLEAN TOURISM TO BCG IN ACTION
11 ประเด็นการขับเคลื่อนสำคัญ 4. การประหยัดทรพั ยากรและของเหลอื ท้ิง ทำไมเร่ืองนจ้ี ึงสำคัญ เราจะทำอะไรตอ่ ไป ผู้ประกอบการภาคการท่องเที่ยวทั้ง 12 สาขา ล้วนมี • สนับสนุนและส่งเสริมให้ผู้ประกอบการภาคการ การประกอบกิจกรรมการให้บริการที่ใช้พลังงานจำนวนมาก ท่องเที่ยวตลอดห่วงโซ่ ปรับตัวเข้าสู่การท่องเที่ยวยั่งยืน เช่นเดียวกับการสร้างขยะและน้ำเสีย ซึ่งมีส่วนสำคัญต่อ ผ่านการลดการใช้น้ำ ลดการใช้พลังงานทั้งไฟฟ้าและ การสร้างผลกระทบต่อสงิ่ แวดลอ้ ม นำ้ มัน ลดการปลดปล่อยขยะ การนำเทคโนโลยสี มัยใหม่ มาใชเ้ พ่ือลดการใช้ทรพั ยากรที่ไม่จำเปน็ การลดการใช้ทรัพยากรน้ำ พลังงาน รวมไปถึงการลดของ เหลือทิ้งในการประกอบธุรกิจด้านการท่องเที่ยว นอกจากจะ • สร้างองค์ความรู้ให้แก่หน่วยงาน ผู้ประกอบการและ เป็นการประหยัดทรัพยากรธรรมชาติ อนุรักษ์สิ่งแวดลอ้ มแล้ว นักทอ่ งเท่ียวสอดแทรกผ่านกจิ กรรมการทอ่ งเทยี่ วตา่ ง ๆ ยงั ชว่ ยลดต้นทนุ ในการดำเนินธุรกจิ ของผู้ประกอบการอกี ดว้ ย อยา่ งเหมาะสม การจัดการขยะในพืน้ ที่แหล่งท่องเที่ยวถือเป็นอีกหน่ึงประเดน็ • สนับสนุนด้านการบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมอย่าง ความท้าทายและปัญหาของการท่องเที่ยวไทยเนื่องจากขยะ เหมาะสมในแหล่งทอ่ งเท่ียวและสถานประกอบการ จากการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นมากกว่า 500 ตันต่อปี แต่ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นส่วนใหญ่ยังขาดอุปกรณ์และ เครื่องมือจำเป็นที่เพียงพอ เพื่อช่วยในการบริหารจัดการได้ อย่างทั่วถึง ผู้ประกอบการภาคการท่องเที่ยว จึงควรพัฒนา ระบบการจัดการขยะและน้ำเสียจากชุมชนหรือแหล่ง ท่องเที่ยวให้มีมาตรฐาน ไม่มีการปล่อยของเสียลงสู่ทะเลหรือ แหล่งน้ำชมุ ชน ตลอดจนสร้างประโยชน์จากขยะอนิ ทรีย์ (ขยะ อาหาร) เพือ่ นำไปเพิม่ มลู คา่ หรอื นำไปใช้ประโยชน์ เปน็ ต้น กรณีศกึ ษา : MICHELIN Green Star การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยได้ส่งเสริมการลดขยะอาหาร หรอื Zero Food Waste ในภาคการท่องเท่ียวโดยเพิ่มรางวัล ดาวมิชลินรักษ์โลก หรือ MICHELIN Green Star เป็น สัญลักษณ์รูปดาวสีเขียว สำหรับการจัดทำคู่มือ “มิชลิน ไกด์ ไทยแลนด”์ ถือเปน็ รางวัลใหม่จาก มิชลนิ ไกด์ คร้ังแรกในโลก ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย โดยมอบให้กับร้านอาหารที่ดำเนิน กิจการและมีแนวปฏิบัติประจำวันด้านการประกอบอาหารที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน อาทิ การรีไซเคิล การลด ขยะอาหาร การจัดหาวัตถุดิบในท้องถิ่นและตามฤดูกาลด้วย ความรบั ผดิ ชอบ SUSTAINABLE TOURISM STRATEGIC PLAN: CLEAN TOURISM TO BCG IN ACTION
12 SUSTAINABLE TOURISM STRATEGIC PLAN: CLEAN TOURISM TO BCG IN ACTION
13 ประเด็นการขบั เคล่ือนสำคัญ 5. การรับมือกบั การเปลี่ยนแปลงภาพภมู ิอากาศ ทำไมเรือ่ งนจ้ี ึงสำคญั ดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคการ ทอ่ งเท่ยี ว หลายพื้นที่ทั่วโลกกำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศท่ีสร้างความเสียหายแก่แหล่งท่องเที่ยวมากมาย เราจะทำอะไรต่อไป ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) • พัฒนากลไกและการขับเคลื่อนตามแผนการปรับตัวต่อ ที่ส่งผลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม เป็น ประเด็นที่มีความสำคัญและรัฐบาลได้ให้ความสนใจและ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแห่งชาติ ในประเด็น ดำเนินงานร่วมกับนานาชาติ และจัดทำยุทธศาสตร์และ ด้านการทอ่ งเท่ยี ว นโยบายเพื่อรองรับการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ • สนับสนุนการสร้างและเผยแพร่องค์ความรู้ด้าน ประเทศไทยมีความเปราะบางในการได้รับผลกระทบจาก การจัดการความเสี่ยงและลดผลกระทบจากภยั พิบตั แิ ละ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ทั้งการที่อุณหภูมิสูงขึ้น น้ำ การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ ท่วม น้ำแล้ง การกัดเซาะชายฝัง่ และภัยธรรมชาติต่าง ๆ โดย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ • สนับสนุนการสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังและแจ้งเตือนภัย สิง่ แวดล้อม ไดม้ ีการจัดทำแผนการปรบั ตัวตอ่ การเปลย่ี นแปลง ด้านการท่องเที่ยวในการรับมือต่อการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศแห่งชาติ เพื่อให้ภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง รวมถีง สภาพภมู อิ ากาศ ภาคการท่องเที่ยวใช้เป็นแนวทางในการบูรณาการประเด็น การปรับตัวต่อผลกระทบจาการเปลี่ยนแปลงของสภาพ • สร้างความตระหนักและเสริมสร้างองค์ความรู้ของ ภูมอิ ากาศเขา้ สูแ่ ผนของหนว่ ยงานทีเ่ ก่ียวขอ้ ง ผปู้ ระกอบการในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในการรับมือกับ ความเส่ียงจากการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ กรณศี ึกษา : การพัฒนาศกั ยภาพบุคลากรดา้ นการท่องเที่ยว เพ่อื สรา้ งองค์ความรดู้ า้ นการเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ • ริเริ่มจัดทำโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อ กรมการท่องเที่ยว ร่วมกับ สำนักงานนโยบายและแผน การจัดการองค์ความรู้ด้านการท่องเทีย่ วอย่างย่ังยนื ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม (สผ.) และองค์การบรหิ าร จัดการก๊าซเรือนกระจก ร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงความ • สนับสนุนเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มค่า Green GDP ในภาค ร่วมมือภายใต้การขยายผลองค์ความรู้ด้านการเปลี่ยนแปลง การท่องเที่ยวของประเทศและสนับสนุนฐานข้อมูลและ สภาพภูมิอากาศภาคการท่องเที่ยว เมื่อวันที่ วันที่ 6 ส.ค. ส่งเสรมิ เทคโนโลยเี พ่อื บริการแหล่งท่องเท่ยี ว 2562 โดยมีการจัดเสวนาและบรรยายเกี่ยวกับการท่องเที่ยว กับเศรษฐศาสตร์การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ เพื่อพัฒนา ศกั ยภาพบุคลากรทเี่ กยี่ วข้อง และเพ่ิมขีดความสามารถในการ SUSTAINABLE TOURISM STRATEGIC PLAN: CLEAN TOURISM TO BCG IN ACTION
14 การขับเคล่ือนตามแนวทาง เส้นทางท่องเที่ยว Scenic Route ซึ่งมีเป้าหมายสร้างรายได้ จากการท่องเที่ยวเพิ่มขึน้ กระจายรายไดส้ ู่ชุมชนและท้องถิ่น กระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬาจะดำเนินการตามแนวทางท่ี เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน และบริหารจัดการด้าน กำหนดให้เกดิ ผลสัมฤทธิ์ โดยจะทำงานเชิงบูรณาการรว่ มกบั สิ่งแวดลอ้ มและการใช้สอยท่ีดนิ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ หน่วยงานและภาคีเครือข่าย เพื่อการปลูกฝังจิตสำนึกและ ยกระดับความสามารถในการบริหารจัดการการท่องเที่ยว 4. กิจกรรมการสง่ เสริมให้ใช้วสั ดุและอุปกรณ์ที่ทำจากวัสดุ ให้กับบุคลากรในภาคการท่องเที่ยว ตลอดจนการพัฒนา ธรรมชาตใิ นการจัดการแขง่ ขนั กีฬา มาตรฐาน กลไกการรับรองมาตรฐาน รวมถึงการรณรงค์ การส่งเสรมิ ใหผ้ จู้ ดั การแข่งขันกฬี าท้ังในภาครัฐและเอกชนใช้ ส่งเสรมิ ให้หน่วยงานต่าง ๆ มีขีดความสามารถในการปรับตัว วัสดุและอุปกรณ์สำหรับการแข่งขันที่ทำจากวัสดุธรรมชาติ เพื่อนำไปสู่การขับเคลื่อนการท่องเที่ยวสีขาวภายใต้โมเดล หรือวัสดุรไี ซเคิลเพื่อเปน็ การสนับสนุนผู้ประกอบการสินค้าท่ี เศรษฐกจิ BCG อนั ประกอบไปดว้ ย สะอาด สะดวก ปลอดภยั ดำเนินการตามโมเดลเศรษฐกิจ BCG พรอ้ มทั้งสง่ เสรมิ การลด เป็นธรรม และเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม แนวทางดังกล่าวสอด ขยะด้วยการรีไซเคลิ รับตามหลักจรรยาบรรณการท่องเที่ยวโลก (The Global Code of Ethics for Tourism) โดยมีความมุ่งหมายเพื่อให้ 5. โครงการพัฒนาการท่องเทีย่ วอารยธรรมอีสานใต้โดยใช้ ภาคการท่องเที่ยวมีบทบาทนำในการขับเคลื่อนการพัฒนา ฐานเศรษฐกิจชวี ภาพ ประเทศด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG และเพ่ือสรา้ งความมัน่ ใจ สร้างเส้นทางท่องเที่ยว Bio Economy ในเขตพัฒนา ว่าประเทศไทยได้ประโยชน์จากการทอ่ งเที่ยวท่ียั่งยืนทั้งด้าน การท่องเที่ยวอารยธรรมอีสานใต้ พร้อมทั้งพัฒนาศักยภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสง่ิ แวดลอ้ ม บุคลากรในชุมชนท่องเที่ยวเขตพัฒนาการท่องเที่ยวอารย ธรรมอีสานใต้เกี่ยวกับการใช้สมุนไพรที่พบในชุมชน และ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬามีแผนงาน โครงการสำคัญที่ พัฒนาของฝากของที่ระลึกจากทรัพยากรทางชีวภาพของ จะดำเนินการเพื่อขับเคลื่อนการท่องเที่ยวสีขาวภายใต้โมเดล ชุมชนท่องเทยี่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเที่ยวอารยธรรมอสี านใต้ เศรษฐกิจ BCG ดงั นี้ กลุ่มโครงการขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ หมนุ เวียน กล่มุ โครงการขบั เคลอื่ นเศรษฐกิจชวี ภาพ (Bio economy) (Circular economy) 1. การศึกษาออกแบบการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในเขต 6. ธรรมนูญการทอ่ งเทีย่ ว พัฒนาการทอ่ งเที่ยว การจัดทำข้อตกลงร่วมกันเพื่อส่งเสริมการเป็นเจ้าบ้านที่ดี การศกึ ษาออกแบบเพ่อื พัฒนาแหล่งท่องเทีย่ วอา่ งน้ำผดุ และ สร้างความเป็นธรรมในการใช้ทรัพยากรร่วมกันส่งเสริมให้ พืน้ ท่ีเชื่อมโยงต.บางสวรรค์ อ.พระแสงจ.สรุ าษฎร์ธานี และ การจัดทำแผนพฒั นาแหล่งท่องเที่ยวควนคานหลาว จ.สงขลา 2. การส่งเสริมและพฒั นาศักยภาพเพือ่ ยกระดับชุมชนเพ่ือ เข้าสูม่ าตรฐาน ส่งเสรมิ และพฒั นาตน้ แบบโฮมสเตย์ท่ีเป็นมิตรกบั สิง่ แวดล้อม (Eco Friendly Homestay) และการส่งเสริมและพัฒนา ต้นแบบโฮมสเตย์ที่มีการจัดการและให้บริการที่เน้นด้าน สขุ ภาพ (Healthy Homestay) 3. การจดั ทำแผน Sand Dune ชุมพร จัดทำแผนพัฒนาเนินทรายงาม (Sand Dune) ต.ปากคลอง อ.ปะทิว จ.ชุมพร ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ตาม SUSTAINABLE TOURISM STRATEGIC PLAN: CLEAN TOURISM TO BCG IN ACTION
15 ผู้ประกอบการให้มีความซื่อสัตย์ สุจริต เป็นธรรม และ ประเทศไทย ให้มีหลักเกณฑ์เรื่องความสะอาด รวมทั้งมีการ คำนึงถึงประโยชน์โดยรวม และกระจายรายได้จากการ กำหนด TOR ให้ผู้รับจ้างจัดงานมีแนวทางปฏิบัติด้านการ ท่องเที่ยวอย่างทั่วถึง เป็นธรรมโดยยังคงรักษาไว้ซึ่ง จัดการขยะและการดูแลความสะอาดในงานแข่งขันกีฬา ทรัพยากรธรรมชาติโดยรวม 12. โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพเพื่อยกระดับ 7. การยกระดบั เมอื งทอ่ งเทยี่ วสะอาด ชุมชนเพ่อื เขา้ สู่มาตรฐาน ส่งเสริมใหน้ ักทอ่ งเที่ยวและผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยว การพัฒนาศักยภาพชุมชนเพื่อเข้าสู่มาตรฐานการท่องเที่ยว ให้มีความรู้ ตระหนักถึงความสะอาดและสิ่งแวดล้อมเพื่อ โดยจัดอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชนเพื่อเข้าสู่มาตรฐาน ยกระดับ เมืองท่องเที่ยว สถานประกอบการ และในแหล่ง การท่องเที่ยว และการส่งเสริมชุมชนท่องเที่ยวรูปแบบ ท่องเท่ียวให้มีความสะอาด Smart Tourism นอกจากนี้ ยังมีการพัฒนาศักยภาพชุมชน และโฮมสเตย์ผ่าน \"บ้านสวยด้วยอัตลักษณ์\" เพื่อให้ชุมชน 8. การลดของเสียจากการให้บริการอาหารของ โฮมสเตย์ ที่ได้การรับรองมาตรฐานโฮมสเตย์ไทยให้มีจุดขาย ผปู้ ระกอบการดา้ นการทอ่ งเท่ียว (Zero Food waste) สร้างมูลค่าเพิ่ม และมีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น ผ่านการ พัฒนาธุรกิจต้นแบบที่สามารถจัดการขยะอาหาร (food waste) ออกแบบตกแต่งบ้านพักโฮมสเตย์ให้สะท้อนอัตลักษณ์ของ โดยการให้ความรู้และส่งเสริมผู้ประกอบการให้มีแนวทาง ชุมชน บริหารจัดการขยะอาหารอย่างเหมาะสมเพื่อลดปริมาณขยะ อาหารและบรรจุภัณฑ์จากการทอ่ งเทย่ี ว กลมุ่ โครงการขบั เคล่ือนเศรษฐกจิ สีเขียว (Green economy) 9. โครงการพฒั นานวัตกรรมสง่ เสริมการออกกำลังกายและ เล่นกีฬาของประชาชนทม่ี กี ารรณรงคด์ ้านสงิ่ แวดล้อม 13. โครงการ มาตรการท่องเทีย่ วทีเ่ ป็นมิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม สร้างแรงจูงใจและกระแสการต่ืนตัวเรื่องการออกกำลังกาย และความปลอดภัยด้านสุขอนามัย (Amazing Thailand ด้วยสื่อที่เหมาะสมพร้อมทั้งเชื่อมโยงการพัฒนาสุขภาพกับ Eco Safety & Health Administration : Eco + SHA) ระบบข้อมูลการออกกำลังกายด้วยการจัดทำ application ต่อยอดมาตรฐาน SHA เพื่อส่งเสริมให้ผู้ประกอบการมีการ อำนวยความสะดวก จัดกิจกรรมประชาสัมพันธส์ ร้างการรับรู้ บริหารจัดการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น โดยเพิ่ม ของประชาชน ทุกกิจกรรมมีการรณรงค์เรื่องขยะและวัสดุ มาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การจัดการน้ำ การจัด เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จับมือหุ้นส่วนทั้งภาครัฐและเอกชน การพลังงาน การจัดการน้ำเสีย การจัดการขยะ การมีส่วน ในการสนับสนุนสิทธิประโยชน์ให้กับประชาชน เช่น การ ร่วมกับท้องถิ่นและชุมชน รวมถึงการใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตร ลดหยอ่ นภาษี กับสิง่ แวดล้อม 10.กจิ กรรมการลดใชท้ รพั ยากรจากการจัดการแขง่ ขนั กีฬา 14. การตรวจประเมินและรับรองมาตรฐานการท่องเที่ยว กิจกรรมการคัดแยกขยะในช่วงการแข่งขันอย่างเป็นรูปธรรม อาเซยี น เพื่อนำกลับไปใหม่หรือนำไปใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสมเพ่ือ ตรวจประเมินและรับรองมาตรฐานให้แก่สถานประกอบการ ลดปรมิ าณขยะจากการดำเนนิ งาน ด้านการท่องเที่ยวทั่วประเทศตามมาตรฐานสำหรับประเทศ อาเซียน (ASEAN Standard) อาทิมาตรฐานโรงแรมสีเขียว 11. โครงการ Clean Run มาตรฐานโฮมสเตย์อาเซียน มาตรฐานสปาของอาเซียน การส่งเสริมการแข่งขันกีฬาที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมผ่าน มาตรฐานการท่องเที่ยวโดยชุมชนของอาเซียนมาตรฐาน มาตรการต่าง ๆ อาทิ จัดประกวดแนวคิดในการจัดการขยะ ห้องน้ำสาธารณะอาเซียน และ มาตรฐานเมืองท่องเที่ยว ในงานกีฬา การสอดแทรกการให้ความรู้เพื่อสร้างความ สะอาดของอาเซยี น ตระหนักในการลดขยะต่อชุมชนและผู้ร่วมกิจกรรม และ ปรบั แกป้ ระกาศของกระทรวงเรื่องแนวทางการปฏิบัติการจัด กิจกรรมวิ่งตามภูมิภาคหรือมาตรฐานของสมาคมกรีฑาแห่ง SUSTAINABLE TOURISM STRATEGIC PLAN: CLEAN TOURISM TO BCG IN ACTION
16 15. การส่งเสริมและพัฒนาผู้ประกอบการท่องเที่ยวและ 20. โครงการกีฬาสีขาว บริการสู่มาตรฐานการท่องเที่ยวปลอดภัยด้านสุขอนามัย ดำเนนิ กิจกรรมการจัดการแข่งขันกฬี าโดยคำนึงถงึ ผลกระทบ และรกั ษส์ ิ่งแวดลอ้ ม (ECOSHANG) ตอ่ สภาพแวดลอ้ ม และเกดิ การหมนุ เวียนเศรษฐกจิ ชุมชนผา่ น พัฒนาผู้ประกอบการท่องเทีย่ ว และบริการเป็นพืน้ ที่ตน้ แบบ กิจกรรมกีฬา โดยการการลดใช้ทรัพยากรจากการจัด ตามมาตรฐานการท่องเทยี่ วปลอดภยั ด้านสขุ อนามัยและรักษ์ การแข่งขันกีฬา การส่งเสริมให้ใช้วัสดุและอุปกรณ์ที่ทำจาก ส่ิงแวดลอ้ ม วัสดุธรรมชาติในการจัดการแข่งขัน การคัดแยกขยะในช่วง การแข่งขันอย่างเป็นรูปธรรม และ การส่งเสริมสินค้าจาก 16. การส่งเสริมการประเมินและรับรองมาตรฐานแหล่ง ชุมชนท่ไี ม่สง่ ผลกระทบต่อสง่ิ แวดลอ้ มเขา้ รว่ มในกจิ กรรมกฬี า ทอ่ งเทย่ี ว ตรวจประเมินและรับรองมาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเที่ยว 21. โครงการสายตรวจจกั รยานและเดนิ เท้า และการพัฒนาและปรับปรุงมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยว (Agro การจัดให้เจ้าหน้าที่ตำรวจท่องเที่ยวออกตรวจตราความ tourism) ปลอดภัยตลอดจนอำนวยความสะดวกนักท่องเที่ยวโดยใช้ จักรยานหรือการเดินเท้าเพื่อลดก๊าซพิษจากเครื่องยนต์และ 17. การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพเพื่อยกระดับชุมชน เขา้ ถึงประชาชนและพืน้ ทเ่ี พมิ่ มากข้ึน เพอื่ เข้าส่มู าตรฐาน การประเมินเพื่อจัดลำดบั ศักยภาพการพฒั นาแหล่งท่องเที่ยว 22. การทอ่ งเทย่ี วยง่ั ยืนในพื้นทีพ่ ิเศษเปา้ หมาย โดยชุมชน พร้อมออกแบบการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวชุมชน ขับเคลื่อนการท่องเที่ยวยั่งยืนในพื้นที่พิเศษเป้าหมาย โดยมี Community design ปรับปรุงมาตรฐานการท่องเที่ยวโดย การดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ อาทิ การจัดเก็บขยะ การจัด ชุมชน (CBT) การตรวจประเมินและรับรองมาตรฐานการ กิจกรรมฟื้นฟูสภาพแวดลอ้ ม การจดั ทำรายการสนิ ทรัพย์และ ท่องเทยี่ วโดยชุมชน และการจดั อบรมใหค้ วามรู้แก่ชุมชนและ สิ่งดึงดูดใจด้านการท่องเที่ยว การส่งเสริมช่องทางการตลาด ผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยวและพัฒนาศักยภาพของ ผลิตภัณฑ์และบริการชุมชน การส่งเสริมให้สถาน แหล่งทอ่ งเทยี่ วเพ่อื เข้าสมู่ าตรฐาน ประกอบการที่พักเข้าร่วมโครงการโรงแรมที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดลอ้ ม การรณรงคอ์ าหารสะอาด รสชาติอรอ่ ย การออก 18. การส่งเสริมศักยภาพการบริหารจัดการและสร้าง ประกาศห้ามนักท่องเที่ยวนำภาชนะโฟมเข้าไปยังบริเวณ เครือข่ายการพัฒนาแหลง่ ท่องเทย่ี วส่คู วามยั่งยืน อทุ ยาน และการห้ามมใิ หม้ ีพาหนะทีใ่ ชน้ ้ำมนั เข้าไปท่องเท่ียว จัดทำหลักสูตรอบรมด้านการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยว ในเขต โดยเน้นใหใ้ ช้พาหนะพลังงานไฟฟ้า เปน็ ตน้ อย่างยั่งยืน (online) เพื่อส่งเสริมศักยภาพการบริหารจัดการ และสร้างเครือข่ายการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวสู่ความยั่งยืน 23. โครงการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนอยู่ดีมสี ุข (Happy (ระดับภูมิภาค) พร้อมทั้งจัดทำข้อมูลชุดองค์ความรู้เกี่ยวกับ CBT) การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว จัดอบรมส่งเสริมศักยภาพการ พัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวโดยชุมชน เชิงสร้างสรรค์ เชิง บริหารจัดการและสรา้ งเครือข่ายการพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ วสู่ อาหาร เชิงสุขภาพกาย และ เชิงสุขภาพใจ สำหรับตลาด ความยนั่ ยืนในพืน้ ทต่ี น้ แบบ คณุ ภาพ ได้แก่ สินคา้ ผลติ ภัณฑ์อาหารทอ้ งถิ่นท่ไี ดร้ ับการเพ่ิม มูลค่า การยกระดับให้ได้มาตรฐานด้านสุขอนามัย ความ 19. การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพเพื่อยกระดั บ ปลอดภัย การจัดการส่งิ แวดล้อม และการบรกิ าร การบริหาร ผู้ประกอบการเพอื่ เขา้ สู่มาตรฐาน จัดการผ่านระบบเทคโนโลยี การสร้างการรับรู้ในกลุ่ม การพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการด้านบริการท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวคุณภาพ เพื่อเพิ่มรายได้ด้านการท่องเที่ยวอยา่ ง (ท่องเที่ยวสีขาว : Clean Safe Fair Tourism) รองรับการ ย่งั ยนื ในพน้ื ที่ปา้ หมายจำนวน 30 ชมุ ชน ท่องเท่ยี ววิถใี หม่ (New normal) มุง่ เนน้ การบริการท่ีสะอาด ปลอดภัย เป็นธรรม และการเป็นเจ้าบ้านที่ดี ไม่เอารัดเอา เปรียบนักทอ่ งเทีย่ ว SUSTAINABLE TOURISM STRATEGIC PLAN: CLEAN TOURISM TO BCG IN ACTION
17 ตารางความสอดคลอ้ งของโครงการสำคญั เพอื่ ขับเคลื่อนการทอ่ งเทย่ี วสขี าวภายใตโ้ มเดลเศรษฐกจิ BCG ช่อื โครงการ/กิจกรรม หนว่ ยงาน BCG 1 การศึกษาออกแบบเพื่อพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอ่างน้ำผุดและพื้นที่เชื่อมโยง กทท. ต.บางสวรรค์ อ.พระแสงจ.สรุ าษฎร์ธานี กทท. 2 การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพเพื่อยกระดับชุมชนเพื่อเข้าสู่มาตรฐาน (Eco Friendly Homestay และ Healthy Homestay) กทท. กกท 3 โครงการจัดทำแผน Sand Dune ชุมพร อพท. 4 กิจกรรมการส่งเสริมให้ใช้วัสดุและอุปกรณ์ที่ทำจากวัสดุธรรมชาติในการจดั การ กทท. แข่งขนั กทท. กทท. 5 โครงการพัฒนาการทอ่ งเที่ยวอารยธรรมอสี านใต้โดยใชฐ้ านเศรษฐกิจชวี ภาพ กทท. 6 ธรรมนญู การท่องเท่ยี ว กพล. 7 การยกระดบั เมืองท่องเที่ยวสะอาด กกท. กกท. 8 การลดของเสียจากการให้บริการอาหารของผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยว ททท. (Zero Food waste) กทท. 9 โครงการส่งเสรมิ และพฒั นาศกั ยภาพเพ่ือยกระดบั ชุมชนเพ่ือเขา้ สมู่ าตรฐาน กทท. 10 โครงการพัฒนานวัตกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายและเล่นกฬี าของประชาชน กทท. ท่ีมกี ารรณรงค์ดา้ นสิง่ แวดล้อม กทท. 11 กิจกรรมการลดใชท้ รัพยากรจากการจดั การแข่งขนั กฬี า อพท. 12 โครงการ Clean Run 13 โครงการ มาตรการทอ่ งเที่ยวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และความปลอดภัยด้าน สุขอนามัย ( Amazing Thailand Eco Safety & Health Administration : Eco + SHA) 14 โครงการตรวจประเมินและรบั รองมาตรฐานการทอ่ งเทีย่ วอาเซยี น 15 โครงการส่งเสริมและพัฒนาผู้ประกอบการท่องเทีย่ วและบรกิ ารสู่มาตรฐานการ ท่องเทีย่ วปลอดภยั ด้านสุขอนามยั และรกั ษส์ ิ่งแวดล้อม (ECOSHANG) 16 โครงการสง่ เสรมิ การประเมนิ และรบั รองมาตรฐานแหลง่ ท่องเทย่ี ว 17 โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการด้านบริการท่องเที่ยว (ท่องเที่ยวสีขาว : Clean Safe Fair Tourism) 18 การส่งเสริมและพฒั นาศกั ยภาพเพอ่ื ยกระดับชุมชนเพือ่ เขา้ สู่มาตรฐาน SUSTAINABLE TOURISM STRATEGIC PLAN: CLEAN TOURISM TO BCG IN ACTION
18 19 การส่งเสริมศักยภาพการบริหารจัดการและสร้างเครือข่ายการพัฒนาแหล่ง กทท. ท่องเท่ยี วสู่ความยัง่ ยนื กกท. 20 โครงการกีฬาสขี าว บช.ทท. 21 โครงการสายตรวจจักรยานและเดนิ เท้า อพท. 22 โครงการทอ่ งเทย่ี วยงั่ ยนื ในพนื้ ที่พเิ ศษเปา้ หมาย อพท. 23 โครงการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทยี่ วโดยชมุ ชนอยดู่ มี ีสุข (Happy CBT) SUSTAINABLE TOURISM STRATEGIC PLAN: CLEAN TOURISM TO BCG IN ACTION
19 ตวั ชีว้ ดั แผนกลยุทธเ์ พอ่ื การขับเคลอื่ นการท่องเที่ยวสขี าวภายใตโ้ มเดลเศรษฐกจิ BCG พ.ศ. 2564 - 2565 โดยหนว่ ยงานภายใต้กระทรวงการท่องเท่ยี วและกฬี า ประเดน็ เป้าประสงค์ กลยทุ ธส์ ำคญั ตวั ชี้วดั กิจกรรมสำคญั ขับเคลือ่ นสำคัญ เกดิ ผลลัพธท์ ีเ่ ป็น สง่ เสรมิ ให้หนว่ ยงาน มีการติดตาม - รายงานผลการติดตามการขับเคล่ือน การสรา้ งความ รปู ธรรมใน ราชการขบั เคลอื่ น ความสำเรจ็ ของ ตามแผนกลยุทธ์ ร่วมมือเพื่อ การขับเคล่อื น การทำงานโดยคำนึงถงึ โครงการขับเคลื่อน การขบั เคลอ่ื น การท่องเที่ยวสขี าว ความย่ังยนื อยา่ งเต็ม ตามแผนกลยทุ ธ์ การทอ่ งเทย่ี วสี ภายใตโ้ มเดลเศรษฐกิจ ประสิทธภิ าพ ขาวภายใต้โมเดล BCG อยา่ งเป็นรูปธรรม ปรับปรงุ เง่อื นไข จำนวนแผนงาน/ - การศึกษาและพิจารณาเสนอแนวทางการจดั สรรงบ เศรษฐกจิ BCG การบริหารจัดการ โครงการทผี่ ่านเกณฑ์ บรู ณาการที่ให้ความสำคัญกับการทอ่ งเทย่ี วยงั่ ยืน อย่างเป็นรปู ธรรม งบประมาณโดยให้ ตามแนวทอ่ งเทย่ี ว - การจัดทำแนวทางปฏบิ ตั แิ ละเกณฑพ์ จิ ารณา ความสำคญั กับ ย่งั ยนื สำหรบั แผนงาน/โครงการตามแนวท่องเทยี่ วยง่ั ยืน การทอ่ งเทยี่ วยง่ั ยืน สว่ นราชการและเอกชน มกี ารส่ือสารแสดง - แถลงการณ์แสดงเจตนารมณเ์ พื่อ ภายในอุตสาหกรรมการ เจตนารมณ์ การขบั เคล่ือนการท่องเทย่ี วสีขาวภายใตโ้ มเดล ท่องเท่ียวมีการกระชบั เจตนารมณเ์ พือ่ เศรษฐกิจ BCG (A Manifesto for Future ความร่วมมอื กนั การขับเคลอ่ื นการ Tourism ; Why We Need ' Clean Tourism to ทอ่ งเทยี่ วสีขาวภายใต้ BCG in Action ') การพฒั นาแหล่ง ดึงดูดนกั ทอ่ งเท่ียวและ สรา้ งอปุ สงค์ตอ่ โมเดลเศรษฐกิจ BCG ทอ่ งเทยี่ วและ กระตุ้นการใช้จ่ายด้วย การทอ่ งเทย่ี วย่งั ยนื ใน ธรุ กิจทอ่ งเท่ยี วท่ีเป็น - เพม่ิ หมวดแหล่งทอ่ งเที่ยวยั่งยนื ในเวบ็ ไซตแ์ นะนำ ผลติ ภณั ฑท์ าง สินค้าและบรกิ ารที่ กลุ่มนักท่องเที่ยว มิตรต่อส่ิงแวดล้อม แหลง่ ท่องเท่ียวของกระทรวงและหนว่ ยงานเครือยข่าย การท่องเทยี่ วเพือ่ คำนงึ ถงึ ความ ปรากฏบนสือ่ ส่งเสริม เช่น www.thailandtourismdirectory.go.th ตอบสนองกระแส รบั ผดิ ชอบต่อสงั คม เพิ่มความรู้และทักษะใน การขายในการ - สง่ เสรมิ ให้เกดิ การรับรู้แหล่งทอ่ งเท่ียว/ทพ่ี ักกลุ่ม นิยมการทอ่ งเทย่ี ว และสง่ิ แวดล้อม การปฏิบตั ิที่เป็นมิตรตอ่ ทอ่ งเที่ยวมากขึ้น ท่องเทย่ี วยง่ั ยืน ย่งั ยนื ส่งิ แวดลอ้ มในบคุ ลากร - ผลักดนั การส่งเสรมิ การท่องเที่ยวแบบ การทอ่ งเทย่ี ว มกี ารเผยแพร่และ Responsible Tourism พัฒนาแหลง่ ท่องเทยี่ ว รวบรวมองค์ความรู้ การเผยแพร่และรวบรวมองคค์ วามรู้ด้านท่องเที่ยว และผลติ ภัณฑท์ าง ด้านทอ่ งเท่ยี วย่ังยืน ยั่งยืนในหนว่ ยงานกระทรวงการท่องเทยี่ วและกีฬาเพอื่ การทอ่ งเทย่ี วภายใต้ ยกระดับไปสู่ระบบการจัดการองค์ความรู้ดา้ นความ โมเดลเศรษฐกิจ BCG ความสำเรจ็ ของ ยัง่ ยนื โครงการด้านการ - โครงการศกึ ษาออกแบบเพ่อื พัฒนาแหลง่ พฒั นาแหล่งท่องเทย่ี ว ทอ่ งเท่ียวอ่างนำ้ ผดุ และพืน้ ที่เช่ือมโยงต.บางสวรรค์ และผลติ ภัณฑท์ าง อ.พระแสง จ.สุราษฎร์ธานี การทอ่ งเทย่ี วภายใต้ - โครงการการจดั ทำแผนพฒั นาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว โมเดลเศรษฐกิจ BCG ควนคานหลาว จ.สงขลา - โครงการจดั ทำแผน Sand Dune ชมุ พร - โครงการพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วอารยธรรมอสี านใตโ้ ดยใช้ ฐานเศรษฐกจิ ชวี ภาพ - โครงการธรรมนูญการทอ่ งเทีย่ ว -โครงการจัดทำหลักสูตรและจัดอบรมด้านการบริหาร จดั การแหล่งท่องเที่ยวอยา่ งยั่งยืน (online) SUSTAINABLE TOURISM STRATEGIC PLAN: CLEAN TOURISM TO BCG IN ACTION
20 ประเด็น เป้าประสงค์ กลยุทธ์สำคัญ ตวั ช้วี ดั กจิ กรรมสำคัญ ขบั เคลื่อนสำคญั เพ่ิมขดี ความสามารถ ทางการแข่งขันของ ส่งเสรมิ และพัฒนา จำนวนผปู้ ระกอบการ - โครงการจดั อบรมส่งเสริมศักยภาพการบรหิ ารจัดการ ผปู้ ระกอบการตามแนว ผู้ประกอบการทอ่ งเทยี่ ว และแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วท่ี และสร้างเครือข่ายการพฒั นาแหล่งท่องเที่ยวสู่ความ ทางการท่องเท่ียวย่ังยนื และแหล่งท่องเทีย่ วเขา้ เข้าสู่การรบั รอง ย่งั ยืน (ระดับภูมิภาค) สกู่ ารรับรอง มาตรฐานสากลเพิม่ - โครงการจัดทำข้อมูลชุดองค์ความรู้เก่ยี วกับ มาตรฐานสากลเพิม่ มาก มากข้ึน การพฒั นาแหล่งท่องเทยี่ ว ขึน้ - โครงการจดั อบรมส่งเสริมศกั ยภาพการบริหารจัดการ และสร้างเครือขา่ ยการพัฒนาแหล่งทอ่ งเท่ียวสคู่ วาม ย่ันยนื ในพื้นท่ีต้นแบบ- โครงการทอ่ งเท่ียวย่ังยนื ใน พ้ืนที่พเิ ศษเปา้ หมาย - โครงการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวโดยชมุ ชนอยดู่ ีมีสุข (Happy CBT) - โครงการ มาตรการท่องเท่ยี วทเี่ ปน็ มิตรกบั ส่งิ แวดล้อม และความปลอดภยั ดา้ นสขุ อนามยั (Amazing Thailand Eco Safety & Health Administration: Eco + SHA) - โครงการส่งเสริมและพฒั นาผู้ประกอบการทอ่ งเท่ยี ว และบริการส่มู าตรฐานการท่องเทย่ี วปลอดภยั ดา้ น สขุ อนามยั และรักษส์ ่ิงแวดลอ้ ม (ECOSHANG) -โครงการตรวจประเมินและรับรองมาตรฐาน การทอ่ งเทย่ี วอาเซยี น -โครงการตรวจประเมินและรบั รองมาตรฐานคุณภาพ แหลง่ ท่องเทีย่ ว -โครงการพัฒนาและปรบั ปรุงมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยว (Agro tourism) -โครงการส่งเสริมและพัฒนาต้นแบบโฮมสเตย์ที่เป็น มิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม (EcoFriendly Homestay) - โครงการส่งเสริมและพฒั นาตน้ แบบโฮมสเตยท์ ี่มี การจดั การและใหบ้ ริการท่ีเน้นด้านสขุ ภาพ (Healthy Homestay) - โครงการการพัฒนาศักยภาพชุมชนเพอ่ื เข้าสู่ มาตรฐานการทอ่ งเท่ียว - โครงการการส่งเสริมชมุ ชนท่องเทยี่ วรูปแบบ Smart Tourism - โครงการการพฒั นาศักยภาพชุมชนและโฮมสเตยผ์ ่าน \"บา้ นสวยดว้ ยอัตลักษณ\"์ - โครงการประเมินเพอื่ จดั ลำดบั ศกั ยภาพการพัฒนา แหล่งท่องเทยี่ วโดยชุมชน - โครงการออกแบบการพฒั นาแหล่งท่องเท่ยี วชุมชน Community design - โครงการปรับปรุงมาตรฐานการท่องเท่ยี วโดยชุมชน (CBT) - โครงการการตรวจประเมินและรบั รองมาตรฐาน การท่องเทีย่ วโดยชมุ ชน SUSTAINABLE TOURISM STRATEGIC PLAN: CLEAN TOURISM TO BCG IN ACTION
21 ประเดน็ เปา้ ประสงค์ กลยุทธส์ ำคัญ ตัวช้ีวดั กิจกรรมสำคญั ขับเคลือ่ นสำคญั ภาคการท่องเทยี่ วมี สง่ เสริมความตระหนกั รู้ จำนวนผู้ประกอบการ -โครงการจดั อบรมให้ความรู้แก่ชุมชนและ การลดคารบ์ อน การปรับตัวเพื่อลด เกยี่ วกบั คารบ์ อน การท่องเที่ยวมกี ารใช้ ผู้ประกอบการดา้ นการท่องเทย่ี วและพัฒนาศักยภาพ ฟุตพร้นิ ท์ทเี่ กดิ การปลอ่ ยกา๊ ซคารบ์ อน ฟตุ พร้นิ ท์ เคร่อื งมือชว่ ยคำนวณ ของแหล่งท่องเทยี่ วเพอ่ื เขา้ สู่มาตรฐาน จากการท่องเทยี่ ว ไดออกไซนด์ ้วยโมเดล ในภาคการทอ่ งเที่ยว ค่าการปลอ่ ยก๊าซ -*โครงการการพฒั นาศกั ยภาพผู้ประกอบการดา้ น เศรษฐกิจ BCG เรือนกระจกเพิ่มมาก บริการท่องเทีย่ ว (ทอ่ งเทย่ี วสีขาว : Clean Safe Fair การลดการใช้ ลดการใช้ทรพั ยากรและ ส่งเสริมการการลด ขนึ้ Tourism) ทรัพยากร ของเหลือท้ิงจาก การใช้ทรพั ยากรและ จำนวนโครงการ - การจดั ทำและแจกจ่ายชดุ เครื่องมอื ชว่ ยคำนวณ และของเหลอื ทิ้ง กจิ กรรมการท่องเทยี่ ว ของเหลือท้ิงผ่าน ส่งเสรมิ การการลด คา่ การปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจก และกีฬา กิจกรรมการทอ่ งเท่ียว การใชท้ รัพยากรและ - บูรณาการงานรว่ มกบั กระทรวงคมนาคมเพอื่ การรบั มอื กบั และกีฬา ของเหลอื ท้ิงจาก สนบั สนุนการลดกา๊ ซเรือนกระจกในกลมุ่ การเปลยี่ นแปลง ช่วยเหลอื อุตสาหกรรม กิจกรรมการทอ่ งเท่ยี ว ผ้ปู ระกอบการขนส่ง สภาพภมู อิ ากาศ การทอ่ งเท่ยี วเพือ่ จำนวนธุรกจิ และ และกีฬาเพ่ิมขึน้ - โครงการสายตรวจจกั รยานและเดินเท้า ปรบั ตัวกับปัญหา อุตสาหกรรมตระหนัก - กิจกรรมการส่งเสรมิ ใหใ้ ชว้ ัสดุและอุปกรณ์ทที่ ำจาก การเปลย่ี นแปลงสภาพ ถงึ ประเดน็ และความทา้ จำนวนธุรกิจท่ี วสั ดธุ รรมชาติในการจัดการแข่งขนั ภมู อิ ากาศ ทายของภาวะ ตอ้ งการคำแนะนำตอ่ - โครงการเมอื งทอ่ งเทย่ี วสะอาด การเปลย่ี นแปลงสภาพ การปรบั ตัวในภาวะ - โครงการลดของเสียจากการให้บริการอาหารของ ภูมิอากาศมากขน้ึ เปลี่ยนแปลงสภาพ ผปู้ ระกอบการด้านการท่องเที่ยว (Zero Food waste) ภูมอิ ากาศ - กิจกรรมการลดใช้ทรพั ยากรจากการจัดการแข่งขนั กีฬา - โครงการ Clean Run - โครงการพัฒนานวตั กรรมส่งเสรมิ การออกกำลังกาย และเล่นกีฬาของประชาชนท่ีมีการรณรงค์ด้าน สงิ่ แวดลอ้ ม - โครงการกีฬาสีขาว - กจิ กรรมการสือ่ สาร ใหค้ วามรูเ้ กย่ี วกบั การรบั มือ กบั การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศใน ผูป้ ระกอบการดา้ นการท่องเที่ยว SUSTAINABLE TOURISM STRATEGIC PLAN: CLEAN TOURISM TO BCG IN ACTION
22 SUSTAINABLE TOURISM STRATEGIC PLAN: CLEAN TOURISM TO BCG IN ACTION
23 SUSTAINABLE TOURISM STRATEGIC PLAN: CLEAN TOURISM TO BCG IN ACTION
24 SUSTAINABLE TOURISM STRATEGIC PLAN: CLEAN TOURISM TO BCG IN ACTION
25 SUSTAINABLE TOURISM STRATEGIC PLAN: CLEAN TOURISM TO BCG IN ACTION
26 SUSTAINABLE TOURISM STRATEGIC PLAN: CLEAN TOURISM TO BCG IN ACTION
Search
Read the Text Version
- 1 - 34
Pages: