Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปรัชญา

ปรัชญา

Description: ปรัชญา

Search

Read the Text Version

ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา การศึกษาเปนปจจัยที่สําคัญย่ิงในการพัฒนาประเทศ ทั้งในดานเศรษฐกิจ สังคม และ การเมอื ง เคร่อื งมอื ในการเตรยี มประชากรใหม คี ุณภาพ คอื การศึกษา การจักดการศกึ ษาของชาตนิ น้ั จะตองสอดคลองกับนโยบายทางดานเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ถามีการเปล่ียนแปลงระบบ ทั้งสาม การจดั การศึกษาของชาตกิ จ็ ะตอ งเปล่ียนแปลงตามไปดว ย แตละสังคมจะมีแนวทาง ในการ จัดการศึกษาตางกัน เพราะระบบทั้งสามไมเหมือนกัน แนวความคิดหรือความเชื่อในการจัด การศึกษาก็คือ ปรัชญาการศึกษา ซ่ึงผูท่ีมีหนาที่ในการจัดการศึกษาจะยึดแนวทางในการจัด การศึกษาหรอื ปรชั ญาของการศกึ ษาตางกนั ไปตามวตั ถแุ ระสงคของสงั คมและสถานการณทางสังคม ในแตล ะยุคแตล ะสมัย การจัดการศึกษาของประเทศใดถาไมยึดการศึกษาท่ีถูกตองก็ไมมีทางท่ีจะทํา ใหประเทศเจริญไปสูเปาหมายท่ีตองการ ปรัชญาการศึกษา จึงเปนสิ่งสําคัญในการกําหนด แนวทางในการพัฒนาประเทศ ความหมายของปรชั ญา ปรัชญามีความหมายกวางขวาง เปนเรื่องท่ีเก่ียวกับความคิดของบุคคลและมีลักษณะเปน นามธรรม การที่จะใหความหมายของคําวาปรัชญาที่แนนอนจึงเปนเร่ืองยาก แตนักปราชญและ นกั คิดไดพยายามใหค วามหมายของปรัชญาไวม ากมาย ซึ่งความหมายหนึง่ อาจเปน ท่ียอมรับของคน กลุมหนงึ่ แตอาจไมเ ปน ทย่ี อมรบั ของคนอีกกลมุ หน่งึ สุดแลวแตว า บคุ คลใดจะมีมมุ มองอยา งไร การพิจารณาความหมายขชองคําวา ปรัชญา แยกพิจารณาอกกเปน 2 นับ คือความหมาย ตามรูปศพั ท และความหมายโดยอรรถ (อรสา สขุ เปรม 2541 : 55-74 ; วไิ ล ตง้ั จิตสมคดิ 2540) 1. ความหมายตามรูปศพั ท คําวา Philosophy ตามรูปศัพทภาษาอังกฤษ ผูท่ีนํามาใช คือ ไพทากอรัส (Pythagoras) เปนผเู ร่ิมใชคําน้ีเปนคร้ังแรก มาจากภาษากรีกวา Philosophy เปนคําสนธิระหวางคํา วา Philos แปลวา ความรัก ความสนใจ ความเล่ือมใส กับคําวา Sophia ซึ่งแปลวา ความรู ความสามารถ ความฉลาด ปญญา เมื่อรวม 2 คําเขาดวยกัน ก็จะไดคําแปลวาความรักในความรู ความรักในความฉลาด หรือความรักในความปราดเปรื่อง (Love of Wisdom) ความหมายตาม รูปศพั ทภ าษาอังกฤษเนนท่ีทัศนคติ นิสยั และความตัง้ ใจ และกระบวนการแสวงหาความรู คําวาปรัชญา ในภาษาไทยเปนคําที่พระวรวงศเธอกรมหมื่นนราธิปพงศประพันธทรง บัญญัติขึ้นใชแทนคําวา Philosophy ในภาษาอังกฤษ เปนการบัญญัติเพื่อใหมีคําภาษาไทยวา

2 ปรัชญา ใชคําวาปรัชญา เปนคําในภาษาสันสกฤต ประกอบดวยรูปศัพท 2 คํา คือ ปร ซ่ึงแปลวา ไกล สูงสุด ประเสริฐ และคําวา ชญา หมายถึงความรู ความเขาใจ เมื่อรวมกันเปนคําวาปรัชญา จึงหมายถึงความรูอันประเสริฐ เปนความรอบรู รูกวางขวาง ความหมายตามรูปศัพทในภาษาไทย เนน ท่ีตัวความรหู รือผูรู ซ่งึ เปนความรทู ่ีกวางขวาง ลกึ ซงึ้ ประเสริฐ (ไพฑรู ย สนิ ลารัตน 2524 : 2) จะเห็นไดวามีความแตกตางกันในความแตกตางกันในความหมายของคําวา Philosophy และปรัชญา Philosophy เปนความรักในความรู อยากท่ีจะแสวงหาความรู หรืออยาก คนหาความจริงอันนิรันดร (Ultimate reality) เพ่ือใหพนไปจากความสงสัยท่ีมีอยู สวนคําวา ปรัชญา เปนความรูอันประเสริฐเปนสิ่งที่เกิดจากการแสวงหาความรูจนพนขอสงสัยแลวก็นําไปปฏิบัติเพ่ือให มนษุ ยห ลุดพนจากปญ หาท้งั ปวง นาํ ไปสูค วามสุขท่ีพงึ ประสงค 2. ความหมายโดยอรรถ นกั ปรชั ญา และนักคดิ ไดอธิบายถงึ ความหมายของ ปรัชญาถือวาเปน ศาสตรของศาสตร ทงั้ หลาย ซ่ึงหมายถึงวาปรัชญาเปน วชิ าแมบ ทของวิชาการแขนงอ่นื ๆ และมคี วามสมั พนั ธก บั วชิ าทกุ ๆ สาขาดวย (บรรจง จันทรสา 2522 : 3) ปรัชญาจะทําหนาท่ีสืบคนเร่ืองราวตางๆท่ีมนุษยยังไมรูและ สงสัย จนกระท่ังรูความจริงและมีคําตอบของตนเองอยางชัดเจนในเร่ืองราวน้ัน ก็จะแยกตัวเปนวิชา หรือศาสตรตางหากออกไป วิชาที่แยกตัวออกไปเปนวิชาแรกคือ ศาสนา จากนั้นก็มีการพัฒนาวิชา อ่ืนๆกลายเปนศาสตรตางๆมากมาย เมื่อมีศาสตรพัฒนาออกไปมาก เน้ือหาของปรัชญาก็ไมคอยมี แตปรัชญาจะทําหนาท่ีในการนําเนื้อหาของศาสตรตางๆมาวิเคราะห หาความสัมพันธ และหาทาง พฒั นาศาสตรน้ัน เพอ่ื ใหไ ปสเู ปา หมายท่ตี องการ ถามอง ปรัชญาในอีกลักษณะหนึ่ง อาจกลาวไดวา ไดมีการนําเอาแนวคิดพื้นฐานของ ปรชั ญามาประยกุ ตใ ชไ ดอยา งเหมาะสมกับวิชาตา งๆ เพอื่ ะวิเคราะหศาสตรตางเหลานั้นใหเกิดความ เขา ใจไดช ัดเจนยงิ่ ขึ้น เชน ปรชั ญาสงั คม ปรัชญาการเมอื ง ปรชั ญาศาสนา ฯลฯ จากลักษณะของปรัชญาดังกลาว ไดมีนักคิด นักปรัชญา นักวิชาการไดพยายาม ใหความหมายของปรัชญาไวแตกตา งกนั ดังนี้ 2.1 ปรัชญา คือ ศาสตรหน่ึงที่มีวัตถุประสงคที่จะจัดหมวดหมู หรือระบบความรูสาขา ตางๆ เพ่ือนํามาใชเปนเคร่ืองมือทําความเขาใจและแปลความหมายขอเท็จจริงตางๆ อยางสมบูรณ แบบ ปรัชญาจะประกอบดวยวิชา ตรรกวิทยา จริยศาสตร สุนทรีศาสตร อภิปรัชญาและศาสตร ที่วา ดวยความรทู ั้งปวงของมนษุ ย (Good 1959 : 395) 2.2 ปรัชญาคือ ความคิดเห็นใดท่ียังพิสูจนไมได หรือยังสรุปผลแนนอนไมได แตถา พสิ ูจนไ ดจนลงตวั แลว กจ็ ัดวา เปนศาสตร (จาํ นง ทองประเสรฐิ 2524 : 2) 2.3 ปรชั ญาคือ ศาสตรชนิดหน่ึง ท่ีมีวตั ถปุ ระสงคทจี่ ะจัดหมวดหมูหรอื แบบความรู

3 สาขาตา งๆ เพ่ือนํามาใชเปน เครอ่ื งมือทาํ ความเขาใจและแปลความหมายขอเทจ็ จรงิ ตางๆอยาง สมบรู ณแบบ (ภิญโญ สาธร 2514: 21) ความหมายของคําวาปรัชญามีผูใหทัศนะไวอีกมากมายและจะมีความแตกตางกัน ตามลกั ษณะของปรัชญาแตละยุคแตละสมัยและตามทัศนะของบุคคล นักปราชญบางทาน อาจจะ กลา ววา ปรัชญาน้นั หาคาํ ตอบไมไ ด สรุปวาปรชั ญาจะมีลกั ษณะดังนี้ 1) ทําหนา ทรี่ วบรวมรายละเอียดตางๆ ของโลกและชวี ิตไวท งั้ หมด 2) พยายามหาคําตอบที่เปนความจริงท่ีเปนนิรันดร สามารถอธิบายสิ่งตางๆ ท่ีเกดิ ข้ึนได 3) ใชวิธีการทางตรรกวิทยาในการคนหาความจริง ซึ่งเปนวิธีการคิดอยางมีเหตุ และผล 4) เนื้อหาของปรัชญาจะเปลี่ยนแปลงไปตามยุค ตามสมัย แลวแตวาจะสนใจที่จะ ศึกษาในเรอ่ื งใดหรือปญ หาใด อันจะกอ ใหเกิดประโยชนต อมวลมนุษยชาติ สาขาของปรชั ญา ปรชั ญาแบงออกเปน 3 สาขา คอื 1. อภิปรัชญา (Metaphysics) ปรือ ภววิทยา (Onthology) เปนการศึกษาเก่ียวกับความ จริง (Reality) เพ่ือคนหาความจริงอันเปนท่ีสูงสุด (Ultimate reality) ไดแกความจริงที่เกี่ยวกับ ธรรมชาติ จิตวญิ ญาณ รวมทง้ั เรอ่ื งของพระเจา อันเปนบอ เกิดของศาสนา 2. ญาณวิทยา (Epistemology) เปนการศึกษาเกี่ยวกับเร่ืองความรู (Knowledge) ศึกษา ธรรมชาติของความรู บอเกิดของความรู ขอบเขตของความรู ซึ่งความรูอาจจะไดมาจากแหลงตางๆ เชน จากพระเจาประธานมาซึ่งงปรากฏอยูในคัมภีรของศาสนาตางๆจากผูเช่ียวชาญที่ทําการศึกษา คนควา ปรากฏในตํารา เกิดจากการหยั่งรูเปนความรูท่ีเกิดข้ึนมาในทันทีทันใด เชนพระพุทธเจาตรัสรู หรือเปน ความรูทีเ่ กิดจากการพิจารณาเหตแุ ละผล หรอื ไดจากการสังเกต 3. คุณวิทยา (Axiology) ศึกษาเรื่องราวเก่ียวกับคุณคาหรือคานิยม (Value) เชน คุณคา เก่ียวกับความดีและความงาม มีอะไรเปนเกณฑในการพิจารณาวาอยางไรดี อยางไรงาม แบง ออกเปน 2 ประเภท คือ 3.1 จริยศาสตร (Ethics) ไดแกคุณคาแหงความประพฤติ หลักแหงความดี ความ ถูกตอง เปนคุณคา แหง จรยิ ธรรม เปนคุณคาภายใน 3.2 สุนทรียศาสตร (Anesthetics) ไดแกคุณคาความงามทางศิลปะ ซ่ึงสัมพันธกับ จติ นาการและความคิดสรา งสรรค ซ่งึ ตัดสนิ ไดยากและเปนอัตนยั เปนคณุ คา ภายนอก

4 ปรชั ญาพนื้ ฐาน ปรัชญาพื้นฐาน หรือปรชั ญาท่วั ไป เม่อื พิจารณาในสวนทีเ่ กีย่ วขอ งกับการศึกษามลี ทั ธิ ไดแ ก 1. ลัทธจิ ติ นิยม (Idialism) เปนลัทธิปรัชญาท่ีเกาแกท่ีสุดในบรรดาปรัชญาตางๆมีกําเนิดพรอมกับการเริ่มตนของ ปรัชญา ปรัชญาลัทธินี้ถือเรื่องจิตเปนส่ิงสําคัญ มีความเช่ือวาสิ่งท่ีเปนจริงสูงสุดน้ันไมใชวัตถุหรือ ตัวตน แตเปนเรื่องของความคิดซึ่งอยูในจิต (Mine) สิ่งท่ีเราเห็นหรือจับตองไดน้ัน ยังไมความจริงที่ แทความจริงท่ีแทจะมีอยูในโลกของจิต (The world of mind) เทานั้น ผูท่ีไดช่ือวาเปนบิดาของ แนวความคิดลัทธิปรัชญานี้ คือ พลาโต (Plato) นักปรัชญาเมธีชาวกรีก ซึ่งมีความเช่ือวาการศึกษา คอื การพฒั นาจติ ใจมากกวา อยางอนื่ ถา พิจารณาลทั ธิปรชั ญาลทั ธิจติ นยิ มในแงสาขาของปรัชญา แตละสาขาจะไดดงั นี้ 1.1 อภิปรัชญา ถือวาเปนจริงสูงสุดเปนนามธรรมมากกวารูปธรรม ตองพัฒนาคน ในดานจติ ใจมากกวาวัตถุ 1.2 ญาณวิทยา ถือวาความรูเกิดจากความคิดหาเหตุผล และการวิเคราะหแลวสราง เปนความคิดในจิตใจ สว นความรทู ี่ไดจากการสัมผสั ดว ยประสาทท้ัง 5 ไมใชค วามรูที่แทจ ริง 1.3 คุณวิทยา ถือวาคุณคาความดีความงามมีลักษณะตายตัวคงทนถาวร ไมเปลยี่ นแปลง ในดา นจริยศาสตร ศลี ธรรม จริยธรรมจะไมเปล่ียนแปลง สวนสุนทรียศาสตรนั้น การ ถา ยทอดความงาม เกดิ จากความคดิ สรางสรรคแ ละอุดมการณอ นั สงุ สง สรุปวา ปรัชญาลัทธิจิตนิยมเปนการพัฒนาดานจิตใจ สงเสริมการพัฒนาทางดาน คุณธรรม จริยธรรม ศิลปะตางๆ การจัดการศึกษาตามแนวจิตนิยมจึงเนนในดานอักษรศาสตรและ ศิลปะศาสตร เปนผูมีความรอบรูโดยเฉพาะตํารา การเรียนการสอนมักจะใชหองสมุดเปนแหลง คน ควาและถา ยทอดเน้อื หาวชิ าสบื ตอกันไป 2. ลัทธิวถั ุนิยม หรอื สจั นิยม (Realism) เปนลัทธิปรัชญาท่ีมีความเชื่อในโลกแหงวัตถุ (The world of things) มีความเชื่อ ในแสวงหาความจริงโดยจิตตามแนวคิดของจิตนิยมอยางเดียวไมพอ ตองพิจารณาขอเท็จจริงตาม ธรรมชาติดวย ความจริงท่ีแทคือ วัตถุที่ปรากฏตอสายตา สามารถสัมผัสได สิ่งเหลาวนี้เปนพื้นฐาน ของการศึกษาทางดานวิทยาศาสตร บิดาของลัทธิน้ีคือ อริสโตเติล (Aristotle) นักปราชญชาวกรีก ลทั ธิปรชั ญาสาขานีเ้ ปนตนกําเนดิ ของการศึกษาทางงดา นวทิ ยาศาสตร ถา พิจารณาปรัชญาลทั ธวิ ตั ถุนิยมในแงสาขาของปรชั ญา จะไดด งั นี้ 2.1 อภปิ รชั ญามคี วามเช่อื วา ความจริงมาจากธรรมชาติ ซง่ึ ประกอบสิง่ ที่เปนวตั ถุ สามารถสัมผัสจบั ตอ งได และพสิ ูจนไดด ว ยวธิ ีวิทยาศาสตร

5 2.2 ญาณวิทยา เช่ือวาธรรมชาติเปนบอเกิดของความรูท้ังมวลความรูไดมาจากการได เหน็ ไดส มั ผสั ดวยประสาทสัมผสั ถาสงั เกตไมไ ดมองไมเห็น กไ็ มเหน็ วาเปนความรูท ีแ่ ทจ รงิ 2.3 คุณวิทยา เช่ือวาธรรมชาติสรางทุกสิ่งทุกอยางมาดีแลว ในดานจริยศาสตรก็ควร ประพฤติปฏิบัติตามกฎธรรมชาติ กฎธรรมชาติก็คือศีลธรรมจรรยา ขนบธรรมเนียมประเพณี ซ่ึงใช ควบคมุ พฤติกรรมมนษุ ย สว นสนุ ทรศี าสตรเ ปนเรื่องของความงดงามตามธรรมชาติสะทอนความงาม ตามธรรมชาตอิ อกมา สรุปวา ปรัชญาลัทธิจิตนิยม เนนความเปนจริงตามธรรมชาติ การศึกษาหาความจริงได จากการสังเกต สัมผัสจับตอง และเชื่อในกฎเกณฑของธรรมชาติ การศึกษาในแนวลัทธิจิตนิยมเนน วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร เปน ตน กําเนิดของวชิ าวิทยาศาสตร 3. ลทั ธปิ ระสบการณนยิ ม (Experimentalism) เปนปรัชญาท่ีมีชื่ออีกอยางหน่ึงงวา ปฏิบัตินิยม (Pragmatism) ปรัชญากลุมนี้มีความ สนใจในโลกแหงประสบการณ ฝายวัถุนิยมจะเช่ือในความเปนจริงเฉพาะส่ิงที่มนุษยพบเห็นไดเปน ธรรมชาติท่ีปราศจากการปรุงแตงเปนธรรมชาติบริสุทธ์ิ สวนประสบการณนิยมมิไดหมายถึงสิ่งท่ีเรา พบเห็นในชีวิตประจําวันเทาน้ัน แตหมายรวมถึงสิ่งท่ีมนุษยกระทํา คิด และรูสึก รวมถึงการคิดอยาง ใครครวญและการลงมือกระทํา ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในผูกระทํา กระบวนการทั้งหมด ที่เกิดขึ้นครบถวนแลว จึงเรียกวาเปน ประสบการณ ความเปนจริงหรือประสบการณสามารถ เปล่ียนแปลงไดตามเง่ือนไขแหงประสบการณ บุคคลที่เปนผูนําของความคิดนี้ คือ วิลเลียม เจมส (William, James) และจอหน ดิวอิ้ (John Dewey) ชาวอเมริกัน วิลเลียม เจมส มีความเห็นวา ประสบการณและการปฏิบัติเปนสิ่งสําคัญสวนจอหน ดิวอิ้ เช่ือวามนุษยจะไดรับความรูเกี่ยวกับ ส่ิงตา งๆจากประสบการณเ ทานนั้ ถา พจิ ารณาปรัชญาลทั ธิประสบการณน ยิ มในแงข องสาขาของปรชั ญาจะไดดังนี้ 3.1 อภิปรัชญา เช่ือวาความจริงเปนโลกแหงประสบการณ สิ่งใดที่ทําใหสามารถไดรับ ประสบการณได ส่งิ น้ันคือความจริง 3.2 ญาณวิทยา เช่ือวาความรูจะเกิดข้ึนไดก็ดวยการลงมือปฏิบัติ กระบวนการแสวงหา ความรกู ด็ วยวิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร (Scientific method) 3.3 คุณวิทยา เช่ือวาความนิยมจะเกี่ยวกับการประพฤติปฏิบัติทางดานศีลธรรม จรรยา เปนสง่ิ ท่ีมนุษยสรา งและกาํ หนดขึ้นมาเอง และสามารถเปล่ียนแปลงได สวนสุนทรียศาสตร เปนเร่ือง ของความตอ งการและรสนิยมทีค่ นสวนใหญยอมรบั กนั สรุปวา ปรชั ญาลัทธิประสบการณน ยิ ม เนน ใหคนอาศยั ประสบการณใ นการแสวงหา ความเปนจริงและความรูต าง ๆ ไดม าจากประสบการณ การศึกษาในแนวลัทธปิ รชั ญานี้เนนการลง

6 มือกระทําเพื่อหาความจริงดว ยคําตอบของตนเอง 4. ลัทธอิ ัตถิภาวะนิยม (Existentialism) เปนลัทธิปรชั ญาทเี่ กดิ หลงั สุด มีแนวความคดิ ทน่ี าสนใจและทาทายตอการแสวงหาของ นักปรัชญาในปจจุบัน (กีรติ บุญเจอื 2522) Existentialism มคี วามหมายตามศัพท คือ Exist แปลวาการมีอยู เชน ปจจุบัน มีมนุษย อยูก็เรียกวา การมีมนุษยอยูหรือ Exist สวนไดโนเสารไมมีแลว ก็เรียกวามันไม Exist คําวา Existentialism จงึ หมายความวา มีความเช่อื ในสงิ่ ทมี่ อี ยจู รงิ ๆ เทานั้น (The world of existing) หลักสําคัญปรัชญาลัทธินี้มีอยูวา การมีอยูของมนุษยมีมากอนลักษณะของมนุษย (Existence precedes essence) ซึง่ ความเช่ือดงั กลาวขัดกบั หลักศาสนาคริสต ซึ่งมีแนวความคิดวา พระเจาทรงสรางมนุษยและสรรพสิ่งในโลก กอนท่ีจะลงมือสรางมนุษยพระเจามีความคิดอยูแลววา มนษุ ยค วรจะเปน อยา งไร ควรจะมลี ักษณะอยา งไร ควรจะประพฤติปฏบิ ัตอิ ยางไร ทง้ั หมดเปนเนอื้ หา หรือสาระ ลักษณะของมนุษยมีมากอนการเกิดของมนุษย มนุษยจะตองอยูในภาวะจํายอมท่ีจะตอง ปฏิบตั ิตามพระประสงคของพระเจา หมดเสรีภาพทจี่ ะเลอื กกระทาํ ตามความตอ งการของตนเอง ปรัชญาลัทธอิ ตั ถภิ าวะนยิ มไมยอมรับแนวคดิ ดังกลา ว มีความเชอ่ื เบ้อื งตนวา มนุษยเกิด มาพรอ มกับความวางเปลา ไมมีลักษณะใด ๆ ติดตัวมา ทุกคนมีหนาที่เลือกลักษณะหรือสาระตางๆ ใหกับตัวเอง การมีอยูของมนุษย (เกิด) จึงมีมากอนลักษณะของมนุษยหลักสําคัญของปรัชญาน้ีจะ ใหความสําคัญแกมนุษยมากที่สุด มนุษยมีเสรีภาพในการกระทําส่ิงตางๆไดตามความพอใจและ จะตอ งรบั ผดิ ชอบในส่ิงท่เี ลอื ก ถาพิจารณาลทั ธิอตั ถิภาวนิยมในแงสาขาของปรชั ญาจะไดด งั น้ี 4.1 อภปิ รัชญา ความจริงเปนอยางไร ขึ้นอยูกับแตละบุคคลจะพิจารณา และกําหนดวา อะไรคอื ความจริง 4.2 ญาณวิทยา การแสวงหาความรูขึ้นอยูกับแตละบุคคลท่ีจะเลือกสรรเพ่ือใหสามารถ ดาํ รงชีวติ อยูไ ด 4.3 คุณวิทยา ทุกคนมีเสรีภาพท่ีจะเลือกคานิยมท่ีตนเองพอใจดวยความสมัครใจสวน ความงามน้นั บคุ คลจะเปนผูเลือกและกาํ หนดเอง โดยไมจ าํ เปน จะตองใหผอู นื่ เขาใจ สรุปวา ปรัชญาลัทธิอัตถิภาวนิยม เปนปรัชญาที่ใหความสําคัญแกมนุษยวา มีความสําคัญสูงสุด มีความเปนตัวของตัวเอง สามารถเลือกกระทําสิ่งใดๆไดตามความพอใจ แต จะตองรับผิดชอบในสิ่งท่ีกระทํา การศึกษาในแนวลัทธิปรัชญาน้ีจะใหผูเรียนมีอิสระในการแสวงหา ความรู เลือกส่ิงตางๆไดอยางเสรี มีการกําหนดระเบียบกฎเกณฑข้ึนมาเอง แตตองรับผิดชอบตอ ตนเองและสังคม

7 ปรชั ญาการศกึ ษา จากการที่ไดทําความเขาใจเก่ียวกับการศึกษาและปรัชญามาโดยลําดับแลวจะไดพิจารณา ตอไปวา ปรัชญาและการศึกษามีความสัมพันธกันในลักษณะใดและนําไปใชประโยชนตอการศึกษา ไดอยา งไร (จาํ นง ทองประเสริฐ 2520 ; วิไล ตั้งจติ สมคิด 2540) 1. ความสัมพันธร ะหวางปรชั ญากบั การศึกษา ปรัชญากับการศกึ ษามีความสมั พนั ธก ันคือ ปรัชญามงุ ศึกษาของชวี ติ และจักรวาลเพ่ือหา ความจริงอนั เปน ท่สี ดุ สวนการศึกษามุงศึกษาเร่ืองราวเก่ียวกับมนุษยและวิธีการที่พัฒนามนุษยใหมี ความเจริญงอกงาม สามารถดํารงชีวิตอยูไดดวยความสุขประสบความสําเร็จในการประกอบอาชีพ ท้ังปรัชญาและการศึกษามีจุดสนใจรวมกันอยูอยางหน่ึงคือ การจัดการศึกษาตองอาศัยปรัชญาใน การกําหนดจดุ มงุ หมายและหาคาํ ตอบทางการศึกษา สรปุ วาวา ปรชั ญา มีความสมั พนั ธกบั การศกึ ษา ดังน้ี 1.1 ปรัชญาชวยพิจารณาและกําหนดเปาหมายทางการศึกษา การศึกษาเปนกิจกรรมท่ี ทําใหบุคคลเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทางที่พึงปรารถนา ปรัชญาจะชวยกําหนดแนวทางหรือ เปาหมายที่พึงปรารถนา ซึ่งจะสอดคลองกับขอเท็จจริงทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม ฯลฯ และปรัชญาจะชวยใหเห็นวาเปาหมายทางการศึกษาท่ีจะเลือกน้ันสอดคลองกับการมีชีวิตท่ีดี หรือไม ชีวิตที่ดีควรเปนอยางไร ธรรมชาติของมนุษยคืออะไร ปญหาเหลานี้นักปรัชญาอาจเสนอแนว ความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาในการเลอื กเปาหมายทางการศกึ ษา (วิทย วศิ ทเวทย 2523 : 29) 1.2 ความหมายที่จะวิเคราะห วพิ ากย วิจารณ และพจิ ารณาดูการศกึ ษาอยา งละเอยี ด ลกึ ซึง้ ทุกแงท ุกมมุ ใหเ ขา ใจถงึ แนวคิดหลัก ความสําคัญ ความสัมพันธ ละเหตุผลตางๆ อยางชัดเจน มีความตอเนอื่ ง และมคี วามหมายตอมนษุ ย สงั คมและสงิ่ แวดลอมนี้เองท่ีเปนงานสําคัญของปรัชญา ตอ การศึกษาหรือที่เราเรียกวา ปรัชญาการศกึ ษา นั่นเอง (ไพฑรู ย สนิ ลารตั น 2523 : 34) สรุปวาปรัชญากับการศึกษามีความสัมพันธกันอยางมาก ปรัชญาชวยใหเกิดความ ชัดเจนทางการศึกษาและทําใหนักศึกษาสามารถดําเนินการทางการศึกษาไดอยางถูกตองรัดกุม เพราะไดผานการพิจารณา วิพากยวิเคราะหอยางละเอียดทุกแงทุกมุม ทําใหเกิดความเขาใจอยาง ชดั เจน ขจดั ความไมสอดคลอง และหาทางพฒั นาแนวคิดใหม ใหกบั การศึกษา 2. ความหมายของปรัชญาการศกึ ษา มผี ูใหนิยามปรชั ญาการศกึ ษา แตกตางกันหลายทศั นะดังตอไปนี้ จอรจ เอฟ เนลเลอร (Kneller 1971 : 1) กลาววา ปรัชญาการศึกษา คือ การคนหา ความเขาใจในเร่ืองการศึกษาทั้งหมด การตีความหมายโดยการใชความคิดรวบยอดทั่วไปท่ีจะชวย แนะแนวทางในการเลอื กจุดมุง หมายและนโยบายของการศึกษา

8 เจมส อี แมคเคลนเลน (Mcclellan 1976 :1 อางถึงใน อรสา สุขเปรม 2541) กลาววา ปรัชญาการศึกษา คือ สาขาวิชาหน่ึงในบรรดาสาขาตาง ๆ ที่มีอยูมากมาย อันเกี่ยวของกับการ ดํารงชีวติ ของมนษุ ย วิจิตร ศรีสอาน (2524 : 109) กลาววา ปรัชญาการศึกษา คือจุดมุงหมาย ระบบความ เชื่อ หรือแนวงความคิดที่แสดงออกมาในรูปของอุดมการณ หรืออุดมคติ ทํานองเดียวกันกับท่ีใชใน ความหมายของปรัชญาชีวิตซ่ึงหมายถึง อุดมการณของชีวิต อุดมคติของชีวิต แนวทางดําเนินชีวิต นั่นเอง กลา วโดยสรปุ ปรัชญาการศกึ ษาคือ จดุ มุง หมายของการศกึ ษานน่ั เอง สุมิตร คุณานุกร (2523 : 39) กลาววา ปรัชญาการศึกษา คือ อุดมคติ อุดมการณ อันสูงสุด ซ่ึงยึดเปนหลักในการจัดการศึกษา มีบทบาทในการเปนแมบท เปนตนกําเนิดความคิด ในการกําหนดความมุงหมายของการศึกษาและเปนแนวทางในการจัดการศึกษา ตลอดจนถึง กระบวนการในการเรียนการสอน สรุปวา ปรัชญาการศึกษาคือ แนวความคิด หลักการ และกฏเกณฑ ในการกําหนด แนวทางในการจัดการศึกษา ซ่ึงนัการศึกษาไดยึดเปนหลักในการดําเนินการทางการศึกษาเพ่ือให บรรลเุ ปาหมาย นอกจากนี้ปรัชญาการศึกษายังพยายามทาํ การวเิ คราะหแ ละทําความเขา ใจเกย่ี วกบั การศึกษา ทําใหสามารถมองเห็นปญหาของการศึกษาไดอยางชัดเจน ปรัชญาการศึกษาจึงเปรียบ เหมือนเข็มทิศนําทางใหนักการศึกษาดําเนินการทางศึกษาอยางเปนระบบ ชัดเจน และ สมเหตุสมผล 3. ลทั ธปิ รัชญาการศึกษา ปรัชญาการศกึ ษามอี ยมู ากมายหลายลทั ธิ ตามลกั ษณะและตามธรรมชาติของมนุษยที่ ตางกค็ ิดและเช่ือไมเ หมือนกัน อาศยั แนวคิดของปรัชญาพ้ืนฐานที่แตกตางกัน หรือนํามาผสมผสาน กัน ทําใหมีลักษณะท่ีคาบเกี่ยวกัน หรืออาจมาจากความคิดของปรัชญาพื้นฐานสาขาเดียวกัน ดังนั้นปรัชญาการศึกษาจึงมีหลายลัทธิ หลายระบบ ในท่ีน้ีจะกลาวถึงปรัชญาการศึกษาท่ีเปนที่ นิยมกนั อยา งกวางขวางดังตอไปน้ี (บรรจง จันทรสา 2522 ; อรสา สขุ เปรม 2546 : 63 - 74) 3.1 ปรชั ญาการศกึ ษาสารตั ถนิยม (Essentialism) 3.2 ปรชั ญาการศึกษานริ นั ตรนยิ ม (Perennialism) 3.3 ปรชั ญาการศกึ ษาพพิ ัฒนาการนยิ ม (Progessivism) 3.4 ปรัชญาการศึกษาปฏิรูปนิยม (Reconstructionism) 3.5 ปรชั ญาการศกึ ษาอัตถิภาวนยิ ม (Existentialism) 3.1 ปรัชญาการศึกษาสารัตถนิยม (Essentialism) เปนปรัชญาการศึกษาที่เกิดใน อเมริกา เมื่อประมาณป ค.ศ.1930 โดยการนําของ วิลเล่ียม ซี แบคลี (William C. Bagley) และ

9 คณะ ไดรวมกลุมกันเพื่อเผยแพรแนวคิดทางการศึกษาฝายสารัตถนิยม และไดรับความนิยมเปน อยางมากในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 และยังนิยมเร่ือยมาอีกเปนเวลานาน เพราะมีความเชื่อวา ลัทธิปรัชญาสารัตถนิยมมีความเขมแข็งในทางวิชาการและมีประสิทธิภาพในการสรางคานิยม เกี่ยวกับระเบียบวินัยไดดีพอที่จะทําใหโลกเสรีตอสูกับโลกเผด็จการของคอมมิวนิสต (ภิญโญ สาธร : 2525, 31) 3.1.1 แนวความคิดพื้นฐาน ปรัชญาการศึกษาสารัตถนิยมมาจากปรัชญาพ้ืนฐาน 2 ฝาย คือ ฝายจิตนิยม ซ่ึงมีความเชื่อวา จิตเปนสวนที่สําคัญท่ีสุดในชีวิตของคน การที่จะรูและ เห็นความจริงไดก ็ดวยความคดิ (Ideas) อกี ฝายหนง่ึ คอื วัตถนุ ยิ ม ซึง่ มีความเชอ่ื ในเร่ือง วัตถุนิยม วัตถุในธรรมชาติท่ีเราเห็น สัมผัส หรือมีประสบการณตอสิ่งเหลาน้ัน ทั้งสองฝายกลายเปนเนื้อหา หรือสาระ (Essence) หรือสารัตถศึกษา ปรัชญาการศึกษาลัทธินี้ใหความสนใจในเนื้อหาเปนหลัก สําคัญ ถือวาเนื้อหาสาระตาง ๆ เชน ความรู ทักษะ ทัศนคติ คานิยม และอ่ืน ๆ เปนส่ิงท่ีดีงาม ถูกตอง ไดรับการกล่ันกรองมาดีแลว ควรไดรับการทํานุบํารุงและถายทอดไปใหแกคนรุนหลัง ถือ เปนการอนรุ ักษและถายทอดทางวฒั นธรรม 3.1.2 แนวความคิดทางการศึกษา ปรัชญาน้ีมีความเช่ือวา การศึกษาควรมุง พัฒนาความสามารถท่ีมนุษยมีอยูแลว เชน ความสามารถในการจํา ความสามารถในการคิด ความสามารถที่จะรูสึก ฯลฯ การศึกษาควรมุงที่จะถายทอดความรูท่ีส่ังสมกันมา ความเชื่อความ ศรทั ธาตา ง ๆ ท่ียึดถอื กันเปนอมตะ อบรมมนุษยใหมีความคิดเห็น และความเปนอยูสมถะของการ เปนมนุษย (Wingo 1974 : 234 อางถึงใน อรสา สุขเปรม 2541) ดังนั้นจึงควรจัดประสบการณให ไดมาซ่ึงความรู ทักษะ คา นยิ มที่จาํ เปนตอการดํารงชีวิต รูจักรักษาและสืบทอดทางวัฒนธรรมอันดี งามของสงั คมไว ก. จุดมุงหมายของการศึกษา มี 2 ระดับ คือ ระดับท่ีกวาง ไดแกการถายทอด มรกดกทางวัฒนธรรมเพื่อสังคมมีความเฉลียวฉลาด ในระดับที่แคบ มุงพัฒนาสติปญญาของมนุษย เพือ่ ใหมคี วามเฉลยี วฉลาด มคี วามประพฤติดี เปนแบบอยางที่ดีงามของคนรนุ หลงั ข. องคป ระกอบของการศกึ ษา 1) หลักสูตร ยึดเนื้อหาวิชาเปนสําคัญ เน้ือหาที่เปนวิชาพ้ืนฐาน ไดแก ภาษา วิทยาศาสตร คณิตศาสตร ประวัติศาสตร และเนื้อหาที่เก่ียวกับศิลปะ คานิยม และ วัฒนธรรม หลักสตู รจะเปน แบบแผนเดยี วกนั ทั่วประเทศ และจัดเตรียมโดยครู หรือผูเชี่ยวชาญโดย จัดเรยี งลําดบั ตามความยากงา ย 2) ครู เปนบุคคลที่มีความสําคัญอยางมากการศึกษาจะตองมาจากครูเทานั้น ครูจะทําใหผูเรียนไดรับความรู เพราะครูเปนผูท่ีรูเนื้อหาท่ีถูกตองท่ีสุด ครูเปนผูกําหนดกิจกรรมใน

10 หองเรียน การกําหนดมาตรฐานการเรียนรู ครูเปนตนแบบที่นักเรียนจะตองทําตามเปรียบเสมือน แมพ ิมพ 3) ผเู รยี นหรือนักเรยี นตามปรัชญาการศึกษาสารตั ถนิยม จะตองเปนผูสืบทอด คา นิยมไวและถา ยทอดไปยังคนรุนหลัง ผเู รียนจะตองเชือ่ ฟง คาํ ส่งั สอนของครหู รอื ผใู หญท ีไ่ ดกําหนด เน้ือหารสาระไว นักเรียนเปนผูรับฟงและทําความเขาใจในเนื้อหาวิชาตางๆ แลวจดจําไว เพื่อจะ นาํ ไปถา ยทอดตอ ไป นักเรียนไมจําเปน ตอ งมีความคิดรเิ ริม่ คอยรบั ฟงอยางเดยี วและจดจําไวเ ทา นั้น 4) โรงเรียน มีบทบทในการจัดการศึกษาใหสอดคลองกับสังคม สังคม มอบหมายใหทําอยางไรก็ใหเปนไปตามนั้น หรือกลาวอีกอยางหนึ่งวา โรงเรียนเปนเคร่ืองมือของ สังคม ทําหนาที่ตามท่ีสังคมมอบหมายเทาน้ัน ไมตองไปแนะนํา หรือเปลี่ยนแปลงอยางหนึ่งอยาง ใดแกสังคม มีหนาท่ีอนุรักษสิ่งท่ีมีอยูและถายทอดตอไป เพราะถือวาทุกอยางในสังคมดีแลว โรงเรียนจะตองสรางบรรยากาศของการศึกษาเพื่อพัฒนาสติปญยา จริยธรรม และถายทอดสิ่ง เหลานนั้ ตอ ไป นอกจากน้ีโรงเรยี นยงั ตองยดึ กฎระเบียบใหอ ยใู นกรอบทส่ี ังคมตอ งการ 5) กระบวนการเรียนการสอนขึ้นอยูกับครูเปนสําคัญ ครูเปนผูอธิบาย ช้ีแจงให นักเรียนเขาใจ วิธีการเรียนการสอนจึงเนนการสอนแบบบรรยายเปนหลัก นอกจากน้ีการเรียนการ การสอนยังฝกฝนการเปนผูนําในกลุม ซ่ึงผูนําจะตองมีระเบียบวินัย ควบคุมและรักษาตนเองไดดี เปน แบบอยางทีด่ ี จดั ตารางสอน จดั หอ งเรยี น แผนผังท่ีนงั่ ในหองเรยี น ครเู ปนผกู ําหนดแตผ เู ดยี ว 3.2 ปรัชญาการศึกษานิรันตรนิยม (Perennialism) เปนปรัชญาการศึกษาท่ีไดรับ อิทธิพลจากปรัชญาพ้ืนฐานกลุมวัตถุนิยมเชิงเหตุผล(Rational realism) หรือบางทีเรียกวาเปนพวก โทมนัสนิยมใหม (Neo – Thomism) เกิดขึ้นในขณะท่ีประเทศตาง ๆ ท่ัวโลกกําลังมีการพัฒนาทาง อตุ สาหกรรมและเทคโนโลยีใหม ๆ เกดิ ข้ึน โดยเฉพาะประเทศทางตะวันตกซ่ึงมีระบบเศรษฐกิจแบบ ทุนนิยม กอใหเกิดการแขงขันทางการคาอยางไมเปนธรรม มีการเอารัดเอาเปรียบสินคา ราคาสูง เกิดปญหาครอบครัว ขาดระเบียบวินัย มนุษยไมสามารถปรับตัวใหเขากับวิทยาศาสตรสมัยใหมได ทําใหวัฒนธรรมเส่ือมสลายลงไป จึงมีการเสนอปรัชญาการศึกษาลัทธิน้ีขึ้นมาเพ่ือใหการศึกษาเปน ส่งิ นาํ พามนษุ ยไปสคู วามมีระเบียบเรียบรอย มเี หตแุ ละผล มคี ณุ ธรรมและจริยธรรม จึงเปนท่ีมาของ ปรัชญาการศกึ ษานริ นั ตรนยิ ม ปรัชญาการศึกษานิรันตรนิยม มีมาแลวตั้งแตสมัยกรีกโบราณ ผูเปนตนคิดของ ปรัชญาลัทธินี้ คือ อริสโตเติล (Aristotle) และเซนต โทมัส อะไควนัส (St. Thomas Aquinas) อริสโตเติลไดพัฒนาปรัชญาลัทธิน้ีโดยเนน การใชความคิดและเหตุผล จนเช่ือไดวา Rational humanism สวนอะไควนัส ไดนํามาปรับใหเขากับสถานการณ โดยคํานึงถึงความเช่ือเก่ียวกับพระ เจา เรื่องศาสนา ซ่ึงเปนเร่ืองของเหตุและผล แนวคิดนี้มีสวนสําคัญโดยตรงตอแนวคิดทาง

11 การศึกษาในศตวรรษท่ี 20 นักปรัชญาที่เปนผูนําของปรัชญาน้ีในขณะน้ีคือ โรเบิรท เอ็ม ฮัทชินส (Robert M. Hutchins) และคณะไดรวบรวมหลักการและใหกําเนิดปรัชญานิรันตรนิยมขึ้นมาใหม ในป ค.ศ.1929 3.2.1 แนวความคิดพ้ืนฐาน ปรัชญานิรันตรนิยมมีรากฐานมาจากปรัชญา จิตนิยม และปรัชญาวัตถุนิยม ปรัชญาการศึกษาลัทธิน้ีแบงออกเปน 2 ทัศนะ คือ ทัศนะแรกเนนในเรื่อง เหตุผลและสติปญญา อีกทัศนะหนึ่งเปนเร่ืองเก่ียวกับศาสนา โดยเฉพาะกลุม ศาสนาคริสตนิกาย โรมันคาทอลิค ตั้งแต 2 ทัศนะ เก่ียวของกับเหตุและผล จนเช่ือไดวาเปน โลกแหงเหตุผล (A world of reason) สวนคําวานิรันตร เช่ือวาความคงทนถาวรยอมเปนจริงมากกวาส่ิงท่ี เปล่ียนแปลง การศึกษาควรสอนสิ่งท่ีเปนนิรันตร ไมเปล่ียนแปลง และจะเปนสิ่งท่ีมีคุณคาทุกยุค ทุกสมัย ไดแกคุณคาของเหตุผล คุณคาของศาสนา เปนการนําเอาแบบอยางท่ีดีของอดีตมาใช ในปจ จุบันหรือยอ นกลับไปสสู งิ่ ท่ีดีงามในอดีต 3.2.2 แนวคิดทางการศึกษา ปรัชญาการศึกษาลัทธิน้ีเชื่อวาส่ิงท่ีสําคัญท่ีสุดของ ธรรมชาติมนุษยคือ ความสามารถในการใชเหตุผล ซึ่งความสามารถในการใชเหตุผลน้ีจะควบคุม อํานาจฝายตํ่าของมนุษยได เพื่อใหมนุษยบรรลุจุดมุงหมายในชีวิตที่ปรารถนา ดังที่ โรเบิรต เอ็ม ฮัทชินส (Hutchins 1953 : 68) กลาววา การปรับปรุงมนุษย หมายถึงการพัฒนาพลังงาน เหตุผล ศลี ธรรมและจติ ใจอยา งเตม็ ท่ี มนษุ ยทกุ คนลว นมีพลงั เหลา น้ี และมนษุ ยค วรพฒั นาพลงั ทมี่ ี อยูใหดีที่สุด กาศึกษาในแนวปรัชญาการศึกษานิรันตรนิยม คือ การจัดประสบการณใหไดมาซึ่ง ความรู ความคิดทเ่ี ปนสัจธรรม มคี ุณธรรม และมเี หตุผล ก. จุดมุงหมายของการศึกษา ปรัชญาการศึกษาลัทธิน้ีมีจุดมุงหมายที่จะ สรางคนใหเปนคนท่ีสมบูรณเพราะมนุษยมีพลังธรรมชาติอยูในตัว พลังในท่ีนี้คือสติปญญา จะตอง พัฒนาสติปญญาของมนุษยใหเต็มท่ี เม่ือมนุษยไดพัฒนาสติปญญาอยางดีแลวก็จะทําอะไรอยางมี เหตุมีผล การจัดการศึกษาก็ควรจะพัฒนาคุณสมบัติเชิงสติปญญาและเหตุผลในตัวมนุษย เพ่ือให มนษุ ยด ํารงความเปนคนดีตลอดไปไมเ ปลีย่ นแปลง แตไมเนน การเปลยี่ นแปลงของสงั คม ข. องคป ระกอบของการศึกษา 1) หลักสูตร กําหนดโดยผูรูหรือผูเชี่ยวชาญ เปนหลักสูตรท่ีเนนวิชา ทางศิลปะศาสตร (Liberal arts) ซึ่งมีอยู 2 กลุมคือ กลุมศิลปะทางภาษา (Liberacy arts) ประกอบดว ยไวยากรณ วาทศลิ ปแ ละตรรกศาสตร ซึง่ เปน เรื่องของการอาน การฟง การพูด การเขียน และการใชเหตุผล อีกกลุมหน่ึงคือ ศิลปะการคํานวณ (Mathematical arts) ประกอบดวยเลข คณิต วิทยาศาสตร ปรัชญา ดาราศาสตร และดนตรี นอกจากนี้ยังใหผูเรียนรูผลงาน อันมีคาของ ผูมีอัจฉริยะในอดีตเพื่อคงความรูเอาไว เชน ผลงานอมตะทางดานศิลปะ วรรณกรรม ดนตรี

12 รวมท้ังผลงานทางดานวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร ในปจจุบันไดแกหลักสูตรของวิชา พื้นฐาน ทั่วไป (General education) ในระดับอุดมศึกษา 2) ครู ปรัชญาการศึกษาน้ีมีความเชื่อวาเด็กเปนผูมีเหตุผลและมีชีวิต มีวิญญาณ ครูจะตองรักษาวินัยทางจิตใจ และเปนผูนําทางวิญญาณของนักเรียนทุกคน ครูตอง เปน ผูใฝรูอ ยูเสมอ เขาใจเน้ือหาวิชาที่สอนอยางถูกตองชัดเจน มีความคิดยาวไกล เปนผูดูแลรักษา ระเบียบวนิ ยั ควบคมุ ความประพฤตขิ องผูเ รยี น เปน แบบอยางในการประพฤตปิ ฏิบตั ิทดี่ ี 3) ผูเรียน โดยธรรมชาติเปนผูมีเหตุผลมี สติ มีศักยภาพในตัวเองท่ี สามารถพัฒนาไปสูความมีเหตุผล ถือวาผูเรียนมีความสนใจใครเรียนรู อยูแลว ดังที่อริสโตเติล กลาวไววา All man by nature desire to know (ไพทูรย สินลารัตน 2523 : 74) การให การศึกษาจงึ ตอ งพฒั นาส่ิงที่ผเู รียนมอี ยอู ยางเตม็ ที่ โดยมงุ พฒั นาเปนรายบคุ คลฝกฝนคุณสมบัติท่ีมี อยูโดยการสอนและการแนะนําของครู ผูเรียนทุกคนมีโอกาสเรียนเทาเทียมกันหมด ใชหลักสูตร เดียวกันท้ังเด็กเกงและเด็กออน ถาเด็กออนเขาใจชาก็ตองฝกฝนบอยๆ หรือทําซํ้าๆกันเพ่ือไปใหถึง มาตรฐานเดยี วกันกบั เด็กเกง 4) โรงเรียน ไมมีบทบาทตอสังคมโดยตรง เพราะเนนท่ีตัวบุคคลเปน หลักใหญ เพราะถือวา ถาเกิดการพัฒนาในตัวบุคคลแลวก็สามารถทําใหสังคมน้ันดีข้ึนดวย โรงเรยี นจงึ เปน เสมอื นตัวกลางในการเตรยี มผูเรียนใหเกิดความกาวหนาท่ีดีงามที่สุดของวัฒนธรรมที่ มีมาแตอดีต โรงเรียนจะสรางบรรยากาศและจัดสภาพแวดลอมใหมีลักษณะสรางความนิยม ในวฒั นธรรมท่มี อี ยูแ ละเครง ครดั ในระเบียบวนิ ยั โดยเนนการประพฤติปฏบิ ัติ 5) กระบวนการเรียนการสอน ใชวิธที อ งจาํ เน้ือหาวชิ าตาง ๆ และฝกให ใชค วามคิดหาเหตุผลโดยอาศยั หลักวิชาทีเ่ รียนรูไวแลวเปนแนวทางพ้ืนฐานแหงความคิด เพ่ือพัฒนา สติปญญาหรือเนนดานพุทธิศึกษา ท่ีเรียกวา Intellectual Education (Wingo 1974 : 148 อางถึง ใน อรสา สุขเปรม 2541) นอกจากน้ีผูเรียนจะตองมีความพรอมทางจิตใจจึงจะสามารถจดจํา สิ่งตาง ๆ ได การเรียนการสอนท่ีกระตุนและหนุนใหเกิดศักยภาพดังกลาว จึงตองมีการอภิปราย ถกเถยี ง ใชเหตผุ ล และสตปิ ญ ญาโตแ ยง กัน ครเู ปนผนู าํ ในการอภิปราย ตงั้ ประเดน็ และยว่ั ยุใหม ีการ อภปิ รายถกเถียงกนั ผเู รียนจะไดพ ฒั นาสติปญ ญาของตนไดอยา งเต็มที่ 3.3 ปรชั ญาการศกึ ษาพิพฒั นาการนยิ ม (Progessivism) ปรัชญาน้ใี หก ําเนดิ ขึน้ เพอ่ื ตอตานแนวคิดด้งั เดิมทีก่ ารศกึ ษามกั เนน แตเน้ือหา สอนใหท อ งจําเพียงอยางเดยี ว ทําใหเด็กพัฒนา ดานสติปญญาอยางเดียว ไมมีความคิดสรางสรรค ไมมีความกลาและความมั่นใจในตนเอง ประกอบกับมีความกาวหนาในดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ทําใหเกิดแนวความคิดปรัชญา การศกึ ษาพิพัฒนาการนยิ มข้นึ

13 ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยมเกิดข้ึนใน ค.ศ.1870 โดยฟรานซิส ดับเบ้ิลยู ปารคเกอร (Francis W. Parker) ไดเสนอใหมีการปฏิรูปการศึกษาเสียใหม เพราะการเรียนแบบ เกาเขมงวดเร่ืองระเบียบวินัย แตแนวคิดนี้ไมไดรับการยอมรับ ตอมา จอหน ดิวอ้ี (John Dewey) ไดนําแนวคิดนี้มาทบทวนใหม โดยเร่ิมงานเขียนชื่อ School of Tomorrow ออกตีพิมพในป ค.ศ.1915 ตอมามีผูสนับสนุนมากขึ้นจึงตั้งเปนสมาคมการศึกษาแบบพิพัฒนาการ (Progessive Education Association) (Kneller 1971 : 47) และนาํ แนวคดิ ไปใชใ นโรงเรยี นตางๆ แตก็ถูกจูโจมตี จากฝา ยปรชั ญาการศึกษาสารัตถนยิ ม ภายหลังสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ปรัชญาการศึกษา สารัตถนิยม กลับมาไดรับความนิยมอีก จนสมาคมการศึกษาพิพัฒนาการนิยมตองยุบเลิกไป แตแนวคิดทาง การศึกษาปรัชญาพิพัฒนาการนิยมยังคงใชในสหรัฐอเมริกา ตอมาไดรับความนิยมมากข้ึนและ แพรหลายไปยังประเทศตา ง ๆ รวมท้ังประเทศไทยดว ย 3.3.1 แนวความคิดพืน้ ฐาน ปรชั ญาพิพฒั นาการนยิ มมพี น ฐานมาจากปรชั ญาลทั ธิ ประจักษวาท (Empirism) ซึ่งเกิดในประเทศอังกฤษในคริสตศตวรรษท่ี 17 ตอมาไดนําอาแนวคิด ประจักรวาทมาสรางเปนปรัชญาลัทธิใหม มีช่ือเรียกตาง ๆ กัน เชน Experimentalism, Pragmatism, Instrumentalism ซึ่งปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยมก็มีแนวคิดมาจากปรัชญา ดงั กลา ว คําวา พพิ ัฒน หรือ Progessive หมายถึง กาวหนา เปลี่ยนแปลง ไมหยุด อยูกับท่ี สาระสําคัญของความเปนจริงและการแสวงหาความรูไมหยุดนิ่งอยูกับท่ี แตจะเปลี่ยนแปลงไปตาม กาลเวลาและสิ่งแวดลอม บุคคลสามารถแสวงหาความรูไดจากประสบการณ ประสบการณจะ นําไปสูความรู และความรูเปนกระบวนการท่ีตอเน่ือง ปรัชญานี้เนนกระบวนการ โดยเฉพาะ กระบวนการแกปญหาทางวิทยาศาสตรเม่ือนํามาใชกับการศึกษา แนวทางของการศึกษาจึงตอง พยายามปรับปรุงใหสอดคลองกับกาลเวลาและภาวะแวดลอมอยูเสมอ การศึกษาจะไมสอนใหคน ยึดมั่นในความจริง ความรู และคานิยมที่คงที่ หรือสิ่งที่กําหนดไวตายตัว ตองหาทางปรับปรุง การศึกษาอยูเสมอ เพื่อนําไปสูการคนพบความรูใหม ๆ อยูเสมอ (บรรจง จันทรสา 2522 : 244) ปรชั ญาน้ีอาจเรียกอีกอยางหนง่ึ วา ปรชั ญาประสบการณนยิ ม (Experimentalism) 3.3.2 แนวความคิดทางการศึกษา มีแนวคิดวา การศึกษาคือชีวิต มิใชเปนการ เตรียมตัวเพื่อชีวิต หมายความวา การที่จะมีชีวิตอยูอยางมีความสุขจะตองอาศัยการเขาใจ ความหมายของประสบการณนิยม ฉะน้ันผูเรียนจึงควรจะไดเรียนรูในส่ิงที่เหมาะแกวัยของเขาและ สิ่งที่จัดใหผูเรียนเรียนควรจะเปนไปในทางที่กอใหเกิดประสบการณท่ีผูเรียนสามารถเขาใจปญหา ชีวิตและสังคมในปจจุบัน และหาทางปรับตัวใหเขากับภาวะที่เปนจริงในปจจุบัน (Kneller 1971 : 48 – 53)

14 ก. จุดมุงหมายของการศึกษา ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม ไมมี จุดมุงหมายที่ตายตัว เพราะชีวิตเปล่ียนแปลงอยูเสมอตามกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลก วัตถปุ ระสงคข องการศกึ ษาก็เพอ่ื แกป ญหาทีเ่ กิดขน้ึ เพื่อใหผูเรยี นเกดิ แนวทางในการแกปญ หาแตล ะ คร้ัง และเปนวิถีทางใหเกิดการเรียนรูท่ีใหมกวาตอไปไมมีท่ีสิ้นสุด สวนผูเรียนจะตองพัฒนาตนเอง ทั้งดานรางกาย อารมณ สังคม และสติปญญาควบคูกันไป เรียนรูตามความถนัดและความสนใจ สามารถนําความรูไปปรับตัวใหเขา กบั สงั คมไดอยางมีความสขุ สามารถแกป ญ หาได ทํางานรวมกับ ผูอ ่ืนได และมีวนิ ยั ในตนเอง (Self discipline) ข. องคประกอบของการศึกษา 1) หลักสูตร ปรัชญานี้ตองการใหผูเรียนเรียนจากประสบการณในชีวิต จรงิ เปน ประสบการณทีส่ ัมพนั ธกบั สงั คม หลักสตู รจึงครอบคลุมชีวิตประจําวันทุกรูปแบบท่ีกอใหเกิด การเรียนรู ใหผูเรียนไดเขารวมในประสบการณการเรียนรูทุกรูปแบบ หลักสูตรจะเนนวิชาท่ี เสริมสรางประสบการณทางสังคม ตลอดจนชีวิตประจําวัน เน้ือหา ไดแก สังคมศึกษา วิชาทาง ภาษา วิทยาศาสตร และคณิตศาสตร แตความสําคัญของการศึกษา พิจารณาในแงของวิธีการที่ นาํ มาใช คือ กระบวนการแกปญหาทางวทิ ยาศาสตร เพ่ือใหผูเรียนมีความสารถในการแกปญหาใน บทเรยี น และนาํ เอากระบวนการแกปญหาไปใชใ นชีวติ ประจาํ วนั 2) ครู ไมเปนผูออกคําส่ัง แตทําหนาททในการแนะแนวทางใหแก ผูเรียนแลวจัดประสบการณท่ีดีที่เหมาะสมใหแกผูเรียน ครูจะตองมีความรูและประสบการณอยาง กวางขวาง รูจักผูเรียนเปนอยางดีและยอมรับความแตกตางระหวางบุคคล และวางแผนใหเกิดการ เรียนรูใหเหมาะสมกับความสามารถและความตองการของผูเรียน จัดสภาพในโรงเรียนและใน หองเรียนใหพ รอมท่จี ะศึกษาเลา เรยี นใหไดป ระสบการณตามทีต่ องการ 3) นักเรียน ปรชั ญาน้ีใหค วามสําคัญแกผูเรียนมาก ถอื วา ผเู รียน โดยธรรมชาติมีอินทรียที่จะสืบเสาะแสวงหาประสบการณและพรอมท่ีจะรับประสบการณ (เมธี ปล นั ธนานนท 2523 : 90) ผูเ รียนจะไดประสบการณดวยการลงมือกระทําดวยตนเอง (Learning by doing) ผูเรียนจะตองมีอิสระในการเลือกตัดสินใจและตองทํางานรวมกัน (Participation) เพื่อให การเรยี นการสอนตรงกับความถนดั ความสนใจและความสามารถของผเู รยี น 4) โรงเรียน ทําหนาที่เปนแบบจําลองสังคม โดยเฉพาะแบบจําลองท่ีดี งามของชีวิตและประสบการณในสังคม โดยการจัดประสบการณใหเหมาะสมกับวุฒิภาวะของ ผูเรียนในแตละกลุม เร่ิมจากการเรียนรูพ้ืนฐานของสังคม ลักษณะอ่ืนๆของสังคม โรงเรียนจะตอง สรางบรรยากาศท่ีเปนประชาธิปไตยโดยใหผูเรียนไดมีการเรียนรูส่ิงแปลกๆ ใหมๆมีความพรอม มีความรูจ กั และเขาใจสังคมอยา งดี พอทจี่ ะออกไปปรับปรงุ และพัฒนาสังคมได (ศักดา

15 ปรางคป ระทานพร 2523 : 64 – 65) 5) กระบวนการเรียนการสอน เปนการสอนท่ียึดเด็กเปนศูนยกลาง (Child centered) โดยใหผูเรียนมีบทบาทมากที่สุด การเรียนเปนเร่ืองการกระทํา (Doing) มากกวารู (Knowing) การเรียนการสอนจึงใหผูเรียนลงมือกระทําเพ่ือใหเกิดประสบการณและการ เรียนรู การกระทําทําใหสามารถแกปญหาได ครูตองจัดประสบการณและสิ่งแวดลอมท่ีเอ้ืออํานวย ใหผูเ รียนเกดิ การเรียนรูดวยตนเอง การเรยี นการสอนใชวธิ ีการแกปญหาแบบวิทยาศาสตร (Problem solving) 3.4 ปรัชญาการศึกษาปฏิรูปนิยม (Reconstructionism)ในป ค.ศ.1930 ไดเกิดภาวะ เศรษฐกิจตกต่ําในสหรัฐอเมริกา เกิดปญหาการวางงาน คนไมรูจักใชเวลาวางใหเปนประโยชน เกิด ชองวา งระหวางชนช้ันในสังคม จึงมีนักคดิ กลมุ หนง่ึ พยายามจะแกปญหาสงั คมโดยใชการศึกษาเปน เคร่ืองมือในการพัฒนาสังคม ผูนําของกลุมนักคิดกลุมน้ี ไดแก จอรัจ เอส เคาทส (George S. Counts) ซ่ึงมีความเห็นดวยกับหลักการประชาธิปไตย แตตองเปนประชาธิปไตยอยางแทจริง และ ควรเหน็ วาโรงเรยี นควรมีหนา ที่แกปญหาเฉพาะอยางของสังคม ผูที่วางรากฐานและตั้งทฤษฎีปฏิรูปนิยม ไดแก ธีโอดอร บราเมลด (Theodore Brameld)ในปค.ศ.1950 โดยไดเสนอปรัชญาการศึกษาเพ่ือปฏิรูปสังคมและไดตีพิมพลงในหนังสือ หลายเลม ธโี อดอร บราเมลด จงึ ไดร ับการยกยอ งวาเปนบิดาของปรัชญาการศึกษาปฏิรูปนยิ ม 3.4.1 แนวความคิดพ้ืนฐาน ปรัชญาการศึกษาปฏิรูปนิยมมีแนวความคิดที่พัฒนา มาจากปรัชญาพิพัฒนาการนิยม หรือ ปฏิบัตินิยม ซึ่งมีความเช่ือวา ความรู ความจริง เปนส่ิงที่ เปล่ียนแปลงอยูเสมอ ความรูเปนเคร่ืองมือในการแกปญหา ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมเนน ความสําคัญของการพัฒนาผูเรียน สวนปรัชญาการศึกษาปฏิรูปนิยมมีแนวความคิดวา ผูเรียนมิได เรียนเพอื่ มงุ พัฒนาตนเองเพียงอยางเดียว แตต อ งเรยี นเพ่อื นําความรูไปพัฒนาสงั คมใหสังคม เปนสงั คมประชาธปิ ไตยอยา งแทจรงิ คําวา ปฏิรูป หรือ Reconstruct หมายถึง บูรณะ การสรางขึ้นมาใหม หรือทํา ขึ้นใหม เนนการสรางสังคมใหม เพราะวาสังคมขณะนั้นมีปญหาตาง ๆ มากมาย ทั้งปญหา ทางดานเศรษฐกิจ และการเมือง การศึกษาจึงมีบทบาทในการเปนเคร่ืองมือสรางสังคมและ วัฒนธรรมที่ดีงามขึ้นมาใหม เปนสังคมในอุดมคติ ที่มีความเพียบพรอม และจะตองทําอยาง รบี ดวน 3.4.2 แนวคิดทางการศึกษา เน่ืองจาการศึกษามีความสัมพันธกับสังคมอยางแยก ไมออก การศกึ ษาจึงควรนําสังคมไปสสู ภาพที่ดที ี่สุด การศกึ ษาตองทําใหผูเรียนเขาใจและ มุงมั่นที่

16 จะสรางสังคมอุดมคติขึ้นมาใหเหมาะสมกับพ้ืนฐานทางวัฒนธรรมและภาวะทางเศรษฐกิจของโลก ยคุ ใหม ก. จุดมุงหมายของการศึกษา การศึกษาจะตองมุงม่ันท่ีจะสรางสรรคระบบ สังคมขึ้นมาใหมจากพื้นฐานเดิมท่ีมีอยู และสังคมใหมที่สรางขึ้นนั้นจะตองอยูบนรากฐานของ ประชาธิปไตย การศึกษาจะตองสงเสริมการพัฒนาสังคม ใหผูเรียนนําความรูไปพัฒนาสังคม โดยตรง ข. องคป ระกอบของการศึกษา 1) หลักสูตร เน้ือหาวิชาท่ีนํามาบรรจุไวในหลักสูตร จะเกี่ยวกับปญหา และสภาพของสังคมเปนสวนใหญจะเนนวิชาสังคมศึกษา เชน กระบวนการทางสังคม การดํารงชีวิตในสังคม สภาพเศรษฐกิจและการเมือง วิทยาศาสตรในชีวิตประจําวัน ศิลปะใน ชีวิตประจําวัน สิ่งเหลาน้ีจะทําใหมีความเขาใจในกลไกของสังคม และสามารถหาแนวทางในการ สรา งข้นึ มาสังคมใหม 2) ครูทําหนาที่รวบรวม สรุป วิเคราะหปญหาของสังคมแลวเสนอ แนวทางใหผูเรียนแกปญ หาของสงั คม ครูจะตอ งใหผ เู รียนทกุ คนใสว นรวมในการคิดพิจารณาในการ แกปญหาตางๆและเห็นความจําเปนท่ีจะตองสรางสรรคสังคมข้ึนมาใหม และเชื่อมั่นวาจะกระทําได โดยวถิ ที างแหงประชาธปิ ไตย 3) ผเู รยี น ปรัชญานีเ้ ช่ือวา ผเู รียนคือผทู ี่มีความสามารถในการวิเคราะห ปญหาสังคม และมรความยุติธรรมดังน้ัน ผูเรียนจะไดรับการปลูกฝงใหตระหนักในปญหาสังคม เรยี นรวู ิธีการทาํ งานรวมกนั เพือ่ การแกป ญ หาสังคม ผูเรียนจะไดรับการเรยี นรูเทคนคิ วิธกี ารตางๆท่ีจะ นํามาเปนแนวทางในการแกปญหาของสังคม แลวใหผูเรียนหาขอสรุปและตัดสินใจเลือก (Kneller 1971 : 36) 4) โรงเรียน ตามปรัชญาการศึกษาปฏิรูปนิยมโรงเรียนจะมีบทบาทตอ สังคมโดยตรง โดยมีสวนในการรับรูปญหาของสังคม รวมกันแกปญหาของสังคม รวมท้ังสรางสังคม ใหมที่เหมาะสม ดีงาม โรงเรียนจะตองใฝหาวา อนาคตของสังคมจะเปนเชนไร แลวนําทางใหผูเรียน ไปพบกับสังคมใหม โดยใหการศึกษาแกผูเรียนเพ่ือพรอมท่ีจะวางแผนใหกับสังคมใหมและโรงเรียน จะตองมีบรรยากาศในการเปนประชาธิปไตย ยอมรับฟงความคิดเห็นของคน สวนใหญ ละเปด โอกาสใหคนในทองถ่ินเขามามีสวนรวมในการคิด วงแผน และดําเนินการเปาหมายของ โรงเรียน คือ โรงเรียนชมุ ชน (Community school) 5) กระบวนการเรียนการสอน มีลักษณะคลายกับปรัชญาการศึกษา พิพัฒนาการนิยม คือ ใหผูเรียนเรียนรูดวยตนเอง และลงมือกระทําเอง สามารถมองเห็นปญหาและ

17 เขาใจเร่อื งราวตางๆ ดวนตนเอง โดยใชว ิธกี ารตา งๆ หลายวธิ ี เชน วธิ ีการทางวิทยาศาสตร (Scientific method) วิธีการโครงสราง (Project method) และวิธีการแกปญหา (Problem solving) เปน เครื่องมือ 3.5 ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (Existentialism) ปรัชญานี้เกิดข้ึนเนื่องจาก ความรูสึกท่ีวามนุษยกําลังสูญเสียความเปนตัวของตัวเอง การศึกษาที่มีอยูก็มีสวนทําลายความเปน มนุษย เพราะสอนใหผูเรียนอยูในกรอบของสังคมท่ีจํากัดเสรีภาพความเปนตัวของตัวเองให ลดนอยลง นอกจากนี้วิทยาศาสตรและเทคโนโลยียังมีสวนในการทําลายความเปมนุษย เพราะตอง พง่ึ พามนั มากเกินไปนน่ั เอง ผูใหกําเนิดแนวความคิดใหมทางปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม ไดแก ซอเร็น คีรเคอรการด (Soren Kierkegard) นักปรัชญาชาวเดนมารค เขาไดเสนอความคิดวา ปรัชญาเปน เร่ืองสวนตัวของแตละคน ดังนั้นทุกคนจึงควรสรางปรัชญาของตนเองจากประสบการณ ไมมีความ จริงนิรันดรใหยึดเหนี่ยวเปนสรณะตัวตาย ความจริงที่แทคือสภาพของมนุษย (Human condition) (กีรติ บุญเจือ 2522: 14 ) แนวคิดของ คีรเคอรการด มีผูสนับสนุนอีกหลายคน ซ่ึงเปนคนรวมสมัย ในชวงป ค.ศ. 1950 – 1965 แตความพยายามท่ีจะนํามาประยุกตใชกับการศึกษาก็เปนเวลาราว 10 ปตอมาและผูริเร่ิมนํามาใชทดลองในโรงเรียน คือ เอ เอส นีลล (A.S. Neil) โดยทดลอง ในโรงเรยี นสาธติ และโรงเรียนซมั เมอรฮ ิลล (Summer hill) ในประเทศอังกฤษ 3.5.1 แนวความคิดพ้ืนฐาน ปรัชญาน้ีมีความสนใจและความเชื่อในเรื่องเก่ียวกับ การมีชีวิตอยูจริงของมนุษย มนุษยจะตองเขาใจและรูจักตนเอง มนุษยทุกคนมีความสําคัญและ มีลักษณะเดนเฉพาะตนเอง ทุกคนมีเสรีภาพททจะเลือกตัดสินใจในการกระทําสิ่งใดๆแตจะตอง รับผิดชอบตอการกระทํานั้น ปรัชญาอัตถิภาวนิยมนี้ยกยองมนุษยเหนือสิ่งอื่นใด สงเสริมใหมนุษย มคี วามเปน ตวั ของตัวเองแตก็ตอ งไมม องขา มเสรภี าพของอ่ืน หมายถงึ จะตอ งเปนผูใชเสรภี าพบน ความรับผิดชอบ เพอ่ื ใหเกดิ แระโยชนตอสว นรวม 3.5.2 แนวความคิดทางการศึกษา คําวา อัตถิภาวะ ตามสารานุกรมปรัชญา อธิบายวา มาจากคําวาอัตถิ = เปนอยู + ภาวะ = สภาพ (กีรติ บุญเจือ 2521 : 280) เม่ือรวมกัน แลวแปลวา สภาพที่เปนอยู (Existence) ดังน้ันการศึกษาตามปรัชญาอัตถิภาวนิยมจึงสงเสริมให มนุษยแตละคนรูจักพิจารณาตัดสินสภาพและเจตจํานงที่มีความหมายตอการดํารงชีวิต การศึกษา จะตองใหอิสระแกผูเรียนที่จะเลือกสรรสิ่งตางๆไดอยางเสรี มคี วามรบั ผิดชอบตอ ตนเองและสังคม ก. จุดมุงหมายของการศึกษา การศึกษาจะตองทําใหผูเรียนมีความเขาใจ ตนเอง วามีความตองการอยางไร แลวพัฒนาตนเองไปตามความตองการอยางอิสระ เพ่ือจะได พัฒนาความเปน มนษุ ยข องตนเองไดอ ยางเตม็ ท่ีดว ยการเลือกเรียนไดตามความพอใจ และมีความ

18 รับผิดชอบในสิ่งทเี่ ลือก นอกจากนีย้ ังมุง ใหผูเรยี นเปนผมุ ีวินยั ในตนเอง (Self discipline) ข. องคป ระกอบบของการศึกษา 1) หลักสูตร ไมกําหนดตายตัว แตตองเปนหลักสูตรท่ีชวยใหผูเรียนเขาใจ ตนเองไดดีข้ึน เนื้อหาของหลักสูตรจะเนนทางสาขามนุษยศาสตร (Humanities) เชน ศิลปะ ปรัชญา วรรณคดี ประวัติศาสตร การเขียน การละคร จิตรกรรม ศิลปะประดิษฐ นักปรัชญาเช่ือวางวิชา เหลานี้จะฝกฝนผูเรียนทางดานสุนทรียศาสตร อารมณ และศีลธรรม จริยธรรมอันดีงาม วิชาตาง ๆ ไมไดจ ัดใหเ รียนตายตัว แตจะใหผูเรียนเลือกไดตามความพอใจ และความเหมาะสมเพ่ือผูเรียนจะได พัฒนาความเปนตวั ของตวั เอง 2) ครู มีบทบาทคลายกับปรัชญาพิพัฒนาการนิยม ทําหนาที่คอยกระตุน หรอื เราใหผูเรียนตื่นตัว ใหเขาใจตนเอง สามารถใชความถนัดและความสามารถเฉพาะตัวออกมาให เปนประโยชนใหมากท่ีสุด ครูจะใหความสําคัญแกผูเรียนมาก ใหสรีภาพ และเคารพในศักด์ิศรีของ ผูเรียน ใหผูเรียนรูจักรับผิดชอบในการกระทําของตนเอง และครูจะตองเปนผูรูจริงในเร่ืองที่สอน ซ่ือสัตยและจริงใจตอ ผเู รยี น 3) ผูเรียน ถือวาผูเรียนเปผูที่สําคัญที่สุดในกระบวนการศึกษาและเชื่อวา ผูเรียนเปนผูที่มีความคิด มีความสามารถในตนเองมีเสรีภาพอยางแทจริง เปนผูทีเลือกแนวทางท่ีจะ พฒั นาตนเองดว ยตนเอง เพราะเปา หมายการศึกษามใิ ชเน้ือความรู มใิ ชเ พื่อสงั คม แตเพ่ือผูเรียนที่จะ รูจักตนเอง เขาใจตนเอง ดวนเหตุนี้แนวทางจริยธรรม และการประพฤติปฏิบัติตางๆเปนเร่ืองสวน บุคคลที่จะเลือกใชวีธีทางใด แตท้ังนี้จะตองมีวินัยในตนเอง และรับผิดชอบตอการกระทําและผลที่ เกดิ ขน้ึ (Power 1982 : 145 อางถงึ ใน อรสา สุขเปรม 2541) 4) โรงเรียน ตองสรางบรรยากาศแหงเสรีภาพท้ังในและนอกหองเรียน และจัดสิ่งแวดลอมใหผูเรียนเกิดความพอใจท่ีจะเรียน สรางคนใหเปนตัวของตนเอง คือใหนักเรียน เลือกอยา งอสิ ระ สว นแนวทางในดานจริยธรรม ทางโรงเรียนจะไมกาํ หนดตายตัวแตจ ะใหผ เู รยี นได เลอื กแนวทางงของผเู รยี น 5) กระบวนการเรียนการสอน เนนการกระตุนใหผูเรียนเปนตัวของ ตวั เองมากที่สดุ ใหผ เู รียนพบความเปนจริงดวยตัวเอง เปดโอกาสใหผูเรียนเลือกเรียนดวยตนเองของ เขาเอง การเรียนจะตองเรียนรูจากส่ิงภายในกอน หมายถึงจะตองใหผูเรียนรูวาตนเองพอใจอะไร มคี วามตอ งการอะไรอยา งแทจรงิ แลว เลือกเรียนในสง่ิ ที่พอใจหรอื ตอ งการ กระบวนการเรียนการสอน จะเนน การมสี ว นรว ม เปนหลกั สําคญั ในการเรียนรู ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม เปนปรัชญาที่ทาทายแนวความคิดของคนรุนใหม และ ไดแพรหลายไปยังประเทศตางๆ ในประเทศไทยไดมีการนํามาทดลองใชเปนครั้งแรกท่ีโรงเรียน

19 หมูบานเด็ก จังหวัดกาญจนบุรี เปนความพยายามท่ีจะเปดโอกาสใหนักเรียนไดมีอิสรเสรีภาพใน เลือกเรียนวิชาตางๆ ปจจุบันโรงเรียนนี้ยังดําเนินการสอนอยู แตก็ปรับเปล่ียนรูปแบบใหเหมาะสม และนบั ไดว าประสบความสําเร็จในระดบั หน่งึ สรุป ปรัชญาพน้ื ฐาน เปน ปรัชญาทเ่ี ปน รากฐานในการกําเนิด ปรัชญาการศึกษา ดังน้ันการศึกษา พื้นฐาน ทําใหเรามีความเขาใจท่ีมา แนวคิด ในลักษณะปรัชญาไดถองแทมากข้ึน ไมจิตนิยม ท่ีเนน จิตเปนสําคัญ เนนความเช่ือในโลกแหงวัตถุ และการสัมผัส ประสบการณนิยมท่ีเนนโลกแหง ประสบการณเปนหลักใหเรามุงทํางาน มากกวาเรียนแตทฤษฎี อัตถิภาวนิยม เห็นวามนุษยเกิดมา พรอมกับความวา งเปลาและใหค วามสําคัญของมนษุ ยมาก ปรัชญาการศึกษาทั้ง 5 ลัทธิดังกลาว แตละปรัชญาจะมีแนวทางในการนําไปสูการปฏิบัตืท่ี แตกตา งกนั การนําไปปฏบิ ัติเพ่ือใหเกิดประโยชนตอการศึกษา จะตองพิจารณาวาแนวทางใด จึงจะ ดีที่สุด ซึ่งจะตองสอดคลองกับสภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมืองและการปกครอง ปรัชญาการศึกษา ลัทธิหนึ่งอาจจะเหมาะกับประเทศหนึ่ง เพราะเปนประเทศเล็กๆ ประเทศหนึ่งซ่ึงมีลักษณะแตก ตางกนั ตองใชลัทธิการศึกษาอีกลทั ธหิ นง่ึ ประเทศไทยก็ไดนาํ เอาปรชั ญาการศึกษานน้ั มาประยกุ ตใช ใหเ หมาะสม