47 กำรเขยี นอำ้ งองิ ในรำยงำน รปู แบบกำรอำ้ งอิง กำรเขียนรำยงำนวิชำกำรและบรรณำนกุ รม
48 ตัวอยำ่ งกำรวำงไวห้ นำ้ ขอ้ ควำม ธาดาศักด์ิ วชิรปรีชาพงษ์ (2534: 34) ได้กล่าวไว้ว่า ความหมายของห้องสมุด เป็นสถาบันที่ทาหน้าที่คัดเลือก จัดหา รวบรวม วิเคราะห์ จัดเกบ็ สารนเิ ทศในรูปแบบต่าง ๆ ทุกรูปแบบท้ัง ที่เป็นวัสดุสิ่งพิมพ์ วัสดุโสตทัศน์และวัสดุอิเล็กทรอนิกส์ มีการจัด องค์กรบริหารและดาเนินการตามระบบสากล ในฐานะที่เป็น สถาบันสาคัญของสังคมท่ีทาหน้าที่สร้างสม สืบทอดและเผยแพร่ มรดกทางความคิด ภูมิปัญญา ประสบการณ์ กิจกรรมการค้นคิด ตลอดจนวิชาการใหม่ ๆ เพ่ือเป็นรากฐานในการสร้างสรรค์ พัฒนา และความเจรญิ ก้าวหนา้ ของสังคมตอ่ ไป
49 กำรเขียนอ้ำงอิงในรำยงำน ตัวอย่ำงกำรวำงไว้ท้ำยข้อควำม ห้องสมุดมีความสาคัญย่ิงต่อการพัฒนาการเรียนการสอน ของครู อาจารย์ และนักเรียน เพราะเป็นแหล่งจัดเก็บ รวบรวม และให้บริการวัสดุสารนิเทศ ความรู้ ข้อมูล ข่าวสารต่างๆ ห้องสมุดเป็นศูนย์การเรียนรู้สาคัญ เพราะเปิดโอกาสให้ทุกคน ได้มาศึกษาหาความรู้ เรียนรู้วิทยาการต่างๆ ด้วยตนเอง นอกจากนี้ห้องสมุดยงั เป็นแหล่งพฒั นาลักษณะนิสัยที่พึงประสงค์ อันสาคัญยิ่ง คือ นิสัยการสนใจใฝ่เรียนรู้ด้วยตนเอง ซึ่งเป็นนิสัย สาคัญท่ีต้องสร้างให้เกิดข้ึนกับนักเรียนการมีห้องสมุดที่ดี มีบริการท่ีดี ย่อมมีโอกาสที่จะสรา้ งลกั ษณะนิสยั ท่ีพึงประสงคใ์ ห้ เกดิ ขนึ้ กับนกั เรียนได้ (พวา พนั ธ์เมฆา. 2551 : 22 ) กำรเขยี นรำยงำนวิชำกำรและบรรณำนกุ รม
50 กำรเขยี นบรรณำนกุ รม ควำมหมำยของบรรณำนกุ รม บรรณานุกรม (Bibliography) หมายถึง รายช่ือสง่ิ พิมพ์ หรอื วัสดุอา้ งอิงตา่ งๆ ท่ผี ้เู ขยี นใช้ประกอบการศกึ ษาคน้ คว้า เรยี บ เรยี ง เขยี นรายงาน หรือบทนพิ นธ์อื่นๆบรรณานุกรมจะจัดไว้ท้าย เล่มของรายงาน และเรียงตามลาดบั ตัวอักษร ประโยชน์ของบรรณำนุกรม 1. มปี ระโยชนต์ ่อการตรวจสอบหลกั ฐานดง้ั เดมิ ท่ผี ู้เขียน นามาอา้ งองิ ในรายงาน 2. มีประโยชน์ต่อผู้สนใจที่อยากทราบเน้ือหาโดย ละเอยี ด สามารถค้นหาเพิม่ เติมไดจ้ ากรายการบรรณนุกรม 3. ความนา่ เชอ่ื ถอื ของรายงาน 4. เป็นการให้เกียรติเจ้าของความรู้ ความคิด อันเป็น มารยาทของนกั วชิ าการ
51 กำรเขียนอ้ำงองิ ในรำยงำน หลกั เกณฑ์ในกำรเขียนบรรณำนกุ รม 1. ชือ่ ผูแ้ ตง่ เป็นได้ทง้ั ชื่อคน นามปากกา ช่อื หน่วยงาน องค์กรต่างๆ 2. ในการเขียนชื่อผแู้ ตง่ จะไม่เขยี นคานาหน้า เชน่ นาย, นาง, ดร. , อาจารย์, รองศาสตาจารย์ เป็นตน้ 3. หากไม่ปรากฏปีทีพ่ ิมพ์ ใหใ้ ช้อักษรยอ่ (ม.ป.ป.) 4. หากครงั้ ทพ่ี ิมพห์ ลายครง้ั ให้เขียนครง้ั ทพี่ มิ พ์ล่าสดุ 5. หากพมิ พค์ รง้ั ท่ี 1 ไมต่ อ้ งเขยี น เขียนพิมพค์ รัง้ ท่ี 2 เป็น ต้นไป 6. สถานท่ีพมิ พ์ คอื จังหวดั ทีจ่ ดั พิมพห์ นงั สือเล่มนั้น 7. สานกั พิมพ์ คอื สถานทจี่ ดั พมิ พ์หรือสถานทพ่ี ิมพ์ หนงั สือเล่มน้ัน 8. ในการยอ่ หนา้ จะย่อหนา้ 7 ตวั อกั ษร แล้วเขียนตวั ที่ 8 กำรเขียนรำยงำนวิชำกำรและบรรณำนุกรม
52 รูปแบบกำรเขยี นบรรณำนกุ รมจำกหนังสอื ชื่อผแู้ ต่ง.//(ปีทพ่ี ิมพ์).//ชือ่ หนงั สือ.//คร้ังทีพ่ มิ พ์.//สถานที่ พิมพ/์ :/สานักพมิ พ์. 1. ผแู้ ตง่ 1 คน ตัวอย่ำง แรคา ประโดยคา. (2547). ในเวลำ. พิมพ์คร้ังท่ี 6. กรงุ เทพฯ : รปู จนั ทร์. สงวน สุทธิเลิศอรุณ. (2524). ปรชั ญำและคุณธรรม สำหรับครู. พมิ พ์คร้งั ที่ 2. กรุงเทพ ฯ : วทิ ยาลยั ครูสวนสุนันทา. 2. ผแู้ ต่ง 2 คน : ใชค้ าเชอื่ ม “และ” เชอ่ื มระหวา่ งผแู้ ต่งคนท่ี 1และ คนที่ 2 ตัวอยำ่ ง ทวี ทองสวา่ ง และกนษิ ฐา ทยานุกูล. (ม.ป.ป.). คู่มือ สงั คมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม ภูมศิ ำสตร์ ม.4-5-6. กรุงเทพฯ : ไฮเอด็ พบั ลชิ ช่งิ .
53 กำรเขียนอ้ำงอิงในรำยงำน 3. ผู้แต่ง 3 คน : ใชเ้ คร่อื งหมายจลุ ภาค (,) เชือ่ มระหวา่ งผแู้ ต่งคนที่ 1 และผู้แตง่ คนที่ 2 ใช้คาเช่ือมคาว่า “และ” ระหว่างผูแ้ ตง่ คนที่ 2 และ ผู้แตง่ คนที่ 3 ตวั อย่ำง หริ ัญ หิรญั ประดษิ ฐ,์ สุขวฒั น์ จันทรปรณิก และเสรมิ สขุ สลกั เพช็ ร. (2540). เทคโนโลยกี ำรผลิตทุเรียน. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์. 4. ผแู้ ตง่ มำกกว่ำ 3 คน : ใหเ้ ขียนช่ือผแู้ ตง่ คนแรกและใช้คาวา่ “และ คนอน่ื ๆ” ตัวอย่ำง จรวย บญุ ยบุ ล และคนอ่นื ๆ. (2536). พลงั งำน. กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กำรเขียนรำยงำนวชิ ำกำรและบรรณำนุกรม
54 กำรเขียนบรรณำนกุ รมออนไลน์ ชอื่ ผแู้ ตง่ .//(ปีที่ค้น).// “ช่ือเรือ่ ง.”//[ออนไลน์]./เข้าถงึ ไดจ้ าก/:/ ชือ่ เว็บไซต.์ /สืบคน้ ว/ด/ป. ตวั อย่ำง 1. กรณีมีชือ่ ผูแ้ ต่ง จรวย บญุ คง. (2562). “หอ้ งสมดุ .” [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก :: https://www.polsci.chula.ac.th. สืบคน้ 14 สิงหาคม 2562. 2. กรณไี ม่มีช่อื ผแู้ ตง่ “การถา่ ยภาพบคุ คล.” (2562). [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก : https://www.photoschoolthailand.com. สบื คน้ 14 สงิ หาคม 2562.
56 การรวบรวมข้อมูล ควำมหมำยของกำรรวบรวมขอ้ มูล กำรรวบรวมข้อมูล หมายถึง การเสาะหาหรือการรับ ข้อมูลมารวมกันเพื่อให้เกิดความสมบูรณ์ขั้นตอน ในการเก็บรวบรวม ข้อมูล และเป็นการนาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ มารวมกันไว้ใน รูปแบบท่ีเหมาะสม ด้วยวธิ ีต่างๆ ควำมสำคญั ของกำรรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นขั้นตอนหนึ่งของกระบวนการ ทางสถิติ ที่มีความสาคัญ เพ่ือให้ได้มาซ่ึงข้อมูลที่ตอบสนอง วัตถปุ ระสงค์ และสอดคล้องกับกรอบแนวความคิด สมมุติฐาน เทคนิค การวัด และการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งหมายรวมท้ัง การเก็บข้อมูล ( Data Collection) คือ การเก็บข้อมูลขึ้นมาใหม่ และการรวบรวม ข้อมูล ( Data Compilation) ซ่ึงหมายถึง การนาเอาข้อมูลต่างๆท่ี ผู้อื่นได้เก็บไว้แล้ว หรือรายงานไว้ในเอกสารต่างๆ มาทาการศึกษา วเิ คราะหต์ ่อ
57 กำรเขียนอ้ำงอิงในรำยงำน ประเภทของข้อมลู ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงเก่ียวกับตัวแปรท่ีสารวจโดย ใช้วิธีการวัดแบบใดแบบหนึ่ง โดยท่ัวไปจาแนกตามลักษณะของ ขอ้ มลู ไดเ้ ป็น 2 ประเภท คอื 1. ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) คือ ข้อมูลท่ี เป็นตัวเลขหรือนามาให้รหัสเป็นตัวเลข ซึ่งสามารถนาไปใช้ วเิ คราะห์ทางสถติ ิได้ 2. ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) คือ ข้อมูลท่ี ไม่ใชต่ ัวเลข ไมไ่ ด้มีการให้รหสั ตวั เลขทจี่ ะนาไปวเิ คราะห์ทางสถิติ แต่เป็นข้อความหรอื ข้อสนเทศ กำรวิเครำะห์ สังเครำะห์ขอ้ มูล และสรปุ องค์ควำมรู้
58 วธิ กี ำรเก็บรวบรวมข้อมลู แบง่ เปน็ วิธกี ารใหญ่ๆ ได้ 3 วธิ ี ดงั น้ี 1. การสังเกตการณ์ ท้ังการสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม และการสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม หรืออาจจะแบ่งเป็น การสังเกตการณ์แบบมีโครงสร้าง และการสังเกตการณ์แบบไม่มี โครงสร้าง 2. การสัมภาษณ์ นิยมมากในทางสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะ การสัมภาษณ์โดยใช้แบบสอบถาม การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก หรืออาจจะจาแนกเป็นการสัมภาษณ์เป็นรายบุคคล และการสัมภาษณ์ เป็นกลุ่ม เช่น เทคนิคการสนทนากลุม่ ซ่ึงนิยมใชก้ ันมาก 3. การรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร เช่น หนังสือ รายงานวิจัย วทิ ยานิพนธ์ บทความ ส่ิงพมิ พต์ ่างๆ เป็นต้น
59 กำรเขียนอำ้ งอิงในรำยงำน ขั้นตอนกำรรวบรวมขอ้ มูล 1. กาหนดหัวข้อว่าข้อมูลที่ต้องการมีอะไรบ้างโดย การศกึ ษาและวเิ คราะหจ์ ากวัตถปุ ระสงคห์ รือปัญหา 2. กาหนดแหล่งข้อมูล เป็นการกาหนดว่าแหล่งข้อมูลมี ขอบเขตอะไร และเป็นแหล่งข้อมูลปฐมภูมิหรือ ทุติยภูมิ แล้ว จะต้องพิจารณาว่าแหล่งขอ้ มูลน้ัน ๆ สามารถท่ีจะให้ข้อมูลได้อย่าง ครบถว้ นหรอื ไม่ 3. เลือกวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล จะต้องเลือกใช้วิธีการ เก็บรวบรวมข้อมูลที่เหมาะสม ประหยัด ได้ข้อมูลอยา่ งครบถ้วนมี มากเพียงพอและเปน็ ข้อมูลทเ่ี ชือ่ ถอื ได้ 4. วิเคราะห์ข้อมูล นาข้อมูลมาวิเคราะห์ตรวจสอบ และเรียบเรียงใหเ้ หมาะสม กำรวิเครำะห์ สงั เครำะห์ข้อมูล และสรปุ องคค์ วำมรู้
60 กำรตรวจสอบแหล่งที่มำของขอ้ มูล เพื่อเป็นการตรวจสอบความน่าเชื่อของแหล่งข้อมูล สารสนเทศท่ีสืบค้นมาได้ผู้สืบค้นสามารถประเมินความน่าเช่ือถือ ของแหลง่ ขอ้ มูลไดด้ งั น้ี 1. บอกวัตถุประสงค์ในการสร้างหรือเผยแพร่ข้อมูลไว้ ชดั เจน 2. การเสนอเนื้อหาตรงตามวัตถุประสงค์ในการสร้างหรือ เผยแพร่ข้อมูล 3. เนื้อหาหรือบทความไม่ขัดต่อกฎหมาย ศีลธรรม และ จริยธรรม 4. มีการระบุชื่อผู้เขียนบทความหรือผู้ให้ข้อมูลอย่าง ชดั เจน 5. มีการให้ท่ีอยู่ (E-mail address) หรือท่ีอยูท่ ี่ติดต่อได้ ทผ่ี ู้อ่านสามารถตดิ ต่อได้หากมขี ้อสงสัย 6. มีการอา้ งองิ หรือระบุแหลง่ ทม่ี าของขอ้ มลู ของเนอ้ื หา
61 กำรเขยี นอ้ำงองิ ในรำยงำน 7. สามารถเชอ่ื มโยงไปแหล่งข้อมลู อื่นท่ีอ้างถงึ ได้ 8. มีการระบุวนั เวลาในการเผยแพรข่ อ้ มลู 9. มีการระบุวันเวลาในการปรับปรุงข้อมูลคร้ังล่าสุด (ถ้ามี) 10. มชี อ่ งทางใหผ้ ู้อ่านแสดงความคดิ เห็น 11. มีข้อความเตือนผู้อ่านให้ใช้วิจารณญาณในการ ตดั สนิ ใจใช้ขอ้ มูล กำรวเิ ครำะห์ สงั เครำะหข์ อ้ มูล และสรุปองค์ควำมรู้
62 การเรียบเรียงข้อมูล ควำมหมำยของกำรเรียบเรยี งขอ้ มูล การเรียบเรียงข้อมูลเป็นกระบวนการที่สาคัญและต้องทา เป็นประจาในการประมวลผลข้อมูล เน่ืองจากข้อมูลที่เรียงลาดับ อย่างมีระเบียบ มักทาให้การตีความ การหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลต่าง ๆ กระทาได้ง่ายข้ึน การศึกษาขั้นตอนวิธีการเรียงลาดับ ข้อมูลซ่ึงมีอยู่มากมายหลากหลายวิธีจึงเป็นเร่ืองสาคัญ เพื่อให้ เข้าใจแนวคิดและประสิทธิภาพการทางาน รวมถึงจุดเด่นจุดด้อย ของขนั้ ตอนวธิ ีดงั กลา่ ว ควำมสำคัญของกำรเรยี บเรียงข้อมูล การเรียบเรียงข้อมูล เป็นการจัดการข้อมูลที่กระทากัน มากในงานประยุกต์ต่างๆ การได้มาซ่ึงข้อมูลหลายๆแหล่ง จึงเป็น ความจาเปน็ ท่จี ะต้องเรียบเรียงข้อมูลท่ีได้มาจากการอ่าน วิเคราะห์ สงั เคราะห์จนเกดิ เปน็ ข้อมูลทไ่ี ด้จากการศกึ ษาคน้ คว้า
63 กำรเขยี นอำ้ งองิ ในรำยงำน ขน้ั ตอนในกำรเรียบเรยี งขอ้ มูล ข้ันตอนในการเรียบเรียงข้อมูล ได้มาจากส่วนประกอบ ของรายงาน ดงั นี้ 1. ส่วนประกอบตอนต้น คือ ส่วนท่ีอยู่ต้นเล่มของ รายงานก่อนถึงเนอื้ เรื่องประกอบดว้ ย 1.1 ปกนอก (หน้าปก) เป็นส่วนที่หุม้ รายงานทั้งหมด มที ้ังปกหน้าและปกหลงั ควรใช้กระดาษท่ี หนากว่ากระดาษในตวั เลม่ สสี ุภาพ 1.2 ใบรองปก เป็นกระดาษเปล่า 1 แผ่นคั่นอยู่ ระหวา่ งปกนอกและปกใน 1.3 ปกใน หน้าปกในจะมีรายละเอียดเหมือนปก นอกทกุ ประการ แตอ่ าจจะเพิม่ รายละเอยี ดตอนกลาง กำรวิเครำะห์ สังเครำะหข์ อ้ มลู และสรุปองคค์ วำมรู้
64 1.4 คานา เป็นการกล่าวถึงเนื้อหาโดยสรุปของรายงาน เพือ่ ให้ผูอ้ ่านเข้าใจภาพรวมของรายงานเบอื้ งตน้ 1.5 สารบัญ เป็นการเรียงลาดับบทต่างๆของรายงาน เรียง ตามลาดบั เน้ือหาพร้อมระบเุ ลขหน้ากากบั ว่าแตล่ ะบทเรม่ิ จากหน้าใด 1.7 สารบัญตาราง ในกรณีท่ีรายงานมีตารางประกอบ จานวนมาก จะทาบัญชีตารางต่อจากสารบัญประกอบด้วย รายการ ตารางพร้อมระบุเลขหน้ากากับ เรียงตามลาดับเลขท่ีตารางท่ีปรากฏ ในรายงาน 1.8 สารบัญภาพ ในกรณีท่ีรายงานมีภาพประกอบจานวน มากจะจัดทาบัญชีภาพประกอบเชน่ เดยี วกับบัญชตี าราง
65 กำรเขียนอำ้ งอิงในรำยงำน 2. สว่ นประกอบตอนกลำง (เนอ้ื เรื่อง) เปน็ สว่ นสาคญั ท่สี ุด ของรายงาน แบง่ แยกเนื้อหาท่ีเขียนเปน็ บทอย่างมีระบบระเบยี บ ตามลาดับรายงานทางวิชาการมโี ครงสรา้ งมาตรฐาน 5 บท คอื บทท่ี 1 บทนา บทท่ี 2 เอกสารทเี่ กยี่ วข้อง บทที่ 3 วิธดี าเนนิ การศกึ ษา บทท่ี 4 ผลการศกึ ษา บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 3. ส่วนประกอบทำ้ ย ประกอบดว้ ย 3.1 บรรณานุกรม คือ รายการสารสนเทศทง้ั หมดทีผ่ ู้ทา รายงานได้ศึกษาค้นคว้านามาอ้างอิงประกอบการเรียบเรยี งทา รายงาน จดั เรียงตามลาดบั ตัวอักษรและเขียนรายงานต่างๆตามแบบ แผนเขียนบรรณานกุ รม กำรวิเครำะห์ สังเครำะห์ขอ้ มลู และสรุปองค์ควำมรู้
66 การวเิ คราะหข์ ้อมูล ควำมหมำยของกำรวิเครำะหข์ ้อมูล กำรวิเครำะห์ หมายถึง การแยกแยะทางความคิด หรือทางวัตถุของส่ิงใดส่ิงหนึ่งหรือเร่ืองใดเรื่องหนึ่ง เพื่อให้เห็น องค์ประกอบ เพ่ือศึกษาแต่ละองค์ประกอบหรือว่าแยกแยะเพ่ือให้ เห็นเพื่อให้เห็นความสัมพันธ์ ขององค์ประกอบต่างๆ ท่ีทาให้เกิดสิ่ง นนั้ หรือเร่อื งนัน้ เวลาวิเคราะห์ต้องพยายามหาคาตอบว่า ข้อความ บทความ เนือ้ เรอ่ื งนน้ั ให้ความรู้อะไรบ้าง ผู้เขียนแสดงความคิดเหน็ อะไรให้ทราบบ้าง มีความรู้สกึ อยา่ งไร ขั้นตอนในกำรวิเครำะหข์ อ้ มูล ขั้นที่ 1 การใช้แนวคิดทฤษฎีและการสร้างกรอบแนวคิด สาหรบั การวเิ คราะห์ - จะใชแ้ นวคดิ ทฤษฎี - ก่อนเก็บรวบรวมขอ้ มลู - ระหวา่ งการเกบ็ ขอ้ มูล - ขนั้ วิเคราะหข์ ้อมลู และสร้างบทสรปุ
67 กำรเขียนอ้ำงอิงในรำยงำน ขนั้ ท่ี 2 การตรวจสอบขอ้ มลู - การตรวจสอบเพอ่ื หาความเชือ่ ถอื ได้ของขอ้ มูล - การตรวจสอบเพื่อดูความครบถว้ นและคุณภาพของ ข้อมูล - ข้อมูลท่ไี ด้เพียงพอและมคี ุณภาพ ขน้ั ท่ี 3 การจดบนั ทกึ และดชั นีขอ้ มลู หรือการลงรหสั ขอ้ มูล - การจดบนั ทึกขอ้ มลู (Note taking) - การบนั ทึกย่อและการบันทึกฉบบั สมบรู ณ์ - แยกข้อมูลกบั ส่วนท่ีเป็นความคดิ เห็นออกจากกัน ขน้ั ที่ 4 การทาสรุปช่วั คราวและการลดข้อมลู Fighting !! กำรวิเครำะห์ สงั เครำะหข์ ้อมูล และสรุปองคค์ วำมรู้
68 ขน้ั ที่ 5 การสร้างบทสรุปและการพสิ จู นบ์ ทสรปุ - การตรวจสอบความเป็นตวั แทนของขอ้ มูล - ตรวจสอบผลข้างเคียงทอี่ าจเกดิ - ประเมินคณุ ภาพของข้อมลู ที่ได้ - พยายามเปรยี บเทียบความแตกต่างของข้อมูล - หาคาอธบิ ายอืน่ ทม่ี ีน้าหนกั กำรตรวจสอบข้อมูล การตรวจสอบข้อมูลควรทาทันทีหลังจากเก็บรวบรวม ขอ้ มูลเสรจ็ เรียบรอ้ ยแลว้ วตั ถุประสงคข์ องการตรวจสอบขอ้ มูลคือ 1. ตรวจสอบความสมบรู ณข์ องข้อมูลขาดหาย 2. ตรวจความเป็นไปได้ของขอ้ มูล 3. สภาพความเปน็ เอกภาพของการไดร้ บั ขอ้ มลู
69 กำรเขยี นอำ้ งอิงในรำยงำน กำรจดั ทำข้อมูล ทาข้อมูลคือการจัดเตรียมข้อมูลที่ได้รับการตรวจสอบ เรียบร้อยแล้วจัดให้เป็นระบบสะดวกแก่การวิเคราะห์ข้อมูลในขั้น ต่อไปแบง่ ออกเป็น 2 กรณี 1. ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์ข้อมูลที่การนา ข้อมูลทีไ่ ด้มาสร้างตารางแจกแจงความถีห่ รอื สร้างแผนภมู ติ า่ งๆ 2. ใช้คอมพิวเตอร์ในการวเิ คราะหข์ ้อมูลคือการนาข้อมูลที่ ได้มาจัดเตรยี มในลักษณะที่พร้อมจะปอ้ นสู่คอมพวิ เตอร์ กำรวิเครำะหข์ อ้ มลู จ ะ ต้ อ ง เ ลื อ ก ใ ช้ ส ถิ ติ ใ ห้ เ หม า ะ ส ม ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ วัตถุประสงค์ในการเขียนวิจัยและลักษณะข้อมูลสถิติท่ีได้รับความ นยิ มในการนาไปใชไ้ ด้แก่ 1. ร้อยละ 2. การวัดแนวโน้มเขา้ ส่สู ่วนกลาง 3. การวัดการกระจาย กำรวิเครำะห์ สังเครำะหข์ ้อมูล และสรุปองค์ควำมรู้
70 กำรเสนอผลกำรวิเครำะห์ขอ้ มลู 1. การเสนอผลวิเคราะห์ข้อมูลในลักษณะของการ บรรยาย 2. การเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูลในลักษณะต่างๆเป็น การนาเสนอข้อมูลท่ีเป็นตัวเลขอย่างมีระบบโดยจัดเป็นแถวตั้ง และแถวนอนที่มคี วามสัมพันธก์ ันหรือตาราง 3. การเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลในลักษณะแผนภูมิ แผนภาพ แผนภูมิแท่ง แผนภูมิเส้น กราฟความถี่สะสม แผนภูมิ วงกลม
71 กำรเขียนอำ้ งอิงในรำยงำน กำรแปลควำมหมำยของขอ้ มลู การแปลความหมายของข้อมูล หมายถึง การอธิบายผล ของการวิเคราะห์ข้อมูลสรุปผลท่ีได้จากการวิเคราะห์ข้อมูล ให้เกี่ยวโยงกับวัตถุประสงค์ของการทารายงาน ข้อผิดพลาดในการ แปลความหมายของขอ้ มลู ท่ผี ้จู ัดทารายงานมักจะปฏิบัติบ่อยๆก็คือ แปลความหมายข้อมูลโดยการอ่านค่าจากตารางที่เป็นผลวิเคราะห์ ข้อมูลเท่านั้นโดยไม่อธิบายความหมายว่า ถ้าที่ได้น้ันหมายถึงอะไร ซึ่งผู้วิจัยควรจะนาตารางแสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลและการแปล ความหมายของขอ้ มลู จากตารางน้นั ไวใ้ นตารางทนั ที กำรวเิ ครำะห์ สังเครำะห์ขอ้ มูล และสรุปองคค์ วำมรู้
72 การสังเคราะหข์ ้อมลู กำรคดิ สังเครำะห์ กำรคิดสังเครำะห์ หมายถึง ความสามารถในการคิดที่ดึง องค์ประกอบต่าง ๆ มาหลอมรวมกันภายใต้โครงร่างใหม่อย่าง เหมาะสม เพอื่ ใหเ้ กดิ สงิ่ ใหม่ที่มีลกั ษณะเฉพาะแตกต่างไปจากเดมิ การคิดสังเคราะหค์ รอบคลุมถึงการค้นคว้า รวบรวมข้อมูลท่ี เกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะคิดซ่ึงมีมากหรือกระจายกันอยู่มาหลอม รวมกัน คนที่คิดสังเคราะห์ได้เร็วกว่าย่อมได้เปรียบกว่าคนที่ สังเคราะห์ไม่ได้ ซึ่งจะทาให้เข้าใจและเห็นภาพรวมของส่ิงน้ันได้ มากกวา่ ควำมสำคญั ของกำรคดิ สงั เครำะห์ การคิดสังเคราะห์มีความสาคัญอยา่ งมากในกระบวนการคิด เนื่องจากช่วยจัดระบบข้อมูลให้มีความชัดเจนในประเด็นและเป็น ระเบียบมากข้ึน ทาให้มีข้อมูลที่จาเป็นครบถ้วน ซึ่งมีความสาคัญ ดังน้ี
73 กำรเขยี นอำ้ งอิงในรำยงำน 1. ช่วยให้หาทางออกของปัญหาโดยไม่ต้องเร่ิมจากศูนย์ เราสามารถนาสิ่งทค่ี นอน่ื คิดหรือปฏิบัติมาแล้วมาใช้ประโยชน์ได้ท้ังท่ี เกี่ยวข้องโดยตรงและโดยอ้อม นามาผสมผสานกันเป็นทางออกใน การแกป้ ัญหา 2. ช่วยให้มีความเข้าใจที่คมชัดและครบถ้วนเกี่ยวกับเร่ือง ต่าง ๆ แต่เดิมเรามักจะหาทางออกของปัญหาโดยการเลียนแบบหรือ ลองผิดลองถูก ทางที่ดีกว่าและปลอดภัยกว่าคือการใช้การคิด สังเคราะห์เข้ามาช่วยสรุปความรู้ท่ีกระจัดกระจาย ให้เข้าใจเร่ืองได้ คมชัดและครบถว้ น 3. ช่วยขยายขอบเขตความสามารถของสมองในการ พยายามสืบเสาะแสวงหาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งต่าง ๆ ภายนอก นามาสังเคราะห์เข้าด้วยกันเพ่ือได้แนวทางแก้ปัญหาท่ีมีความ สมบูรณค์ รบถ้วน สามารถนามาใชไ้ ดจ้ ริง และประสบความสาเร็จ กำรวเิ ครำะห์ สงั เครำะหข์ อ้ มลู และสรปุ องคค์ วำมรู้
74 4. ข้อมูลทีส่ ังเคราะห์จะเปน็ ประโยชนใ์ นการคดิ ต่อยอด ความรู้ ทาให้ไมเ่ สียเวลาเรมิ่ ตน้ ใหม่ คดิ ต่อยอดได้ทันที นาไปสกู่ าร พฒั นาสง่ิ ใหม่ ๆ ทมี่ ปี ระโยชน์ 5. ช่วยใหเ้ กดิ การสรา้ งสรรค์ส่ิงใหม่ เพราะมสี ่วนสาคัญที่ ทาให้เกดิ ส่ิงใหม่ ๆ อย่างตอ่ เนอ่ื งจากการสร้างสรรคท์ ีไ่ ม่หยดุ ยง้ั ของ มนุษย์ ประเภทกำรคิดสงั เครำะห์ การคิดสงั เคราะห์แบ่งเป็น 2 ลกั ษณะ คอื - การคดิ สังเคราะห์เพื่อสรา้ งสง่ิ ใหม่ เช่น ประดิษฐส์ ง่ิ ของ เครื่องใช้ อปุ กรณต์ า่ ง ๆ ตามต้องการ - การคิดสงั เคราะห์เพ่ือสรา้ งแนวคิดใหม่ เปน็ การพฒั นาและ คิดคน้ แนวคดิ ใหม่ ถ้าเราสามารถคดิ สงั เคราะหไ์ ดด้ ี จะทาใหพ้ ฒั นา ความคดิ หรอื สง่ิ ใหม่ ๆ ท่ีเป็นประโยชน์ตอ่ สังคม
75 กำรเขยี นอำ้ งองิ ในรำยงำน ขนั้ ตอนกำรคิดสังเครำะห์ 1. กาหนดวัตถุประสงค์ของส่ิงใหม่ที่ต้องการสร้างหรือ สงั เคราะหข์ ้นึ 2. ศึกษาส่วนประกอบหรือวิเคราะห์ข้อมูลที่สอดคล้องกับ วตั ถปุ ระสงค์ 3. เลือกและนาข้อมูลท่ีสอดคล้องกับวัตถุประสงค์มาจัดทา กรอบแนวคดิ สาหรบั สร้างสิง่ ใหม่ 4. สร้างส่ิงใหม่ตามวัตถุประสงค์และกรอบแนวคิดที่กาหนด โดยการผสมผสานส่วนประกอบ/ข้อมูลที่เลือกรวมทั้งข้อมูลอ่ืน ๆ ตาม ความเหมาะสมและความจาเปน็ 5. ตรวจสอบความถูกต้อง เหมาะสม ปรับปรุงแก้ไข และนาไปใช้ประโยชน์ กำรวเิ ครำะห์ สังเครำะหข์ อ้ มลู และสรุปองคค์ วำมรู้
76 ตัวบง่ ชี้กำรคิดสงั เครำะห์ 1. สามารถกาหนดวัตถปุ ระสงค์ของสิง่ ใหมท่ ต่ี อ้ งการ สังเคราะห์ 2. สามารถวเิ คราะห์ส่วนประกอบหรือข้อมลู ทตี่ ้องการ สังเคราะห์ 3. สามารถเลือกข้อมลู ท่เี หมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงคท์ ่ี ต้องการสงั เคราะห์ 4. สามารถสร้างกรอบแนวคิดตามวัตถุประสงคท์ ก่ี าหนด 5. สามารถสร้างสงิ่ ใหม่ไดต้ ามวตั ถปุ ระสงค์และกรอบ แนวคดิ ทกี่ าหนด 6. สามารถตรวจสอบความถูกตอ้ งตามหลักเกณฑไ์ ด้อยา่ ง ตรงประเด็น 7. สามารถนาสิ่งทสี่ ังเคราะห์ไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้
77 กำรเขยี นอ้ำงอิงในรำยงำน กำรพฒั นำนักคดิ สังเครำะห์ การคิดสังเคราะห์เป็นส่ิงที่มีอยู่ในตัวมนุษย์ และสามารถ สง่ เสรมิ ได้โดยฝึกดงั นี้ 1. ไม่พอใจส่ิงเดิม ชอบถามหาสิ่งใหม่ ชอบแสวงหา ชอบการเปลี่ยนแปลง 2. ไมน่ ง่ิ เฉย ชอบสะสมข้อมูล ทาให้มีวัตถุดิบทางความคิด มากเพียงพอที่จะนาไปใชใ้ นการสังเคราะห์สิง่ ตา่ ง ๆ 3. มีความเข้าใจและมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งต่าง ๆ นามาเชื่อมโยงอยา่ งสมเหตุและสมผล 4. ไม่แปลกแยก ชอบผสมผสาน การผสมผสาน องค์ประกอบหรือความคิดท่ีดูเหมือนขัดแย้งกันเข้าด้วยกัน โดยผสมผสานอย่างกลมเกลียว และเชื่อมโยงอย่างสมเหตสุ มผล กำรวิเครำะห์ สังเครำะหข์ อ้ มูล และสรุปองคค์ วำมรู้
78 5. ไม่คลุมเครือ ชอบความคมชัดในประเด็น เข้าใจว่า แนวความคิดหน่ึงประกอบด้วยประเด็นหลักหรือประเด็นรอง อะไรบา้ ง ฝกึ จบั ประเดน็ บทความ หนังสอื หนังสอื พมิ พ์ 6. ไม่ลาเอียง ชอบวางตนเป็นกลาง ไม่อคติต่อข้อมูลที่ได้ ตอ้ งแยกความรู้สึกออกจากขอ้ เทจ็ จรงิ 7. ไมย่ ุ่งเหยิง ชอบระบบระเบียบ 8. ไมท่ อ้ ถอย มคี วามมานะพากเพยี ร
79 การสกำรรุปเขผียลนกอาำ้ งรอศงิ กึ ในษราำคยง้นำคนวา้ กำรสรปุ ผลกำรศึกษำค้นควำ้ เพื่อให้ผู้อ่ืนได้ศึกษาโดยใช้เวลาไม่มากนัก ซ่ึงประกอบด้วย จุดมุ่งหมาย วิธีการดาเนินงาน และผลการศึกษาค้นคว้า มีวิธีการ สรุปผลดงั น้ี 1. กล่าวถึงปัญหา จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า วิธี ดาเนินงาน และสรุปผล โดยใช้ข้อความท่ีกระชับ อ่านเข้าใจง่าย หลกี เลย่ี งการกลา่ วถึงเร่ืองท่ีไมเ่ กี่ยวข้อง 2. สรุปผลการศึกษาค้นคว้าภายในขอบเขตจุดมุ่งหมาย ของการศกึ ษาค้นคว้า อ้างอิงเหตุผลตามขอ้ มูล และผลการวเิ คราะห์ 3. ไม่ลาเอียง หรือไม่มีอคติส่วนตัว เพ่ือให้ผู้อื่นศึกษาทา ความเข้าใจ และสามารถตรวจสอบได้ กำรวเิ ครำะห์ สงั เครำะห์ข้อมลู และสรุปองคค์ วำมรู้
80 กำรสรุปองคค์ วำมรู้ องค์ควำมรู้ หมายถึง ความรู้ที่เกิดขึ้นต่อเร่ืองใดเรื่องหน่ึง ซ่ึงอาจเกิดขึ้นจากการถ่ายทอด จากประสบการณ หรือ จากการ วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล โดยความรูเกิดข้ึนน้ันผู้รับสามารถ นาไปใช้ไดโดยตรง หรือสามารถนามาปรับใช้ได้ เพ่ือให้เหมาะกับ สถานการณหรืองานทก่ี ระทาอยู่ ประเภทขององค์ควำมรู้ 1. องค์ความรูท่ีสามารถอธิบายได เป็นองค์ความรูท่ี สามารถทาความเข้าใจได จากการฟัง การอธิบาย การอ่าน และนาไปใชป้ ฏบิ ตั ิ 2. องค์ความรูท่ีไมสามารถอธิบายไดหรืออธิบายไดยาก เป็นองค์ความรูท่ีไมมีแบบแผน โครงสรางแน่ชัด มักเกิด ข้ึนกับตัว บคุ คล ผลของการถายทอดขึ้นอย่กู บั ผ้ถู า่ ยทอดและผ้รู ับเปนสาคญั
81 กำรเขียนอ้ำงอิงในรำยงำน กำรวิเครำะห์ สังเครำะหข์ ้อมลู และสรุปองค์ควำมรู้
82 กำรจดั กำรองคค์ วำมรู้ การจดั การองคค์ วามรู้ คอื การรวบรวมองค์ความรู้ท่ีมีอยู่ ซึ่ง กระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร โดยความรู้แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังน้ี 1. ความรู้ที่ฝังอยู่ในตัวคน เป็นความรู้ท่ีได้รับจาก ประสบการณ์ พรสวรรค์หรือสญั ชาตญาณของแตล่ ะบุคคล 2. ความรู้ที่ชัดแจ้ง เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอด ไดโ้ ดยผา่ นวิธีต่างๆ เชน่ การบนั ทึกเปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษร เป็นต้น
83 การอภกกำปิ รำรเราขเยขี ผียนนลออำ้แง้ำลองะอิงขใิงน้อในรเำสรยำนยงอำงนแำนนะ อภปิ รำยผลกำรศกึ ษำคน้ คว้ำ การแปลผลการศึกษาค้นคว้าจาการสังเคราะห์ข้อมูลหลาย ด้าน โดยการกล่าวถึง ผลการศึกษาค้นคว้าเป็นไปตามสมมติฐาน หรือไม่ เชื่อมโยงถึงทฤษฎีท่ีเป็นพ้ืนฐาน โดยมีหลักการอภิปรายผล ดงั นี้ 1. อภิปรายผลท่ไี ด้จากการวิเคราะหข์ ้อมลู อย่างสมเหตุสมผล และน่าเชือ่ ถือ 2. แสดงให้เห็นความสัมพันธ์ของการศึกษาค้นคว้า กับผลงานทเี่ ก่ยี วข้องอยา่ งชดั เจน 3. อภปิ รายจดุ ออ่ นของข้อมลู และวิธีการวิเคราะหข์ ้อมลู 4. กล่าวถึงขอบเขต และข้อควรระวังในผลการศึกษาค้นคว้า เช่น ความขัดแย้ง ความไม่คงเส้นคงวา ความเข้าใจผิดในผลการศึกษา คน้ ควา้ เป็นตน้ กำรวิเครำะห์ สังเครำะหข์ อ้ มูล และสรุปองค์ควำมรู้
84 ขอ้ เสนอแนะ ข้ อ เ ส น อ แ น ะ อ า จ เ ส น อ แ น ะ เ กี่ ย ว กั บ ก า ร น า ผ ล จ า ก การศึกษาค้นคว้าไปปฏิบัติ เพื่อใช้ประโยชน์ และเสนอแนะเพื่อ การศึกษาค้นควา้ คร้ังต่อไป ดงั นี้ 1. กรณีผลการศึกษาค้นคว้าสอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย ควร เสนอแนะใหน้ าผลการศกึ ษาค้นควา้ ไปใชป้ ระโยชน์ใน การแกป้ ัญหา 2. ข้อเสนอแนะ เพ่ือการพัฒนา หรือปรับปรุงข้อค้นพบให้ มลี กั ษณะท่ีพึงประสงค์ 3. มีข้อเสนอแนะสาหรับการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม เสนอแนวทาง หรือประเด็นปัญหาที่ควรศึกษาค้นคว้าครั้งต่อไปอย่าง สมเหตุสมผล กว้างขวาง และปฏิบัตไิ ดจ้ ริง Fighting!!
86 แนวกคำิดรเเบขแ้ือียลงนะตกอน้ ำำ้ เรงกนอี่ยำงิ วใเกสนับนรกำอยำรงสำนอ่ื สำร ควำมหมำยของกำรสื่อสำรและกำรนำเสนอ กำรสื่อสำร หมายถึง กระบวนการถ่ายทอดข่าวสาร ความต้องการจากผู้ส่งสารโดยผ่านสื่อต่าง ๆท่ีอาจเป็นการพูด การเขยี น สญั ลกั ษณ์อืน่ ใด กำรนำเสนอ หมายถึง วิธีการนาเสนองาน หรือผลงาน หรือข้อมูล เพื่อให้ผ่านการพิจารณาแก่ผู้รับฟัง ผู้รับข่าวสารข้อมูล เพื่อใหบ้ รรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ ทผ่ี นู้ าเสนอกาหนดไว้ ดังนั้น การสื่อสารและการนาเสนอ จึงเป็นกระบวนการ ถา่ ยทอดขา่ วสาร ความรู้สกึ นกึ คิด ความคิดเหน็ หรือประสบการณ์ ต่างๆ ด้วยการนาเสนอด้วยวิธีการใดวิธีการหนึ่งแก่ผู้ฟัง เพื่อเป็น การถา่ ยทอดความรไู้ ปยังผูฟ้ ัง กำรนำเสนอผลกำรศึกษำค้นควำ้
87 ควำมสำคญั ของกำรสอ่ื สำรและกำรนำเสนอ 1. ควำมสำคญั ของกำรสือ่ สำร การสื่อสารมคี วามสาคัญ ดงั นี้ 1.1 การสื่อสารเป็นปัจจัยสาคัญในการดารงชีวิตของ มนุษย์ทุกเพศ ทุกวัย ไม่มีใครท่ีจะดารงชีวิตได้ โดยปราศจากการ สือ่ สาร ทกุ สาขา อาชีพก็ต้องใชก้ ารส่อื สารในการทจ่ี ะติดต่อกัน 1.2 การส่ือสารก่อให้เกิดการประสานสัมพันธ์กัน ระหว่างบุคคลและสังคม ช่วยเสริมสร้างความเข้าใจอันดีระหว่าง คนในสังคม 1.3 การส่ือสารเป็นปัจจัยสาคัญในการพัฒนาความ เจริญก้าวหน้าทั้งตัวบุคคลและสังคม การพัฒนาทางสังคมในด้าน คณุ ธรรม จรยิ ธรรม วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฯลฯ
88 กำรเขียนอ้ำงอิงในรำยงำน 2. ควำมสำคญั ของกำรนำเสนอ 2.1 ทาให้ความคิดความเห็นของผู้นาเสนอ ได้มีการ ถ่ายทอดไปยังผ้รู ับการนาเสนอหรือผูฟ้ งั 2.2 หากผู้เสนอมีเทคนิคการนาเสนอที่ดี ก็จะทาให้ น่าสนใจ หากการนาเสนอขาดเทคนิคท่ีดีก็จะให้ความคิดความเห็น และรายงาน ก็จะไม่น่าสนใจ การเตรียมการ และการใช้เวลาการ นาเสนออยา่ งมากมายก็จะไม่เปน็ ผล ทาใหเ้ กิดการสูญเปลา่ ประเภทของกำรนำเสนอ 1. การนาเสนอเฉพาะกลุ่ม เป็นการนาเสนอข้อมูลต่าง ๆ ต่อผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องหรือผู้ที่ได้รับเชิญให้เข้าร่วมรับทราบข้อมูล ในการนาเสนอ 2. การนาเสนอทั่วไปในท่ีสาธารณะ เป็นการนาเสนอ ขอ้ มลู ต่าง ๆ ท่เี ปิดโอกาสให้บุคคลทว่ั ไปเขา้ รว่ มฟังการนาเสนอได้ มกี ารเปดิ โอกาสให้ผู้ฟัง ได้ซกั ถามเพ่ิมเตมิ หรือ แสดงความคดิ เหน็ ไดอ้ กี ด้วย กำรนำเสนอผลกำรศกึ ษำค้นคว้ำ
89 รปู แบบกำรนำเสนอผลกำรศกึ ษำค้นคว้ำ 1. ผู้นาเสนอใช้เอกสารเป็นส่วนร่วมในการนาเสนอ เช่น การเขียนสรุปผลงานของตนเองเพ่ือประกอบการพิจารณาเลื่อนข้ัน เงินเดือน จัดทาเอกสารเสนอขออนุมัติ เสนอขายสินค้า และแสดง ความคิดเหน็ ต่างๆ 2. ผู้นาเสนอใช้วัสดุอุปกรณ์-เครื่องฉาย เป็นสื่อและใช้ เอกสารประกอบ เช่น การการจัดอบรมสัมมนา การนาเสนอเพื่อ ความบนั เทิงต่างๆ 3. นาเสนอในรูปของนิทรรศการ อาจมีเอกสารเป็น ส่วนประกอบ เช่น การจัดบอร์ดแสดงผลงานภาพถ่าย ผลงานทาง วิชาการ หรอื การจดั นิทรรศการอ่ืนๆ ดังนั้น ผู้นาเสนอที่ต้องการประสบความสาเร็จ นอกจาก จะต้องมีความรู้ความชานาญมีทักษะในการนาเสนอแล้ว การเลือก รูปแบบการนาเสนอหรือวิธีการนาเสนอก็มีผลต่อความสาเร็จด้วย เชน่ เดียวกนั
90 กำรเขียนอำ้ งอิงในรำยงำน องค์ประกอบของกำรนำเสนอผลกำรศกึ ษำค้นคว้ำ ผู้นำเสนอ โพรโตคอล ผ้รู ับขอ้ มูล สอื่ งำน กำรนำเสนอผลกำรศกึ ษำค้นควำ้
91 1. ผูน้ ำเสนอ เปน็ ผ้ทู ม่ี ีบทบาทสาคญั ทีส่ ดุ ในการ 2. ผูร้ ับขอ้ มลู เป็นผู้รบั ขอ้ มลู จากผนู้ าเสนอ 3. งำน เป็นสิ่งทผี่ ้นู าเสนอตอ้ งการถ่ายทอดให้แก่ผู้รับข้อมูล ผ่านส่ือและโพรโตคอลต่าง ๆ 4. สื่อ เป็นเคร่ืองมือสาคัญท่ีจะนาข้อมูลต่าง ๆ ไปยังผู้รับ ขอ้ มูล 5. โพรโตคอล เป็นวิธีการท่ีผู้นาเสนอใช้ถ่ายทอดงานให้แก่ ผูร้ บั ข้อมลู
92 กสำือ่รเปขรยี ะนกออ้ำงบอกงิ ำในรรนำำยเงสำนนอ สื่อประกอบกำรนำเสนอ 1. เอกสำรสงิ่ พิมพ์ การนาเสนองานท่ีมีผู้นิยมใช้มากท่ีสุด คือ เอกสาร ส่ิงพิมพ์ เน่ืองจากทาง่าย สัมผัสได้และใช้เป็นหลักฐานในการ นาเสนอข้อมูลได้ 2. มลั ติมเี ดีย การนาเสนอข้อมูลหลาย ๆ รูปแบบพร้อม ๆกัน เพอ่ื สง่ เสริมการรบั ร้แู ละความเข้าใจของผู้รับข้อมลู 3. เวบ็ ไซต์ การนาเสนอข้อมูลผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ที่เช่ือมต่อ กับอินเตอร์เน็ต ทาให้สามารถนาเสนอข้อมูลได้ครอบคลุมท่ัวโลก การสร้างานนาเสนอเว็บไซต์ผู้สร้างงานจะต้องสร้างเว็บเพจหลายๆ หน้าเพื่อนามาเช่อื มโยงให้เป็นเวบ็ ไซตเ์ ดยี วกนั กำรนำเสนอผลกำรศึกษำคน้ คว้ำ
93 กำรเลือกใช้ส่อื ประกอบกำรนำเสนอผลงำน 1. ช่วยดึงดูดความสนใจ การพูด การเคลื่อนไหวร่างกาย การแสดงทา่ ทางตา่ ง ๆ เข้ามาใชเ้ พื่อดึงดดู ความสนใจของผูฟ้ งั 2. ช่วยให้เข้าใจเรื่องท่ีนาเสนอได้ง่ายข้ึน การนาเสนอท่ีดี ต้องอธิบายให้ผู้ฟังได้เห็นภาพ ซึ่งอาจอธิบายด้วยการพูดให้ผู้ฟัง เขา้ ใจไดย้ าก กจ็ ะใชส้ อ่ื เชน่ วีดีโอ รูปภาพ เป็นตน้ 3. ช่วยรักษาระดับความสนใจและสร้างความพึงพอใจให้ ผู้ฟัง การใช้เวลาในการนาเสนอนาน ๆ อาจจะทาให้ผู้เสนอรู้สึก เมอื่ ยลา้ และเบื่อหนา่ ยได้ กำรเลือกข้อมลู ในกำรนำเสนอ ในการนาเสนอแต่ละคร้ังน้ัน สามารถนาข้อมูลที่มี ลกั ษณะแตกตา่ งกันมาร่วม นาเสนอดว้ ยกนั ได้ ขนึ้ อยกู่ ับจุดประสงค์ ของผู้นาเสนอ ข้อมูลท่ีจะนาเสนอแบ่งออกตามลักษณะของข้อมูล ได้แก่
94 สอ่ื ประกกำรอเบขียกนำอรำ้นงำอเงิสในอรำปยรงะำเนภทตำ่ งๆ ประเภทของส่ือประกอบกำรนำเสนอ 1. กำรนำเสนอด้วย Powerpoint โปรแกรมนี้เน้นในเร่ืองการแสดงภาพประกอบคาอธิบาย ใช้เพ่ือการนาเสนองานโดยทาเป็นหน้า ๆ อาจทาให้มีเสียงบรรยาย ประกอบด้วยกไ็ ด้ หรอื จะส่งั พมิ พอ์ อกทางเครอื่ งพิมพเ์ พ่อื แจกผู้ฟงั ก็ได้ กำรนำเสนอผลกำรศกึ ษำคน้ คว้ำ
95 2. แผน่ พบั เป็นกระดาษพิมพ์ข้อมูลลงไป มีการออกแบบให้สวยงาม มีภาพประกอบ เพ่ือให้แผ่นพับน่าสนใจ อาจจะพิมพ์ 1 ด้าน หรือ 2 ด้าน พิมพ์ 4 สี 2 สี หรือพิมพ์สีเดียว และมีการพับเป็นแผ่นพับ ท่ี นิยมพับกันจะเป็นนาใบปลิว A4 มาพับเป็น แผ่นพับ 2 พับ 3 ตอน หรอื พับคร่งึ
96 กำรเขียนอ้ำงอิงในรำยงำน 3. กระดำษชำร์ท ใช้เขียนในการพรีเซนต์งาน การนาเสนอต่างๆ เขียนผัง ความคิด ด้วยปากกา ออกแบบสร้างสรรค์ผลงานตามความสนใจ ทาใหก้ ารนาเสนอผลงานมีความน่าสนใจ กำรนำเสนอผลกำรศกึ ษำคน้ คว้ำ
Search