บาลีไวยากรณ์ แบง่ เป็น ๔ ภาค กอ่ นคือ อักขรวิธี วจวี ิภาค วากยสมั พันธ์ ฉนั ทลักษณะ ฯ1. อกั ขรวิธี วา่ ดว้ ยเรื่องอักษร แบง่ เป็น ๒ คือ สมญั ญาภธิ าน และ สนธิ2. สมญั ญาภิธาน วา่ ดว้ ย ชอ่ื อักษร ทเี่ ป็นสระและพยญั ชนะ พรอ้ มท้ังฐานกรณ์.3. เนื้อความของถอ้ ยคาทัง้ ปวง ต้องหมายรู้กันด้วย อักขระ ฯ เสยี งกด็ ี ตัวหนงั สือกด็ ี ชือ่ วา่ อักขระ ฯ4. อักขระ แปลว่า ไม่รู้จักสนิ้ อย่างหน่งึ ไมเ่ ปน็ ของแขง็ อยา่ งหน่ึง ฯ6. อักขระในภาษาบาลี มี ๔๑ ตวั แบ่งเป็น สระ ๘ ตัว คือ อ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ฯ พยญั ชนะ ๓๓ ตัว ดังน้ี ก ข ค ฆ ง, จฉชฌ , ฏ ฑ ฒ ณ, ต ถ ท ธ น, ป ผ พ ภ ม, ยรลวสหฬอฯ (สระ)7. อกั ขระเบ้อื งต้น ๘ ตวั ต้ังแต่ อ จนถึง โอ ชือ่ วา่ สระ ออกเสยี งได้เอง และทาพยัญชนะใหอ้ อกเสยี งได้. สระ เรียกว่า นสิ ยั เพราะเป็นที่อาศยั ของพยัญชนะ ฯ8. อ อิ อุ ช่อื ว่า รสั สะ มเี สยี งสนั้ เหมอื นคาว่า อติ ครุ เป็นต้น, อา อี อู เอ โอ ช่ือว่า ทฆี ะ มีเสยี งยาว เหมอื นคาว่า ภาคี วธู เสโข เปน็ ตน้ .9. สระทีฆะลว้ น และสระรัสสะทม่ี ีพยัญชนะสงั โยค หรือมีนคิ คหติ อย่เู บ้ืองหลงั ชอื่ ว่า ครุ มีเสียงหนกั เหมอื นคาวา่ ภูปาโล เอสี มนสุ ฺสินฺโท โกเสยยฺ .10. สระรัสสะลว้ น ไม่มีพยญั ชนะสงั โยค หรือนคิ คหติ อยเู่ บ้ืองหลัง ชือ่ วา่ ลหุ มีเสยี งเบา เหมอื นคาว่า ปติ มนุ ิ ฯ11. สระนน้ั จัดเปน็ ๓ คู่ คอื อ อา เรยี กว่า อวณโฺ ณ, อิ อี เรียกวา่ อิวณฺโณ, อุ อู เรยี กว่า อุวณโฺ ณ ฯ12. เอ โอ เปน็ สังยุตตสระ มี ๒ เสยี ง คือ อ กบั อิ ผสมกนั เป็น เอ, อ กับ อุ ผสมกันเป็น โอ ฯ (พยญั ชนะ)13. อกั ขระ ๓๓ ตัว มี ก เป็นต้น มี นิคคหติ เปน็ ทสี่ ุด ชอ่ื วา่ พยัญชนะ14. พยัญชนะ แปลว่า ทาเนือ้ ความให้ปรากฏ. พยัญชนะ ช่ือว่า นิสสติ เพราะอาศยั สระออกเสียง.15. พยญั ชนะ จัดเปน็ ๒ พวก คือ วรรค และ อวรรค16. วรรค จดั เป็น ๕ คอื ก ข ค ฆ ง ๕ ตวั นี้ เรียกว่า ก วรรค, จ ฉ ช ฌ ๕ ตวั นี้ เรียกว่า จ วรรค, ฏ ฑ ฒ ณ ๕ ตวั นี้ เรยี กว่า ฏ วรรค, ต ถ ท ธ น ๕ ตวั น้ี เรยี กวา่ ต วรรค, ป ผ พ ภ ม ๕ ตัวน้ี เรียกวา่ ป วรรค. พยญั ชนะ ๒๕ ตวั นี้ เปน็ พวกๆ กนั ตามฐานกรณ์ทีเ่ กดิ จงึ ชือ่ ว่า วรรค17. ส่วน ย ร ล ว ส ห ฬ อ ๘ ตวั น้ี ช่อื วา่ อวรรค เพราะมีท่เี กดิ ของอักขระแตกต่างกนั .18. พยัญชนะ คอื อ เรียกว่า นคิ คหติ แปลวา่ กดสระ, เรยี กว่า อนสุ าร แปลว่า ไปตามสระ คอื ต้องไปตามสระ อ อิ อุ เสมอ เช่น อห เสตุ อกาสึ. (ฐานกรณ์)19. ฐาน คือ ท่ตี งั้ ท่เี กิดของอกั ขระ มี ๖ คือ๑. กณฺโ คอ, ๒. ตาลุ เพดาน, ๓. มุทธฺ า ศรีษะกว็ ่า ปุ่มเหงอื กกว็ ่า,๔. ทนฺโต ฟัน, ๕. โอฏฺโ ริมฝีปาก, ๖. นาสิกา จมูก.
20. อ อา, ก ข ค ฆ ง, ห, เกิดใน คอ - กณฺ ชา.อิ อี, จ ฉ ช ฌ , ย, เกิดท่ี เพดาน - ตาลชุ า.ฏ ฑ ฒ ณ, ร ฬ, เกิดที่ ศรษี ะ/ปมุ่ เหงอื ก - มุทฺธชา.ต ถ ท ธ น, ล ส, เกดิ ท่ี ฟนั - ทนตฺ ชา.อุ อ,ู ป ผ พ ภ ม, เกิดที่ ริมฝีปาก - โอฏฺ ชา.อํ (นคิ คหิต) เกิดใน จมกู - นาสิกฏฺ านชา.เอ เกิดใน คอและเพดาน - กณฺ ตาลโุ ช.โอ เกิดใน คอและรมิ ฝีปาก - กณโฺ ฏฺ โช.ว เกิดที่ ฟันและริมฝีปาก - ทนฺโตฏฺ โช.21. กรณ์ คือ ท่ที าํ อกั ขระ มี ๔ คือ ชวิ ฺหามชฺฌํ ท่ามกลางลิ้น ๑ ชวิ โฺ หปคฺคํ ถดั ปลายล้ินเข้ามา ๑ชวิ หฺ คฺคํ ปลายล้นิ ๑ สกฏฺ านํ ฐานของตน ๑ ฯ22. ทา่ มกลางลิน้ เปน็ กรณ์ของอักขระท่เี ปน็ ตาลชุ ะ ถดั ปลายลน้ิ เขา้ มา เปน็ กรณ์ของอกั ขระทเ่ี ป็น มุทธชะ ปลายลิน้ เปน็ กรณข์ องอักขระทเ่ี ปน็ ทนั ตชะ ฐานของตน เป็นกรณข์ องอกั ขระที่เหลือ.23. สระสั้น ๑ มาตรา สระยาว ๒ มาตรา สระทม่ี ีพยัญชนะสังโยคอยเู่ บื้องหลัง ๓ มาตรา พยัญชนะทัง้ ปวง ก่ึงมาตรา.24. ก ข, จ ฉ, ฏ , ต ถ, ป ผ, และ ส ๑๑ ตัวนี้เป็น อโฆสะ เสยี งไม่กอ้ ง. ค ฆ ง, ช ฌ , ฑ ฒ ณ, ท ธ น, พ ภ ม, ย ร ล, ว ห ฬ, ๒๑ ตวั นี้ เป็น โฆสะ มเี สยี งก้อง. อ นคิ คหติ เปน็ โฆสาโฆสะวมิ ตุ ติ พน้ จาก โฆสะและอโฆสะ. ก ค, จ ช, ฏ ฑ, ต ท, ป พ เปน็ สถิ ิล. ข ฆ, ฉ ฌ, ฒ, ถ ธ, ผ ภ เป็น ธนิต.25. ลาดับเสียงอกั ขระ สิถิลอโฆสะ คอื ก, จ, ฏ, ต, ป มเี สียงเบาที่สดุ . ธนติ อโฆสะ คอื ข, ฉ, , ถ, ผ มเี สียงหนัก กว่า สถิ ลิ อโฆสะ. สิถลิ โฆสะ คือ ค ง, ช , ฑ ณ, ท น, พ ม มีเสียงดงั กวา่ ธนติ อโฆสะ. ธนิตโฆสะ คือ ฆ, ฌ, ฒ, ธ, ภ มีเสียงดงั ก้อง กว่า สถิ ิลโฆสะ.26. พยัญชนะสงั โยค การซ้อนพยญั ชนะ ดงั น้ี ๑. พยญั ชนะวรรคท่ี ๑ ซ้อนหนา้ พยญั ชนะวรรคท่ี ๑ และที่ ๒ เชน่ กกฺ กฺข ๒. พยัญชนะวรรคที่ ๓ ซอ้ นหนา้ พยัญชนะวรรคท่ี ๓ และท่ี ๔ เชน่ คคฺ คฺฆ ๓. พยัญชนะวรรคที่ ๕ ซอ้ นหน้าพยัญชนะได้ทุกตัวภายในวรรคของตน ยกเวน้ ง ซ้อนหนา้ ตัวเองไมไ่ ด้ เชน่ งกฺ งขฺ งคฺ งฆฺ (งงฺ ) ๔. พยญั ชนะอวรรค คือ ย ล ส ซ้อนหนา้ ตวั เอง เช่น ยยฺ ลลฺ สฺส
Search
Read the Text Version
- 1 - 2
Pages: