Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการดูแลการใช้ยาในผู้สูงอายุ

คู่มือการดูแลการใช้ยาในผู้สูงอายุ

Published by Siwaporn Winya, 2023-02-12 10:29:45

Description: คู่มือการดูแลการใช้ยาในผู้สูงอายุ

Search

Read the Text Version

คู่มือ การดูแล การใช้ยา ในผู้สูงอายุ ภญ.ศุภิสรา ผลประสิทธิโต งานบริบาลเภสัชกรรม กลุ่มงานเภสัชกรรรม โรงพยาบาลลำปาง

สารบัญ ยาคืออะไร 3 หลักการใช้ยา 5 ถูก 5 ใช้ยาถูกขนาด 6 ใช้ยาถูกเวลา 7 ลืมกินยา 8 ยาเสื่อมสภาพ 9 ยาหมดอายุ 10 การเก็บรักษายา 11 การใช้ยาหยอดตา 13 การใช้ยาป้ายตา 14 การใช้ยาหยอดหู 15 การใช้ยาพ่นจมูก 16 การใช้ยาเหน็บทวาร 17 ยาลดความดันโลหิต 19 ยารักษาโรคเบาหวาน 22 อาการน้ำตาลต่ำ 25 ยาลดไขมันในเลือด 26 อาการแพ้ยา 28 การให้ยาทางสายให้อาหาร 29 กินยาให้ถูกวิธี 30 Book Title

ยาคืออะไร? สารเคมีหรือสารอื่นๆ ที่ใช้ในการวินิจฉัย บำบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรคหรือ ความเจ็บป่วยของมนุษย์หรือสัตว์ ***ยาทุกชนิดมีคุณอนันต์และ หากใช้ยาไม่เหมาะสมก็ทำให้เกิดโทษมหันต์ได้ ดังนั้นการใช้ยาต้องใช้ตามคำแนะนำจาก แพทย์ หรือเภสัชกร***

รูปแบบของยา 1. ของแข็ง 2. ของเหลว ยาเม็ด ยาแคปซูล ยาผง ยาน้ำเชื่อม ยาแขวนตะกอน โลชั่น ยาสวนล้าง 3. กึ่งของแข็ง 4. รูปแบบอื่นๆ ขี้ผึ้ง ครีม เจล ย า พ่ น ล ะ อ อ ง ฝ อ ย การเรียกชื่อยา 1.ชื่อสามัญทางยา เป็นชื่อที่บอกสารออกฤทธิ์ใน ผลิตภัณฑ์ยา เช่น พาราเซตามอล 2. ชื่อทางการค้า เป็นชื่อที่บริษัทยาเป็นผู้ตั้งขึ้น เช่น ไทลินอล ซาร่า ที่มา: การดูแลตนเองของผู้สูงอายุ สภากาชาดไทย

หลักการใช้ยา 5 ถูก ถูกคน ถูกโรค ชื่อในฉลากยาตรงกับชื่อผู้ใช้ยา ใช้ยาให้ตรงกับโรค และอาการที่เป็น ใช้ยาให้ถูกอายุ ถูกเพศ ถูกวัย ถูกวิธี ถูกน้ำหน้ก หญิงตั้งครรภ์ แพ้ ใช้ยา เก็บรักษาถูกวิธี ยา กิน ฉีด ทา หยอด เหน็บ สูดพ่ น ถูกขนาด ใช้ยาตามแพทย์หรือเภสัชกร โดยกินยาให้ถูกขนาดตามสั่ง ถูกเวลา ใช้ยาให้ถูกช่วงเวลาตามฉลากยา ก่อนอาหาร หลังอาหาร ก่อนนอน

ใช้ยาถูก ขนาด ยา 2 เม็ด ยา 2 แคปซูล ยา 3 ซีซี ยา 1 ช้อนชา ยา 1 ช้อนโต๊ะ 1 ช้อนชา = 5 ซีซี 1 ช้อนโต๊ะ = 15 ซีซี

ใช้ยา ถูกเวลา 01 ยาก่อนอาหาร รับประทานยาก่อนอาหารอย่างน้อย 30 นาที เพราะอาหารอาจรบกวนการดูดซึมยา ยาพร้อมอาหาร 02 รับประทานยาพร้อมอาหารคำแรก หรือหลังจากรับประทานอาหารไปแล้วครึ่งหนึ่ง 03 ยาหลังอาหารทันที รับประทานยาหลังทานอาหารเสร็จทันที เพราะยามีฤทธิ์ระคายเคืองทางเดินอาหาร ยาหลังอาหาร 04 รับประทานหลังอาหาร 15 - 30 นาที ยาบางชนิดอาศัยกรดและอาหารช่วยในการดูดซึม 05 ยาก่อนนอน รับประทานยาก่อนเข้านอนตอนกลางคืน ประมาณ 15 - 30 นาที

หากลืมกินยา ทำอย่างไรดีน้า??? 01 ยาก่อนอาหาร กินตอนท้องว่าง กินหลังจากรับประทานอาหารแล้ว 2 ชั่วโมง ยาพร้อมอาหาร 02 กินหลังอาหารทันที หรือหากยากินวันละ 1 ครั้ง ให้กินยาพร้อมอาหารมื้อถัดไป 03 ยาหลังอาหารทันที กินทันทีที่นึกได้ แต่ต้องกินอาหารรองท้องก่อน ยาหลังอาหาร 04 กินทันทีที่นึกได้ แต่ถ้าใกล้มื้อถัดไป ให้กินมื้อถัดไปเลย โดยไม่ต้องเพิ่มขนาดยาเป็น 2 เท่า 05 ยาก่อนนอน ข้ามไปกินก่อนนอนของคืนถัดไป โดยไม่ต้อง เพิ่มขนาดยาเป็น 2 เท่า

ยาเสื่อมสภาพ ยาเปลี่ยนสี 5 ข้อสังเกตง่ายๆ สีเปลี่ยนไป เข้มขึ้น เป็นจุด ยาเปลี่ยนสภาพ บวม เม็ดยาแตก มีหยดน้ำ มีฟอง กลิ่นยาเปลี่ยน เช่น มีกลิ่นเหมือน น้ำส้มสายชู ยาไม่ละลายน้ำ ยาแยกชั้นออกจากกัน เขย่าแล้วไม่เข้ากัน ยาหมดอายุ ระบุไว้ที่ฉลากยา ข้างกล่อง หรือบนแผงยา มักมีคำว่า \"Exp.\" \"Expiry date\" \"Use before\" ที่มา: การดูแลตนเองของผู้สูงอายุ สภากาชาดไทย

ยาหมดอายุ หาคำว่า \"EXP\" เลข 2 ตัวข้างหน้า หมายถึง วันที่ เลข 2 ตัวตรงกลาง หมายถึง เดือน เลข 2 ตัวท้าย หมายถึง ปี ค.ศ. ปี พ.ศ. = ปี ค.ศ. + 543 หมายเหตุ: ถ้ามีเฉพาะเดือนและปี ให้ถือว่าหมดอายุ วันสิ้นเดือนของเดือนนั้น

การเก็บรักษายา ยาที่ต้องเก็บไว้ในตู้เย็น เก็บในช่ องธรรมดาที่ อุณหภูมิ 2-8 องศา เซลเซี ยส ห้ามแกะยาออกจาก ห้ามโดนความร้อน แผงบรรจุภัณฑ์ และสารเคมี ห้ามโดนแสง ห้ามโดนอากาศ หากมีซองสีชา และความชื้น จึงควร ให้เก็บในซองสีชา เก็บในภาชนะที่ปิด สนิท

การใช้ยา เทคนิคพิเศษ

ยาหยอดตา ล้างมือให้ สะอาด น อ น ร า บ ห รื อ นั่ ง พั ก ใ ห้ ศี ร ษ ะ เ อ น ไ ป ด้ า น ห ลั ง ดึ ง เ ป ลื อ ก ต า ล่ า ง ล ง ม า ใ ห้ เป็นกระพุ้ง และเหลือบตา ขึ้ น ข้ า ง บ น ห ย อ ด ต า ล ง ใ น ก ร ะ พุ้ ง เ ป ลื อ ก ต า หากต้องการหยอดตา ล่าง 1 หยด ระวังอย่าให้มือสัมผัส 2 ชนิดขึ้นไป ปลายหลอด ขนตา และเปลือกตา แล้วหลับตา 1-3 นาที ให้ห่างกัน 3-5 นาที

ย า ป้ า ย ต า ล้างมือให้ สะอาด น อ น ร า บ ห รื อ นั่ ง พั ก ใ ห้ ศี ร ษ ะ เ อ น ไ ป ด้ า น ห ลั ง ดึ ง เ ป ลื อ ก ต า ล่ า ง ล ง ม า ใ ห้ เป็นกระพุ้ง และเหลือบตา ขึ้ น ข้ า ง บ น เ ริ่ ม ป้ า ย ย า จ า ก หั ว ต า ไ ป ห า ง ต า หากต้องการป้ายตา ร ะ วั ง อ ย่ า ใ ห้ มื อ สั ม ผั ส ป ล า ย ห ล อ ด 2 ชนิดขึ้นไป ขนตา และเปลือกตา แ ล้ ว ห ลั บ ต า ใ ห้ ส นิ ท ให้ห่างกัน 10 นาที

ย า ห ย อ ด หู ล้างมือให้ สะอาด ป รั บ อุ ณ ห ภู มิ ใ ห้ ใ ก ล้ เ คี ย ง กั บ อุณภูมิร่างกาย โดยกำยาไว้ ใ น อุ้ ง มื อ เ อี ย ง ศี ร ษ ะ ห รื อ น อ น ต ะ แ ค ง ใ ห้ หู ข้ า ง ที่ จ ะ ห ย อ ด อ ยู่ ด้ า น บ น เ อี ย ง ศี ร ษ ะ อ ยู่ ใ น ท่ า เ ดิ ม 5-10 นาที หยอดยาเข้าไปในรูหู ตามจำนวนที่ กำหนด ระวังอย่าให้ปลายหลอด สั ม ผั ส กั บ รู หู

ย า พ่ น จ มู ก กำจัดน้ำมูกออกให้ หมดหรือล้างจมูก ก่อน เ ปิ ด ฝ า ค ร อ บ แ ล ะ ดึ ง ค ลิ ป อ อ ก เ ข ย่ า ข ว ด ใ น แ น ว ดิ่ ง ก ด พ ร้ อ ม กั บ ห า ย ใ จ เ ข้ า ส อ ด ป ล า ย ห ล อ ด เ ข้ า ไ ป ใ น รูจมูก โดยหันปลาย ห ล อ ด ไ ป ท า ง หั ว ต า https://www.siphhospital.com/th/news/article/share/674/Nasalspray

ย า เ ห น็ บ ท ว า ร แกะยาเหน็บออก จากบรรจุภัณฑ์ นอนตะแคง โดยให้ขาด้านล่าง เหยียดตรง ขาด้านบนงอเข่าขึ้น จ น ชิ ด ห น้ า อ ก ใ ห้ ม า ก ที่ สุ ด แนะนำให้แช่ยาในตู้เย็น ช่องธรรมดา เพื่อให้ยาแข็งตัว และสอดได้ง่ายขึ้น ส อ ด ย า เ ห น็ บ เ ข้ า ไ ป ใ น ท ว า ร หนัก เอาด้านที่มีปลายแหลม เข้าไปก่อน แล้วใช้นิ้วชี้ดันยา เ ข้ า ไ ป ใ ห้ ลึ ก ที่ สุ ด นอนในท่าเดิมประมาณ 15 นาที

ยาที่ใช้บ่อยในผู้สูงอายุ & ผลข้างเคียง

ยาลดความ ดันโลหิต - แอมโลดิปีน - อีนาลาพริล - ลอซาร์แทน - ไฮโดรคลอโรไทอาร์ไซด์ - อะทีโนลอล

แอมโลดิปีน (Amlodipine) ผลข้างเคียง ความดันโลหิตต่ำ หน้ามืด คล้ายจะเป็นลม ขาหรือเท้าบวม

อีนาลาพริล (Enalapril) ผลข้างเคียง ความดันโลหิตต่ำ หน้ามืด คล้ายจะเป็นลม ไอแห้ง

ยารักษา โรคเบาหวาน เมทฟอร์มิน กลัยพิไซด์ พิโอกลิตาโซน อินซูลิน

กลัยพิไซด์ (GLIPIZIDE) ผลข้างเคียง ระดับน้ำตาล ในเลือดต่ำ

อินซูลิน (INSULIN) ผลข้างเคียง ระดับน้ำตาล ในเลือดต่ำ

อาการน้ำตาล ในเลือดต่ำ วิธีการแก้ไขภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ รับประทานอาหารที่มีกลูโคส 15 กรัม อาหารที่มีกลูโคส 15 กรัม เช่น กล้วย 1 ลูก ลูกอม 3 เม็ด นมสด 250 มล. น้ำหวานครึ่งแก้ว น้ำอัดลมครึ่งกระป๋อง พัก 15 นาที ถ้าอาการยังไม่ดีขึ้น ให้กินกลูโคสอีก 15 กรัม

ยาลดไขมัน ในเลือด ซิมวาสแตติน อะทอร์วาสแตติน ฟีโนไฟเบรท เจมไฟโบรซิล

ยากลุ่มสแตติน ซิมวาสแตติน อะทอร์วาสแตติน (Simvastatin) (Atorvastatin) ยากลุ่มนี้มักกินหลังอาหารเย็น หรือก่อนนอน ตับอักเสบ ตัวเหลือง ตาเหลือง ปวดท้อง อืดท้อง เบื่ออาหาร ปวดกล้ามเนื้อ ผลข้างเคียงเหล่านี้โอกาสเกิดน้อย หากเกิดขึ้นให้รีบพบแพทย์

อาการแพ้ยา ผื่นคันแดง ขึ้นทั้งตัว ผื่นคล้ายผื่นลมพิษ และคัน ปากบวม ตาบวม เนื้อเยื่อบางๆ เช่น ปาก เปลือกตา แน่นหน้าอก หายใจไม่ ลอกออก ออก หากมีอาการเหล่านี้ ให้รีบมาพบแพทย์

การให้ยาทางสายให้อาหาร ***อ่านฉลากช่วยก่อนบดยา หรือ ก่อนแกะแคปซูลทุกครั้ง*** ตัวอย่างฉลากช่วย ตัวอย่างฉลากช่วย ห้ามบด ห้ามเคี้ยว กรณีให้ยาทางสายยางถอดแคปซูลออกได้ ยา 1 เม็ด ละลายน้ำ 25 - 50 ซีซี ห้ามบด ห้ามเคี้ยว แต่แบ่งครึ่งได้ สอบถามเภสัชกรทุกครั้ง หากต้องให้ยาทางสายให้อาหาร

กินยาให้ถูกวิธี ยานี้กินแล้วง่วง หลีกเลี่ยงการขับรถหรือทำงานกับ เครื่องจักร กินติดต่อกันทุกวันจนยาหมด กินยาให้หมดตามแพทย์สั่ง เพื่อ ป้องกันการดื้อยา เคี้ยวให้ละเอียดก่อนกลืน เช่น ยาขับลม ยาลดกรด เพื่อให้ยากระจายตัวได้ดี ยาใช้ภายนอก ยาที่ใช้ ภายนอกร่างกาย ห้ามรับประทาน เช่ น ยาครีม ยาหยอดตา ยาเหน็บ

Thank You


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook