Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บันทึกลับภิกษุนิรนาม

บันทึกลับภิกษุนิรนาม

Published by akkarasubun, 2021-05-13 02:26:08

Description: บันทึกลับภิกษุนิรนาม

Search

Read the Text Version

วันตอ มา โยมทา นนนั้ มาพรอมดว ยลกู สาว พอเหน็ อาตมาเขา กต็ รงเขา มากราบ พดู วา “หากไมไ ดอ าจารยไ ปชว ยรกั ษา ลกู คงนอนซมอยูอยา งนน้ั ” แลวหันไปบอกมารดาวา “อาจารยรปู นีแ้ หละคะ ทานไปรกั ษาลูกทีบ่ าน” ทกุ คนในท่ีนน้ั ตางแปลกใจไปตามๆกนั บางคนซักวา “ทานไปรกั ษาแมห นตู ง้ั แตเม่อื ไร” “เมอ่ื วานตอนบา ยๆแหละจะ ” “เอะ เม่ือวานตอนบา ย ทา นก็อยทู น่ี ่ี จะไปรกั ษาไดอยางไรกนั ” “ฉันกไ็ มทราบเหมือนกนั ที่ทราบก็คือทา นไปรักษาฉนั จริงๆ จาํ ทา นไดแมน ยาํ พอมาเหน็ ก็จาํ ได” “ทานไปรกั ษาอยางไร” “ฉนั กาํ ลงั นอนลืมตาอยบู นเตยี ง อยูๆ ทานกม็ ายนื อยู หลับตาพนมมือ พูดอะไรปากขมบุ ขมบิ อยูพกั หน่งึ แลวทา น ก็ใชม อื โบกจากศรี ษะไปหาเทาสามครัง้ ฉันก็รูสกึ วาตัวเบาสบาย เหมอื นไมเ ปน อะไร ปกตทิ ุกอยาง อยางที่เหน็ น่ี แหละ” ตัง้ แตน ั้น ญาติโยมท่มี าปฏบิ ัติก็พากันศรัทธาเชื่อถอื จะแนะนํา สั่งสอนอะไร กต็ ัง้ ใจปฏบิ ัตติ าม แตอ าตมาก็ตอง ชวยเหลือชาวบาน ทงั้ ใกลและไกลมากขึ้น ดวยกติ ติศัพทมนั แพรกระจายออกไป สาํ หรับการชวยสงเคราะหค วามปวยเจบ็ ของชาวบา นนน้ั กไ็ มมีการใหคนปว ยมารักษากนั ทวี่ ัด เพราะดูเปน การ เอกิ เกรกิ หรือรบกวนผทู กี่ ําลังปฏิบัติอยู เพยี งใหญ าตพิ น่ี องเขามาแจง สถานท่ีอยูใหท ราบ และโรคทเี่ ปนอยเู ทา นัน้ เมื่อตรวจดทู างจิตแลว เหน็ วา เขามที างจะหายได กส็ ง จิตไปชวยรักษาให สว นทไ่ี มมที างจะหาย ถงึ เวลาหมดอายุ แลว กจ็ ะบอกไปตามทม่ี องเห็น บางรายเจาเวรนายกรรมเขากาํ ลงั มาทวงถาม ขืนไปรกั ษา เขาก็จะตอ วา หาวาขดั ขวางทางกรรมทเี่ ขาจะไดรบั การ ชดใช ในกรณเี ชน น้ี ก็ตอ งถามความพอใจของเจาเวรนายกรรมดกู อ นวา ถาจะทาํ สงั ฆทานอทุ ิศกศุ ลใหเขาไดไปผุด ไปเกดิ เขาจะยอมอโหสิกรรมใหห รือไม เพราะการจองเวรจองกรรมกันอยเู ชน นี้ ไมม ีทางท่จี ะหมดเวรหมดกรรม จะตอ งผลัดกนั รับผลกรรมอกี รอ ยชาติพนั ชาติ ถาเขาไมย อม กไ็ มมที างจะชว ยกนั ได นอกจากใหค นไขอ โหสกิ รรม เจาเวรนายกรรมใหห มด จะไดดับชีวติ ลงโดยไมย ึดติดอาฆาตมาดรา ยกันตอไป แตสวนมากเขาก็ยอม เมื่อเขา ยอม คนไขกห็ ายวันหายคืน ไมต องรกั ษาอะไรกันมาก บางคนปว ยเพราะธาตใุ นกายขาดไปอยา งใดอยางหน่ึง ก็ใชพ ลังจิต เสริมธาตุท่ขี าดใหส มบูรณส ม่าํ เสมอกับธาตุอื่น เขากจ็ ะหายเปน ปกติในไมช า พลังจติ ที่วานี้ ไดอาศัยกสณิ เขา ชวย ขาดธาตุใดกเ็ สรมิ ธาตุน้ัน เขาก็จะหายเจบ็ ปว ย 51

แตมีขอแมวา เม่ือหายแลวเขาจะตอ งมาฝกทําสมาธอิ ยางนอย ๗ วัน ครั้นมาฝกแลว สว นมากเขาก็จะยินดปี ฏบิ ตั ิ ตอไป เพราะไดรูรสแหงความสงบ ไดรูความจรงิ ของชีวิตท่ีตองเจ็บปว ยกเ็ นอ่ื งจากกรรมทไ่ี ด กระทาํ มาในอดีต หรอื ความไมเทย่ี งแหงสังขาร ซ่งึ เกิดข้ึนแลวก็จะตอง แก ตองเจบ็ เปนธรรมดา ความตายจะมาถึงเมื่อไร ไมอาจรู ได จึงควรอยใู นความไมป ระมาท รบี สรา งสมแตค วามดี มีการใหท าน รักษาศลี ทําสมาธิ อนั จะทําใหเ กิดปญญา มองเหน็ อนจิ จงั ทกุ ขัง อนัตตา เปน ส่ิงทจี่ ะตอ งเกิดตองมี แกท กุ ผทู ุกนาม บางทีเขาไมไดม ารักษา ใชดวงตามองไปเห็นวา เขาพอจะมชี วี ิตทําคณุ งามความดตี อไปได กจ็ ะไปชว ยรกั ษาให หายแลวเขาก็จะตามมาหาจนถึงวัด ทง้ั หมดท่อี าตมาไดสงเคราะหชาวบาน ทั้งท่ีอยใู กลและไกล ลว นกระทําไปดวยจติ เมตตาอยา งเดียว ไมมสี นิ จา ง รางวัล หรอื เรยี กรองคาครคู ารกั ษาใดๆ ท้ังสนิ้ บางคนทเ่ี ขามฐี านะดี หายเจ็บปว ยแลว กเ็ อาเงนิ ทองขาวของมา ถวายเปน อนั มาก แตอาตมาก็ไมร ับ เพราะไมม คี วามจําเปน ทีต่ องรับหรอื ตองใช อาหารบิณฑบาตไปรับมาแลว ก็ ฉนั หนเดียว ยังเหลอื เสยี อกี อยา งวนั พระก็เหลอื มาก จึงเอาของเหลือจากพระเณร รปู อน่ื ๆ มารวมกัน ยกไปให เดก็ ๆ ทโี่ รงเรียน หากมใี ครจะทาํ บุญจริงๆ กใ็ หเ อาไปบริจาคสรางโบสถ สรางศาลา สรา งกุฏิ ทาํ สงั ฆทานอุทิศใหเจาเวรนายกรรม และเปน บญุ สะสมของตนเอง จึงมีผูศรัทธาเอาปจ จัยมาชว ยวัดมากข้ึน และถามเี หลือ ก็แบงเอาไปชวยวัดอื่นๆที่ ขดั สนบาง โดยเฉพาะอาหารแหง อาหารกระปอ ง ขาวสาร มมี ากจนไมร จู ะเอาไปไหนหมด ก็ไดเ จือจานแบงปน ไป ทางวดั ท่กี ันดาร อาจารยเ จาอาวาสและภกิ ษุสามเณรท่ไี ดร ับการแบง ปน ทา นก็มาคดิ วา ทําไมวัดที่อาตมาอยู จงึ มีผมู าทาํ บญุ มากมาย สว นวัดของตนกลับไมมีใครสนใจ ทั้งทีเ่ ปนวัดในพระพทุ ธศาสนาอยางเดียวกนั บางวนั อาหารบณิ ฑบาต ก็ไมพอขบฉัน พระเณรท่ีทนลําบากไมไ หว ถาไมสกึ หาลาเพศไป ก็จะตอ งหาทางไปอยูว ัดอนื่ ที่ดีกวา ปญหานี้ มักจะเกิดขนึ้ กับวดั ตางๆ ท่ัวราชอาณาจักรไทย ทําใหพ ระธรรมคําสอนของพระพทุ ธเจา ไมก ระจายออก ไปสูพทุ ธบรษิ ัทอยา งทว่ั ถงึ วัดไหนมีพระดี สรา งศรัทธาใหประชาชนได พทุ ธบริษทั กจ็ ะไปรวมอยดู วยเปนกระจุก วดั ไหนไมม พี ระดที จ่ี ะสรา งศรัทธาแกประชาชน กไ็ ดแตเปนหลวงตาเฝาวดั ไปตามๆกนั และมอี ยูเ ปนสวนมากเสยี ดวย คาํ วาพระดนี ้ัน บางทกี ็ดีไมจรงิ ดีอยา งปลอมๆ กลายเปน นกั ธรุ กิจ หาเงินเขาวัดบา ง เขา ตวั เองบา ง ร่าํ รวยจนตอง สึกหรือใหเ ขาจับสึกไปก็มี พระทีเ่ ปนพระแตผาเหลืองเครอ่ื งหมาย แตไ มป ระพฤติปฏบิ ตั ิอยใู นพระธรรมวินยั แอบ อางผา เหลืองหากินก็มีอยูเปน อันมาก ทําใหศาสนาเส่อื ม ทําใหประชาชนทอ แท ไมยอมเขาวัด เปนอุปสรรค ขดั ขวางการสรางสมคุณความดีของเขา สภาพความจริงดงั กลาวนี้ เปน ปญหาใหญสาํ หรบั พุทธศาสนา ถึงจะมีผูรมู องเหน็ กนั มาก กไ็ มทําใหผมู หี นา ที่ หาทางแกไ ขอยา งจรงิ จงั กลบั พากนั เหน็ เปนเรือ่ งธรรมดาไป การเกิดการตาย และสิ่งที่ปรุงแตงสมมติกนั ขนึ้ ทั้งน้นั แทจ รงิ ก็เปนเรื่องธรรมดา แตเมอื่ อยูกบั ชาวโลก อยใู นแวดวงพระพุทธศาสนา ซึ่งมีคาํ สอนเปนสัจธรรม เปน ท่ี ยอมรบั ของผมู ปี ญญา และนบั วันจะพากนั ยอมรับออกไปทว่ั โลก ผมู ีหนาทกี่ ็จําเปนจะตองรูจักแยกแยะความดี ความช่ัว วาชอบดว ยธรรมวินัยหรอื ไม และควรจะรกั ษาสจั ธรรมนน้ั ไวอ ยา งไร จึงจะงดงามอยใู นจิตใจของสาธุชน 52

จริงอยูสัจธรรมคาํ สอนของพระพุทธเจา เปน ของเกิดขนึ้ มีอยู ไมว าใครจะทําอยางไร สจั ธรรมกค็ งเปน อยเู ชน นน้ั ตลอดไป แตการเขาถงึ นี้ซิ มหาชนจะเขาถึงสัจธรรมไดหรือไม สงั คมชาวโลกของเรา แมจ ะเจรญิ รงุ เรอื งทางวัตถุ จนเกินความจําเปน ก็จะอยดู ว ยวตั ถุอยางเดียวไมไ ด เพราะ มนษุ ยชาวโลกยังมคี วามคดิ จิตใจ ท่ีจะตอ งพึง่ พิงอาศยั อยู ความคิดจิตใจดังกลาวนี้ แยกแยะออกไดเปนสองฝา ย คอื ฝายสรางและฝายทําลาย ฝา ยสราง กค็ ือคุณงามความดี ความมีสามัคคีเอ้ือเฟอ ชวยเหลอื ซ่งึ กนั และกัน เปนสจั ธรรมฝายสัมมาทิฐทิ ่จี ะทํา ใหส ังคมชาวโลก อยกู นั ไดด วยความสงบสุข สวนฝายทําลายนั้น ก็คือความช่ัวรา ย ความคิดเบียดเบยี น แยงชิงผลประโยชน ฆาฟน กัน เปน การตัดสนิ กันขนั้ สุดทาย ก็เปนสัจธรรมเหมือนกัน ที่เปน ฝายมจิ ฉาทิฐิ หรือพูดงายๆ ก็คอื ความดี กบั ความชั่ว เจาความดกี ับความชว่ั นี้ ในโลกมนุษยเรามันกม็ อี ยทู งั้ สองอยาง ข้ึนอยูกับวาอยางไหนจะมีมากกวากนั เวลานี้โลก สงบสุขก็เพราะมคี วามดีอยมู ากกวาความชั่ว เม่ือใดความชั่วมากกวาความดี โลกกจ็ ะสงบอยูไมได มนษุ ยก ็จะฆา ฟนทาํ ลายกัน จนเกดิ กลียคุ ดว ยอานาจของ กเิ ลสตัณหา โลภะ โทสะ โมหะ พระพทุ ธเจา ทา นจงึ สอนวา ความช่ัวไมท ําเสยี เลยดีกวา หรือถามนั มีอยู กต็ อ งคอยชําระลา งขจดั ปด เปา ใหม ันเบา บางหรือหมดไป ดวยการรกั ษาศีล บาํ เพญ็ ภาวนาสมาธิ เพ่ือใหเกดิ ปญญารแู จง เหน็ จริงในการดาํ เนินชวี ติ ของ คนเรา เม่อื ละความชว่ั กต็ องไปทาํ ความดี รักษาความดีใหมากขน้ึ เพอื่ ใหโลกรม เยน็ สงบสขุ ดว ยเหตุน้ี สจั ธรรมทีเ่ ปนฝายสัมมาทิฐิ จงึ จะเปน ทเี่ ราจะตองระวัง รกั ษาปอ งกันไมใ หความชวั่ เขามาทําใหเ สยี หาย ทําลายความเชื่อหรือ ศรัทธาของผทู จ่ี ะทําความดีใหย อยยับไป เพราะการทาํ ความดี ตองอาศัยศรัทธาเปน พน้ื ฐาน ศรัทธาในสงิ่ ทถ่ี ูกท่คี วร ศรทั ธาในขอวัตรปฏิบัติ ทจี่ ะทาํ ใหจ ติ ใจตงั้ อยูในความดี และศรัทธาเมอ่ื ปฏบิ ัติ ตามแลว จะเปนประโยชนสขุ แกต น การท่ีมนษุ ยส ังคม จะทําความดีโดยอาศยั ศรทั ธาเปน พนื้ ฐานเชนนี้ ผมู หี นาท่จี งึ จําเปนจะตองหาทางแกไ ข อยา ให วัดสกั แตเ ปนวัด อยา ใหพ ระสักแตวาเปนพระ ภิกษสุ ามเณรในพระพทุ ธศาสนา ของพระบรมศาสดา จะตองรักษา ศรทั ธาของพระชาชนเอาไว ดวยการปฏบิ ตั ิอยูในธรรมวนิ ัย มีศีล สมาธิ ปญญา ใหม หาชนศรทั ธาอยา งท่ัวถงึ อาตมาพดู อยา งตรงๆ เพ่ือใหเ อาไปคิด อันที่จริงพระตามชนบท หา งไกลความเจริญ ทา นก็มาจากชาวไรชาวนา พ้ืนฐานความรูกไ็ มมากไปกวาชาวไรชาวนาเทาใดนัก แมทานจะศรัทธาเขา มาบวชในพระศาสนา แตโ อกาสท่จี ะหา ความรใู นทางปฏิบัติน้นั ยังมนี อ ยอยู ทานจึงไมส ามารถจะปฏบิ ตั ิถกู ตองได นอกจากทาํ ไปตามประเพณที เี่ ขานิยม กัน ประเพณีบางอยา งไมชอบดวยธรรมวนิ ัย แตเ ขานิยมมาเกา กอน อยา งพระเณรทางเหนือ ฉันขาวเยน็ ได ซาํ้ รายถงึ กบั ไปรวมสํารับกับโยมทีบ่ า น โยมเองตอนบวชกป็ ระพฤติเชน นี้ จึงพากันคิดวาไมผิด เพราะสมัยปกู ็ทํา กันมาอยา งน้ี ทานยังหาวาพระทไี่ มฉ ันขาวเยน็ เปนบาป เพราะทรมานตนเองใหเ กิดทุกข เม่อื มีปญ หาเชนนี้ หลวงพออาจารย ทา นมหาจาํ เรญิ และอาตมาจึงมาปรึกษากันวา ควรจะทําอยางไร ก็เห็นวาจะ เรม่ิ ตนกบั วดั ทอี่ ยใู กลๆ กอ น โดยเฉพาะวดั ในเขตตําบลท่ีหลวงพออาจารยเปน เจา คณะตําบลอยู ซึง่ มอี ยปู ระมาณ ๑๐ กวาวัด ตามปกตกิ ็มีภกิ ษสุ ามเณรในเขตตําบล มาเรียนนักธรรมบาลกี ันอยแู ลว แตค วามสาํ คญั ขึ้นอยกู บั เจา วัดซ่งึ เปนประธานสงฆ เปนผูนําของชาววดั และชาวบาน จะตองเปนแบบฉบบั ใหไดเ สียกอ น 53

ความคิดในการปฏบิ ตั ิ ในศีล สมาธิ ปญญา ไดแพรอ อกไปบางแลว ภกิ ษุสามเณรทมี่ าเรียนนักธรรมบาลี กไ็ ดม ี ชั่วโมงใหป ฏบิ ตั ิกรรมฐานอยดู วย ญาติโยมในตาํ บลกส็ นใจทจี่ ะปฏิบตั ิกันตามโอกาสที่เขามี ถา สมภารเจา วดั ไมคดิ ปฏิบัตเิ สยี บาง ตอ ไปก็จะไมมใี ครเขาวดั หมดความเลื่อมใส ทา นจะอยูไ ดอยา งไร เม่ือเห็นกันเชน น้ี หลวงพออาจารยใ นฐานะเจาคณะตําบล จงึ นมิ นตเจา อาวาสซ่ึงอยูในเขตตําบลของทาน มาชแี้ จง ทาํ ความเขา ใจ ๒๐. เปด ประตนู รก เคยมที านเจาอาวาสหลายแหง ไดม าถามขอ สงสยั ในความแตกตาง ระหวางวัดของทา นกับวดั ทอี่ าตมาอยู ก็ไดให ขอคิดไปวา การท่ีวัดของทา นขัดสนกันดาร ไมคอ ยมีผูสนใจเขาไปทําบญุ ใหท าน ท้ังท่ีเปน วดั เหมือนกนั มภี ิกษุ สามเณรอยูเชนกนั สาเหตุก็ขึน้ อยูกับตัวทาน และภกิ ษุสามเณรเอง มกั จะยอ หยอนในธรรมวนิ ัย ไมยึดถอื ศีล สมาธิ ปญ ญา เปนหลักปฏบิ ตั ิ อยูกันแบบหลวงตาเฝา วดั จึงไมท าํ ใหชาวบานเขาเกิดศรทั ธาเล่ือมใส พระพุทธเจา ทา นสอนวา ธรรมยอมรกั ษาคุมครองผปู ฏิบัติธรรม สาวกของพระตถาคต เม่ือปฏบิ ัติธรรมอยู ยอ มไมประสบ ความอดอยาก ดงั นัน้ ทางทถ่ี กู ทคี่ วรจึงตอ งพากันปฏิบัตธิ รรม พระธรรม ก็จะเลยี้ งดูเรา ตอนแรกหลวงพออาจารยไดก ลา ววา “การเปน สมณะเพยี งการอปุ สมบท นงุ เหลืองหมเหลือง ทอ งเจด็ ตํานาน สบิ สองตํานานได ใหศ ีล อา นใบลานแลว เทศนใ หโยมเขาฟง จะไดชื่อวาเปนสมณะก็หาไม จะตอ งปฏบิ ตั ิดี ปฏบิ ัติชอบ เครงครัดอยูใ นพระธรรมวินัยดวย ตองรจู กั รักษาศีลใหบริสทุ ธิ์ ตองเจริญสมาธิให จติ ต้ังมน่ั มสี ติ เพ่ือเกิดปญ ญารแู จง เห็นจรงิ ในธรรมดวย จึงจะได ชอ่ื วาเปน สมณะ เปน เนือ้ นาบุญของชาวบานอยางแทจ ริง การอปุ สมบทเขา มาในพระพทุ ธศาสนานน้ั อยา คิดวา บวชตามประเพณี จะไดบ ุญไดข ึน้ สวรรคเพียงเทา นัน้ ถา บวช แลว มิไดป ฏิบตั ติ ามธรรมวินัย มไิ ดเ จรญิ สมาธิเพ่ือแสวงหาความหลุดพนจากกองทุกข กเ็ ทา กับเราอยูในความ ประมาท มีโอกาสจะลงนรกไดงายนัก ศลี ๕ ท่ที านเคยใหชาวบา นสมาทานนนั้ ถา เราทําผดิ เสียเอง ละเมดิ เสยี เอง จะเปน บาปสกั แคไหน ขอใหรวู าบุญบาปมีจริง นรกสวรรคม จี รงิ ทาํ กรรมสงิ่ ใดไว ยอ มจะไดรับผลของกรรมนั้น พระพทุ ธศาสนาของเรา ถอื กรรมเปนเรือ่ งสาํ คญั ถาไมม กี ารกระทาํ ก็จะไมม ผี ลอะไรเกิดข้ึน การเทศนธ รรมใหช าวบา นฟง หรอื ตามทเี่ ขานิมนตไ ป ทา นถือวาเปนการใหธรรมเปนทาน สืบตอ พระประสงคข อง พระบรมศาสดา ทานจงึ ใชค ําวา “โปรดสัตว” ชวยผูอ่ืนใหเห็นความจริง ไมม วั เมาอยใู นกเิ ลสตณั หา เมอื่ โปรดสัตว กไ็ ปหวงั ผลอะไรไมได ใครไปหวงั โลภอยากไดเ ครื่องกัณฑบูชาธรรมของเขา ก็เปน บาปถงึ ตกนรก ไปไดรบั ทกุ ข ทรมานแสนสาหสั ทานเชอ่ื ไหมวานรกสวรรคมจี ริง” หลวงพออาจารยเ งยี บไปพักหน่ึง แลวหันมาทางอาตมา บอกวา “คุณชวยเปด นรก ใหท า นอาจารยท ง้ั หลายเห็นหนอยซิ เอาแคพระเทศนเพ่ือหวังลาภ จะไดร บั ผลอยา งไรก็พอ” เจา อาวาสทุกวัดหันมามองอาตมาดว ยความสงสยั ไมรูวาจะเปดนรกอยา งไร จงึ ไดเ รยี นกับทา นวา 54

“พระคุณเจานิมนตน่งั ในทาสมาธหิ ลบั ตาลง ทาํ จติ ใหสงบอยา นึกอยาคดิ อะไรท้ังสิน้ ประเด๋ียวผมจะเปดนรกใหด ู” พระคณุ เจา ท้ังหมด พากนั กระทาํ ตาม เมื่อพจิ ารณาวาระจติ ของแตล ะรปู วา จิตสงบดีแลว อาตมากเ็ รมิ่ เปด นรก ทาํ ใหมโนภาพของพระคณุ เจา เหลาน้นั เปน ภาพข้นึ แดนนรกน้ัน เปน สถานท่ีอันกวา งใหญ มองไปทางไหนกเ็ ห็นแตเ ปลวไฟ แลบเลียอยทู ั่วไป จนรูไดถงึ ความรอนแรง กวา ไฟใดๆ ทีม่ ีอยูใ นมนุษยโ ลกน้ี ควนั ไฟกระจายไปท่วั ประดุจหมอกดาํ และขาวปกคลุมออกไปเปนระยะไกล ไม สามารถจะมองเหน็ ไดทัว่ ถึง นอกจากจะเขาไปใกลๆ ทนั ใดนัน้ กเ็ กิดภาพทีช่ ัดเจนปรากฏเฉพาะหนา เปน ภาพภกิ ษรุ ูปหน่งึ ครองจีวรเรยี บรอย ทา ทางสํารวม นั่งอยบู น ธรรมาสนป ดทอง ประดบั ดว ยกระจกสตี างๆ แวววาวนาเล่ือมใส ในมอื ทง้ั สองประคองใบลานเทศน อยูในระดับ หนาอก ปากก็เทศนสงเสียงกองกังวาน เพยี งชวั่ ขณะหน่ึง กลบั มีไฟติดพรบ่ึ ขึ้นที่ใบลานธรรม ไหมจ นใบลานธรรมมอดลง แลวลกุ ลามไปทีป่ าก ทีต่ วั ไฟย่งิ ลกุ โพลงขึน้ จนทวม แลวรางภกิ ษุนักเทศนก ็ไหมด ํา กลายเปนข้เี ถา กองหนึ่ง เปนท่นี า สงั เวช สลดใจย่ิงนกั สักพักหนง่ึ กองข้เี ถา ก็กลับเปน รปู รา งอยา งเดมิ ขนึ้ มาใหม แลวไฟก็ตดิ ใบลานอกี เปน เชนนค้ี รง้ั แลวคร้ังเลา นบั เปน หม่ืนคร้งั ทุกขท รมานสาหัสเพราะไฟลวกเผาใหปวดแสบ เพราะความโลภในเครื่องกัณฑเทศน คิดแตจ ะให เขาถวายปจจยั มากๆ พยายามเทศนใ หถ กู ใจคนฟง เพียงความโลภอยากไดก ัณฑเทศน มผี ลเห็นปานน้ี ก็ทพ่ี วกอา งวา เปน อบุ าสกอุบาสกิ า พากันกระทาํ ผิดคิดมิชอบ เชน ยักยอกเอาเงนิ ทเี่ ขาอุทิศถวายสรางโบสถศาลาไปใชส วนตัว หยิบฉวยเอาของวดั ทไี่ มไ ดร ับอนุญาต และอกี มากมาย จะไดร ับผลกรรมสกั เพยี งไหน พระพุทธเจา ทรงสอนวา “ความช่ัวไมทาํ เสยี เลยดกี วา” กด็ วยเหตุน้ี ผลบาปนี้มนั นาสะพรึงกลวั สยดสยองจรงิ หนอ เรามาบวชแลว กนิ ของอนั ชาวบา นเขาถวาย หมายจะ สง เสรมิ ใหม ีโอกาสปฏิบัติดปี ฏบิ ตั ิชอบ เพื่อเปนเนอื้ นาบญุ ของเขาแลว แตไมปฏิบตั ิ จะบาปกรรมสกั แคไหน เรา เปน ผูประมาทโดยแท ถงึ แมพระพทุ ธเจา จะทรงเมตตา ก็ คงชว ยเราไมได เพราะเราไมช ว ยตัวเอง “พระคุณเจา ออกจากสมาธิลมื ตาไดแ ลว” อาตมาบอกดวยเสียงเรยี บๆ ออนโยน พรอ มกนั นนั้ หลวงพอ อาจารย ไดถ ามขนึ้ วา “พระคณุ เจา รสู ึกอยา งไรบาง นรกมจี ริงไหม นเ่ี ปน เพียงเปด ทางใหเห็นเปน สวนนอยเทานนั้ ถาทา นพากเพียร ปฏิบตั กิ รรมฐานดวยตนเอง ก็จะเหน็ ดวยตนเองชัดเจนยิง่ กวา น้ี” ทา นเจาอาวาสทกุ รูปตา งพรอ มใจกนั ลุกขนึ้ น่งั คกุ เขา กราบหลวงพอ อาจารย แลวหนั มาพรอมกบั พนมมือให อาตมา พูดเหมือนนัดกนั วา 55

“ตอไปนี้ กระผมจะขอปฏบิ ตั ิพระกรรมฐาน ต้งั มั่นอยใู นศีล สมาธิ ปญ ญา อยางเครง ครดั กนิ ขาวสกุ ชาวบาน เปลาๆ มานานแลว บาปคงจะเกาะอยเู ต็มตัว ของหลวงพอและทานอาจารย จงส่งั สอนใหพระกรรมฐานแก กระผมดว ย” เปน อันวา เจา อาวาสทกุ วัดภายในตําบล ไดพ ากันหนั มาปฏิบตั ดิ ี ปฏบิ ตั ชิ อบ ฝกสมาธกิ ันจริงจัง ตามความคิดทีไ่ ด คดิ กันไว อนั การปฏิบัตธิ รรมนี้ ไมเหมือนวชิ าความรทู ี่กาํ หนดเปน ช้ันเปนเวลา ชั้นประถมจะสาํ เร็จในกป่ี  มธั ยมจะ สําเรจ็ ในก่ีป มหาวิทยาลยั จะสาํ เรจ็ ในกปี่  จะไดรบั ประกาศนยี บตั รหรือปริญญา แสดงวาเรยี นจบแลว การปฏิบัตธิ รรมยอมขน้ึ อยกู ับความเพยี รพยายาม ความมานะ อดทน และวาสนาบารมที ี่สรา งสมมาในอดีตชาติ หรอื สรา งขึ้นใหมใ นปจจบุ ันชาติ บางทา นปฏบิ ัติวันเดยี ว หรือ ๗ วัน ๗ ปจ ึงสาํ เรจ็ แตท่แี นน อน เมื่อปฏิบัตไิ ปโดย ติดตอ สบื เนอื่ ง กลาเสียสละแมแตช ีวิต จะเปน จะตายกไ็ มย อทอ ไมเสยี ดายอาลยั ในชีวติ จะชา หรือเร็วก็ตอง บรรลผุ ลแนนอน พระพุทธเจา ของเรา ทา นทรงสรางสมบารมมี าไมร กู ร่ี อ ยกพ่ี ันชาติ แมในชาติสุดทา ยจะไดตรัสรูสัมโพธญิ าณ ก็ ตอ งใชเวลาถึง ๖ ป ยากท่ใี ครจะทาํ ได และไมมีใครทาํ มากอ นเลย แลวเราจะมาเหยาะแหยะ ไมเอาจรงิ จะสาํ เรจ็ ไดอ ยางไร และเมื่อสาํ เร็จแลว กร็ ไู ดเ ฉพาะตน จะมาเอายศ เอาเกยี รติ เอาโดง ดังกไ็ มไดอยา งชาวโลก ถา เรามีเมตตา ปรารถนาจะชวยเพื่อนรวมโลก ทีอ่ ยูในกองทุกข เกิด แก เจ็บ ตายดว ยกัน ก็เพียงแตเ อาคําสั่งสอน ของพระผูมี พระภาคเจา ทีท่ รงกลาวไวดีแลว และเราไดรูเ หน็ มาบอกแกชาวโลกเทานั้น คาํ สอนน้ันเปนแตวิธีการปฏบิ ัตเิ พ่ือถึงความพน ทุกข สวนใครจะเช่ือถอื ปฏิบตั ิตามหรอื ไม ก็สุดแตต ัวเขา เราไมมี อาํ นาจใดๆ จะไปบงั คับหรือหยิบยน่ื ผลการปฏบิ ตั ิใหแกเ ขาได การขยายเผยแพรธรรมปฏิบัตจิ ึงตองการเวลา ธรรมะของพระพุทธเจา เปน ธรรมะแหงอัตตะโน นาโถ คือ ตองพึ่งตนของตนเอง ชวยตัวเอง ไมมีพระเจาองคใด จะชว ยได ไมว าจะจดุ ธปู เทียนถวายดอกไมส กั การะจนเสียงแหบแหง หรอื หวั ใจจะแตกสลาย จนสายเลอื ดแทบจะ นองแผน ดิน ทา นทั้งหลายเอย ข้ึนชื่อวาทุกขน นั้ บางทเี รากม็ องไมเ หน็ วาเปนทุกข จงพจิ ารณาการดาํ เนนิ ชวี ิตของตน ใหเ ห็น เสยี กอ นวา มนั เปน ทกุ ขอ ยางไร นา เหนด็ เหนอ่ื ยเบ่ือหนายแคไหน ทรมานจติ ใจเพยี งใด แมเ หน็ แลว เรามองวามนั เปน เรื่องธรรมดา ทนตอ ทกุ ขน ้นั ได เรากค็ งจะขวนขวายทจ่ี ะหาทางขจดั ทุกข หรือหนี ทุกขใ หพน ได เพราะกิเลส ตณั หา อปุ าทาน มนั ครอบงําใหเห็นเปนเชนนนั้ ดังนนั้ จะตอ งทําจิตใหส งบ ต้ังมั่น ทาํ จติ ใหวา งเปลา ใหอ ยเู หนอื กิเลส ตณั หา อปุ าทาน ขันธ ๕ ใหไดเ สียกอน นนั่ แหละ จงึ จะเห็น วา กองทุกขนั้นใหญเทาภูเขาหลวง เราจะกวาดมันออกไปไดอยา งไร? การเปดนรกสวรรค ทําใหพระคุณเจา ของวัดตางๆ ในตําบล ไดตระหนักถงึ ผลบุญผลบาป แลวนอมนําใหท าน เหลา นนั้ หันมาปฏบิ ัตธิ รรมสมาธอิ ยางจรงิ ใจ 56

วิธีน้ีอาตมาจงึ เห็นวา นาจะเปน วธิ ที จ่ี ะเผยแพรกบั คนท่ยี ังมีจิตหยาบ ไมเ ช่ือถอื ใหเ ขาเชอ่ื ถือได อาตมาจึงได นํามาใชกบั คนอื่นๆ ตามความเหมาะสม ดงั นน้ั เม่ือจะชกั จูงจิตใจใหเ ขาเห็นผลแหงคณุ ความดี ยนิ ดใี นทาน ในศลี ก็ใหเขาไดเ ห็นภาพสวรรควมิ าน เทพยดา นางฟาทไ่ี ดไปเสวยสุข เพราะเหตุนั้นๆ แตเ มื่อจะทรมานคนท่ีมจี ิตใจหยาบ ไมเชื่อถือพระพุทธศาสนา ถอื วาเปนมิจฉาทฐิ ิ เหน็ วา ทําบญุ แลวไมไ ดบุญ ทํา บาปก็ไมเ กิดผล ตายแลวไมไปเกิดอกี กจ็ ะแสดงนรกใหเขาเห็นผลกรรมทเ่ี ขาไดกระทาํ ขึ้น ก็จะไดรับผลดีตาม สมควร ที่วาตามสมควรน้นั กเ็ พราะวาในชาตกิ อ น บางคนไมไ ดส ะสมบุญวาสนามาเลย เปนสัตวน รกเพิ่งพน โทษมาเกดิ ใหมเ ปน มนษุ ยใ นชาตนิ ้ี จิตยงั มืดมน ไมรูถูกรผู ดิ ถึงจะแนะนําอยางไร เขาก็ไมย อมรับความเช่อื เรอื่ งบุญบาปได โดยงาย ทัง้ น้กี ็เหมือนเรอื ที่สรา งดว ยไม เอาเกลือบรรทุกไปจนเตม็ ลํา ไมก ็ไมร จู ักวารสเกลอื เปนอยา งไร เปน พวกมามืดไป มดื เปนดอกบวั ที่อยใู นโคลนตม นบั แตจ ะเปนเหยือ่ ของเตา ปู ปลา อยา งเดยี ว บางคนพน โทษทุกขจากนรกจากในอดีตชาติมาแลว มีบุญหนุนสงอยูบาง ก็พอรูดีรูช่ัว แบบหลบั ๆ ตนื่ ๆ พอจะ สอดแทรกความผิดถกู เขาไปไดบา ง บางคนมีวาสนาบารมที าํ ไวจ ากอดีตชาติดพี อสมควร แตยังไมเตม็ เปย ม เพยี งสะกดิ ใหร กู ็ยนิ ดีในการปฏบิ ัติ บาง คนไมต อ งมใี ครสะกิดใหร ู แตเม่อื ถงึ เวลา เขากเ็ ขาหาธรรมปฏบิ ัติไดเ อง ๒๑. อดตี ชาตคิ อื หลวงปรู า งไมเ นา เรอ่ื งราวในชีวิตของอาตมาในปจจบุ ันชาตนิ ี้ ก็มีตามทีเ่ ขยี นเลา มาแลว บัดนีก้ ็จะเลา ถึงชวี ิตในอดตี ชาตทิ ี่สงเสรมิ ให มารบั ผลในปจจุบนั ดบู าง ตามทไ่ี ดเ ลามาแลววา อาตมาไดเคยไปที่วดั หนึง่ ซง่ึ เปนพระอุปช ฌายของทานมหาจาํ เริญกับทา นมหาเอง และได ไปพบหลวงปูในตกู ระจก นง่ั มรณภาพในสมาธิ เนื้อหนงั ไมเ นาเปอยแตแหงไปบาง ขณะน้นั อาตมารูด ว ยจิตวา หลวงปใู นตกู ระจกก็คืออาตมาในอดีตชาติ เมื่อกายทพิ ยออกจากกายธาตุแลว ก็มา เกิดใหม เปน ตัวของอาตมาเอง ดว ยจติ อันปฏิบัตมิ าดแี ลว น้ัน ทําใหอ าตมามีหูทิพย ตาทิพย ผดิ กับเด็กท้ังปวง เม่ือยอ นไปดูอดตี ลกึ ลงไปอกี จึงรู วากอนจะมาเปนหลวงปนู ัง่ อยูในตกู ระจกน้ัน มีความเปนมาอยา งไร หลวงปูซึ่งเปน อดีตชาติของอาตมา ทา นเกดิ มาดี ในครอบครัวท่มี ีศีลธรรม ชอบเขาวัดถอื ศีลฟงธรรม ฐานะมีอัน จะกนิ เลยี้ งดลู ูกๆ ซึง่ มี ๓ คนดวยกนั ใหเ ปนสุขได 57

สําหรับหลวงปูแมจะเกิดมาในฐานะดี บดิ ามารดาก็เปน คนดมี ีศีลธรรม แตต วั ทา นซ่งึ เปน ลูกคนสดุ ทอง ก็มี รางกายออนแอ ๓ วันดี ๔ วนั ไข ไป หาหมอท่ไี หนรักษา กไ็ มม ที างดีข้นึ แตก ็ไมถ งึ กบั เจบ็ หนัก เพราะความเปนคนขี้โรค หลวงปูจงึ ไมคอ ยไดไ ปวิ่งเลน ซุกซนกับเพ่ือนๆ นอกจากพ่ๆี และมักจะเลนอยแู ตใ นบรเิ วณ บา นของตน บางครัง้ กน็ ั่งเงยี บสงบอยูตามลําพัง เปน คนชางนกึ ชางคิด ครน้ั โตขึ้นหนอย อายถุ งึ เกณฑตองเขา เรียน ก็มกี ําลงั จะไปเรียนได บางทกี ต็ อ งหยดุ แตกเ็ รียนไดจ นจบช้นั ประถม เพราะความออ นแอทางรา งกาย จงึ ไดร บั ความรักสงสาร และเปน ท่ีหวงใยจากบิดามารดาเปน อนั มาก หลวงปตู อนนน้ั มักจะตืน่ เชา เพราะชอบดูตอนมารดาตักบาตรพระท่หี นา บา นเปนประจํา เห็นพระหมผาเหลือง เดินเรียงกันมาเปนแถว จติ ใจก็ชมุ ชืน่ มีความสุข ทาํ ใหน กึ อยากบวชเปนพระบาง ความรูสึกอยากบวชนี้ นับวันจะ เพิม่ มากข้ึน พอหลวงปอู ายไุ ด ๑๘ ป คํ่าวันหนึ่ง หลวงปกู ็บอกกบั บดิ ามารดาวา “ลูกอยากบวชพระ” มารดามองหนา อยา งแปลกใจ เพราะไมเ คยไดยนิ ลูกพูดถงึ เรื่องการบวชมากอนเลย กถ็ ามวา “ลูกเปน คนขี้โรคอยา งน้ี จะทนอดขา วเย็นไหวหรือ” “เร่อื งอาหารนี้ บางครง้ั ลูกเบื่ออาหาร ทาํ ใหไ มห วิ อยูแ ลว ไปบวชก็คงจะไมล าํ บากอะไร อยูอ ยา งน้ี ลกู ก็ไมค อยจะ แข็งแรง จะชว ยพอแมทาํ งานกไ็ มไ ด ทําใหพอแมเ ปนหวงกังวลอยเู สมอ หากไปบวชแลว จะตายในผาเหลืองลกู ก็ ยินดี” เมือ่ บดิ ามารดาเห็นความต้ังใจแนว แนอยางนน้ั ก็ไปหาอาจารยท ี่วดั จะขอฝากใหบ วชเณรดกู อน และไดพาหลวงปู ไปดว ย ทา นอาจารยทว่ี ัดแหง น้ัน เปน คนทีม่ ีความรู เปนผูปฏบิ ัติดีปฏิบัติชอบ และเกงในวชิ าอาคมตางๆ เมื่อทา นนั่ง พิจารณาอยพู ักหนงึ่ จงึ พูดข้นึ วา “ลกู โยมคนน้ี เมื่อบวชแลว จะไมสึกนะ โยมเต็มใจหรอื ” มารดาตอบวา “กแ็ ลว แตวาสนาบารมีของเขา ตัวเขาเองกบ็ อกวาขอใหไดบวช จะตายในผาเหลืองก็ยินดเี จาคะ ดฉิ นั เปนหว งแตว า รางกายของลูกไมค อยจะแข็งแรงนัก ขี้โรค สามวนั ดีส่ีวันไข จะทนอดอาหารไมไ หวเทา น้ัน” ทานอาจารยห วั เราะ “เรื่องนคี้ งไมเปนไร บวชแลวปฏิบัติดี โรคภยั มันจะหายไปเอง” อกี ไมก่ีวันตอ มา หลวงปูก ็ไดบวชเณรสมตามความตั้งใจ “ส่ิงแรกของการบวชก็คือ ตองทําจติ ใจใหเ ปนสมาธิเสยี กอน สวน การเลาเรียนปรยิ ตั ิธรรม เอาไวว า กนั ทหี ลงั ” 58

แลว ทานอาจารยถ ามวา “ตอนบวชน้นั พระอปุ ช ฌายก ็สอนกรรมฐานใหแลว เณรจําไดไหม ทท่ี านบอกเกศา (ผม) โลมา (ขน) นขา (เลบ็ ) ตะโจ (หนัง) ทนั ตา (ฟน ) นะ” “จําไดข อรับ” หลวงปูเม่ือครงั้ เปน สามเณรตอบ “นั่นแหละกรรมฐานบทแรกละ เณรตอ งหม่นั พิจารณาไปทีละอยา ง ผมกเ็ ปนของไมเ ที่ยง ขนก็เปน ของไมเท่ยี ง เลบ็ ก็เปนของไมเ ที่ยง หนังกเ็ ปนของไมเ ที่ยง ฟนกเ็ ปน ของไมเ ทย่ี ง คอื เปลี่ยนแปลงไดเ สมอ เกิดขน้ึ แลวก็ดบั ไป จงพิจารณาวา มนั เกิดขึน้ อยางไร ดับไปอยา งไร เม่อื พจิ ารณาอยอู ยา งนี้จิตก็จะคอยๆ สงบลง จากนนั้ จึงใชองค ภาวนาวา พทุ โธ พุทโธ อยูในใจ จะนั่ง ยืน เดนิ นอน ก็ใหนึกถงึ พทุ โธ เร่ือยไป เณรทําไดไ หม” “ไดขอรับ ผมจะทําตามทานอาจารยส ั่ง” ทา นอาจารยบอกวา “ท่ีวัดนีไ้ มม ีสํานักเรยี นปรยิ ตั ิ ตอ งไปเรยี นไกลถงึ วดั ในเมอื ง อกี อยา งหนง่ึ การเรยี นนกั ธรรม นัน้ ตอ งปรับจติ ปรับใจใหม พี ื้นฐานเสียกอน คือใหมีสมาธิ จึงจะเรียนธรรมะเขา ใจ” ขณะน้นั หลวงปูซง่ึ ยังเปนสามเณรอยู กไ็ ดปฏบิ ัติตามอาจารยอ ยางเครง ครัด เมอื่ ไดภูมจิ ิตภมู ธิ รรม มสี มาธมิ นั่ คง จนถึงระดบั ฌาน ๔ แลว จึงหนั มาเรียนปริยัติ เรม่ิ แตนกั ธรรมตรี การเรยี นนักธรรมตรีนน้ั นอกจากจะเปนการทดสอบและทบทวน วา การปฏบิ ัติกับปรยิ ตั นิ ้นั ตรงกนั หรือไม หรอื มี สิ่งใดคลาดเคล่ือนไปบาง ก็ทาํ ใหการเรียนปริยัติ เกิดความเขาใจทะลปุ รุโปรง ไปเปนอนั มาก ครน้ั เรียนจนไดนกั ธรรมเอกแลว ก็นับวา เพียงพอแลวสําหรบั ความรูในสมยั นนั้ หลวงปูจึงไมสนใจท่จี ะเขา ไปเรยี น ตอในกรุงเทพฯ ฝกใฝแตการทจ่ี ะปฏบิ ตั ธิ รรมใหย ั่งยนื ไปเทาน้นั หลงั จากอปุ สมบทได ๕ พรรษาแลว หลวงปูจงึ ออกธดุ งค เขาปาไปเปนเวลาชา นาน ไดท องธดุ งคไ ปทกุ ภาคของ ประเทศ ขึ้นเหนือลองใต ไปอีสาน และทางภาคตะวนั ออก นอกจากนยี้ งั เลยเขา ไปยังปาชายแดนของพมา เขมร และวนเวยี นอยใู นประเทศลาว ไดพบครูบาอาจารยท ่ธี ดุ งค อยูในปา เปน อันมาก นับเปน เวลาหลายสบิ ปท ่หี ลวงปไู ดทองธดุ งคอยใู นปา สมดังที่สาวกของพระพทุ ธองค ไดยดึ ถือกันมาตั้งแตคร้งั พทุ ธกาลวา เม่ืออุปสมบทแลว ก็ไมม ีญาติในทางโลก แมแ ตบ ิดามารดาหรือญาติพ่นี อง ก็ตอ งถือวาไมม ี จะมีอยกู ็ แตญาติในทางธรรมเทา นั้น ตอ เมอ่ื อายหุ ลวงปยู า งเขา วยั ชรา จึงไดย อ นกลับสูวัดบา นเดมิ ซ่ึงบิดามารดาและพี่นองบางคนกไ็ ดสูญหายตาย จากไปหมดแลว แมท านสมภารท่วี ดั ซ่งึ มีอายุไลเ ลยี่ กัน กจ็ าํ กันไมไ ด ตองรอ้ื ฟนความจําอีกพักใหญ 59

หลวงปูไดก ลับมาอยูวัดบานเดมิ อยางพระลกู วดั ธรรมดารปู หนึ่ง เม่ือเหน็ วาทางวัดก็ดี ทางบานก็ดี ยังไมมีความ เจรญิ ในการปฏิบตั ิธรรม ทั้งยงั ขาดถาวรวัตถสุ ําหรับวัดอกี เปนอนั มาก โบสถ และศาลาทม่ี อี ยูเดมิ กช็ ํารุดทรดุ โทรมจนแทบจะใชก ารไมไ ดอ ยูแลว ดงั นน้ั หลวงปจู ึงปรกึ ษากับทานเจาอาวาส ถึงการทาํ นุบํารงุ วัด และการอบรมส่ังสอนชาวบาน ทานเจาอาวาสก็ เห็นดีดวย แตว ิตกวา ชาวบานยังยากจน คงยังไมมีปจ จัยพอเพียงท่ีจะมาชว ยบูรณะถาวรวัตถุใหสําเร็จได ตัวทาน เองก็ไมมเี กียรติคณุ ความรูอะไร เทา กับเปนสมภารเฝาวดั อยูเทา นั้น หลวงปูกบ็ อกวา “ไมเปน ไร ขอใหท า นรับธุระจดั การทจี่ ะทํานบุ ํารุงใหดีเทา นนั้ สว นปจจยั น้ันอาตมาจะชวย อธิษฐานจิตให ไมช ากจ็ ะมมี าเอง เพราะขึ้นช่อื วากุศลแลว เร่มิ ขน้ึ ท่ีไหน กุศลอ่นื ๆ กจ็ ะมา รวมตัวกนั เอง” หลังจากนนั้ หลวงปกู ร็ ว มมอื กับทา นเจาอาวาส แลว ปรกึ ษาวา พระเณรภายในวดั นีจ้ ะบวชเฉยๆ แลวกินนอนไป วันๆ ไมไ ด ทอ งสวดมนต เจด็ ตาํ นาน สิบสองตํานาน ก็ยงั ไมพ อ ตองเรียนปรยิ ัติและปฏิบัตคิ วบคกู ันไป ตอ จากน้ไี ปหลวงปจู ะเอาเวลากลางวันสอนนกั ธรรม ตอนกลางคืนสอนการปฏิบัติ ทาํ เชน นนั้ อยูสองพรรษา ก็ ปรากฏวาพระเณรในวดั รูจกั ความสงบและสํารวมอินทรีย เปน เนอื้ นาบุญสําหรบั ชาวบาน ดว ยเหตุน้ีกท็ ําใหญ าติโยมเกิดศรทั ธาเลื่อมใสมากขน้ึ ผเู ฒาผูแกแ มหนมุ สาวบางสวน ตา งก็พากันเขา วดั ถือศีล ฟง ธรรม และปฏบิ ตั ิตาม ทหี่ ลวงปูสงั่ สอนอบรมไว มีความสบายจติ สบายใจมากขนึ้ ใครเจ็บไขไ ดป วย มาเอา นาํ้ มนตจากหลวงปูไ ปด่มื กนิ กห็ ายอยา งอัศจรรย เมือ่ ชาวบานรอบๆ วัดมีความศรัทธา ไมชา ก็กระจายความศรทั ธาเปน วงกวา งออกไป จนถึงตําบลหมบู า น ใกลเคียง ถึงอําเภอ จงั หวัด จนกระทงั่ ตา งจงั หวัดออกไปถงึ กรงุ เทพฯ เมอ่ื มผี ูศรัทธาในหลวงปูมากข้ึน ปญ หาเรือ่ งปจ จัยกห็ มดไป ใครที่ไดร ับการรักษาจากหลวงปู เมื่อหายจากเจ็บไข ไดปวยแลว ก็เอาปจ จยั เอาวตั ถกุ อ สรางมาชวยตามกําลังศรัทธาของตน ทั้งนี้หลวงปไู มเ คยรบั ปจ จยั ดวยตนเอง ใครถวายกใ็ หเ อาเขากองกลางเปน เงินทุนกอสรา ง แมจ ะถวายเปนการ สว นตัว ทานก็ไมรับ บอกวา ไมร ูจะเอาไปทําอะไร เพราะตวั หลวงปกู ็ฉันเพยี งหนเดยี ว บางคนคิดวา หากเอาไทยทานอยา งอืน่ มาถวาย คงจะเปน ประโยชนแกห ลวงปู ทานกร็ บั แตแจกจา ยไปใหพระเณร หมด ไมเ ก็บสะสมอะไรไวเ ลย อีก ๔ - ๕ ปตอมา วัดที่ทรดุ โทรมใกลจะพัง ก็กลายเปน วัดพัฒนา มโี บสถ ศาลา หอระฆงั กฏุ ิสรางขึ้นใหมอยา ง สมบูรณ สว นหลวงปูกลับไปปลูกกุฏิเล็กๆ ทําดวยไมไ ผม ุงแฝกอยใู นปา ชา กลางวันออกมารับแขกญาตโิ ยมท่ีศาลา กลางคนื กลับไปอยูในปาชาตามเดิม แมว ัดจะพัฒนาไปครบถวนแลว กย็ ังมีญาติโยมไปมามิไดขาด หลวงปูอยูโปรดญาติโยมจนอายุกวา ๙๐ ป จึง มรณภาพ 60

การมรณภาพน้นั ทา นมรณภาพขณะอยูในสมาธิ และเขาใจกนั วา ทานไดถ ึงขัน้ พระโสดาบนั แลว เพราะจติ ทา น แนวแนอยูในการปฏิบัติ เมอ่ื ดับขนั ธแลวไมนาน กม็ าจตุ ิในครรภม ารดาของอาตมา พอเติบโตข้ึนกเ็ ปน อาตมานีแ่ หละ สวนรางเดิมในชาติ กอนของอาตมาเปน อรยิ บุคคลแลว สงั ขารจึงไมเ นา เปอย ท่ีแปลกก็คือ ทานมหาจาํ เริญเคยเปน ศิษยรักของหลวงปู เมือ่ หลวงปมู าเกดิ เปน อาตมา ทานมหาจาํ เริญกย็ งั มีชีวติ อยู และไดมีความสัมพนั ธสนิทสนมกนั อีก แมอาตมาจะยังเปนสามเณรอยู ก็สามารถใหคําแนะนําในทางปฏิบัติ แกทานมหาจาํ เริญได ดงั นัน้ จงึ เห็นไดวา สังขารรา งกายนั้นเปลยี่ นแปลงได แตจิตยงั เปนดวงเดิม และสบื เนือ่ งตอมาในอกี สังขารหนึ่ง เรยี กวาเปนคนละสังขาร แสดงวาจิตเปนของไมตาย ยงั คงอยตู ลอด ไมว าจะไปจตุ ิในภพหน่งึ ภพใด หรอื ในสังขาร ของอะไร สดุ แตตนไดก ระทาํ มาในชาตทิ ่ีแลว จะผิดกันก็แตจ ติ นั้น ซึง่ ไดป รบั ปรุงขดั เกลาใหเ ปน จิตท่ีละเอยี ดออน สะอาดบริสุทธิ์ขึน้ หรอื กลับกระดางหยาบชา พอกดวยกิเลสเทาน้นั ท้งั น้ีก็ดว ยกรรมของตนท่ไี ดกระทาํ ดหี รอื กระทาํ ช่ัว ฉะน้ัน การปรบั ปรุงหรอื ขดั เกลาจติ จงึ เปน เรื่องสําคัญท่ีสุดของมนุษยเ รา การเกิดเปนมนุษยแ ลว ไมร จู ักปรับปรงุ ขัดเกลาจิต ก็เทา กับเสยี ชาตเิ สยี เวลาเกิด เพราะเกดิ คร้งั ใด กส็ ะสมกเิ ลสตัณหาพอกพนู ขนึ้ เรือ่ ยๆ เม่ือดบั จาก ชาติปจ จุบันไป ก็ตอ งไปเกิดในอบายภูมิ หรือในนรก แตไ มเ ข็ดหลาบตอความทกุ ขทรมานอันสาหัสในนรกเลย กลับเวยี นไปหานรก ชาติแลว ชาติอีก ภพแลว ภพอีก กวา จะเกิดเปนมนษุ ยแตล ะคร้ังไมใชของงา ยเลย ตายจากภพ มนุษยแลว ไปเกดิ เปน สัตวกม็ ี แมแตพระพุทธเจากอนตรสั รนู ัน้ ทานกเ็ คยไปเกดิ เปน สตั วนบั ชนิดไมถว น ดว ยเหตุนี้ พระพุทธองคจ ึงตรสั สอนวา “ขน้ึ ช่ือวาความชั่วแลว ไมทาํ เลยดกี วา” เพราะความช่ัวน้ัน ยอ มทําใหไ ป เกิดเปนสตั ว เปน เปรต อสรุ กาย ทนทกุ ขทรมานอยูในนรกไดท กุ อยา ง สุดแตก รรมของตน อยางท่ีวัดแหงหนึ่งทางอําเภอจอมทอง สมภารวัดนี้เม่ือมรณภาพแลวไดไ ปเกิดเปนหมาวัด เพราะขณะทเี่ ปน สมภารไดเอาของท่เี ขาถวายเปนของสงฆไปใชเ ปน ของสวนตวั มนุษยผมู ีปญ ญาท้งั หลาย จะตองพจิ ารณาไตรต รองใหล ึกซ้งึ วา ที่ไดเกิดเปนมนษุ ยน้นั นับวา โชคดีกวา สตั ว ท้ังหลาย เพราะพระพุทธเจาทรงตรัสวา เกิดเปน เทวดา เกดิ เปน พรหม อยูในสวรรคว มิ านเมอื งฟา ก็ยังไมเ ทา เกิด เปนมนษุ ย เพราะการเกดิ เปน มนุษยน ี้ มีสิทธ์ิท่ีจะเลือกทําดที ําชว่ั ไดต ามความตองการของตน มโี อกาสทีจ่ ะใหทาน รกั ษาศลี เจริญภาวนา และประกอบความดตี อเพือ่ นมนษุ ยด วยกนั จนกระท่งั ปรารถนาจะขนึ้ สวรรค หรอื เปน พระ อรยิ บคุ คล เปน พระอรหนั ต ไปถึงพระนิพพานก็ไดท ้ังสิ้น ข้ึนอยูกับจะทาํ ดหี รอื ทาํ ช่ัวเทานั้น ๒๒. เคยเกดิ เปน ชาวนา อาตมายังระลกึ ชาติยอนไปอกี ชาติหนึ่งไดวา กอนจะมาเกิดเปนหลวงปู ซ่ึงมรณภาพแลวรางกายไมเปอ ยเนานน้ั ในชาติน้นั อาตมาไดเกดิ เปนชาวนายากจน 61

ชวี ติ ตงั้ แตเดก็ ในอีกชาตนิ ้ัน กช็ วยบิดามารดาทาํ มาหาเล้ยี งชีพ ดว ยการหาฟนและจับปลาอยเู ปน ประจาํ โดยเฉพาะการจับปลานน้ั ไดทํามากที่สุด ท้ังตกเบ็ด ทอดแห ทง้ั ดักดวยไซ บดิ าเคยสอนวา กุงปลาท่จี บั ข้ึนมาไดน ั้น ถา ปรากฏวาเปน กุง ปลาเวลาไขก ค็ วรปลอยไปเสยี เพราะกงุ ปลาเหลาน้ัน จะตองไขอ อกมาเปน ตัว และแพรพันธุตอ ไป ถา ขนื เอามากนิ มาขายเสยี หมดก็จะสูญพันธุ ปลาท่จี ะนําไปขาย สวนมากยังเปนๆ อยู สวนปลาทต่ี ายแลว ก็เหลือเอาไวกิน ถาไมท าํ อยา งน้ี ก็จะไมมกี นิ เพราะที่นาทํากนิ มีนอย ได ขา วมาก็แทบจะไมพอกนิ ชาวนาสว นมากนน้ั เร่อื งจบั ปลาแลว กท็ าํ กนั ท่วั ไป เพราะปลาเปน อาหารหลกั แกช าวนาทั่วไป เมื่ออาตมาเตบิ โตขึ้น บิดามารดาผชู ราภาพก็ตายจากไปในเวลา ไลๆ กัน พ่นี อ งกไ็ มม ี เพราะในชาตนิ ัน้ อาตมาเปน ลกู ชายคนเดียวของบิดามารดา แตแ รกคิดจะหาภรรยาสกั คน จะไดมาชวยกนั ทํามาหากิน แตเพราะความยากจน ทัง้ ยงั มองไมเ หน็ วา ใครจะมารกั ใครไ ยดี ยอมเปนภรรยาคนจน ทนี่ าทเ่ี ปน มรดกกม็ ีเพยี ง ๖ - ๗ ไรเทา นั้น บานก็ เปน บา นหลงั เลก็ ๆ หลงั คามงุ จาก ตอนทบี่ ดิ ามารดาเสียชวี ิตน้ัน อาตมาวาเหวม าก เงินทองสะสมไวก็ไมม ีพอทีจ่ ะทาํ ศพ ดว ยเหตนุ อ้ี าตมาจึงไปหา ทา นอาจารยเ จาอาวาสใกลบ าน ทานอาจารยก บ็ อกวา “อยาเศราโศกเสยี ใจอะไรเลย ชีวิตเปนของไมเท่ยี ง เปนทุกขอ ยางนัน้ แหละ หมดพอแมแลว ลูกเมียก็ไมมี เทากบั ตวั คนเดยี ว ไมต องหวงใยอะไรอีกแลว หนั หนาเขามาหาพระพุทธศาสนาเถอะ บวชเรียนเสีย จะไดอทุ ศิ สวนบุญ สวนกุศลใหพอแม ทานจะไดไ ปจตุ ิในภพภมู ทิ ่ีดี แลว จงตง้ั หนา ปฏิบตั ธิ รรมตามคาํ สอนของพระพทุ ธองคเถอะ เพราะจะเปนหนทางเดียวเทา น้นั ท่ีพนทกุ ขได อาตมาในชาตนิ นั้ ก็รูสึกเห็นคลอยตามทานอาจารยเ จา อาวาส เพราะมเี พียงตวั คนเดียว จะเหนอื่ ยยากไปทําไม และเพ่ืออะไรกนั บวชแลวก็ปฏบิ ตั ิธรรม เพือ่ หาทางพน ทุกขดีกวา อยา งนอ ยเรากท็ าํ ปาณาติบาตมามาก จะไดล บ ลา งบาปใหหมดไป หลังจากนั้นอาตมาจึงกลบั บา น แลว บอกขายทน่ี า มีเพ่ือนทาํ นาท่ีติดกัน เขารับซอื้ ไว เมอ่ื ไดเงนิ มากเ็ อามาจดั การ เผาศพบิดามารดาจนเสร็จเรยี บรอย ครัน้ เหลอื เงินอยกู ็เอามาซื้ออัฐบริขารแลวโกนหัวเขาวดั ทําการอุปสมบทอยางเงยี บๆ โดยทานอาจารยเจาอาวาส ทา นเปน พระอปุ ชฌายให ในชาติน้ัน อาตมากบ็ วชอยไู ดจนตลอดชีวิต บวชเรยี นแลวกไ็ ดศึกษาจนถึงนักธรรมโท ตอมาในพรรษาท่ี ๓ อาตมากต็ ิดตามทา นอาจารยเจา อาวาสออกธดุ งคไ ปตามปาเขาตา งๆ ซ่งึ ในสมยั นนั้ เมือ่ ออก พรรษารับกฐินแลว มักนิยมออกธุดงคปฏิบตั ิธรรมกันสวนมาก และทา นอาจารยกอ็ อกธุดงค เปน ประจาํ มไิ ดข าด พอพรรษาครบ ๕ จึงไดออกเด่ยี วไปตามลําพัง บางทกี ็ไมกลับมาจาํ พรรษาทว่ี ัดเดมิ เอาถํ้าเปน ที่อธษิ ฐาน เขา พรรษา ๓ เดือน ออกพรรษาแลวกธ็ ุดงคต อไป อยูมาจนอายไุ ด ๙๐ ป จึงถงึ อายุขยั 62

ในชาติทีก่ ลาวนี้ อาตมาไดบ รรลุแคฌ าน ๔ ซึง่ เปนฌานโลกยี  ประกอบกับไดอธิษฐานวา เมื่อมีกรรมอยู เปนหนี้ เจากรรมนายเวรอยู ก็ยนิ ดชี ดใชใหห มดกันไป ดวยเหตุนีเ้ มือ่ อาตมาถงึ อายขุ ัย จติ จงึ ลงไปใชกรรมในนรกขมุ ปาณาตบิ าต อยูในระยะหนึ่ง เม่ือใชห นกี้ รรมแลวอาตมาจึงไดม าเกดิ เปนมนุษย คร้ันอายุ ๑๒ ขวบ ก็ไดบ รรพชาเปนสามเณร จนกระทั่งได อุปสมบทเปนภกิ ษใุ นพุทธศาสนาน้ี พรรษาท่ี ๒๐ (ในชาตทิ เ่ี ปน หลวงปู รางกายไมเ นาเปอย) จึงขามโลกิยฌานมาได บรรลุถึงพระโสดาบนั จงึ สิ้น อายขุ ยั ดวยบญุ กศุ ลทอี่ าตมาไดปฏิบัตธิ รรมสมาธติ อ เน่ือง ไมม จี ติ ฟุงซา น ไมม คี วามปรารถนาไปสูสวรรคว มิ านใดๆ มุง แตจ ะใหพ นทกุ ข เขาถึงพระนพิ พานอยางเดยี ว จงึ ไมตองรอถึง ๗ ชาติ จงึ ไดม าเกิดเปน อาตมาในชาติน้ี ๒๓. จติ มงุ พระนพิ พาน ทําไมจิตอาตมาตอนน้ี จงึ มุง ความพน ทกุ ข ปรารถนาพระนิพพาน ก็เพราะไดบรรลุพระโสดาบนั แลว จัดเปน ผไู ม ยอนกลับ มีแตจะสงู ขน้ึ ไป อาตมาจึงปรารถนาแตท างพระนพิ พาน พระนพิ พานน้ี มนษุ ยชาวโลกพากันสงสัยยิง่ นักวาเปนอยา งไร? สมยั หน่งึ มีความเชื่อถึงกบั มภี าษติ ขน้ึ มาวา “นพิ พานํ ปรมํ สูญญํ นิพพานเปนของสญู ไมเกิด ไมตาย” คนไม เขา ใจกม็ กั กลวั ไมค ิดจะไปสูท างพระนิพพาน สวนผทู ําบญุ ใหทานรกั ษาศีล กต็ ั้งความปรารถนาในสวรรคสมบัติเพยี งเทานนั้ เพราะข้นึ ช่ือวาสวรรคแ ลว ยอม เปน แดนบรมสุขสําหรับชาวโลกผูป รารถนาแตค วามสุข จึงไมปรารถนาพระนิพพาน เพราะไมอยากถึงความสญู เชนน้ัน ครัน้ กาลเวลาผานมา ความเช่ือดังกลาวนจ้ี งึ หายไป และตางกท็ ราบความจริงวา “นิพพานไมส ญู ” เปนธรรมดาของมนุษยปถุ ุชน ทม่ี เี กราะเหลก็ คอื ความโลภ ความโกรธ ความหลง หอหุมอยูอยา งแนนหนา ความทุกขไมปรารถนา ตอ งการแตความสุขเพยี งประการเดียว แมน พิ พานกม็ องเหน็ วา ไมใชความสุขที่ตน ปรารถนา หากเขา สูพระนพิ พานแลว อะไรก็สูญสิ้นหมด อยางไรกต็ าม ชวี ติ มนษุ ยป ุถุชน ไมใชจะมคี วามสขุ เพยี งอยา งเดียว ความทกุ ขก ็ยอ มมีอยดู วยเปนธรรมดา ไมมี ใครจะเลือกสขุ เวทนา โดยไมม ที กุ ขเวทนาปะปนอยูดว ยเลย จะสุขนอ ยหรอื สขุ มาก จะทกุ ขน อ ยหรอื ทุกขมาก ก็ แลว แตผลกรรมของตนเอง แตจะสขุ หรอื ทกุ ขอยา งไร ก็ยงั เปน วิสัยของชาวโลก ทจี่ ะพน จากพระไตรลักษณ คอื “อนิจจัง” ความไมเที่ยง “ทกุ ขงั ” ความทนไดยาก และ “อนตั ตา” คอื ความไมม ีตัวตน เพียงอนิจจงั อยางเดียว ก็เปลี่ยนแปลงชีวิตมนุษยอ ยางตั้งตวั แทบไมต ดิ ไมวาจะเกดิ จากการกระทําของมนษุ ย และผลที่ตามมา 63

มนุษยต อ งเวียนวายตายเกดิ ซํ้าแลวซํา้ เลา ไมร ูก ่ภี พก่ีชาติ เกิดมารวย เกิดมาจน เกิดมาสุขสําราญ เกดิ มายากจน แสนเขญ็ บางทตี ายจากมนษุ ยไ ป กย็ ังเกิดเปนสัตว เปรต อสุรกาย เทวดา มคี วามไมยั่งยืน แปรปรวนไปไดท ุก ขณะ ในเรือ่ งเหลานี้ เราจะตอ งทําความเขา ใจเรอ่ื งกรรมใหดี เพราะความรเู รอื่ งกรรม เปน สิ่งสําคญั ยิ่ง หรือเปนหวั ใจ ของพระพุทธศาสนา ถาเราไมรเู ร่อื งกรรม เราก็จะไมรวู าพระนิพพานเปน อยางไร แมแตคําสั่งสอนของพระพุทธเจา ก็จาํ เปนตอ งเอาเรอ่ื งกรรมเปน หลกั และทรงยนื ยนั วา “กรรมเปนสิง่ ท่ีทรง อาํ นาจใหญย ่งิ ในการเกดิ การตาย การไดดี หรือการตกยากของมนุษยเรา” ในหมพู ทุ ธบรษิ ทั สวนมาก ตา งก็ยอมรบั วา แรงใดจะสแู รงกรรมเปนไมมี ดูแตองคพระมหาโมคคัลลานะ แมบรรลุ พระอรหนั ตแ ลว กย็ งั ตองรบั ผลกรรมท่สี บื เน่อื งกันมาในอดตี ชาติ ขนาดมฤี ทธมิ์ ากกย็ งั ตองรบั กรรม ใหพวกโจร ทุบตีเอา แมพระบรมศาสดาของเราทา นทัง้ หลาย กย็ งั ตองทรงรับสนองผลกรรมในบางกรณี สาํ หรับผูมีความรูด ใี นเร่อื งของกรรม ยอมอดทนในเมื่อตอ งเสวยผลของกรรม ไมทําการโตตอบ ใหเ กดิ กิเลสสืบ ตอไป ใหมนั ส้ินกระแสไปเพยี งเทาน้นั ทง้ั นีไ้ มเหมือนสามญั สตั วทั่วไป เมื่อไดเ สวยผลของกรรมที่ตนทาํ ไว แทนที่จะรูสาํ นึก และยอมรับผลกรรมแตโดย ดี กลบั รูสกึ ไมพอใจ แลวทํากรรมใหมเพิ่มเติมและโตตอบ ทําใหเปนเวรสบื เนื่องไมขาดสายลงได อาจสืบตอ ซ้ําซากกนั ไปต้ังกปั ต้ังกัลป รอยชาตพิ ันชาติ อยางอีกากบั นกเคาแมว หรืออยางงกู ับพงั พอน พบกันกต็ อ งตกี ันกดั กัน ไมรูวาเปน ศตั รูคอู าฆาตกนั มาแตครง้ั ไหน พระพุทธเจาทรงทราบชัด เร่อื งกรรมสนองกรรมอยางชัดเจน จึงทรงสอนมใิ หสืบตอเวรกรรมตอ ไป ใหอ ดทนและ ยอมรับผลกรรม เพอ่ื ใหหมดสิน้ กนั ไป ทรงดาํ รัสเปนใจความวา “ในกาลไหนๆ เวรในโลกนี้ ยอ มไมระงบั ดว ยเวรเลย แตจะระงบั ไดดวยการไมจ องเวรเทา นัน้ ” กรรมนั้นมอี ยสู องประเภท อยางหน่ึงเปน กรรมของคนฉลาด เปนความดที ีม่ ีอํานาจ สามารถบังคับความช่ัวและ ลา งความชวั่ ได ทานเรยี ก วา “กศุ ลกรรม” หรือ “บุญกรรม” อกี อยา งเปนกรรมทท่ี าํ ดว ยความโง เปน ความช่วั ที่มีอาํ นาจเผาลน ใหร อ นรมุ ดังถกู ไฟเผาไหม เรียกวา “อกุศลกรรม” หรอื “บาปกรรม” มลี ักษณะทําใหส กปรกเศราหมอง บางแหง ทานเรยี กกรรมดวี า “สุกกะ” (ขาว) และเรียกกรรมช่วั วา “กัณหะ” (ดํา) ดังนน้ั บณั ฑติ พึงละ “กรรมดาํ ” เสีย พงึ เจริญแต “กรรมขาว” เมอ่ื ละกรรมท้ังหลายหายกงั วลแลว ยอ มยินดียิ่งในพระนิพพาน อันเงยี บสงัด อยา งไรก็ตาม การกระทาํ กรรมดีกต็ าม กรรมชว่ั ก็ตาม เมอ่ื พูดถงึ ความรสู ึก เรายอ มทราบวา เปน กิรยิ าของจิตใจ และจิตใจนีเ้ องเปนตวั การทํากรรมข้นึ โดยพระพุทธเจา ทรงตรัสวา “ภิกษทุ ง้ั หลาย เรากลา ววา เจตนาเปนกรรม การจงใจทาํ พูด คดิ คือ เจตนาของจิตใจ และจิตใจนน้ั เอง จะตอ ง รับผดิ ชอบการกระทําของตนเอง จะปดความรับผิดชอบน้ันไมได” 64

ธรรมดา เจตนาในการทํา พูด คดิ นัน้ มีนํ้าหนกั แตกตา งกัน ถา ความรสู กึ มกี ําลังดนั แรงท่สี ุด เจตนากย็ อ มแรง ท่สี ุด ถา แรงพอประมาณเจตนาก็แรงพอประมาณ ถาแรงเพลาๆ กย็ อมเพลาตามกัน สงั เกตไดจากผมู ีโทสะแรง กลา กอ็ าจฆา คนไดทนั ที จนแทบไมรูสึกตัว ถามีโทสะแรงพอประมาณแมคิดจะฆาก็ยังคิดกอนทํา ถาเพลาเบาลง กเ็ พยี งคดิ แตไมฆา ผลของกรรมก็เชน เดียวกนั ยอมใหผลสนองตอบตามกําลังของเจตนานั้นๆ ถา รสู กึ แรงผลกม็ าแรง เชน อนนั ตริยกรรม ๕ มกี ารฆาบดิ ามารดา ผทู ีจ่ ะทาํ เชน นนั้ ไดต องมีความรูสึกฝายกเิ ลสแรงกลา เจตนาที่ทําก็แรง ดว ย และมักใหผ ลในขณะท่ที าํ น้นั เอง เพราะแรงกรรมแตกตา งกันดังนี้ ทา นจึงแยกกรรมและผลของกรรม ไวด ังนี้ ๑. กรรมทส่ี ามารถใหผ ลใหป จ จบุ ันชาติ ทเี่ รยี กวา ใหผ ลทนั ตา ไดแก กรรมประเภทประทุษรายผทู รงคณุ เชน บดิ า มารดา พระอรหนั ต แมแ ตเพียงการดาวา ติเตียนทา นผทู รง คณุ เชนนนั้ ก็เปนกรรมท่ีแรง สามารถ หามมรรคผลนิพพานได ดวยเหตุน้ีเมอ่ื องคุลิมาลย จะฆา มารดาเปน คนสุดทา ย จึงจะครบพันคนตามที่อาจารยสัง่ ฆา พระพทุ ธเจาจงึ ตอ ง เสดจ็ ไปยับย้งั ไว เพราะการเบียดเบียนสัตว หรือทรมานสัตวบ างจําพวก กม็ ักใหผลในปจ จบุ นั ทนั ตาไดเ หมอื นกัน เชน การเบียดเบยี นแมว เปน ตน น่ีเปนกรรมฝา ยอกศุ ล ฝายกศุ ลก็สามารถใหผลทนั ตาเชน กนั อยางผูประพฤตพิ รหมจรรยทั้งยังมศี ีลบริสุทธ์ิ ผลท่ีมองเห็นก็คือ ไดรับการอภวิ าทกราบไหว ไดร บั การยกเวนภาษี อากรจากรัฐบาล ไดร บั การคมุ ครองจากรฐั บาล ไดร บั ปจ จัยท่ีเขาถวายดวยศรทั ธา เลย้ี งชพี เปน สุขในปจ จุบัน ไดร ับความเงียบสงดั ใจ ความแชมชนื่ เบกิ บานใจ ความสุขสบายทัง้ กายและใจ เพราะใจสงบเปนสมาธิ ไดฌ าน สมาบตั ิ ไดไ ตรวิชชา หรืออภิญญา ส้ินอาสวะในปจ จุบนั ชาติ แตถ ายังมกี เิ ลสอยู กจ็ ะเขาถงึ โลกท่ีมีสุขเมื่อตายไป ๒. กรรมทส่ี ามารถใหผ ลเมอ่ื เกดิ ใหมใ นชาติหนา ถา เปนกุศลกรรมก็อํานวยผลใหมคี วามสุขตามสมควรแกกรรมในคราวใดคราวหน่ึง ถา เปน อกศุ ลกรรมกใ็ หผล เปนทุกขเดือดรอนตามสมควรแกก รรมในคราวใดคราวหนึง่ สมมติชาติปจจุบนั เราเกดิ เปน มนุษย ไดก ระทาํ กรรม ไวหลายอยา งทงั้ บญุ และบาป ตายแลวกลบั มาเกดิ เปน มนุษยอีกดวยอํานาจกศุ ลกรรมอยางหนง่ึ ซงึ่ สามารถแตง กําเนดิ ไดใ นชีวติ ใหมน ้ี ท่เี ราไดรับสุขสมบูรณเ ปนครงั้ คราว เพราะกศุ ลกรรมในประเภทนีใ้ หผล เราไดรบั ความ เดือดรอ นเปนบางครงั้ นัน่ คืออกศุ ลกรรมในประเภทนใี้ หผล ๓. กรรมทสี่ ามารถใหผ ลสืบเนอ่ื งไปหลายชาติ ตวั อยา งในขอ น้มี มี าก ฝา ยกศุ ลกรรม เชน พระบรมศาสดาทรงแสดงบพุ กรรมของพระองคไ วว า ทรงบาํ เพญ็ เมตตาภาวนาเปน เวลา ๗ ป สง ผลใหไ ปเกิดในพรหมโลกนานมาก แลวมาเกิดเปนพระอนิ ทร ๓๗ คร้งั มาเกิดเปน พระเจา จกั รพรรดิ ๓๗ ครง้ั ฝา ยอกุศลกรรม เชน พระมหาโมคคลั ลานะเถระในอดีตชาติ หลงเมียและฟงคํายุยงของเมยี ใหฆ า บิดามารดาผู พกิ าร ทา นทาํ ไมล ง เพยี งแตทาํ ใหม ารดาลําบาก กรรมนนั้ สงผลใหไปเกดิ ในนรกนาน คร้นั มาเกิดเปน มนุษยก็ถูก เขาฆา ตายมาตามลาํ ดบั ทุกชาติถงึ ๕๐๐ ชาติ ท้ังชาติปจจบุ นั ทบ่ี รรลพุ ระอรหันตแ ลวกถ็ กู โจรฆา 65

๔. กรรมทไี่ มม ีโอกาสจะใหผ ล เพราะไมมีชอ งท่จี ะใหผล เลยหมดโอกาส และสนิ้ อํานาจสลายไป เรียกวา “อโหสกิ รรม” ในฝายอกุศล เชนทาน องคุลมิ าลย ไดห ลงกลของอาจารย จงึ ไดฆา คนเกอื บพนั เพอื่ นําไปข้นึ ครูขอเรยี นมนต พระพุทธองคทรงเหน็ อปุ นิสัยแหงพระอรหนั ตผลมอี ยู ทรงเกรงวา จะฆา มารดา แลว ทําลายอปุ นิสัยแหงพระ อรหันตเ สยี จงึ รีบเสดจ็ ไปโปรด และตรสั พระวาจาเพียงวา “เราหยดุ แลว แตทา นซยิ ังไมห ยุด” องคุลมิ าลยเกิดรูสึกตวั จึงเขาเฝา ขอบรรพชาอปุ สมบท ๕. ชนกกรรม กรรมทสี่ ามารถแตง กาํ เนดิ ได กาํ เนิดของสัตวใ นไตรโลก มี ๔ อยางดวยกนั คือ ๑.ชลาพชุ ะ เกิดจากน้าํ สัมภะของมารดาบดิ าผสมกัน เกิดเปนสตั ว ครรภ แลว คลอดออกมาเปนเด็ก คอยเจริญเติบโตข้นึ โดยลําดับกาล ฝายดีเกดิ เปนมนุษย ฝายไมดกี ็เกิดเปน สตั ว ดริ จั ฉานบางจาํ พวก, ๒.อัณฑชะ เดมิ เปนฟองไขกอน แลวจงึ เกดิ เปน ตัวออกจากกะเปาะฟองไข แลวเจรญิ เตบิ โต โดยลาํ ดบั กาล ฝา ยดีไดแกกาํ เนดิ ดิรัจฉานทมี่ ฤี ทธ์ิ เชน นาค ครุฑ ฝายชั่วไดแกก ําเนิดดิรัจฉาน เชน นก ทั่วๆไป, ๓.สงั เสทชะ เกิดจากสิง่ โสโครกเหงอื่ ไคล ฝายดี เชน นาค ครฑุ ฝายช่วั ไดแ ก กมิ ชิ าติ มีหนอนท่ีเกิดจาก น้ําครํา เปน ตน รวมทงั้ เลือด ไร หมัด เลน็ ท่เี กิดจากเหงื่อไคลหมักหมม เปนตน , ๔.อปุ ปาตกิ ะ เกดิ ขึ้นเปน วญิ ู ชนทนั ที ฝายดี เชน เทวดา ฝา ยชั่ว เชน สัตวน รก เปรต อสรุ กาย รวมความวากรรมดีแตงกําเนดิ ดี กรรมช่ัวแตง กาํ เนิดชั่ว นี้เปน กฎแหงกรรมทีต่ ายตัว ไมเ ปล่ียนแปลงเปน อ่นื ไป ๖. อปุ ปต ถมั ภกกรรม เปนกรรมทค่ี อยสนบั สนนุ กรรมอน่ื ซง่ึ เปน ฝา ยเดยี วกนั กรรมดกี ส็ นบั สนุนกรรมดี กรรมช่วั ก็สนบั สนุนกรรมชั่ว เชน กรรมดีแตงกําเนิดดีแลว กรรมดอี ่นื ๆ กต็ ามมา อุดหนุนสงเสรมิ ใหไ ดร บั ความสขุ ความเจริญย่งิ ขึน้ กรรมชั่วแตงกําเนดิ ทราม กรรมชั่วอืน่ ๆ กต็ ามมาอุดหนุน สง เสริมใหไ ดรับทกุ ขเ ดือดรอ นในกําเนิดนั้นยิง่ ๆ ขึน้ อยา งทเ่ี ราเห็นๆกัน คนทาํ ดี เชน ใหทาน รักษาศีล เจริญสมาธิ ความดกี ็จะสงเสรมิ ใหไ ดดมี ีความสขุ ยงิ่ ข้ึน บางคนเกดิ มายากจน ชีวติ กย็ ่ิงไดร ับความยากจนตลอดมา ๗. กรรมทเี่ ปน ปรปก ษต อ กรรมอ่นื ทต่ี า งฝา ยกบั ตน คอยเบยี ดเบยี น ใหฝา ยตรงขามมกี ําลังออ นลง ใหผลไมเ ตม็ เมด็ เต็มหนวย เชน เกิดเปนมนษุ ย แลว มกี รรมชัว่ เขา มาขัดขวางลิดรอนอํานาจของกรรมดลี ง เชน ไดเกดิ เปนมนุษยแลว กใ็ หมีอันเจบ็ ปวยดว ยโรคภัยไขเ จ็บเบียดเบยี น มีแตความทุกขโศกสูญเสยี พลดั พราก ท้งั นี้ก็เพราะกรรมชว่ั แตงใหเกิดมาทราม แตยังมีกรรมดเี ขา มาสนบั สนนุ ใหม ีผเู มตตาสงสารชวยเหลอื ถงึ เกิดเปน สัตว ก็มีผูเลยี้ งดูรกั ใครอุปถัมภ อยางหมามปี ลอกคอ ๘. กรรมทเ่ี ปน ปรปก ษก บั กรรมอน่ื แตม อี ํานาจรุนแรงกวา เชน เกิดเปน มนุษยแตไปฆาเขาตาย ก็เสยี ความเปน มนุษยไ ป ดูเหมอื นเปนยักษมารชั่วราย ปา เถ่อื น 66

น่ันคอื กรรมดใี หม าเกดิ เปน มนษุ ย แตก รรมชวั่ ทําใหเ สียความเปนมนุษย หรอื เกดิ มาเปน เพศชาย แตประพฤติ อยา งเพศหญิง หรอื เพศหญงิ อยากเปนชาย ซง่ึ มีใหเ ห็นกันมากอยางทุกวันนี้ ในพทุ ธกาลเคยมีตัวอยา ง เชน โสเรยยะบตุ รเศรษฐี ไปหลงใหลพระสังกจั จายน วาทานรูปงามอยางผหู ญิง มจี ิตคดิ เอาเปนภรรยา ผลกรรมทําให กลบั เพศเปน หญิง ตองหนจี ากบานไปอยเู มืองอืน่ ไปไดสามี มีบุตรดว ยกนั ภายหลงั มาขออโหสิกรรมจากพระ เถระ ทา นอภยั โทษให จงึ ไดก ลบั เปน ชายตามเดมิ เรื่องของพระอรหันตจ ะไปลอเลน ไมไ ด บางคนไปเกิดเปนเปรต ไดมผี อู ทุ ศิ บุญให ตอมาไดไ ปเกิดเปนเทวดา ๙. กรรมทหี่ นกั มาก สามารถใหผ ลในทนั ทที ันใด หรอื เรียกอกี อยางหนึง่ วา “ครุกรรม” ฝา ยกุศลไดแกฌ านสมาบัติ ฝา ยอกศุ ลไดแกอนนั ตริยกรรม ๕ ประการ อนนั ตรยิ กรรมน้มี ผี ลรายแรงมาก แมเปนผูมีอปุ นสิ ยั จะไดสาํ เรจ็ มรรคผลถงึ ขนั้ พระอรหนั ต แตถาไปทาํ ผิดเขา ก็ จะตัดมรรคตดั ผล ตองไปเสวยกรรมอีกชา นาน ๑๐. กรรมอกี อยา งเรียก พหลุ กรรม หรอื อาจณิ กรรม คอื ตองทําเปน ประจําจนเคยชนิ เปนกรรมหนกั รองจากครุกรรมลงมา ทางฝายดี เชน เปน ผบู าํ เพ็ญทาน ถอื ศีล เจรญิ สมาธิ มเี มตตาภาวนา เปนตน แตย งั ไมถ งึ ไดฌานสมาบตั ิ กรรมนีก้ ็จะเปนปจจยั ใหมกี าํ ลังในจิต ท่ีจะทาํ ดอี ยู เสมอ สามารถใหผ ลตอ เนื่องไปนาน ถาไมประมาทในชาติตอ ไปก็จะทาํ เพม่ิ เตมิ อยูเปนอาจิณ ตัดโอกาสไมใ ห กรรมเล็กนอยมาตดั รอนได ทางฝา ยอกุศลก็เชน เดียวกัน เชน พรานปาลา สตั ว หรือชาวประมง ทาํ ปาณาตบิ าตอยเู ปน ประจํา แมแตค นมี อาชีพฆา หมขู าย เชือดไก เชือดเปด หรือขายสตั วเปน ประจํา คนพวกนี้แมจะมีกรรมดีอยูบ าง กย็ ากที่จะเขามา ชวยได เพราะกรรมชั่วติดสันดานเสียแลว เวลาใกลต าย กจ็ ะสงเสยี งรอ งเหมือนสัตวทตี่ นฆา พอสนิ้ ใจกไ็ ปนรก ทนั ที โรงงานใหญๆ ทฆี่ าไกสง นอกวนั ละเปน พันเปนหม่นื เขามกั จะจางคนอิสลามมาฆา ก็ไมมผี ลอะไรในเรื่องของ บุญบาป เพราะเจา ของผใู หฆา และคนฆา จะนับถือศาสนาอะไร ก็ตองรบั ผลทั้งนน้ั เจา ของผใู หฆ าหรือจางวานใหฆ า จะวา ไปแลว ก็ถอื วาเปน บาปกวาคนฆา เสียอกี เขาเหลานี้ แมจะรา่ํ รวยเปนพนั เปนหม่นื ลา น เม่ือถึงคราวจะสิน้ ชวี ิต ทรัพยน้นั กจ็ ะละลายหายสูญ เชนเดยี วกับท่ีถูกเผาไหมอ ยูในนรก ยงั มีกรรมอีกสองประเภท กรรมแรกเรยี ก “อาสันนกรรม” เปน กรรมท่ใี หผลในเวลาใกลตาย ไมว า จะเปน กรรม หนกั หรอื กรรมเบา ตัวอยา งในสมัยพทุ ธกาลเลา วา มีบรุ ุษคนหนงึ่ โดยสารไปในเรอื เดนิ ทะเล แลวเกดิ พายทุ าํ ใหเรอื แตกอับปางลง จึง ไดสมาทานศลี กอนตายเพียงเลก็ นอ ย เมื่อตายแลวไดไ ปเกิดในสวรรค มนี ามวา สตลุ ลปายิกาเทวา ตัวอยา งการอาราธนาศีลกอนตาย คนไทยชาวพุทธแตโบราณมา ยดึ ถอื ปฏบิ ตั กิ ันทั่วไป บิดามารดาก็ดี ญาตพิ ี่ นองก็ดี เมอ่ื เหน็ วาใกลจ ะสิ้นใจ เขาจะบอกใหผ ูใกลตายระลกึ ถงึ ส่ิงทดี่ ีงาม เชน บอกใหร ะลกึ ถงึ คณุ พระพทุ ธเจา เชน พุทโธ หรือ สัมมาอะระหัง เมอื่ ส้นิ ใจแลว จะไดมีสติ ไปจุตใิ นท่ดี เี อาไวก อน 67

แตบางทีถาทําบาปเอาไวม าก จะบอกอยา งไรกไ็ มม ีสตจิ ะระลกึ ได เพราะเจา กรรมนายเวรทเี่ ขาอาฆาตไดปด บงั เอาไว พระพุทธเจา ทา นจึงสอนนกั หนาวา “ข้นึ ชอ่ื วาบาป ไมท ําเสียเลย ดกี วา ” แตถึงจะเคยทําบาปมา ภายหลังสํานกึ ได กลบั ทาํ ความดี ใหท าน รักษาศีล บาํ เพ็ญสมาธภิ าวนา ก็ยังพอเอาตัวรอดได โดยเฉพาะการทาํ สมาธินั้น เปนเหตุ ใหม สี ตดิ ี เมือ่ มีสตดิ ี ก็สามารถจะระลกึ ถึงความดี เชน พทุ โธ ไดก อ นส้ินใจ ดงั นั้นทา นทงั้ หลายจงึ ไมค วรจะตายอยางคนเลอะเทอะหาสติมไิ ด จะเปน การเสียชาตทิ ีเ่ กิดมาเปน มนุษย กรรมอกี ประเภทหน่ึง เรยี ก “กตัตตากรรม” เปนกรรมท่ีเบาท่สี ุด หรือจะเรยี กวากรรมเลก็ กรรมนอย ทาํ ดวย เจตนาออนๆ แทบไมม ีเจตนาเลย เชน การฆา มดแมลงของเด็กๆ ไมเ ดียงสา แสดงคารวะตอพระรัตนตรยั ตามที่ ผใู หญสอนใหท ํา เดก็ กจ็ ะทาํ ดวยเจตนาท่ีช่ือวาสักแตว าทํา ถา ไมมีกรรมอืน่ ใหผ ลเลย กรรมชนดิ นี้กใ็ หผลไดบาง อยางไรก็ตาม กรรมตางๆ ท่ีกลาวมาแลว ทั้งหมด แสดงวาพระพทุ ธศาสนาไมไดสอนแบบกาํ ปน ทุบดิน อยา งท่ี บอกวา ทาํ ดไี ดดี ทําช่ัวไดชั่ว แตไดแยกแยะกรรมตา งๆ ไวเปน อนั มาก ทาํ ดีขนาดไหน ทําอยา งไร ทําช่ัวขนาดไหน ทําอยา งไร และใหผลอยางไร ทา นแสดงไวห มด ผทู ี่วติ กวาไดทาํ บาปมามาก กลัวจะใชกรรมไมห มด กไ็ มต อ งกลัว ขนาดนน้ั เมื่อรูต ัววาทําบาปมากก็ยงั มที างแกอยู คอื หันมาทาํ บุญใหม าก ทาน ศลี ภาวนา ตองทาํ ใหมากกวา บาปที่ทํามาแลว กอ็ าจแกไ ขใหรายกลายเปน ดีได แตตองทําใหม าก ชนดิ ท่กี รรมชั่วตามไมท นั อยางองคุลมิ าลยไดฆา คนมารวมพัน ยงั ไดบ รรลอุ รหันต พอบรรลุอรหนั ตก เ็ ปน ผูเหนอื โลก พนโลกเสียไดแลว กรรมอ่ืนก็เปนอนั พนไป หมดทางที่จะชดใชอกี แลว เวน แตกรรมบางชนิดแมเปน อรหันตแลวก็ยังตองใช อยางท่ี กลา วมาแลว ยังมีผเู ขาใจผิดในเร่ืองของกรรมอีกมาก เชน ทาํ ดีไดบ าป หรือทําบาปแลว ยังไดด ี ถาทําความเขาใจเร่ืองกรรมที่ กลา วมาแลวใหด ี กจ็ ะเห็นวา ทีท่ าํ บาปกลบั ไดดีนน้ั เขายังมีกรรมอืน่ สนบั สนนุ อุปถมั ภอยู บญุ กศุ ลที่เคยทําไวใน อดตี ยงั มเี หลอื อยู บาปในชาตนิ ยี้ ังสง ผลใหไมได สวนทาํ ดีไดบาปน้ันก็เชน เดียวกนั บาปเกา ยังสงผลอยู กรรมดกี ็ เขา ไปสนับสนุนไมได ตองรอจนบาปเกาสน้ิ ไปจึงจะไดรบั ผลดีตอบแทน จงึ เช่ือวา จะไมส ับสนในเร่ืองของกรรม หรอื รูเร่อื งกรรมแบบกําปนทบุ ดนิ นอกจากน้ียงั มลี ักษณะของกรรมทีอ่ ยากใหรูไ วใ หช ัดอกี ๖ ประการ คือ ๑. กรรมจากการฆา สตั ว ยอ มสง ผลใหไ ปสอู บายภมู ิ ครนั้ กลับมาเกดิ เปน มนุษยอกี กเ็ ปนคนอายุนอยหรอื อายุสน้ั ตายเสียกอนวัยอันควร สว นกรรมทไี่ มฆาสตั ว มเี มตตาปรานีในสรรพสัตว ตายแลวยอ มไปสูสคุ ติโลกสวรรค เม่อื กลบั มาเกดิ เปนมนษุ ย กเ็ ปนคนอายยุ นื ๒. กรรมจากการเบยี ดเบยี นสตั ว ดว ยการตบตี ขวางปา แทง ฟน สง ผลใหไ ปสูอบายภูมิ คร้ันไดกลับมาเปน มนษุ ย อีก ก็เปน คนมีโรคภยั ไขเจ็บมาก ๓. กรรมจากความมกั โกรธ ถูกวา เลก็ นอ ยกโ็ กรธพยาบาทปองราย แสดงความโกรธ ความดรุ าย ความนอยใจให ปรากฏออกมา สง ผลไปสูอบายภูมิ คร้ันมาเกดิ เปนมนุษย กจ็ ะเปนคนผวิ ทราม สว นคนทไ่ี มมกั โกรธ เกดิ มาเปน มนุษยก็ผิวงาม นาเลื่อมใส ผองผุด เกล้ยี งเกลา 68

๔. กรรมจากความมใี จรษิ ยา อยากได เขา ไปขดั ขวางในลาภ สักการะของผูอน่ื หรือผูอนื่ มใี จนับถอื นบไหวผอู ่นื ก็ ไปขดั ขวางเขา ตอ งการใหน บั ถือตวั ผูเดยี ว ตายไปกล็ งสูอบายภูมิ ครน้ั เกดิ เปนมนุษยอ กี กเ็ ปน คนมีศักดาต่ํา ไม คอยมใี ครยกยองนับถือ สวนทําตรงกันขา มก็ไปสสู วรรค เกดิ เปนมนุษยมศี ักดาใหญ ไดร ับความนบั ถือจากผอู ืน่ ๕. กรรมจากการไมใ หท าน ขา ว นํ้า ผา ยานพาหนะ ดอกไมของหอม ทอี่ าศยั หลบั นอน ใหแสงสวาง แกสมณะ และคนดี เพราะความตระหน่ี เหนยี วแนน ตายไปก็สงผลใหไปสูอบายภูมิ ครัน้ มาสูความเปน มนุษยอกี ยอ มเปน คนมีโภคะนอ ย หรือมีสมบัตนิ อย สวนทาํ ตรงกันขา มยอมเปนผูม ีโภคะมาก ๖. กรรมจากความกระดา งถอื ตวั ไมไ หวคนควรไหว ไมล กุ รบั คนควรลุกรบั ไมใ หอาสนะแกคนควรให ไมห ลกี ทาง แกค นควรหลีก ไมส กั การะคนควรสักการะ ไมเ คารพคนควรเคารพ ไมนับถือคนควรนับถอื ไมบูชาคนควรบูชา ทั้งน้ีกส็ ามารถสงผลดแี ละผลรา ยไดเ ชนเดยี วกนั ดงั น้นั จะเหน็ ไดวา กรรมท่ีกลา วมาน้ี เปนเร่อื งของจิตใจโดยตรง เปนกรรมทางจติ ก็จติ ของมนษุ ยเราน้นั ถา ปลอ ยใหจติ เศรา หมอง ขุนมัว ดว ยกรรมตางๆ กัน ยอมเปน พิษภัยแกตวั เองท้ังสน้ิ ทานจึงสอนใหทําจติ ใหสะอาด สวาง และสงบ เปน จิตบรสิ ทุ ธ์ิ ประกอบดว ย เมตตา กรณุ า มุทติ า อเุ บกขา เปน จติ ใจท่ีออนโยน ๗. กรรมอีกอยา งหนง่ึ คอื การไมเ ขา หาเพอ่ื ศกึ ษาหรอื ไตถ ามสมณพราหมณ หรือผรู ูมีปญ ญาในสิง่ ท่ีควรถาม เชน กุศล อกุศล ส่ิงมโี ทษ ไมม โี ทษ ส่ิงควรเสพ ไมค วรเสพ กรรมท่เี ปนไปเพอ่ื ทุกข กรรมทีเ่ ปนไปเพอื่ สุข หรือสิ่งท่ี สงผลไปสูอบาย หรอื กรรมท่สี ง ผลไปสูสคุ ติโลกสวรรค นิพพาน การที่ทา นบญั ญัติกรรมนไ้ี ว กเ็ พราะถือวา มนษุ ยท่เี กิดมา จะทําดหี รือไมด ี ก็เพราะความไมรูที่เรียกวา “อวชิ ชา” การไมแ สวงหาความรู จึงเปน ตนเหตแุ หงกรรมดีกรรมช่ัวของมนษุ ย ผลที่เห็นไดงา ยก็คือความโงเ ขลา และความ เฉลยี วฉลาดมีปญ ญา เมือ่ ไดร เู รือ่ งกรรม ตามทีก่ ลาวมาแลวทงั้ หมด ทานผมู ีปญญา ยอ มจาํ แนกแยกแยะ ความหยาบ ความละเอยี ด หนักเบาของกรรม นั้นๆ ได และเปนจรงิ แสดงใหเ หน็ วา สตั วท้ังหลายมีกรรมเปนของๆ ตน มกี รรมเปนผูใหผล มกี รรมเปนแดนเกิด มกี รรมเปน เคร่อื ง จําแนกแยกใหเ ห็นวา มนุษยจ ะดีหรือจะชัว่ จะรํ่ารวยหรือยากจนเข็ญใจ จะรปู งามหรือตํ่าทราม จะลงนรกหรอื ขึน้ สวรรค จะเวยี นวา ยตายเกดิ ในภพภูมติ างๆ หรอื จะหลดุ พนไปสูพระนิพพาน แดนแหง จติ อมตะก็ดว ยกรรม คือ “การกระทาํ ของตนเอง” ทั้งสิ้น ทัง้ น้ีไมม พี ระเจาองคใดจะบนั ดาลใหไ ด แมพระพทุ ธเจา ผูรแู จง โลกทั้ง ๓ ก็เปน แตผ แู นะนาํ ส่ังสอน ชีใ้ หเ ห็นทาง ถูกผดิ กุศล อกศุ ล ใหเ ทา นั้น ตัวเรามนษุ ยเราจะเปน ผูเลือกทางเดินของตนเอง จะเลอื กอยา งคนโงดักดาน หรอื จะ เลือกอยางคนฉลาดมีปญญา ก็เปนเร่อื งของมนษุ ยเองทั้งส้นิ พระพุทธศาสนา ไมม คี ําสอนใหค นหลงใหลงมงาย แตสอนใหร จู ักความเปน ตัวของตัวเอง เชื่อตนเอง และให พยายามคนหาความเปนจริงในกายในจิตของตนเอง มากกวา ดูจากภายนอก เพราะภายนอกนน้ั ยังเปน สิ่งลวงตา อยู 69

เมือ่ รจู ักเร่ืองของกรรมแลว กย็ อมจะเขาใจนิพพานไดถ ูกตอ งข้นึ วาแทจ ริงแลว “นิพพาน” มไิ ดสญู หายไปไหน คาํ วา “นพิ พานํ ปรมํ สูญญ”ํ นพิ พานสญู นัน้ ไดสรา งความเขาใจผิด หวาดกลัวมาสมัยหน่งึ ใครๆ กไ็ มอยากไป นพิ พาน ไปทาํ ไมเมื่อมีความสูญสลาย สูเ ปน มนษุ ยอยอู ยางน้ีไมได บรบิ รู ณดวย รูป รส กลิ่น เสียง หรอื ไมไ ดเ ปน มนุษย ไปสวรรคยังดีเสียกวา กน็ แ่ี หละมนษุ ย ท่ยี ังตดิ รูป รส กลิน่ เสียง มีความโลภ โกรธ หลง เปน เจาเรือนอยู ไมใชจะสละละวาง ไปนพิ พาน กนั ไดง า ยๆ เอาเพยี งแคไ มท าํ บาป ก็เปน ของยากแสนเขน็ เสียแลว กย็ ากทจ่ี ะเอาชนะกเิ ลสได คาํ บาลมี ีอกี ประโยคหน่ึงวา “นพิ พานํ ปรมํ สขุ ํ” แปลวา “นพิ พาน เปนสุขอยางยิ่ง” ซ่ึงมคี วามหมายทถ่ี กู ตอ งท่ีสุด ความสุขอยางยิง่ เปน ลักษณะของพระนิพพาน แตส ุขอยา งย่ิงอยา งไร จึงจะเปน สุขของพระนิพพาน ธรรมชาติของมนษุ ยแ ละสัตวท ้ังหลาย มที กุ ขเวทนาเปนพื้นฐาน เกิดก็ทกุ ข แกก ท็ กุ ข เจ็บกท็ กุ ข ตายก็ทกุ ข เพยี ง ความเกดิ แก เจบ็ ตาย ครง้ั หนึ่งก็พอทน แตมนั มคี ําวา เวยี นวา ยตายเกดิ เพ่ิมขนึ้ มา ชวี ติ มนษุ ยและสตั วท ัง้ หลาย ตา งเวยี นวา ยตายเกดิ เชน น้ี นบั ภพนบั ชาติไมถ วน เกดิ แตล ะภพแตละชาติ ตางก็ตองทนทกุ ขเวทนาซํ้าแลวซ้ําอีก ผูมีปญ ญา ไดส รา งทานบารมี ศลี บารมี สมาธบิ ารมี จนเปน ผมู ปี ญ ญา มจี ติ เปนกุศล ยอมเหน็ ทุกขเวทนาในการ เกิด การแก การเจบ็ การตาย เวยี นวายตายเกดิ ซํ้าซาก ยอ มเกิดความเบอื่ หนา ยคลายกําหนัด แสวงหาความ พนทกุ ข หวงั มรรคผลนิพพาน สวนผมู ีอวิชชาครอบงําอยู ยอมไมร สู ึกรสู าตอ การละวางกเิ ลสตัณหา ยงั ตดิ อยใู น รูป รส กล่ิน เสียง ซึ่งเปน ธรรมดาโลก ทุกอยา งข้ึนอยูก ับผลกรรมของตน ใครทํากรรมใดไว จะดีหรอื ช่ัว ยอมเปนไปตามกรรมน้ัน นพิ พานทวี่ าเปนสุขอยางยิ่ง ตองทราบกอ นวา ธรรมชาตจิ ิตเปน ธาตุอมตะ ไมใ ชของสูญได จิตยอ มเวียนวายตาย เกิดตามกรรมของตน การทเี่ ราจะเขา ถึงนพิ พานทีเ่ ปน สุขอยา งยิ่ง คอื ทําใหจ ติ ไมตองเกิดตายตอไป เปน จติ ทส่ี ุข อยา งเดียว เหนือธรรมชาติของจติ ธาตอุ มตะธรรมดาข้นึ ไปอีก และเปนจดุ สุดยอดท่ีพระพทุ ธเจา ทรงเขาถงึ และ เปน จดุ สดุ ยอดของพระพทุ ธศาสนา ซ่ึงไมใ ชจะเขา ถึงไดโดยงา ย อยา งทีค่ นโดยมากคิดกนั ตองอาศยั บารมีที่สรา ง สมมาหลายภพหลายชาติ เกอื้ กลู สง เสรมิ ดว ย ฉะนนั้ จึงไมใชเร่อื งงา ย ท่ีมนุษยส ามัญชนเรา จะมานงั่ กลัววา ตนจะตองไปนพิ พาน ทเ่ี ขา ใจวา เปนการสูญ มนุษยสามัญชนผูไมร ูอดตี ชาติ ไมร กู รรมดีกรรมชว่ั ทีเ่ คยกระทาํ มา ถา เรามจี ติ เปน กศุ ล เราอาจปรารถนานิพพาน ได แตจะชาหรือเร็ว ก็เปนอีกเรอ่ื งหนงึ่ สุดแตวาสนาบารมที ีเ่ ราเคยกระทํามา ซึง่ ไมท ราบวา มีแคไหน แตเมอื่ ปรารถนานิพพาน แลว ตั้งใจทาํ กรรมดี กจ็ ะตองไดส กั วันหน่ึงหรือในชาตหิ น่ึงจนได ขอ สาํ คญั ในปจจบุ นั เรา ทาํ อะไรอยู ถา เราทาํ ในส่ิงทเ่ี ปน กศุ ล เชน ใหทาน รักษาศีล ทําสมาธิ ทาํ ไปจนเคยชนิ เปนปกติ ไมใหตกไปอยูใน ความช่วั หรืออกุศลกรรม แมไมปรารถนาสวรรค นพิ พาน กย็ อมไปถงึ จนได เพราะกศุ ลกรรมความดีน้นั เปรยี บ เหมือนเมล็ดพนั ธทุ ส่ี มบรู ณ เม่ือไดน ้าํ ดี ดินดี ก็จะมีแตความงอกงาม เจริญยิ่งๆ ขึน้ ไป ดังนั้น แตล ะชีวิตแตล ะจิตวิญญาณ กใ็ ชวาเม่อื เกดิ มาในภพใดภพหน่ึงหรือชาตใิ ดชาตหิ น่งึ ซ่ึงตางก็ผานมานบั ภพ นับชาตไิ มถว น จะมีโอกาสสรางสมกุศลบารมที ุกชาติทุกภพกห็ าไม บางชาตบิ างภพก็มโี อกาสสรางสมกุศลบารมี ตดิ ตอกนั มา แตบ างชาติบางภพก็มีอกุศลกรรมมาทําใหหลงผดิ เปนชอบ สรา งบาปกรรมทําลายตนเองมากมาย 70

เพียงผิดศลี ๕ ก็ทําใหตกนรกภมู ิ เสียเวลาไปนบั เปนกัปเปน กัลป เพราะอวชิ ชาครอบงาํ และสว นมากก็ตกอยใู น สภาพทีจ่ ะตองรบั ผลจากอกศุ ลกรรม มากกวากศุ ลกรรมดวยซ้าํ ไป เราเรียกเจาตวั อุปสรรคขัดขวางวา เปน มาร หรอื กเิ ลสมาร อันเปน ฝายอกุศล ดวยเหตุนท้ี าํ ใหเห็นวา ทุกชีวิตผมู ีจิตวญิ ญาณ ตางก็ตองพบกบั การทาํ ความดี และการทําความช่ัวสลบั กันไป ขอ สําคัญอยูทเี่ ราทํากรรมดหี รอื กรรมชว่ั มากกวากนั มันขน้ึ อยูกบั ชวี ิตความคิดของเราเอง เคยมีพระนักปฏบิ ัตบิ างรปู ทานปรารภใหฟ ง วา ถา ทา นเกิดทนั ในพุทธกาล คือ ในสมัยทีพ่ ระพุทธเจา ยงั ทรงดํารง พระชนมอยู กค็ งจะบรรลเุ ปนพระอรหนั ตไปแลว คําท่ที านปรารภออกมานี้ มันไมแ นเ สมอไป เพราะผูท่ีเกดิ ทนั พระพุทธเจา ไดส นทนากับพระพุทธเจา แตไ มไ ดเปน แมเ พียงโสดาบนั ก็มี สวนผูทีเ่ กดิ ภายหลังพระพุทธเจานับเปน พันๆป เม่อื ปฏิบัติตามพระธรรมคําสอนอยางจริงจัง แลว ไดบรรลพุ ระอรหนั ตก ม็ ี มันข้ึนอยกู ับกศุ ลบารมี ไดส รางสมมาเตม็ เปย มหรือยงั ดแู ต อุปกาชวี ก สิ เขาเดินสวนทางกับพระพุทธเจา ไดท ักถามสนทนากับพระพทุ ธเจา ตอนท่มี งุ หนาไปโปรด ปญ จวัคคีย ทป่ี า อสิ ปิ ตนมฤคทายวัน เมื่อพบพระองคกลางทาง เขาทักวา “ดูกร อาวโุ ส อินทรียท ้งั หลายของทานผอ งใสพิเศษแลว พรรณนาแหงผิวบริสทุ ธิผ์ ดุ ผองโดยรอบ ทา นไดบรรพชา เฉพาะซงึ่ ผูใด ใครหนอ เปน ศาสดาของทาน ทานชอบใจธรรมของผูใด” พระพุทธเจา ทรงตรสั วา “เราเปน ผคู รอบงําซง่ึ ธรรมท้งั ปวงในภูมิ ๓ เราตรสั รูแ จงดว ยตนเอง เราละเสียซงึ่ เตภูมิ กรรม เปนผนู อมไปแลว ซึ่งอารมณพระนพิ พาน อนั เปน ที่ส้ินตณั หา เปนผมู วี มิ ุตติหลุดพนจากอาสวะทัง้ ปวง เรา ตรสั รูเองแลว จะพงึ่ ใครเปน ศาสดาเลา” แตอ ปุ กาชีวก กลับแสดงอาการเยย หยนั ไมเ ช่อื แลวหลกี ไปเสีย นี่ก็แสดงวาการพบพระพุทธเจา ไมไ ดทําใหเ ขา บรรลุมรรคผลแตอยางใด แทนที่จะทลู ซักถามใหล ะเอียด และขอฟงธรรมของผูสนิ้ อาสวะแลว การแสดงความไมเ ชื่อ เยยหยันพระพทุ ธเจา นน้ั ก็อาจทาํ ใหเขาตกนรกได เพราะพระพทุ ธศาสนาน้นั ถือเร่อื ง ความคิดเปนเรือ่ งสาํ คญั คนท่ีมที ฐิ ิแสดงความไมเชื่อวา พระพทุ ธเจา พระธรรม พระอรยิ สงฆ วามีอยจู รงิ หรือไม เชอ่ื บาปอกุศล ไมเช่ือกุศลบารมี ทาํ ใหตกนรกอวจี ไดเหมือนกนั “จติ มนษุ ย” ลวนมีความโลภ โกรธ หลง กเิ ลส ตัณหา อุปาทาน เปน สัญชาติญาณประจําตัวก็วาได จึงเทากบั มีทุน ทางอกศุ ลเปน ทุนอยูแลว เรอื่ งการทาํ ช่วั ทําบาปจงึ กระทํากันไดงาย จนกระทง่ั ถือเปน ธรรมดาไปก็มี คอื ทาํ กนั จน เคยชิน เชน การฆาสตั ว เมื่อทําเปนอาจิณ ผทู าํ ก็ไมร สู กึ ถงึ ความผิดบาปแตอยางใด หรอื การพูดโกหกมดเทจ็ บาง คนพดู จนกลายเปนนิสยั วนั ไหนไมไ ดพดู มุสา จะรูส ึกอดึ อัดไมส บายใจ คลายขาดอะไรไปอยางหนงึ่ ทท่ี านกลาววา บาปทําไดง า ย ก็เพราะมันมบี าปมากมาย ใหเลอื กทําไดท ุกโอกาส ผิดกบั การทาํ กศุ ลหรอื การทาํ บุญ สรา งความดี ตองฝน ทาํ ตองพากเพยี ร ตอ งตงั้ ใจใหจรงิ จึงจะทําได 71

อันทีจ่ ริง การระลึกชาติไดน ้ี มีคนในโลกระลกึ ไดไ มนอย เปนการระลกึ ในลักษณะแตกตางกนั ไป บางคนก็ระลกึ ได ในชาตทิ ีแ่ ลว สามารถบอกเลาตรงกับความเปน จริงได บางคนก็ระลึกไดดวยฌาน อนั ปฏบิ ตั ธิ รรมดีแลว ที่เรียกวา “อตตี งั สญาณ” จะระลึกไดน อ ยชาตหิ รอื มากชาติ กข็ น้ึ กับปญญาบารมีของแตละคน พระอรหันตร ะลกึ ไดนอยกวาพระพทุ ธเจา ผตู รัสรเู องโดยชอบ ท่สี ามารถยอนหลังระลกึ ชาตไิ ปไมมสี ุด สําหรับอาตมา ทเ่ี ลาการระลึกชาติมาน้ี ก็เปน เร่อื งเฉพาะตน เพือ่ ยนื ยนั วา ชาตินชี้ าตหิ นา การเวยี นวายตายเกดิ เปน ส่งิ ทม่ี ีอยูจริง แตไ มอาจเปด เผยนามได และนามน้นั ก็สมมติข้ึน ชีวิตก็เปนอนัตตา เพียงใหรวู าเราทา นไมค วร ประมาทในชีวิต ก็นา จะจบไดแ ลว . ************************* 72


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook