ก ประวัตคิ วามเป็นมาการจัดตั้งศูนย์การศกึ ษาพิเศษ ประจาจงั หวดั แพร่ โดย...งานประชาสมั พนั ธ์
ก คานา เอกสารข้อมลู สารสนเทศพน้ื ฐาน ประวัติความเป็นมาของศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ สังกัดสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ฉบับนี้ จัดทาขึ้นเพ่ือรวบรวมประวัติความเป็นมาในการจัดตั้งสถานศึกษา ซึ่งข้อมูลต่าง ๆ มีความสาคัญ ท่ีจะนาไปสู่การวางแผน การบริหารจัดการศึกษาของศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ อีกทั้งเป็น สารสนเทศช่วยให้สามารถตัดสินใจกาหนดทิศทางการพัฒนาและปรับปรุง แก้ไขตามสภาพความเป็นจริง โดยการพัฒนาในทุก ๆ ด้าน เอื้อต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ อย่างมีคุณภาพ ให้บรรลุถึงจุดประสงค์ท่ีต้องการ ผ่านการวิเคราะห์สภาพที่มีอยู่จริงและความต้องการ ในการ วางแผนการดาเนนิ งาน ผ่านการแลกเปลย่ี นเรยี นรแู้ ละให้ขอ้ มูลสะทอ้ นกลบั เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการ เรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ของศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ ให้ขยายบริการแก่เด็กพิการทุก ประเภทในเขตพ้นื ท่ี ประวัติความเป็นมาของศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ ฉบับนี้ จัดทาขึ้นโดย การรวบรวมข้อมูลและประกอบด้วยความสาคัญ ความเป็นมาต่าง ๆ ของศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ ซง่ึ เปน็ ข้อมูลทีม่ ีความสาคัญยิง่ ในการน้ี ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ ขอขอบคุณ นายเกษม ใจสุบรรณ อดีต ผูอ้ านวยการโรงเรยี นบ้านดง ตาบลสวนเขือ่ น อาเภอเมือง จังหวัดแพร่ อดตี ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ นางบุณยรักษ์ ภู่พัฒน์ ผู้อานวยการศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ คณะทีป่ รึกษาหวั หน้ากลุ่มบริหารงาน และผู้เก่ียวข้องทุกฝ่าย ท่ีให้ความร่วมมือ สนับสนุนข้อมูล ในการจัดทาประวัตคิ วามเป็นมาของศูนย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจงั หวดั แพร่ ในคร้ังนี้ จนสามารถทาให้เอกสาร ฉบับนสี้ าเรจ็ เป็นรปู เล่มดว้ ยดี หวังเป็นอย่างย่งิ ว่า เอกสารฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์กับผู้เก่ียวข้องจะนาไปใช้หรืออ้างอิง เพือ่ การพฒั นาสถานศึกษาตอ่ ไปในอนาคต กล่มุ บรหิ ารงานทั่วไป ศูนย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจงั หวดั แพร่ กันยายน ๒๕๖๓ ประวตั คิ วามเปน็ มาการจดั ตั้งศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจังหวัดแพร่ โดย...งานประชาสมั พนั ธ์
ข สารบัญ หนา้ คานา ก สารบญั ข ส่วนท่ี ๑ ข้อมูลสถานศกึ ษา…………………………………………………………………………………………………………… ตราสญั ลกั ษณ์ประจาศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจงั หวัดแพร่ ๑ อกั ษรย่อ ๑ ปรัชญา ๑ เอกลกั ษณ์ ๑ อตั ลักษณ์ ๑ สปี ระจาศูนย์ ๑ ขอ้ มูลท่ัวไป ๑ แผนท่ศี ูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ ๒ ส่วนท่ี ๒ ประวตั ิความเป็นมา……………………………………………………………………………………………………………… ประวัตคิ วามเปน็ มา ศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจังหวดั แพร่ ๓ แบบแสดงความจานงบริจาคของ นายบนุ้ ก้ิม แซ่ลิ้ม ๖ แบบแสดงความจานงบรจิ าคของ นายทวีศกั ด์ิ ล้อบุณยารักษ์ ๗ แบบแสดงความจานงบริจาคของ นายวนิ ยั สราญจติ กลุ ๘ ชื่อผู้ปฎบิ ัติหน้าท่ี 9 ชื่อผู้ดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการ 10 สถานท่ีตง้ั ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจงั หวดั แพร่ 10 สว่ นท่ี ๓ จากใจผู้บริหาร………………………………………………………………………………………………………………………. นางพกิ ุล เลียวสิริพงศ์ 11 นายธนพันธ์ สรุ ยิ าศรี 12 นางบุณยรกั ษ์ ภพู่ ฒั น์ 14 ประมวลภาพการจัดตงั้ ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจงั หวัดแพร่ 15 - ๑๒๘ คณะทปี่ รกึ ษาและคณะผูจ้ ดั ทา.............................................................................................................................. ประวตั คิ วามเปน็ มาการจดั ต้ังศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจังหวดั แพร่ โดย...งานประชาสมั พันธ์
[๑] อกั ษรย่อ ตราสัญลกั ษณป์ ระจาศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจาจงั หวัดแพร่ ปรชั ญา เอกลักษณ์ : “ศกศ.พร.” อัตลักษณ์ : คนพกิ ารสามารถพฒั นาได้ สีประจาศูนย์ : เป็นศนู ย์กลางการฟ้ืนฟูและจดั การศกึ ษาพเิ ศษในชมุ ชน : ผ้เู รยี นมพี ฒั นาการเต็มตามศกั ยภาพ เป็นทีย่ อมรับของสังคม : “สีฟ้า สีขาว” ขอ้ มูลทั่วไป ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ สังกัดสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศจัดตงั้ เมอ่ื วันท่ี ๖ กรกฎาคม ๒๕๔๒ ต้งั อยทู่ บี่ า้ นเลขท่ี ๔๔๔/๖ หมูท่ ่ี ๙ ตาบลนาจกั ร อาเภอเมอื ง จงั หวัดแพร่ โทรศัพท์ ๐๕๔-๖๕๓๒๘๐ โทรสาร ๐๕๔-๖๕๓๒๘๑ เวป็ ไซต์ www.phraespecial.go.th เพจfacebook www.facebook.com/PhraeSpeEdC มีเนือ้ ท่ี ๕ ไร่ ๓ งาน ๑๗ ตารางวา โดยมอี าณาเขตดงั ต่อไปนี้ ทศิ เหนอื ติดตอ่ กับ ทด่ี ินเอกชน QR CODE เว็ปไซต์ ทศิ ตะวนั ออก ติดต่อกบั ที่ดนิ เอกชน ทิศใต้ ติดต่อกับ ทด่ี ินเอกชน ทิศตะวนั ตก ติดต่อกับ ท่ดี นิ เอกชน QR CODE เพจfacebook ประวัติความเปน็ มาการจดั ต้งั ศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจงั หวดั แพร่ โดย...งานประชาสัมพนั ธ์
[๒] แผนท่ศี นู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจังหวดั แพร่ แผนผงั อาคารสถานที่ โดยสังเขป ศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจังหวดั แพร่ บนเนือ้ ท่ี ๕ ไร่ ๓ งาน ๑๗ ตารางวา ประวัติความเป็นมาการจัดต้งั ศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ โดย...งานประชาสมั พนั ธ์
[๓] ประวตั คิ วามเป็นมา ศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวดั แพร่ กระทรวงศึกษาธิการตระหนัก และเห็นความจาเป็นที่ต้องพัฒนาการศึกษาพิเศษ ให้แก่เด็กพิการ หรอื ผู้ทมี่ คี วามบกพรอ่ งทางรา่ งกาย อารมณ์ สติปัญญา และจิตใจ เพ่ือให้คนพิการซึ่งเป็นกลุ่มด้อยโอกาสได้รับ บริการทางการศกึ ษาเตม็ ตามศกั ยภาพของแต่ละบุคคลอย่างกว้างขวางท่ัวถึง และมีประสิทธิภาพ ดังนั้นเพ่ือให้ การดาเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับการ จัดการศึกษาพิเศษท้ังภาครัฐและเอกชน จึงได้ร่วมกันจัดทาแบบแผนพัฒนาการศึกษาพิเศษด้านคนพิการขึ้น เพื่อให้เป็นแม่บท ซ่ึงคณะรัฐมนตรีได้ให้ความเห็นชอบเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2538 เพ่ือให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ทั้งภาครัฐ และเอกชนนาไปเปน็ แนวทางในการจดั ทารายละเอยี ด แผนโครงการและงบประมาณตอ่ ไป รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ได้บัญญัติแนวทางการจัดการศึกษา โดยรฐั จดั การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน ไมน่ อ้ ยกวา่ 12 ปี อยา่ งทว่ั ถึง และมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย (มาตรา 42) และระบวุ า่ บุคคลทพี่ ิการ หรอื ทุพพลภาพมีสิทธไิ ด้รบั สื่อ ส่งิ อานวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะ และความช่วยเหลือ จากรัฐ ท้ังนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ (มาตรา 55) รัฐต้องสงเคราะห์คนชรา ผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือทุพพลภาพ และผ้ดู อ้ ยโอกาสใหม้ ีคุณภาพชวี ิตท่ีดี และพ่ึงตนเองได้ (มาตรา 80) พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 (แก้ไขเพิ่มเติม 2545) เป็นกฎหมาย แม่บทในการจัดการศึกษาของประเทศไทยในปัจจุบัน ซึ่งเป็นกฎหมายลูกตามบัญญัติในรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 (มาตรา 81) กาหนดไว้หมวดที่ 2 เร่ืองสิทธิและหน้าท่ีทางการศึกษา ว่า การจัดการศึกษาต้องจัดให้อย่างท่ัวถึง และมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย การจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ไม่น้อยกว่า สิบสองปีท่ีรัฐต้องจัดอย่างท่ัวถึง และมีคุณภาพ การจัดการศึกษาสาหรับบุคคลซึ่งมีความบกพร่อง ทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การสื่อสาร และการเรียนรู้ หรือร่างกายพิการ หรือทุพพลภาพ หรือบุคคลซึ่งไม่สามารถพึ่งตนเองได้ หรือไม่มีผู้ดูแล หรือด้อยโอกาสต้องจัดให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิโอกาส ได้รับการศึกษาข้ันพื้นฐานเป็นพิเศษ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีกาหนดโดยกฎกระทรวง การจัดการศึกษา สาหรับบุคคลซ่ึงมีความสามารถพิเศษ ต้องจัดรูปแบบที่เหมาะสมโดยคานึงถึงความสามารถของบุคคลนั้น (มาตรา 10) ในปี 2542 กระทรวงศึกษาธิการได้เสนอมาตรการจัดการศึกษาเพ่ือให้คนพิการต่อคณะรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรีได้ประชุมปรึกษา เม่ือวันท่ี 6 กรกฎาคม 2542 และได้ลงมติเห็นชอบในหลักการมาตรการ จัดการศึกษาพิเศษ และได้ดาเนินการตามท่ีกระทรวงศึกษาธิการเสนอ ซ่ึงในแผนดังกล่าว ได้กาหนดเป็น นโยบาย และมาตรการด้านบรกิ ารว่าจัดให้มศี นู ย์หรอื หนว่ ยงานบริการให้คาปรึกษา แนะนาวินิจฉัยความพิการ ตลอดจนช่วยเหลือระยะแรกเริ่มแก่คนพิการทุกวัย และครอบครัวในระยะเร่งด่วนด้านโครงสร้างบริหารการ จัดการศึกษาเพอ่ื คนพกิ าร คือใหม้ ีศูนยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัด ทาหน้าที่เป็นศูนย์เตรียมการนานโยบาย ไปสู่การปฏิบัติ จัดทาและจัดสรรงบประมาณให้แก่สถานศึกษา ประสานกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในพื้นที่ ให้บริการการศึกษา การบาบัดฟื้นฟู และดาเนินการส่งต่อโรงเรียนและชุมชน โดยมีเง่ือนไขในข้ันน้ีคือ ให้โรงเรยี นศกึ ษาพเิ ศษในสังกดั กรมสามัญศึกษา ใน 35 จังหวัด ทาหน้าท่ีเป็นศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัด และเลอื กโรงเรียนอืน่ ทีเ่ หมาะสมในอกี 40 จงั หวดั ซง่ึ ต่อมากระทรวงศกึ ษาธิการ โดยกรมสามญั ศกึ ษาได้ดาเนินการประกาศจัดตั้งศูนย์การศึกษา พิเศษ เขตการศึกษา จานวน 13 ศูนย์ และศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดอีก 63 ศูนย์ เมื่อวันท่ี 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2543 และในวันท่ี 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 ได้มีการปฏิรูประบบการทางานของกระทรวงตา่ งๆ ประวัตคิ วามเป็นมาการจัดตั้งศนู ย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ โดย...งานประชาสัมพันธ์
[๔] ทาให้ปัจจุบันศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัด และศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา ได้ย้ายสังกัดเดิม ไปอยู่ในสังกัด สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารในปจั จบุ นั ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ สังกัดสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โดยอยู่ในเขตพ้ืนท่ีการศึกษาภาคเหนือตอนบนของศูนย์ การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 8 จังหวัดเชียงใหม่ จัดตั้งขึ้นตามมติของคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี 6 กรกฎาคม พ.ศ.2542 ได้เห็นชอบในหลักการของการจัดการศึกษาเพ่ือคนพิการ โดยอนุมัติให้กระทรวงศึกษาธิการดาเนินการ และจัดโครงสร้างการบริหารงานการจัดการของศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัด โดยทาหน้าที่ เป็นศูนย์กลาง การนานโยบายไปสู่การปฏิบัติ โดยจัดทาและจัดสรรงบประมาณให้แก่สถานศึกษา ประสานงานกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ในเขตพ้ืนที่ที่รับผิดชอบ ในการให้บริการการช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม และเตรียมความพร้อม ทางการศึกษา การบาบัดฟื้นฟู ดาเนินงานระบบส่งต่อ การสนับสนุนการจัดสื่อ ส่ิงอานวยความสะดวกต่าง ๆ ให้แก่ ผู้พิการ สถานศึกษา ชุมชน หน่วยงานที่เก่ียวข้อง ซ่ึงทางรัฐบาลได้ประกาศให้ปี พ.ศ. 2542 เป็นปีการศึกษา เพ่ือคนพิการ โดยมีคาขวัญว่า “คนพิการทุกคนที่อยากเรียนต้องได้เรียน” โดยให้โรงเรียนศึกษาพิเศษ สังกัดกรม สามัญศึกษา ใน 35 จงั หวัด ทาหน้าที่เปน็ ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั ก่อน รวมทง้ั ส้ิน 40 จังหวัด สาหรับจังหวัดแพร่ ทางกรมสามัญศึกษาได้มอบหมายให้ ผู้อานวยการโรงเรียนศึกษาพิเศษแพร่ คือ นางพิกุล เลียวสิริพงษ์ ซ่ึงดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนศึกษาพิเศษแพร่ ในขณะนั้นปฏิบัติหน้าที่ หัวหน้าศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ สานักงานช่ัวคราวต้ังอยู่ที่อาคารเรียนกึ่งถาวร จานวน 2 ห้อง โดยเปน็ ห้องสานกั งาน และหอ้ งกายภาพบาบัด ในปี พ.ศ. 2545 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศอนุมัติการกาหนดตาแหน่ง หัวหน้าศูนย์การศึกษาพิเศษ ท่ี ศธ 1305/980 ลงวันที่ 6 ธันวาคม 2545 โดยให้บริหารศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัด และได้แต่งต้ังให้ นายธนพันธ์ สุริยาศรี อาจารย์ 2 ระดับ 7 โรงเรียนโสตศึกษาอนุสารสุนทร จังหวัดเชียงใหม่ มาดารงตาแหน่ง หัวหน้าศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ ตามคาส่ังกรมสามัญศึกษา ลงวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2545 ได้ประสานงานและรับความอนเุ คราะหจ์ ากทางโรงเรยี นศึกษาพิเศษแพรใ่ นการสนับสนนุ งานด้านต่าง ๆ มาตามลาดับ ทั้งนี้ ทางคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานของศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ มีมติให้ย้ายจากโรงเรียนการศึกษาพิเศษ ปัจจุบันคือโรงเรียนแพร่ปัญญานุกุล จังหวัดแพร่ โดยมีผู้บริหารคือ นายธนพันธ์ สุริยาศรี หัวหน้าศูนย์การศึกษาพิเศษ และมีนายเกษม ใจสุบรรณ ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านดง ตาบลสวนเข่ือน อาเภอเมือง จังหวัดแพร่ เป็นประธานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ได้ร่วมหารือเพื่อสรรหา สถานที่ตั้งแห่งใหม่ของศูนย์การศึกษาพิเศษ คือโรงเรียนบ้านเหล่า ตาบลนาจักร อาเภอเมือง จังหวัดแพร่ จากนั้นศูนย์การศึกษาพิเศษ ได้ขอใช้อาคารสานักงานช่ัวคราวของสานักงานการประถมศึกษาอาเภอเมืองแพร่ (สปอ.เมอื งแพร่ เดิม ) เป็นอาคารสานักงานชวั่ คราว ตั้งอยู่ท่ี 13 ถนนสันเหมืองหลวง ตาบลในเวียง อาเภอเมืองแพร่ จงั หวดั แพร่ ต้ังแตว่ นั ท่ี 26 พฤศจิกายน 2546 ถึงวนั ท่ี 11 กรกฎาคม 2548 ต่อมา นายเกษม ใจสบุ รรณ ผูอ้ านวยการโรงเรยี นบ้านดง ตาบลสวนเขอ่ื น อาเภอเมอื ง จังหวัดแพร่ ประธานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้เข้าพบ พระมหาโพธิวงศาจารย์ ที่ปรึกษา เจ้าคณะภาค 6 เพื่อขอ เขา้ ไปดูพืน้ ทตี่ ง้ั ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษแห่งใหม่ ท่ีองค์การบริหารส่วนตาบลนาจักร บริเวณสนามทางทิศใต้และบริเวณ ด้านทิศเหนือของร้านทุ่งแก้ว โดยมีพ้ืนท่ีประมาณ 4-6 ไร่ ท้ังน้ี พ้ืนท่ีตรงองค์การบริหารส่วนตาบลนาจักร ไม่สามารถ ขอใช้พ้ืนตรงนี้ได้ เน่ืองจากอยู่ในข้ันของการดาเนินคดีของศาล จากน้ันได้ปรึกษานายมาด เหมืองจา กานันตาบล นาจกั ร ขอใชพ้ นื้ ท่ีตรงรา้ นทุ่งแก้ว ด้านกานนั ได้ให้ความเห็นวา่ พ้ืนท่ตี รงนนั้ ไม่เหมาะสมตอ่ ส่งิ ปลูกสรา้ ง ประวัตคิ วามเปน็ มาการจัดตัง้ ศูนย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจงั หวัดแพร่ โดย...งานประชาสัมพันธ์
[๕] นายเกษม ใจสบุ รรณ ประธานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จึงเข้าพบกับนายสุรศักด์ิ หงส์ทอง นายกองค์การ บริหารสว่ นตาบลนาจักร รว่ มปรกึ ษาหารือเพื่อสรรหาสถานทต่ี ั้งศูนย์การศึกษาพิเศษแห่งใหม่ โดยนายสุรศักดิ์ หงส์ทอง นายกองค์การบริหารส่วนตาบลนาจักร แนะนาพ้ืนท่ีซึ่งอยู่บริเวณใกล้ กับโรงเรียน การศกึ ษาพเิ ศษ ปจั จบุ นั คือโรงเรยี นแพรป่ ัญญานุกูล จังหวดั แพร่ พร้อมกันนี้ นายธนพันธ์ สุริยาศรี หัวหน้าศูนย์การศึกษาพิเศษ นายเกษม ใจสุบรรณ ประธาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และนายสุรศักดิ์ หงส์ทอง นายกองค์การบริหารส่วนตาบลนาจักร ได้เข้าพบ นายทวีศักดิ์ ล้อบุณยารักษ์ กรรมการโครงการกาดน้าทอง เพื่อขอรับบริจาคท่ีดินเพ่ือจัดต้ังศูนย์การศึกษาพิเศษ แหง่ ใหม่ โดยกรรมการโครงการกาดน้าทอง ๓ ท่าน คือ ๑) นายบุ้นกมิ้ แซ่ลม้ิ ๒) นายทวศี ักด์ิ ลอ้ บุณยารกั ษ์ ๓) นายวินยั สราญจติ กุล ร่วมประชุมกับหุ้นส่วน และลงความเห็นร่วมกัน คือ ประสงค์มอบท่ีดินดังกล่าวจัดต้ังศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจงั หวดั แพร่ จนถึงปจั จบุ ันน้ี จานวน ๕ ไร่ ๓ งาน ๑๗ ตารางวา ประวตั ิความเป็นมาการจัดต้ังศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจังหวัดแพร่ โดย...งานประชาสมั พันธ์
[๖] แบบแสดงความจานงบริจาคของนายบ้นุ ก้ิม แซ่ลิ้ม ประวตั คิ วามเป็นมาการจดั ต้งั ศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษ ประจาจงั หวัดแพร่ โดย...งานประชาสัมพนั ธ์
[๗] แบบแสดงความจานงบรจิ าคของนายทวีศักดิ์ ล้อบณุ ยารักษ์ ประวัตคิ วามเปน็ มาการจัดต้ังศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวดั แพร่ โดย...งานประชาสัมพนั ธ์
[๘] แบบแสดงความจานงบริจาคของนายวนิ ยั สราญจิตกุล โดยทาการมอบที่ดินเม่ือในวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๖ โดยมี นายธีระ จันทรรัตน์ ผู้อานวยการ สานักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ เป็นผู้รับมอบ วันท่ี ๕ ธันวาคม ๒๕๔๗ นายธนพันธ์ สุริยาศรี ผู้อานวยการศูนย์ การศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวดั แพร่ ทาพิธีลงเสาเอก การก่อสร้างอาคารเรียนกึ่งถาวร แล้วเสร็จและส่งมอบอาคาร เรยี นกึ่งถาวร เม่ือวันท่ี ๓๐ มนี าคม ๒๕๔๘ และวนั ท่ี ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๔๘ ศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจงั หวดั แพร่ จัดพิธีทาบุญเปิดอาคารเรียนก่ึงถาวรอาคารหลังใหม่ โดยมี นายสันทัด จัตุชัย ผู้ว่าราชการจังหวัดแพร่ เป็นประธานฝ่ายฆราวาส และพระมหาโพธิวงศาจารย์ ที่ปรึกษา เจ้าคณะภาค 6 เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ ร่วมกับ นายประหยัด ทรงคา ผู้อานวยการศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 8 จังหวัดเชียงใหม่ ตลอดจนผู้อานวยการ สถานศกึ ษาในจังหวดั แพร่ และศนู ย์การศกึ ษาพิเศษประจาจังหวัดใกล้เคียงรว่ มในพิธี ประวัตคิ วามเปน็ มาการจัดตั้งศนู ย์การศกึ ษาพิเศษ ประจาจงั หวัดแพร่ โดย...งานประชาสัมพันธ์
[๙] ปจั จุบันศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวัดแพร่ ตั้งอยู่เลขท่ี 444/6 หมู่ 9 ตาบลนาจกั ร อาเภอเมืองแพร่ จงั หวัดแพร่ 54000 หมายเลขโทรศัพท์ท่ีสามารถติดต่อได้ 054-653281 โทรสาร 054-653280 บรหิ ารสถานศกึ ษาโดย นางบุณยรักษ์ ภูพ่ ฒั น์ ตาแหนง่ ผู้บริหารสถานศกึ ษา วทิ ยฐานะ ชานาญการพิเศษ ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวัดแพร่ ประกาศจดั ต้ัง โดยประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง ตง้ั ศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวดั ประกาศ ณ วนั ท่ี 31 กรกฎาคม พ.ศ.2543 ชอ่ื ผู้ปฎิบตั ิหน้าท่ี ชื่อ-สกลุ ตาแหน่ง ระยะเวลาในการดารง จานวนเวลาในการ ตาแหนง่ ดารงตาแหนง่ ผูอ้ านวยการโรงเรียนศกึ ษา วันท่ี 31 กรกฎาคม 2 ปี นางพกิ ลุ เลียวสิรพิ งศ์ พิเศษแพร่ ปฏิบตั ิหนา้ ท่หี ัวหนา้ พ.ศ. 2543 ถงึ ศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ วันท่ี 28 เมษายน 1 ปี พ.ศ. 2545 2 เดือน ประจาจงั หวัดแพร่ วนั ท่ี 29 เมษายน ปฏบิ ัตหิ น้าท่ีหัวหนา้ ศนู ย์ พ.ศ. 2545 ถงึ วนั ที่ 26 มิถุนายน นายธนพนั ธ์ สรุ ยิ าศรี ศูนย์การศึกษาพเิ ศษ พ.ศ. 2546 ประจาจงั หวดั แพร่ ประวตั คิ วามเป็นมาการจดั ต้งั ศนู ย์การศกึ ษาพิเศษ ประจาจงั หวัดแพร่ โดย...งานประชาสัมพนั ธ์
[๑๐] ชอื่ ผู้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการ ช่อื -สกลุ ตาแหน่ง ระยะเวลาในการดารง จานวนเวลาใน ตาแหน่ง การดารงตาแหนง่ นายธนพนั ธ์ สรุ ิยาศรี หัวหน้าศนู ย์การศึกษาพิเศษ วันท่ี 27 มถิ นุ ายน 2546 ถึง 1 ปี 6 เดอื น ประจาจงั หวดั แพร่ วันที่ 23 ธันวาคม 2547 นายธนพนั ธ์ สรุ ยิ าศรี ผ้อู านวยการศนู ย์การศึกษา วันท่ี 24 ธันวาคม 2547 ถึง 7 ปี 11 เดอื น พิเศษ ประจาจงั หวัดแพร่ วันที่ 18 ธนั วาคม 2555 นางบณุ ยรักษ์ ภูพ่ ฒั น์ ผอู้ านวยการศูนย์การศึกษา วันท่ี 19 ธันวาคม 2555 - พิเศษ ประจาจงั หวัดแพร่ จนถึงปัจจบุ ัน สถานทต่ี ัง้ ศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่(ตามลาดบั ) ทตี่ งั้ ระยะเวลาในการใชส้ ถานท่ี เน้ือท่ี ( ไร่-งาน-ตารางวา ) ปี 2542 ถึง สานกั งานชั่วคราวตั้งอยู่ท่ี โรงเรยี นแพรป่ ญั ญานุกุล จังหวดั แพร่ เลขที่ 444 หมู่ 9 ตาบลนาจักร อาเภอ วันท่ี 25 พฤศจกิ ายน 2546 อาคารเรยี นก่ึงถาวร เมอื ง จังหวดั แพร่ 54000 รวมเวลา 3 ปี จานวน 2 ห้อง สานกั งานการประถมศึกษา ตั้งแต่ วนั ท่ี 26 พฤศจิกายน เปน็ สานักงานอาคารชว่ั คราว อาเภอเมืองแพร่ (สปอ.เมืองแพร)่ 2546 ถงึ ของสานักงานการ เลขท่ี 13 ถนนสนั เหมอื งหลวง ตาบลในเวียง อาเภอเมืองแพร่ วนั ที่ 11 กรกฎาคม 2548 ประถมศึกษาอาเภอเมืองแพร่ จังหวดั แพร่ 54000 รวมเวลา 1 ปี 7 เดือน (สปอ.เมืองแพร่) อาคาร 2 ช้นั ศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ ต้ังแต่ วนั ที่ 12 กรกฎาคม มีเนอื้ ที่ ตง้ั อยู่ เลขที่ 444/6 หมู่ 9 2548 จนถงึ ปจั จุบัน รวมเวลา 5 ไร่ 3 งาน 17 ตารางวา ตาบลนาจกั ร อาเภอเมืองแพร่ จังหวดั แพร่ 54000 13 ปี 6 เดือน ประวัติความเปน็ มาการจัดตงั้ ศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษ ประจาจงั หวัดแพร่ โดย...งานประชาสมั พนั ธ์
[๑๑] จากใจผู้บริหาร นางพิกุล เลียวสิรพิ งศ์ ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจงั หวดั แพร่ ข้าพเจ้านางพิกุล เลียวสิริพงศ์ ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนศึกษาพิเศษแพร่ ได้มาดารง ตาแหน่ง ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๒ ถึง พ.ศ. ๒๕๔๔ หลังจากที่ข้าพเจ้าได้มา ปฏิบัติหน้าที่ ข้าพเจ้าได้ดาเนินการ มอบหมายให้ นางภาวนา จันทราภานนท์ ตาแหน่ง ครู หัวหน้าฝ่ายวิชาการ ได้ร่วมช่วยเหลือ แนะนา ค้นหานักเรียน และเป็นที่ปรึกษาการจัดการศึกษาพิเศษในยุคน้ี โดยมีข้าพเจ้า นางพิกุล เลียวสิริพงศ์ เป็นผู้ขับเคลื่อนคุณภาพ โดยอาศัยห้องเรียน อาคารเรียน 1 ช้ัน 2 โรงเรียนศึกษาพิเศษแพร่ เป็นสานักงานช่วั คราว ประวตั คิ วามเปน็ มาการจัดต้ังศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวดั แพร่ โดย...งานประชาสมั พนั ธ์
[๑๒] จากใจผู้บรหิ าร นายธนพันธ์ สุรยิ าศรี ศูนย์การศกึ ษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ ขา้ พเจ้า นายธนพันธ์ สุริยาศรี ตาแหน่ง อาจารย์ 2 ระดับ 7 ได้มาดารงตาแหน่ง ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ เมอื่ วันท่ี 29 เมษายน 2545 ถึง วนั ที่ 18 ธันวาคม 2555 หลังจากท่ีข้าพเจ้าได้มาปฏิบัติหน้าท่ี ขา้ พเจ้าไดด้ าเนนิ การ จัดหาท่ีต้ังสานักงาน ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ โดยประสานเครือข่ายภาครัฐ และเอกชน ให้มีพ้ืนที่จัดต้ังศูนย์การศึกษาพิเศษ โดยได้รับความอนุเคราะห์จาก นางพิกุล เลียวสิริพงศ์ ผู้อานวยการ โรงเรียนศึกษาพิเศษแพร่ ในขณะนั้น ให้ใช้อาคารเรียน 1 ชั้น 2 จานวน 1 ห้องเป็นสานักงานบริหารช่ัวคราว จากนั้นไดเ้ ลง็ เหน็ วา่ พ้ืนทท่ี ่ใี ชค้ บั แคบต่อการบริหารจัดการ จึงเห็นชอบให้ใช้ห้องเรียนอาคารเรียนชั่วคราวก่ึงถาวร จานวน 2 ห้อง เพื่อเป็นห้องปฏิบัติการฟ้ืนฟูเด็กพิการ 1 ห้อง ห้องสานักงานเพื่อบริหารจัดการจานวน 1 ห้อง จึงทาให้ขับเคล่ือนภารกิจได้ดีข้ึน ระหว่างน้ันข้าพเจ้าได้สรรหาที่ตั้ง โดยได้รับบริจาคพื้นท่ีจากหุ้นส่วนโครงการ กาดนา้ ทอง บรจิ าคพื้นท่ใี ห้จานวน 5 ไร่ 3 งาน 17 ตารางวา หุ้นส่วนโครงการกาดนา้ ทอง ประกอบดว้ ย 1.นายบุ้นก้มิ แซ่ลิ้ม 2.นายทวีศักด์ิ ลอ้ บณุ ยารักษ์ 3.นายวนิ ัย สราญจติ กุล ให้ใช้พ้ืนท่ีเป็นท่ีก่อสร้างอาคาร ส่ิงปลูกสร้าง อาคารเรียนและอาคารสานักงาน ในปี 2542 กระทรวงศึกษาธิการ ได้เสนอมาตรการจัดการศึกษาเพื่อให้คนพิการ ต่อคณะรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรีได้ประชุมปรึกษา เม่ือวันที่ 6 กรกฎาคม 2542 และได้ลงมติเห็นชอบในหลักการมาตรการจัดการศึกษาพิเศษ และได้ดาเนินการตามที่ กระทรวงศกึ ษาธิการเสนอ ซึ่งในแผนดังกล่าวได้กาหนด เป็นนโยบายและมาตรการด้านบริการว่า จัดให้มีศูนย์ หรือหน่วยงานบริการให้คาปรึกษา แนะนาวินิจฉัยความพิการตลอดจนช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม แก่คนพิการทุกวัย และครอบครัวในระยะเร่งด่วน ด้านโครงสร้างบริหารการจัดการศึกษาเพ่ือคนพิการ คือให้มีศูนย์การศึกษา พิเศษ ประจาจังหวัด ทาหน้าทเ่ี ป็นศูนยเ์ ตรยี มการนานโยบายไปสกู่ ารปฏิบตั ิจัดทาและจดั สรรงบประมาณให้แก่ สถานศึกษา ประสานกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในพื้นท่ีให้บริการ การศึกษา บาบัดฟื้นฟู และดาเนินการส่งต่อ โรงเรยี นและชมุ ชน โดยในชว่ งนน้ั มเี งื่อนไขคือ ให้โรงเรียนศึกษาพิเศษในสังกัดกรมสามัญศึกษา ใน 35 จังหวัด ทาหน้าที่เปน็ ศนู ย์การศึกษาพิเศษ ประจาจงั หวดั และเลอื กโรงเรียนอ่นื ท่ีเหมาะสมในอีก 40 จังหวดั ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ สังกัดสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โดยอยู่ในเขตพ้ืนที่การศึกษาภาคเหนือตอนบนของเขต การศึกษาท่ี 8 จัดต้ังขึ้นตามมติของคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ.2542 ได้เห็นชอบในหลักการของ การจัดการศึกษาเพ่ือคนพิการ โดยอนุมัติให้กระทรวงศึกษาธิการดาเนินการและจัดโครงสร้างการบริหารงาน การจัดการ ของศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัด โดยทาหน้าท่ี เป็นศูนย์กลางการนานโยบายไปสู่การปฏิบัติ โดยจัดทาและจดั สรรงบประมาณใหแ้ ก่สถานศึกษาประสานงานกับหน่วยงานทีเ่ ก่ียวข้องในเขตพืน้ ทที่ รี่ บั ผดิ ชอบ ประวตั คิ วามเป็นมาการจดั ตงั้ ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจงั หวดั แพร่ โดย...งานประชาสัมพันธ์
[๑๓] ในการให้บริการการชว่ ยเหลอื ระยะแรกเร่ิม และเตรียมความพร้อมทางการศึกษาการบาบัดฟ้ืนฟู ดาเนินงานระบบ ส่งตอ่ การสนับสนุน การจัดสื่อ สงิ่ อานวยความสะดวกตา่ ง ๆ ใหแ้ กผ่ ูพ้ ิการ สถานศกึ ษา ชุมชน หนว่ ยงานท่เี ก่ยี วข้อง สาหรับจังหวัดแพร่ ทางกรมสามัญศึกษาได้มอบหมายให้ นางพิกุล เลียวสิริพงษ์ ผู้อานวยการ โรงเรียนศึกษาพิเศษแพร่ ในขณะนั้นปฏิบัติหน้าที่ หัวหน้าศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ สานักงาน ชัว่ คราวตั้งอย่ทู ี่อาคารเรียนกง่ึ ถาวร จานวน 2 ห้อง โดยเปน็ หอ้ งสานักงาน และหอ้ งกายภาพบาบัด ในปี พ.ศ. 2545 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศอนุมัติการกาหนดตาแหน่งหัวหน้าศูนย์การศึกษาพิเศษ ท่ี ศธ 1305/980 ลงวันที่ 6 ธนั วาคม 2545 โดยใหบ้ ริหารศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจาจังหวัด และได้แต่งตั้งให้ นายธนพันธ์ สุริยาศรี อดีตหัวหน้าศูนย์ในปีพุทธศักราช 2545 และได้เล่ือนตาแหน่งเป็นผู้อานวยการศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจา จังหวดั แพร่ ในรุ่นบกุ เบกิ ปจั จุบันน้ีท่านป่วยและมีภาวะกล้ามเน้ืออ่อนแรงไม่สามารถบอกเล่ากระบวนการทางาน จากที่ไม่มีอะไรเลย จนมีพ้ืนดินในการก่อสร้างศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ ณ ปัจจุบันนี้ ซึ่งข้าพเจ้า จะขอบอกกล่าวแทนท่านผู้อานวยการธนพันธ์ สุริยาศรี ในครั้งน้ี เพื่อส่งเสริมน้อมนาผลบุญ และกุศลท่ีข้าพเจ้า และน้อง ๆ ไดม้ สี ว่ นพัฒนาศนู ย์การศกึ ษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ ให้มีความเจริญรุ่งเรือง ก้าวหน้าเพ่ือช่วยเหลือ คนพิการในจังหวัดแพร่ ให้มีศักยภาพ พัฒนาคุณภาพด้านการศึกษาเด็กพิเศษ เคียงคู่ไปกับการจัดการศึกษา ของเด็กปกติทวั่ ไปให้เปน็ อีกหนึ่งด้านการศึกษาของคนในจังหวัดแพร่ “ จากก้อนดินเป็นก้อนดาว ”หรือจากดินป้ันเป็นดาว คือคาพูดของ นายธนพันธ์ สุริยาศรี ผู้อานวยการ ได้บอกและย้าเสมอมา เสมือนเป็นส่ิงเตือนใจว่า พวกเราได้ร่วมกันต่อสู้ เพื่อการก่อตั้งสถานศึกษาที่ จะเป็นศูนย์กลางในการขับเคล่ือนการศึกษาพิเศษภายในจังหวัด จากเดิมที่ต้องทางานอยู่ภายใต้การควบคุมดูแล ของผู้อานวยการโรงเรียนศึกษาพิเศษแพร่ ในขณะน้ัน ซึ่งจะเป็นผู้รับผิดชอบกากับการทางานของศูนย์การศึกษา พิเศษ ประจาจังหวัดอีก 1 ตาแหน่ง และเราได้แยกการทางานออกจากโรงเรียน นับตั้งแต่กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศให้มีผู้บริหาร มาดารงตาแหน่ง คนแรกคือนายธนพันธ์ สุริยาศรี โดยมีนายวีระเชษฐ์ ปัญจอริยะกุล เป็นผู้ช่วยหัวหน้าศูนย์ และมีข้าราชการคนแรกคือ นางสาวสุรัชดา สาจักร ซึ่งเป็นบุคคลที่ 3 คือบุคลากรในการ ทางานรุ่นบุกเบิก ร่วมทุกข์ ร่วมสุขในการแสวงหา งบประมาณเพ่ือพัฒนาศูนย์ต้ังแต่แรกเร่ิม จัดทาผ้าป่าเพื่อหา เงนิ มาพฒั นาศนู ยเ์ ปน็ ประจาทกุ ปี และต้องทางานเชิงรุกกบั ประชาชน ชุมชนประสานท่านผ้ใู หญใ่ จดี ของจังหวดั แพร่ เพ่ือจัดหาท่ีดินในการก่อต้ังศูนย์ในช่วงเวลาดังกล่าว ซึ่งส่วนกลาง จะจัดสรรงบให้มาก่อสร้างอาคารสานักงาน ได้ก็ต่อเมื่อ ศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดใด สามารถรายงานเร่ืองการจัดหาที่ดินเป็นของตนเองได้อย่างน้อย ต้องมีพื้นที่จานวน 5 ไร่ข้ึนไปจึงจะได้รับจัดสรรอาคารสานักงานหรือ งบประมาณด้านการลงทุน ซึ่งในปี 2546 จังหวัดแพร่ ได้มีคหบดีท่ีเล็งเห็นคุณค่าและตั้งใจจะพัฒนาเด็กพิเศษของจังหวัดแพร่ ได้มอบที่ดินของตนเอง และกลุ่มเพ่ือนในโครงการกาดน้าทอง เพื่อจัดต้ังเป็นศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ ซึ่งก็คือพื้นท่ีดินท่ีก่อตั้ง ณ ปัจจบุ นั น้ี บคุ คลทม่ี ีอปุ การะคณุ ประกอบดว้ ย คุณทวีศักดิ์ ล้อบุญยารักษ์ คุณวินัย สราญจิตกุล และคุณบุ้นก้ิม แซ่ลิ้ม และท่ีจะไม่กล่าวถึงไม่ได้คือ คุณพ่อเกษม ใจสุบรรณ ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของ ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ ในขณะนั้น พร้อมด้วยผู้อานวยการโรงเรียนศึกษาพิเศษแพร่ และท่าน เจ้าคุณสุจี ประธานสงฆ์รองเจ้าคณะภาค 6 เจ้าอาวาสวัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร เป็นสักขีพยานในการรับมอบ โฉนดท่ีดิน ที่เป็นพื้นนาเดิม และในปี 2547 ได้รับงบก่อสร้างอาคารสานักงานเป็นแบบอาคารเรียนชั่วคราว กึ่งถาวร จานวน 6 ห้องเรียน โดยมีนายธนพันธ์ สุริยาศรีเป็นผู้ควบคุมดูแลในการก่อสร้างอาคารหลังแรก ในปี 2548 ได้รับงบขยายไฟฟ้า ซึ่งทางเข้าศูนย์ฯ เป็นท่ีท่ีดินของเอกชน และต่อมาได้โอนย้ายให้เป็นทางสาธารณะ และได้เปิดทาบุญพร้อมย้ายเข้ามาอยู่ที่ศูนย์แห่งนี้เมื่อปี 2548 ซ่ึงปัจจุบันก็ยังใช้ เป็นอาคารสานักงานและ ดาเนนิ การบาบัดฟื้นฟู ดแู ลเด็กพิเศษระดับเตรียมความพร้อม ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กพิเศษและประชาชนทั่วไป ของจังหวัดแพร่ เป็นต้นมา ประวตั ิความเป็นมาการจัดตง้ั ศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษ ประจาจงั หวดั แพร่ โดย...งานประชาสัมพนั ธ์
[๑๔] จากใจผู้บริหาร นางบุณยรกั ษ์ ภพู่ ัฒน์ ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจาจงั หวัดแพร่ ปัจจบุ นั นางบณุ ยรักษ์ ภูพ่ ฒั น์ ผอู้ านวยศนู ย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดพิจิตร ได้ย้ายมา ดารงตาแหน่ง ผอู้ านวยศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวดั แพร่ ตง้ั แต่วันท่ี 19 ธนั วาคม 2555 จนถึงปัจจุบัน ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ เร่ิมต้นท่ีมีแต่ความเป็นพี่เป็นน้อง ห่วงใยเอื้ออาทร ร่วมคิดร่วมสร้าง ด้วยจิตใจแห่งความใฝ่พฒั นาในทุกๆดา้ นไปด้วยกัน กว่าจะถึงวันนี้ วันท่ีศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ ไดพ้ ัฒนาในหลายๆ ด้าน คือด้านพื้นที่ อาคารสิ่งปลูกสร้าง ได้พัฒนาอย่างเป็นรูปธรรม และมีบุคลากรเพิ่มมากข้ึน เร่ิมมีความเข้มแข็ง เด็กพิการได้รับการพัฒนา คลอบคลุมทุกพื้นท่ีตามวัตถุประสงค์ นโยบายของสานัก บริหารงานการศึกษาพิเศษอย่างแท้จริง ขอบคุณบุคลากร และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายท่ีร่วมกันพัฒนา ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ ได้มีความก้าวหน้าในคุณภาพการจัดการศึกษาสาหรับเด็กพิการ โดยแท้จรงิ เช่น ในอดตี ถงึ ปัจจบุ นั โดยปัจจบุ นั มคี รุภัณฑ์ สิ่งปลกู สร้างถาวรเพิ่มขนึ้ มากมาย ดังน้ี ปงี บประมาณ 2556 รถตู้ 12 ทีน่ ั่ง จานวน 1 คนั ปีงบประมาณ 2558 ก่อสร้างร้ัวโครงสร้างเหล็กกล่องกรวง และก่อสร้างปรับปรุงรั้วคอนกรีตเสริมเหล็ก ปงี บประมาณ 255๙ บา้ นพักครู ๒๐๗ อาคาร ๒ ชัน้ จานวน 1 หลัง ปีงบประมาณ 255๙ ปอ้ มยาม จานวน 1 หลัง ปงี บประมาณ 2560 บา้ นพักครแู บบแฟต 8 หนว่ ย จานวน 1 หลงั ปีงบประมาณ 256๐ หอถงั นา้ ขนาด ๑๘/๑๒ จานวน 1 หลัง ปงี บประมาณ 2561 อาคารเอนกประสงค์ 3 ช้ัน จานวน 1 หลัง ทั้งน้ี ยังได้รับบริจาคดินถมเพื่อปลูกสร้างอาคาร จากโรงพยาบาลแพร่ ในการเตรียมก่อสร้าง อาคารเอนกประสงค์ 3 ชั้น แม้ด้วยภารกิจในข้อจากัดท่ีต้องสร้างคุณภาพผู้เรียน คุณภาพครู คุณภาพอาคาร สถานที่ ข้าพเจ้าลว้ นได้รบั ความรว่ มมือจากเครอื ข่ายและผมู้ ีส่วนเก่ียวข้องท้ังสนิ้ ประวตั คิ วามเป็นมาการจดั ตง้ั ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจาจงั หวัดแพร่ โดย...งานประชาสมั พันธ์
[๑๕] ประมวลภาพการจัดตง้ั ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจงั หวัดแพร่ เลขที่ 444/6 หมู่ 9 ตาบลนาจักร อาเภอเมือง จังหวัดแพร่ สถานที่ก่อต้ังศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ สานักงานชั่วคราวต้ังอยู่ท่ีโรงเรียนศึกษาพิเศษแพร่ ปัจจุบันคือ โรงเรียนแพร่ปัญญานุกูล จังหวัดแพร่ อาคารเรียนกึ่งถาวร จานวน 2 ห้อง 444 ม.9 ตาบลนาจักร อาเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ ปี 2542 ถึง วนั ที่ 25 พฤศจิกายน 2546 รวมเวลา 3 ปี ประวตั คิ วามเปน็ มาการจดั ต้งั ศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจงั หวดั แพร่ โดย...งานประชาสัมพันธ์
[๑๖] สถานท่ีก่อต้ังศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ สานักงานอาคารช่ัวคราวของสานักงานการ ประถมศึกษาอาเภอเมืองแพร่ (สปอ.เมืองแพร่) อาคาร 2 ช้ัน เลขที่ 13 ถนนสันเหมืองหลวง ตาบลในเวียง อาเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ 54000 ตั้งแต่ วันท่ี 26 พฤศจิกายน 2546 ถึง วันที่ 11 กรกฎาคม 2548 รวมเวลา 1 ปี 7 เดอื น ประวตั คิ วามเปน็ มาการจดั ตั้งศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจังหวดั แพร่ โดย...งานประชาสัมพนั ธ์
[๑๗] สถานทก่ี ่อต้ังปัจจบุ ันศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจังหวดั แพร่ ตั้งอย่เู ลขที่ 444/6 หมู่ 9 ตาบลนาจักร อาเภอเมืองแพร่ จงั หวัดแพร่ 54000 มเี นื้อที่ 5 ไร่ 3 งาน 17 ตารางวา อาคารเรยี นก่ึงถาวร ชั้นเดยี ว ด้วยเงนิ จานวน 1,600,000.- (หนงึ่ ล้านหกแสนบาทถ้วน) งบประมาณ ปี 2547 ประวัติความเป็นมาการจดั ต้งั ศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจังหวัดแพร่ โดย...งานประชาสมั พันธ์
[๑๘] อาจารย์ธานินทร์ จากสานักงานส่ิงแวดล้อม สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ เข้ามาดูบริเวณ พื้นท่ีจะดาเนินการก่อสร้างศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ โดยมีนายทวีศักดิ์ ล้อบุณยารักษ์ ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และนายธนพันธ์ สุริยาศรี ผู้อานวยการศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจงั หวดั แพร่ ใหก้ ารต้อนรบั ประวัตคิ วามเป็นมาการจดั ตั้งศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ โดย...งานประชาสมั พันธ์
[๑๙] กรรมการโครงการกาดนา้ ทอง ๓ ท่าน คอื ๑) นายทวศี ักด์ิ ล้อบณุ ยารักษ์ ๒) นายบนุ้ ก้ิม แซ่ลิ้ม ๓) นายวินัย สราญจติ กุล มอบที่ดนิ เพ่ือจัดตัง้ ศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ จานวน ๕ ไร่ ๓ งาน ๑๗ ตารางวา โดยทาการมอบท่ดี ินเม่ือในวนั ท่ี ๑๙ กันยายน ๒๕๔๖ โดยมี นายธรี ะ จนั ทรรัตน์ ผูอ้ านวยการ สานักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ เปน็ ผู้รับมอบ เพื่อสรา้ งศูนยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ ประวตั คิ วามเป็นมาการจดั ตง้ั ศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจังหวดั แพร่ โดย...งานประชาสมั พนั ธ์
[๒๐] ในปี พ.ศ.๒๕๔๗ เจ้าหนา้ ทกี่ องออกแบบและแผนงานก่อสรา้ ง จากสานกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ สารวจบริเวณสถานทเ่ี พ่ือทาการก่อสร้างอาคารเรียนก่ึงถาวร ช้ันเดียว ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวัดแพร่ ประวตั ิความเป็นมาการจดั ต้ังศูนย์การศกึ ษาพิเศษ ประจาจงั หวดั แพร่ โดย...งานประชาสมั พนั ธ์
[๒๑] ในปี พ.ศ.๒๕๔๗ เจา้ หนา้ ท่ีกองออกแบบและแผนงานก่อสร้าง จากสานกั บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ สารวจบรเิ วณสถานท่ีก่อสรา้ งอาคารเรยี นกึ่งถาวร ชัน้ เดียว ศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจงั หวดั แพร่ ประวตั คิ วามเปน็ มาการจดั ตงั้ ศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจาจงั หวดั แพร่ โดย...งานประชาสัมพนั ธ์
[๒๒] ในปี พ.ศ. ๒๕๔๗ คณะครูและนักศกึ ษาแผนกช่างสารวจ จากวิทยาลัยเทคนิคแพร่ ทาการสารวจวัดระดับพน้ื เพอ่ื ทาการก่อสร้างอาคารเรยี นก่งึ ถาวร ชั้นเดียว ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวัดแพร่ ประวัติความเป็นมาการจดั ตง้ั ศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษ ประจาจงั หวัดแพร่ โดย...งานประชาสัมพนั ธ์
[๒๓] ในปี พ.ศ.๒๕๔๗ คณะครแู ละนักศึกษาวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีแพร่ ทาการชว่ ยกนั ขดุ หลมุ ทาแนวกัน้ รัว้ พนื้ ท่ี เพื่อทาการก่อสร้างอาคารเรียนกึ่งถาวร ชน้ั เดียว ศนู ย์การศกึ ษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ ประวัติความเปน็ มาการจัดตงั้ ศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจาจงั หวดั แพร่ โดย...งานประชาสมั พันธ์
[๒๔] ในปี พ.ศ.๒๕๔๗ นายธนพันธ์ สรุ ิยาศรี ผอู้ านวยการศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวดั แพร่ ช้สี ถานทกี่ ่อสร้างอาคารเรียนกึ่งถาวร ชัน้ เดียว ให้กับผู้รับเหมาก่อสรา้ ง ประวัติความเป็นมาการจัดต้งั ศูนย์การศกึ ษาพิเศษ ประจาจงั หวัดแพร่ โดย...งานประชาสัมพนั ธ์
[๒๕] ในปี พ.ศ.๒๕๔๗ ถมดินทาถนนทางเขา้ ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวดั แพร่ ประวตั ิความเป็นมาการจดั ต้งั ศนู ย์การศึกษาพิเศษ ประจาจงั หวดั แพร่ โดย...งานประชาสมั พนั ธ์
[๒๖] ในปี พ.ศ.๒๕๔๗ ปรบั หน้าดนิ ทาถนนทางเข้า ศนู ย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ ประวัติความเปน็ มาการจดั ต้งั ศูนย์การศกึ ษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ โดย...งานประชาสัมพนั ธ์
[๒๗] ในปี พ.ศ.๒๕๔๗ ถนนทางเข้า ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวัดแพร่ ประวตั ิความเป็นมาการจัดตง้ั ศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ โดย...งานประชาสมั พนั ธ์
[๒๘] ในปี พ.ศ.๒๕๔๗ ถนนทางเข้า ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวัดแพร่ ประวตั ิความเป็นมาการจัดตง้ั ศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ โดย...งานประชาสมั พนั ธ์
[๒๙] ในปี พ.ศ.๒๕๔๗ ที่ดนิ ทาการก่อสรา้ งอาคารเรยี นก่ึงถาวร ช้นั เดียว ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวัดแพร่ พรอ้ มถมท่ีปรบั หนา้ ดนิ เตรยี มลงเสาเข็ม ประวตั ิความเปน็ มาการจัดตั้งศนู ย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ โดย...งานประชาสมั พนั ธ์
[๓๐] ที่ดินทาการก่อสรา้ งอาคารเรยี นก่งึ ถาวร ช้นั เดยี ว ศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจาจงั หวดั แพร่ พร้อมลงเสาเข็มการก่อสรา้ งอาคารเรียนก่งึ ถาวร ประวัติความเปน็ มาการจัดตั้งศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษ ประจาจงั หวดั แพร่ โดย...งานประชาสมั พนั ธ์
[๓๑] เม่ือวันท่ี 5 ธันวาคม 2547 นายธนพันธ์ สรุ ิยาศรี ผูอ้ านวยการศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษ ประจาจงั หวัดแพร่ ทาพธิ ลี งเสาเอก การก่อสร้างอาคารเรยี นกง่ึ ถาวร ประวตั ิความเปน็ มาการจัดต้งั ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจงั หวดั แพร่ โดย...งานประชาสมั พนั ธ์
[๓๒] ในปี พ.ศ.๒๕๔๗ ทาการเทพ้ืนคอนกรีตก่อสร้างอาคารเรยี นก่งึ ถาวร ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวัดแพร่ ประวตั ิความเป็นมาการจัดตัง้ ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจงั หวดั แพร่ โดย...งานประชาสัมพนั ธ์
[๓๓] เดือน ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๗ นายทวีศักด์ิ ล้อบุณยารกั ษ์ และนายวินยั สราญจติ รกุล ผู้มีอุปการคณุ เข้ามาติดตามเยี่ยมชมการก่อสรา้ งอาคารเรยี นกง่ึ ถาวร ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจงั หวัดแพร่ ประวตั คิ วามเปน็ มาการจัดตัง้ ศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจงั หวดั แพร่ โดย...งานประชาสัมพนั ธ์
[๓๔] ทาการหล่อเสาเทคานและก่อพนงั ดา้ นข้างอาคารเรยี นกึ่งถาวร ประวัตคิ วามเปน็ มาการจดั ตั้งศูนยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ โดย...งานประชาสัมพนั ธ์
[๓๕] ทาการก่อสรา้ งขน้ึ โครงหลังคาอาคารเรียนชวั่ คราวก่ึงถาวร ประวัตคิ วามเปน็ มาการจดั ต้ังศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจงั หวดั แพร่ โดย...งานประชาสัมพนั ธ์
[๓๖] โครงสรา้ งหลงั คาอาคารเรยี นชว่ั คราวก่งึ ถาวร ประวตั ิความเปน็ มาการจัดตัง้ ศูนย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวัดแพร่ โดย...งานประชาสัมพนั ธ์
[๓๗] ทาการปรบั ทางเดินด้านหน้าและดา้ นขา้ งอาคารเรยี นชัว่ คราวกงึ่ ถาวร ประวตั คิ วามเปน็ มาการจัดตั้งศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวดั แพร่ โดย...งานประชาสมั พนั ธ์
[๓๘] ทาการปูพน้ื กระเบื้องและปูฉนวนกนั ความรอ้ นหลังคาอาคารเรียนชวั่ คราวกงึ่ ถาวร ประวัตคิ วามเป็นมาการจัดตั้งศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจังหวัดแพร่ โดย...งานประชาสมั พนั ธ์
[๓๙] ตวั อาคารเรียนช่วั คราวก่ึงถาวร ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจงั หวัดแพร่ ประวตั คิ วามเปน็ มาการจัดตงั้ ศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ โดย...งานประชาสมั พนั ธ์
[๔๐] เม่อื วนั ท่ี 30 มีนาคม 2548 ทาการกอ่ สรา้ งเสรจ็ เรยี บรอ้ ย ผ้รู บั เหมาก่อนสรา้ งสง่ มอบอาคารเรียนช่วั คราวกงึ่ ถาวร ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจาจงั หวดั แพร่ ประวัติความเป็นมาการจดั ตง้ั ศูนย์การศกึ ษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ โดย...งานประชาสัมพนั ธ์
[๔๑] ปี พ.ศ.๒๕๔๘ ทาการก่อสร้างต่อเติมห้องน้า-หอ้ งส้วม 6 ที 127 สาหรับเด็กพิการ โดย หจก.แพร่เมืองแก้ว ประวัตคิ วามเป็นมาการจดั ต้ังศูนย์การศกึ ษาพิเศษ ประจาจงั หวดั แพร่ โดย...งานประชาสัมพันธ์
[๔๒] ปี พ.ศ.๒๕๔๘ ทาการก่อสรา้ งต่อเตมิ หอ้ งน้า-ห้องส้วม 6 ที่ 127 เดก็ พิการสาเร็จเรยี บร้อย และทาการตรวจรับ ประวตั ิความเปน็ มาการจดั ตงั้ ศนู ย์การศึกษาพิเศษ ประจาจงั หวัดแพร่ โดย...งานประชาสมั พันธ์
[๔๓] ทาการตั้งเสาไฟฟูาและตดิ ตั้งหม้อแปลงไฟฟูา โดยสานกั งานการไฟฟูาสว่ นภูมภิ าคจงั หวัดแพร่ ปี พ.ศ.๒๕๔๗ ประวัติความเปน็ มาการจัดตั้งศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจงั หวดั แพร่ โดย...งานประชาสมั พันธ์
[๔๔] การต้ังเสาไฟฟูาและติดต้ังหม้อแปลงไฟฟูา โดยสานักงานการไฟฟาู สว่ นภมู ภิ าคจงั หวัดแพร่ เข้าศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจงั หวัดแพร่ ปี พ.ศ.๒๕๔๗ ประวตั ิความเป็นมาการจดั ต้งั ศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจังหวดั แพร่ โดย...งานประชาสมั พนั ธ์
[๔๕] การต้ังเสาไฟฟูาและติดต้ังหม้อแปลงไฟฟูา โดยสานักงานการไฟฟาู สว่ นภมู ภิ าคจงั หวัดแพร่ เข้าศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจงั หวัดแพร่ ปี พ.ศ.๒๕๔๗ ประวตั ิความเป็นมาการจดั ต้งั ศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจังหวดั แพร่ โดย...งานประชาสมั พนั ธ์
[๔๖] ทาการขุดเจาะบอ่ บาดาล โดย หจก.ลาปางบาดาล ปี พ.ศ.๒๕๔๘ ประวัติความเปน็ มาการจดั ต้งั ศนู ย์การศกึ ษาพิเศษ ประจาจงั หวดั แพร่ โดย...งานประชาสัมพนั ธ์
[๔๗] ทาการขดุ เจาะบ่อบาดาล ควบคุมการขุดเจาะ โดยเจา้ หนา้ ท่ีกรมทรพั ยากรนา้ บาดาลจงั หวัดแพร่ ปี พ.ศ.๒๕๔๘ ทาการสง่ มอบเม่ือวันท่ี 30 มนี าคม พ.ศ.2548 ประวัติความเป็นมาการจดั ตง้ั ศูนย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจงั หวดั แพร่ โดย...งานประชาสมั พนั ธ์
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133