มนุษย์สัมพันธ์ ความหมายและความสำคัญของมนุษยสัมพันธ์ หมายถึง ความสัมพันธ์ในทางสังคมระหว่างมนุษย์ซึ่งจะก่อให้เกิดความ เข้าใจอันดีต่อกัน องค์ประกอบของมนุษยสัมพันธ์ ประกอยด้วย3ประการ 1.ความเข้าใจในตนเอง 2.ความเข้าใจคนอื่น 3.ความเข้าใจความแตกต่างของบุคคล คุณลักษณะของผู้มีมนุษยสัมพันธ์ 1.ยิ้มแย้มแจ่มใส่ 2.มองโลกในแง่ดี 3.มีน้ำใจ 4.อารมณ์ดี 5.มีความอ่อนน้อมถ่อมตน 6.มีความกะตือรือร้น 7.ชอบพูดคุย 8.มีความเกรงใจ 9.ตรงต่อเวลา 10.ไม่นินทาผู้อื่น 11.แต่งกายสุภาพเรียบร้อยและสะอาด 12.มีบุคลิกภาพที่ดี
การปรับปรุงตนเองเพื่อการสร้างมนุษยสัมพันธ์ 1.เรียนรู้และเข้าใจอุปนิสัยของผู้อื่น 2.หัดมองโลกในแง่ดี 3.ฝึกเป็นผู้ฟังที่ดี และสนใจในเรื่องที่ผู้อื่นพูด 4.รู้จักแบ่งปัน เอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่ 5.สนใจใฝ่รู้ในสิ่งเป็นประโยชน์ 6.รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 7.มีความจริงใจ 8.ไม่ใส่ใจกับเรื่องเล็กๆน้อยๆ 9.ไม่ทำตัวข่มผู้อื่น 10.รู้จักสร้างความประทับใจตั้งแต่ครั้งแรกที่พบ 11.ปรับปรุงการแต่งกายให้เหมาะสม 12.มีกิริยามารยาทที่เหมาะสม การใช้หลักธรรมในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ ประกอบด้วย - สารณียธรรม 6 - สังคหวัตถุ 4 1.เมตตากายกรรม 1.ทาน 2.เมตตาวจีกรรม 2.ปิยวาจา 3.เมตตามโนกรรม 3.อัตถจริยา 4.สาธารณโภคี 4.สมานัตตตา 5.สีลสามัญญตา 6.ทิฏฐิสามัญญตา - พรหมวิหาร 4 - กัลยาณมิตรธรรม 7 1.เมตตา 1.ปิโย 2.กรุณา 2.ครุ 3.มุทิตา 3.ภาวนีโย 4.อุเบกขา 4.วัตตา 5.วจนักขโม 6.คัมภีรัญจะ กถัง กัตตา 7.โน
Search
Read the Text Version
- 1 - 2
Pages: