กระบวนการหรือวิธปี ฏบิ ัติทเ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) ................................................... ชื่อผลงาน ระบบติดตามนักศึกษาเข้าทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบ โรงเรียน (N-NET) คร้ังท่ี 2/2564 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 เจา้ ของผลงาน นางสาวยลดา วิเวกวงั ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล หน่วยงาน ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอนา้ เกลยี้ ง จังหวัดศรสี ะเกษ ผู้บริหาร นางธนัญชกร ดวงดี ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอน้าเกลี้ยง
ระบบตดิ ตามนกั ศึกษาเข้าทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ ด้านการศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) ครง้ั ที่ ๒/256๔ คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 _____________________________________________________________________________ 1. ความเปน็ มาและความสาคญั กศน.ตาบลคูบ ภายใต้การนาของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอน้า เกล้ียง เป็นสถานศึกษาในสังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มี บทบาทท่ีสาคัญในการจัดการศึกษาให้กับประชาชนในพื้นที่ให้ได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างท่ัวถึง และมี คุณภาพมีการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มีกลุ่มเป้าหมายเป็น ประชากรที่ไม่ได้อยู่ในระบบโรงเรียน แบ่งระดับการศึกษาออกเป็น 3 ระดับ คือระดับประถมศึกษา ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประกอบด้วย 5 สาระการเรียนรู้ ได้แก่ ทักษะการ เรียนรู้ ความรู้พ้ืนฐาน การประกอบอาชีพ ทักษะการดาเนินชีวิต และการพัฒนาสังคม ซึ่งแต่และสาระ ประกอบด้วยรายวิชาบงั คับ และรายวชิ าเลือกตามจานวนหน่วยกิตทก่ี าหนด เนน้ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ ตามหลกั ปรัชญาพน้ื ฐาน “คิดเป็น”โดยวิธีเรยี นกศน. การเข้าทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) (Non-Formal Natoon Education Test ) ท่ีกาหนดให้สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์กรมหาชน) มีหน้าที่ จัดการทดสอบความรู้ทางการศึกษาศึกษาระดับชาติน้ัน เป็นเรื่องสาคัญที่นักศึกษา กศน. ทุกระดับท่ีเรียน ในภาคเรียนสุดท้ายหรือคาดว่าจะจบในเทอนนั้น จะต้องเข้าทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษา นอกระบบโรงเรียน (N-NET) ซึ่งเป็นเกณฑ์ที่ใช้ในการจบการศึกษาในแต่ละระดับของกศน. เพ่ือวัดความรู้ ให้แก่นักศึกษาที่กาลังศึกษาในระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 โดยมีวัตถปุ ระสงค์เพอื่ นา ผลการทดสอบไปใช้ในการปรับปรุงคณุ ภาพการเรียนการสอนของสถานศึกษาต่อไป เพอ่ื ให้การจัดการศกึ ษาของสถานศึกษามีคณุ ภาพ กศน.ตาบลคูบ จงึ ไดต้ ระหนักและใหค้ วามสาคัญ ในการติดตามนักศึกษากศน.เข้ารับการทดสอบการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบโรงเรียน (N- NET)เป็นตามที่สถาบนั ทดสอบทางการศกึ ษาแหง่ ชาติ (องค์กรมหาชน) ได้กาหนดไว้ 2. วตั ถุประสงค์ 1. เพ่ือวัดความรู้ให้แก่นักศึกษาที่กาลังศึกษาในระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 2. เพ่ือให้สถานศึกษานาผลการทดสอบไปใช้ในการปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอนของกศน. ตาบลคบู ตอ่ ไป 3. เพอ่ื เปน็ ข้อมลู ในการสบื คน้ สาหรับผ้สู นใจ 3. เปา้ หมาย 3.1 เชงิ ปรมิ าณ 3.1.1 นกั ศกึ ษากศน.ทม่ี ีสทิ ธิ์สอบ N-NET คร้งั ท่ี 2/2564 จานวน ๓ คน -ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ๓ คน 3.2 เชิงคณุ ภาพ 3.2.1 นักศกึ ษาที่มสี ทิ ธ์สิ อบ N-NET เข้ารบั การทดสอบ ๓ คน กศน.ตำบลคูบ | 2
4. หลักการและแนวคดิ ในการวางแผนการดาเนินงานเพื่อนาไปสู่ความสาเรจ็ นัน้ มีความจาเปน็ อย่างย่งิ ที่ต้องอาศัยการมี ส่วนร่วมของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา บุคลากร ทุกคนโดย กศน.ตาบลคบู ไดก้ าหนดกลยทุ ธ์ในการดาเนนิ งาน โดยใชห้ ลัก PDCA ดงั น้ี PDCA คอื แนวคดิ ซ่ึงถกู คิดค้นโดย Dr. Edwards W. Deming เกีย่ วกับวงจร PDCA ท่เี ปน็ อีก เคร่อื งมอื หนงึ่ ที่สาคัญสาหรบั การวางแผนแก้ปัญหาอย่างยง่ั ยืน หลักการ PDCA สามารถนามาใช้เพื่อการ ปรับปรุงและพัฒนาระบบการทางานขององค์กรให้ดขี นึ้ ได้ เพราะหลักการ PDCA Plan-Do-Check- Act สามารถนามาประยุกต์ใชไ้ ด้กับทุกงานแม้กระทงั่ การดาเนนิ ชวี ิตประจาวัน PDCA มีหลากหลายหลักการท่ีทาใหเ้ ราไปถงึ ความสาเร็จท่ีเราตั้งใจไว้ ซึ่งถ้าลองวเิ คราะหโ์ ดยใช้ หลักการ Plan – Do – Check – Act เป็นกรอบในการวิเคราะห์ อาจแบง่ แยกได้เป็นดังน้ี “การ ตั้งเปา้ หมาย ( Goal Setting )“ ถือเป็นจุดเริ่มต้นสาคญั ของการลงมือทาในเรอื่ งใดเร่ืองหน่ึง เพราะการมี เป้าหมาย หมายถึงการทีเ่ รารู้ว่าเราจะเดินทางไปท่ีไหน ย่ิงถ้ารู้ไดว้ า่ ทาไมเราถึงต้องไป และยิง่ มองเหน็ ภาพ ของตวั เราเมือ่ ไปถงึ เป้าหมายน้นั ชดั เจนมากเท่าไร ย่ิงเกดิ แรงกระตนุ้ ให้เราอยากออกเดินทางไปสู่เปา้ หมาย นนั้ โดยเร็ว การวางแผนงาน และ กาหนดวธิ ีการ (Planning) หลังจากเรามีเปา้ หมายแล้ว เราตอ้ งนาเปา้ หมายนน้ั มากาหนดรายละเอยี ด ส่งิ ที่ต้องทาโดยเรียง ตามลาดับความสาคญั รายละเอยี ดขน้ั ตอน ปัจจัยตา่ งๆทต่ี ้องใช้ ระยะเวลาเรม่ิ -สิ้นสุด บคุ คลหรือทีมงานท่ี เกี่ยวขอ้ งในแต่ละขั้นตอน และทสี่ าคญั ท่ีสดุ คือ ตวั ช้วี ัดผล (KPI) เนอื่ งจากแผนงานหมายถงึ เราจะเดนิ ทาง ไปสถานท่นี ้นั ด้วยวิธีไหน ไปถึงเมอื่ ไหร่ ดังนัน้ ตวั ช้ีวัดจึงเปน็ ตัวท่จี ะคอยบอกว่าวิธกี ารที่เราเลือกใช้น้ัน ถูกต้องหรอื ไม่ เร็ว-ชา้ อย่างไร ทรพั ยากรที่ใช้ไปเปน็ ไปตามแผนหรือเกนิ กวา่ ที่กาหนดไว้ เพอ่ื ทีจ่ ะไดป้ รบั แผนหรือวธิ ไี ดอ้ ยา่ งทันทว่ งที กศน.ตำบลคบู | 3
การลงมือปฏิบัติ (Do) ข้ันตอนนี้คอื การลงมือปฏบิ ัติตามแผนงานและวธิ ีการทเ่ี รากาหนดไวอ้ ย่างมวี ินัย ทักษะการบริหาร ต่างๆจะถูกหยิบมาใช้ในระยะการลงมือปฏิบัตินี้ เชน่ การบรหิ ารเวลาใหไ้ ดต้ ามแผน การประชมุ เพ่ือ ตรวจสอบความคืบหนา้ การมอบหมายงานเพ่ือแบ่งเบาภาระ เป็นตน้ การตรวจสอบ (Check) หลงั จากเราเริม่ ลงมือปฏบิ ตั ไิ ปได้สกั ระยะ ตอ้ งเร่ิมทาการตรวจสอบความคืบหน้าของส่งิ ที่เราไดล้ ง มือปฏิบตั ิไปนน้ั ว่าเป็นไปตามแผนงานหรือไม่ ซง่ึ สง่ิ ที่จะบ่งบอกไดก้ ็คอื ตวั ชี้วัดท่เี รากาหนดไวน้ ั่นเอง ถ้าจุดที่ เราตรวจสอบไดผ้ ลลพั ธต์ ามตัวชวี้ ดั ทีเ่ ราตง้ั ไว้หรือดีกว่าแสดงวา่ วิธีการทเ่ี ราเลือกใชน้ ้ันยงั คงถูกตอ้ ง แต่ถ้า ตรวจสอบออกมาแลว้ ผลปรากฏว่าตา่ กวา่ ตวั ชวี้ ัดทต่ี ง้ั ถอื เป็นสญั ญาณเตือนวา่ มีความผิดปกตบิ างอยา่ ง เกย่ี วกับแผนงานหรือวธิ ีการท่ีเรากาหนดไว้ในตอนแรก การปรบั ปรุง (Act / Action) ข้นั ตอนนี้คอื การปรบั ปรงุ หรือปรบั เปล่ียนวิธกี ารหรอื ทรัพยากรบางอย่างเพื่อทาใหผ้ ลลพั ธก์ ลบั มา อยู่ในแผนงานหรือเส้นทางสู่เป้าหมายตามระยะเวลาท่ีกาหนดไวใ้ นครั้งแรก ซึ่งกระบวนการปรบั ปรงุ เร่มิ จากการวเิ คราะห์หาสาเหตทุ ี่ทาใหผ้ ลลัพธ์ไมเ่ ปน็ ไปตามทเ่ี ราวางแผนหรอื กาหนดไว้ ว่าเกิดจาก องค์ประกอบหรือปจั จยั ภายใน/ภายนอกใดบ้าง แลว้ จึงมากาหนดมาตรการแก้ไข ปรบั ปรุงตอ่ ไป P-D-C-A อยา่ งตอ่ เนื่อง หลังจากเรากาหนดมาตรการแก้ไขแล้วจึงนามาปรับเปลี่ยนแผนงานใหส้ อดคลอ้ งกบั วธิ ีการและ ทรัพยากรทีก่ าหนดข้นึ มาใหม่โดยยังคงคานึงถึงการกาหนดตวั ชว้ี ดั ท่เี หมาะสม แล้วจงึ เรมิ่ ลงมอื ปฏบิ ตั ิ ตรวจสอบ ปรับปรงุ แก้ไข ตามวงจร P-D-C-A อยา่ งต่อเนื่องจนบรรลเุ ปา้ หมายท่ีตง้ั ไว้ หลงั จากบรรลเุ ปา้ หมายตามที่ตั้งใจไวค้ รง้ั แรกแล้ว เรายงั คงใชห้ ลักการ PDCA อยา่ งต่อเนื่องได้ ด้วยการยกระดับของเปา้ หมายใหส้ ูงขึ้น แล้วจงึ มากาหนดแผนงาน-วิธีการที่เหมาะสม แล้วจงึ เริ่มเข้าสูว่ งจร วางแผน – ลงมือปฏิบัติ – ตรวจสอบ – ปรับปรุง/แกไ้ ข ไดเ้ ชน่ กัน กศน.ตำบลคบู | 4
5. กระบวนการผลิตงานหรือขนั้ ตอนการดาเนินงาน (วิธีปฏิบตั ิท่ีเปน็ เลศิ ) มีการวางแผนการดาเนินงาน และติดตามงานอย่างเป็นระบบเพ่ือให้ได้ข้อมูลถูกต้องและแม่นยา โดยใช้วงจรคุณภาพ (Deming Cycle) หรือ PDCA การวางแผน (Plan) ซึ่งไดก้ าหนดแผนการดาเนนิ งาน ดงั นี้ 1. ประชุม ปรึกษาหารือช้ีแจงภายในกศน.ตาบลร่วมกับผู้นาชุมชน กานัน ผู้ใหญ่บ้าน เพ่ือหา แนวทางการดาเนินงานตามวตั ถุประสงค์ และวางแผนการ ลงพนื้ ทช่ี ุมชน 2. จดั ทาแผนปฏทิ ินในการพบกลมุ่ นักศึกษากศน.ตาบลคูบ 3. ตรวจสอบรายชื่อนกั ศึกษาที่มสี ิทธส์ิ อบ N-NET คร้งั ท่ี ๒/2564 วางแผนการออกติดตาม ข้อมลู นักศกึ ษากบั ภาคีเครือข่าย ผนู้ าชมุ ชน การปฏิบัตติ ามแผน (Do) ปฏิบัติงานตามทวี่ างไว้ โดย 1.ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การพบกลุ่มของนักศึกษาตาบลคูบ ตามตารางปฏิทินการพบก ลมุ่ ระดับประถมศึกษาทุกวันอังคาร ระดับมะธยมศึกษาตอนต้น ทกุ วนั พุธ และระดบั ดบั มธั ยมศกึ ษาตอน ปลาย ทุกวนั พฤหัสบดี และแจ้งขา่ วสารการเข้าร่วมกจิ กรรม/โครงการ การทากจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนไม่น้อย กวา่ 200 ชว่ั โมงใหน้ กั ศึกษาทราบ 2. ครูจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต กิจกรรมพัฒนาสังคมและ ชุมชน กิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นต้น เพ่ือให้นักศึกษาได้ลงมือแก้ไข ปญั หาเป็นตามหลกั ปรัชญากศน. “คดิ ป็น” กศน.ตำบลคูบ | 5
3. ครูประกาศและแจ้งรายชื่อผู้ท่ีมีสิทธิ์เข้าทดสอบทางการศึกษา การศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) คร้ังท่ี 2 /2563 ผ่านช่องทาง Socil Media เช่น Facbook และ Line ล่วงหน้าเพ่ือให้นักศึกษา ท่ที างานอยตู่ า่ งจงั หวดั ไดม้ ีเวลางาน และครตู ิดตามนกั ศกึ ษาอย่างตอ่ เน่ืองเปน็ ประจา กศน.ตำบลคูบ | 6
4.ครูติดตามและเย่ียมบ้านนักศึกษาท่ีมีรายชื่อเข้าเข้าทดสอบทางการศึกษา การศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ครั้งท่ี 2 /2563 พร้อมแจ้งวันเวลา สถานที่สอบ และช้ีแจงระเบียบในการเข้าทดสอบอย่าง ชดั เจน 5. แจ้งนักศึกษาเข้าร่วมโครงการค่ายทักษะวิชาการเพ่ิมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยติวเน้ือหากลุ่ม สาระทั้ง 5 กลุ่มสาระได้แก่ ทักษะการเรียนรู้ ความรู้พื้นฐาน การประกอบอาชีพ ทักษะการดาเนินชีวิต และการพัฒนาสงั คม เพอื่ เปน็ การทบทวนเน้ือหาใหก้ ับนกั ศึกษาก่อนสอบ การตรวจสอบ (Check การปรบั ปรุงการดาเนินงาน (Act) จากการรวบรวมขอ้ มูลผลการประเมนิ แต่ละครง้ั พบวา่ กศน.ตาบลบก มีจุดท่คี วรปรบั ปรุงและ กศน.ตำบลคบู | 7
การตรวจสอบ (Check) 1.ผู้บริหาร ข้าราชการครู กากับ ติดตามอย่างจรงิ และตอ่ เนอ่ื ง 2.แจ้งครูกศน.ตาบลรายงานผลการตดิ ตามนกั ศกึ ษาท่ีมีรายชื่อเข้าทดสอบ n-net อยา่ งตอ่ เน่อื ง 3.รายช่ือนักศึกษาท่ีเข้าทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET)คร้งั ท่ี 2 ปีการศึกษา 256๔ ครบจานวน ๓ คน การปรับปรงุ การดาเนินงาน (Act) 1. ในวนั สอบครูตอ้ งเตรียมอปุ กรณใ์ นการสอบ เพื่อชว่ ยเหลือนักศกึ ษาที่มีปัญหา 2. การติดตามการสร้างแรงจูงใจให้กับนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรม การพบกลุ่ม โดยครูร่วมวาง แผนการทางานร่วมกับภาคีเครือข่าย และหาทางออกให้กับนักศึกษาท่ีมีอุปสรรคไม่สามารถ เดนิ ทางมาเข้าร่วมกจิ กรรมพบกล่มุ หรอื โครงการต่างๆได้ 3. การยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรตสิ รา้ งขวัญและกาลังใจใหก้ บั นักศึกษาท่ีเรยี นจบหลักสูตรฯ 6. ผลการดาเนินงาน ผลสมั ฤทธแิ์ ละประโยชน์ท่ีไดร้ บั 1.กศน.ตาบลคูบรายงานร้อยละการเข้าทดสอบทางการศึกษา การศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ครัง้ ท่ี 2 /256๔ ร้อยละ 100 ๗. ปัจจยั ความสาเรจ็ 1. การกากบั ตดิ ตามของผู้บริหารสถานศกึ ษา 2. ภาคีเครือข่ายผูน้ าชุมชน กานนั ผใู้ หญ่บา้ น ในการตดิ ต่อประสานงานและใหข้ อ้ มลู 3. ครูมีสมรรถนะในการติดตามผูเ้ รยี นอยา่ งต่อเนื่อง 8. บทเรยี นที่ได้รบั 1. การวางแผน เปน็ กระบวนการสาคญั ที่จะช่วยใหม้ ีแนวทางในการปฏิบตั ิงานชดั เจน ถูกต้อง 2. สถานศึกษา นาผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) มาปรับปรุงพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาเพ่อื เพ่ิมผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น ในภาคเรยี นถดั ไป 3. ได้ทราบแนวทางปฏบิ ัติในการตดิ ตามนักศึกษาท่ีมีสทิ ธส์ิ อบ N-NET ในภาคเรียนต่อไป 9. การเผยแพร่/การได้รับการยอมรับ/รางวลั ท่ีไดร้ บั - การเผยแพร่ผา่ นทาง fanfage faccbook กศน.ตาบลคูบ และช่องทาง กศน.ตำบลคูบ | 8
ภาคผนวก กศน.ตำบลคูบ | 9
กศน.ตำบลคบู | 10
กศน.ตำบลคบู | 11
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: