Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 45การทำสวิง นางหนูหริ่ง คำชามา

45การทำสวิง นางหนูหริ่ง คำชามา

Published by artaaa144, 2019-05-09 08:32:54

Description: 45การทำสวิง นางหนูหริ่ง คำชามา

Search

Read the Text Version

ภมู ิปัญญาศกึ ษา เรอ่ื ง สานสวงิ โดย 1. นางสาวหนูหรง่ิ คาชามา (ผู้ถ่ายทอดภมู ปิ ญั ญา) 2. นางสาวสุธัญญา สงิ หร์ ัมย์ (ผเู้ รยี บเรยี งภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน) เอกสารภูมปิ ัญญาศกึ ษานเ้ี ป็นสว่ นหน่ึงของการศกึ ษา ตามหลกั สูตรโรงเรยี นผู้สงู อายุเทศบาลเมอื งวงั นา้ เย็นประจาปกี ารศึกษา 2561 โรงเรียนผสู้ งู อายเุ ทศบาลเมอื งวังน้าเยน็ สงั กดั เทศบาลเมอื งวังนา้ เย็น จังหวดั สระแกว้

คานา ภมู ปิ ๓ญญาทอ๎ งถิ่นหรอื เรียกชื่ออกี อยํางหนึง่ วํา ภมู ปิ ญ๓ ญาชาวบ๎าน คือองคค๑ วามรท๎ู ี่ชาวบ๎านได๎ สั่งสมจากประสบการณ๑จริงที่เกิดข้ึนหรือจากบรรพบุรุษที่ได๎ถํายทอดสืบกันมาต้ังแตํในอดีตมาจนถึงป๓จจุบัน เพ่อื นามาใช๎แก๎ปญ๓ หาในชีวิตประจาวัน การทามาหากิน การประกอบการงานเลี้ยงชีพ หรือกิจกรรมอื่นๆ เป็น การผํอนคลายจากการทางาน หรือการย๎ายถิ่นฐานเพ่ือมาตั้งถิ่นฐานใหมํแล๎วคิดค๎นหรือค๎นหาวิธีการดังกลําว เพ่ือการแก๎ป๓ญหา โดยสภาพพื้นท่ีน้ันชุมชนวังน้าเย็นแหํงนี้ เกิดข้ึนเมื่อราว ๆ 50 ปีที่ผํานมา จากการอพยพ ถ่ินฐานของผูค๎ นมาจากทกุ ๆ ภาคของประเทศไทยแล๎วมากํอต้ังเป็นชุมชนวังน้าเย็น ซึ่งบางคนได๎นาองค๑ความรู๎ มาจากถิน่ ฐานเดมิ แล๎วมกี ารสบื ทอดสืบสานมาจนถึงปจ๓ จบุ ัน เชนํ เดียวกับ สานสวงิ โดย นางสาว หนูหริ่งคาชามาได๎รวบรวมเรียบเรียงถํายทอดประสบการณ๑ให๎คนรุํนหลังได๎สืบค๎น หรือค๎นคว๎าเป็นภูมิป๓ญญา ศึกษา ของคนในชมุ ชนเทศบาลเมอื งเมืองวงั น้าเย็น จังหวดั สระแก๎ว ผ๎ูศึกษาขอขอบพระคุณ นายวันชัย นารีรักษ๑ นายกเทศมนตรีเมืองวังน้าเย็นนายคนองพล เพ็ชรร่ืน ปลัดเทศบาลเมืองวังน้าเย็น คณะกรรมการโรงเรียนผู๎สูงอายุ กองสวัสดิการสังคม กองสาธารณสุขและ สิง่ แวดลอ๎ ม เทศบาลเมืองวงั น้าเย็น โรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพันธว๑ ทิ ยา โรงเรียนอนบุ าลเทศบาลเมืองวังน้าเย็น หนวํ ยงานอื่นๆ ทเ่ี ก่ียวข๎อง และขอขอบพระคณุ นางสาวสธุ ัญญา สิงห๑รมั ย๑ ที่ได๎เป็นท่ีปรึกษา ดูแลรับผิดชอบ งานด๎านธุรการ บันทึกเรื่องราวและจัดทาเป็นรูปเลํมท่ีสมบูรณ๑ครบถ๎วนความร๎ูอันใดหรือกุศลอันใดท่ีเกิดจาก การรํวมมอื รวํ มแรงรวํ มใจรวํ มพลังจนเกิดมภี มู ปิ ๓ญญาศึกษาฉบับน้ี ขอกุศลผลบุญนั้นจงเกิดมีแกํผู๎เก่ียวข๎องดังท่ี กลาํ วมาทกุ ๆ ทํานเพ่อื สรา๎ งสงั คมแหํงการเรียนตอํ ไป หนหู รงิ่ คาชามา สุธญั ญา สิงห๑รัมย๑ ผ๎จู ดั ทา

ที่มาและความสาคัญของภมู ปิ ญั ญาศกึ ษา จากพระราชดารัสของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช ทีว่ าํ “ประชาชนนั่นแหละ ที่เขามีความร๎ูเขาทางานมาหลายชั่วอายุคนเขาทากันอยํางไรเขามีความเฉลียวฉลาดเขาร๎ูวําตรงไหนควรทา กสกิ รรมเขาร๎ูวาํ ตรงไหนควรเก็บรักษาไว๎แตํที่เสียไปเพราะพวกไมํร๎ูเร่ืองไมํได๎ทามานานแล๎วทาให๎ลืมวําชีวิตมัน เปน็ ไปโดยการกระทาทถ่ี ูกต๎องหรือไมํ” พระราชดารสั ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชที่ สะทอ๎ นถงึ พระปรีชาสามารถในการรับรแู๎ ละความเข๎าใจหย่งั ลกึ ท่ีทรงเห็นคุณคําของภูมิป๓ญญาไทยอยํางแท๎จริง พระองค๑ทรงตระหนกั เป็นอยาํ งยง่ิ วําภูมิป๓ญญาท๎องถ่ินเป็นสิ่งที่ชาวบ๎านมีอยํูแล๎วใช๎ประโยชน๑เพ่ือความอยูํรอด กันมายาวนานความสาคัญของภูมิป๓ญญาท๎องถ่ินซ่ึงความร๎ูท่ีส่ังสมจากการปฏิบัติจริงในห๎องทดลองทางสังคม เป็นความร๎ูด้ังเดิมท่ีถูกค๎นพบ มีการทดลองใช๎แก๎ไขดัดแปลงจนเป็นองค๑ความร๎ูที่สามารถแก๎ป๓ญหาในการ ดาเนนิ ชวี ติ และถาํ ยทอดสืบตํอกนั มาภูมปิ ๓ญญาท๎องถ่ินเป็นขุมทรัพย๑ทางป๓ญญาที่คนไทยทุกคนควรรู๎ควรศึกษา ปรับปรุงและพัฒนาให๎สามารถนาภูมิป๓ญญาท๎องถ่ินเหลําน้ันมาแก๎ไขป๓ญหาให๎สอดคล๎องกับบริบททางสังคม วัฒนธรรมของกลํุมชุมชนน้ัน ๆอยํางแท๎จริงการพัฒนาภูมิป๓ญญาศึกษานับเป็นสิ่งสาคัญตํอบทบาทของชุมชน ท๎องถ่ินที่ได๎พยายามสร๎างสรรค๑เป็นน้าพักน้าแรงรํวมกันของผ๎ูสูงอายุและคนในชุมชนจนกลายเป็นเอกลักษณ๑ และวัฒนธรรมประจาถิ่นที่เหมาะตํอการดาเนินชวี ิตหรอื ภูมิป๓ญญาของคนในท๎องถิ่นนั้นๆ แตํภูมิป๓ญญาท๎องถิ่น สํวนใหญํเป็นความร๎ูหรือเป็นส่ิงที่ได๎มาจากประสบการณ๑หรือเป็นความเช่ือสืบตํอกันมาแตํยังขาดองค๑ความร๎ู หรอื ขาดหลักฐานยนื ยันหนักแนํนการสรา๎ งการยอมรับทเี่ กิดจากฐานภูมิป๓ญญาท๎องถ่ินจึงเปน็ ไปได๎ยาก ดังนน้ั เพือ่ ใหเ๎ กดิ การสํงเสริมพัฒนาภมู ปิ ๓ญญาท่เี ปน็ เอกลักษณ๑ของท๎องถ่ินกระตุ๎นเกิดความภาคภูมิใจ ในภูมิป๓ญญาของบุคคลในท๎องถิ่น ภูมิป๓ญญาไทยและวัฒนธรรมไทยเกิดการถํายทอดภูมิป๓ญญาสํูคนรํุนหลัง โรงเรียนผู๎สูงอายุเทศบาลเมืองวังน้าเย็นได๎ดาเนินการจัดทาหลักสูตรการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาศักยภาพ ผ๎ูสูงอายุในท๎องถ่ินท่ีเน๎นให๎ผู๎สูงอายุได๎พัฒนาตนเองให๎มีความพร๎อมสูํสังคมผ๎ูสูงอายุที่มีคุณภาพในอนาคต รวมทั้งสืบทอดภูมิป๓ญญาในการดารงชีวิตของนักเรียนผ๎ูสูงอายุท่ีได๎ส่ังสมมา เกิดจากการสืบทอดภูมิป๓ญญา ของบรรพบุรุษ โดยนักเรียนผู๎สูงอายุจะเป็นผ๎ูถํายทอดองค๑ความร๎ู และมีครูพี่เลี้ยงซึ่งเป็นคณะครูของ โรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองวังน้าเย็นเป็นผู๎เรียบเรียงองค๑ความร๎ูไปสํูการจัดทาภูมิป๓ญญาศึกษาให๎ปรากฏ ออกมาเปน็ รปู เลํมภูมปิ ๓ญญาศกึ ษา ใชเ๎ ป็นสวํ นหนึ่งในการจบหลักสูตรการศึกษาของโรงเรียนผู๎สูงอายุ ประจาปี การศึกษา 2561พร๎อมทั้งเผยแพรํและจัดเก็บคลังภูมิป๓ญญาไว๎ในห๎องสมุดของโรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพันธ๑- วทิ ยาเพื่อให๎ภูมิปญ๓ ญาทอ๎ งถ่ินเหลําน้ีเกดิ การถํายทอดสูํคนรุนํ หลงั สืบตอํ ไป จากความรํวมมือในการพัฒนาบุคลากรในหนํวยงานและภาคีเครือขํายที่มีสํวนรํวมในการผสมผสาน องค๑ความร๎เู พื่อยกระดบั ความร๎ขู องภูมิปญ๓ ญานั้นๆเพอื่ นาไปสํูการประยกุ ต๑ใชแ๎ ละผสมผสานเทคโนโลยีใหมํๆให๎ สอดรับกับวิถีชีวิตของชุมชนได๎อยํางมีประสิทธิภาพการนาภูมิป๓ญญาไทยกลับสูํ การศึกษาสามารถสํงเสริมให๎มี การถาํ ยทอดภมู ิปญ๓ ญาในโรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพันธว๑ ิทยาและโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองวังน้าเย็น เกิด การมีสํวนรํวมในกระบวนการถํายทอด เช่ือมโยงความรู๎ให๎กับนักเรียนและบุคคลท่ัวไปในท๎องถ่ิน โดยการนา บคุ ลากรที่มีความร๎ูความสามารถในท๎องถ่ินเข๎ามาเป็นวิทยากรให๎ความรู๎กับนักเรียนในโอกาสตํางๆ หรือการที่ โรงเรยี นนาองค๑ความร๎ูในทอ๎ งถ่นิ เขา๎ มาสอนสอดแทรกในกระบวนการจดั การเรียนรู๎ สิง่ เหลํานี้ทาให๎การพัฒนา ภูมิป๓ญญาท๎องถ่ิน นาไปสูํการสืบทอดภูมิป๓ญญาศึกษาเกิดความสาเร็จอยํางเป็นรูปธรรมนักเรียนผ๎ูสูงอายุเกิด ความภาคภมู ใิ จในภูมิปญ๓ ญาของตนทไี่ ดถ๎ าํ ยทอดสคูํ นรํุนหลังให๎คงอยูํในท๎องถิ่น เป็นวัฒนธรรมการดาเนินชีวิต ประจาทอ๎ งถิ่น เปน็ วัฒนธรรมการดาเนนิ ชีวิตคูํแผํนดนิ ไทยตราบนานเทํานาน

เริ่มจากการมีงานประเพณีลอยกระทงท่ีวัดในหมูํบ๎านขอองตน และคิดหาวิธีจะปรับปรุงพัฒนาให๎ กระทงมีความสวยงามมากย่ิงขึ้น โดยนาธูปเทียนมาพันด๎วยกระดาษยํนให๎มีความสวยเวลาท่ีเรานามาป๓ก กระทง และทาบรจิ าคใหว๎ ดั เหลายปี จึงเกดิ เป็นอาชีพการทาธปู เทยี นปก๓ กระทงจนถึงในป๓จจุบนั นิยามคาศพั ทใ์ นการจัดทาภูมปิ ญั ญาศึกษา ภูมิปัญญาศึกษา หมายถึง การนาภูมิป๓ญญาการดาเนินชีวิตในเรื่องที่ผ๎ูสูงอายุเช่ียวชาญที่สุด ของ ผูส๎ งู อายุที่เข๎าศึกษาตามหลักสูตรของโรงเรียนผ๎ูสูงอายุเทศบาลเมืองวังน้าเย็น มาศึกษาและสืบทอดภูมิป๓ญญา ในรปู แบบตําง ๆ มีการสืบทอดภูมิป๓ญญาโดยการปฏิบัติและการเรียบเรียงเป็นลายลักษณ๑อักษรตามรูปแบบที่ โรงเรียนผู๎สูงอายุกาหนดข้ึนใช๎เป็นสํวนหน่ึงในการจบหลักสูตรการศึกษาเพื่อให๎ภูมิป๓ญญาของผู๎สูงอายุได๎รับ การถาํ ยทอดสคํู นรนุํ หลงั และคงอยูํในท๎องถ่ินตํอไป ซง่ึ แบํงภมู ิปญ๓ ญาศกึ ษาออกเปน็ 3 ประเภท ไดแ๎ กํ 1. ภูมิป๓ญญาศกึ ษาท่ีผส๎ู ูงอายเุ ปน็ ผ๎คู ดิ คน๎ ภูมปิ ๓ญญาในการดาเนินชีวติ ในเรือ่ งทเี่ ช่ียวชาญท่ีสุด ดว๎ ยตนเอง 2. ภูมิป๓ญญาศึกษาที่ผู๎สูงอายุเป็นผู๎นาภูมิป๓ญญาที่สืบทอดจากบรรพบุรุษมาประยุกต๑ใช๎ในการดาเนิน ชวี ติ จนเกดิ ความเชย่ี วชาญ 3. ภูมิป๓ญญาศึกษาที่ผ๎ูสูงอายุเป็นผู๎นาภูมิป๓ญญาที่สืบทอดจากบรรพบุรุษมาใช๎ในการดาเนินชีวิตโดย ไมํมกี ารเปลย่ี นแปลงไปจากเดิมจนเกดิ ความเชี่ยวชาญ ผ้ถู า่ ยทอดภูมิปัญญา หมายถึง ผ๎ูสูงอายุท่ีเข๎าศึกษาตามหลักสูตรของโรงเรียนผู๎สูงอายุเทศบาลเมือง วังน้าเย็นเป็นผ๎ูถํายทอดภูมิป๓ญญาการดาเนินชีวิตในเร่ืองที่ตนเองเชี่ยวชาญมากท่ีสุด นามาถํายทอดให๎แกํผู๎ เรียบเรยี งภูมิป๓ญญาท๎องถนิ่ ได๎จัดทาข๎อมลู เปน็ รปู เลมํ ภูมิปญ๓ ญาศึกษา ผู้เรียบเรียงภูมิปัญญาท้องถ่ิน หมายถึง ผ๎ูที่นาภูมิป๓ญญาในการดาเนินชีวิตในเร่ืองที่ผ๎ูสูงอายุ เช่ียวชาญท่ีสุดมาเรียบเรียงเป็นลายลักษณ๑อักษร ศึกษาหาข๎อมูลเพ่ิมเติมจากแหลํงข๎อมูลตําง ๆ จัดทาเป็น เอกสารรปู เลํม ใชช๎ อื่ วํา “ภูมิป๓ญญาศกึ ษา” ตามรปู แบบทโ่ี รงเรยี นผูส๎ ูงอายเุ ทศบาลเมอื งวังน้าเยน็ กาหนด ครูที่ปรึกษา หมายถึง ผ๎ูที่ปฏิบัติหน๎าท่ีเป็นครูพี่เลี้ยง เป็นผ๎ูเรียบเรียงภูมิป๓ญญาท๎องถ่ินปฏิบัติ หนา๎ ท่เี ปน็ ผ๎ูประเมินผล เปน็ ผ๎ูรับรองภูมิป๓ญญาศึกษา รวมท้ังเป็นผู๎นาภูมิป๓ญญาศึกษาเข๎ามาสอนในโรงเรียน โดยบรู ณาการการจัดการเรยี นรู๎ตามหลกั สตู รท๎องถนิ่ ทโ่ี รงเรยี นจัดทาข้ึน

ภูมปิ ัญญาศึกษาเช่อื มโยงสู่สารานกุ รมไทยสาหรบั เยาวชนฯ 1. ลกั ษณะของภูมิปัญญาไทย ลักษณะของภูมปิ ญ๓ ญาไทย มีดังน้ี 1. ภูมิปญ๓ ญาไทยมีลักษณะเป็นทั้งความร๎ู ทักษะ ความเช่ือ และพฤตกิ รรม 2. ภูมิป๓ญญาไทยแสดงถึงความสมั พันธ๑ระหวํางคนกับคน คนกบั ธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ๎ ม และคนกับสง่ิ เหนือธรรมชาติ 3. ภมู ิป๓ญญาไทยเปน็ องคร๑ วมหรอื กิจกรรมทุกอยํางในวิถีชวี ิตของคน 4. ภูมปิ ญ๓ ญาไทยเป็นเรอ่ื งของการแก๎ป๓ญหา การจัดการ การปรับตวั และการเรยี นรู๎ เพอ่ื ความอยํรู อดของบุคคล ชุมชน และสงั คม 5. ภูมปิ ญ๓ ญาไทยเปน็ พนื้ ฐานสาคญั ในการมองชวี ิต เป็นพ้นื ฐานความรใ๎ู นเร่อื งตาํ งๆ 6. ภมู ิป๓ญญาไทยมีลกั ษณะเฉพาะ หรือมเี อกลกั ษณใ๑ นตวั เอง 7. ภมู ปิ ๓ญญาไทยมกี ารเปลีย่ นแปลงเพ่ือการปรับสมดุลในพัฒนาการทางสังคม 2. คณุ สมบตั ิของภูมปิ ญั ญาไทย ผ๎ทู รงภูมิปญ๓ ญาไทยเปน็ ผม๎ู ีคุณสมบัตติ ามทกี่ าหนดไว๎ อยํางนอ๎ ยดงั ตํอไปนี้ 1. เป็นคนดีมีคุณธรรม มีความรู๎ความสามารถในวิชาชีพตํางๆ มีผลงานด๎านการพัฒนา ท๎องถิ่นของตน และได๎รับการยอมรับจากบุคคลท่ัวไปอยํางกว๎างขวาง ท้ังยังเป็นผ๎ูที่ใช๎หลักธรรมคาสอนทาง ศาสนาของตนเป็นเคร่ืองยดึ เหนยี่ วในการดารงวิถีชวี ิตโดยตลอด 2. เป็นผ๎ูคงแกํเรียนและหม่ันศึกษาหาความรู๎อยูํเสมอ ผู๎ทรงภูมิป๓ญญาจะเป็นผู๎ท่ีหม่ันศึกษา แสวงหาความรู๎เพ่ิมเติมอยูํเสมอไมํหยุดน่ิง เรียนร๎ูทั้งในระบบและนอกระบบ เป็นผู๎ลงมือทา โดยทดลองทา ตามที่เรียนมา อีกท้ังลองผิด ลองถูก หรือสอบถามจากผู๎ร๎ูอ่ืนๆ จนประสบความสาเร็จ เป็นผู๎เช่ียวชาญ ซ่ึงโดด เดํนเป็นเอกลักษณ๑ในแตํละด๎านอยํางชัดเจน เป็นที่ยอมรับการเปล่ียนแปลงความร๎ูใหมํๆ ท่ีเหมาะสม นามา ปรับปรุงรับใชช๎ มุ ชน และสงั คมอยเํู สมอ 3. เป็นผูน๎ าของท๎องถ่ิน ผ๎ูทรงภูมิป๓ญญาสํวนใหญํจะเป็นผ๎ูท่ีสังคม ในแตํละท๎องถิ่นยอมรับให๎ เป็นผ๎ูนา ทั้งผ๎ูนาที่ได๎รับการแตํงตั้งจากทางราชการ และผ๎ูนาตามธรรมชาติ ซ่ึงสามารถเป็นผู๎นาของท๎องถ่ิน และชวํ ยเหลือผอ๎ู ่ืนไดเ๎ ป็นอยํางดี 4. เป็นผ๎ูท่ีสนใจป๓ญหาของท๎องถ่ิน ผ๎ูทรงภูมิป๓ญญาล๎วนเป็นผู๎ท่ีสนใจป๓ญหาของท๎องถิ่น เอา ใจใสํ ศึกษาป๓ญหา หาทางแก๎ไข และชํวยเหลือสมาชิกในชุมชนของตนและชุมชนใกล๎เคียงอยํางไมํยํอท๎อ จน ประสบความสาเรจ็ เปน็ ทย่ี อมรับของสมาชิกและบคุ คลทวั่ ไป 5. เป็นผ๎ขู ยันหม่นั เพยี ร ผ๎ูทรงภมู ิปญ๓ ญาเป็นผขู๎ ยันหมนั่ เพยี ร ลงมอื ทางานและผลิตผลงานอยํู เสมอ ปรบั ปรุงและพัฒนาผลงานให๎มคี ุณภาพมากขึน้ อกี ทั้งมํุงทางานของตนอยาํ งตํอเน่ือง 6. เป็นนักปกครองและประสานประโยชน๑ของท๎องถิ่น ผ๎ูทรงภูมิป๓ญญา นอกจากเป็นผู๎ท่ี ประพฤติตนเป็นคนดี จนเป็นที่ยอมรับนับถือจากบุคคลทั่วไปแล๎ว ผลงานท่ีทํานทายังถือวํามีคุณคํา จึงเป็นผู๎ที่ มที ัง้ \"ครองตน ครองคน และครองงาน\" เป็นผ๎ูประสานประโยชนใ๑ ห๎บุคคลเกิดความรัก ความเข๎าใจ ความเห็น ใจ และมคี วามสามัคคีกัน ซง่ึ จะทาใหท๎ อ๎ งถ่นิ หรอื สงั คม มีความเจรญิ มคี ณุ ภาพชีวติ สงู ขึน้ กวําเดิม 7. มคี วามสามารถในการถํายทอดความรู๎เปน็ เลิศ เมื่อผท๎ู รงภูมิป๓ญญามคี วามรู๎ความสามารถ และประสบการณเ๑ ปน็ เลิศ มผี ลงานท่เี ปน็ ประโยชน๑ตํอผ๎ูอื่นและบุคคลทว่ั ไป ทงั้ ชาวบ๎าน นกั วิชาการ นกั เรียน นสิ ิต/นักศกึ ษา โดยอาจเข๎าไปศึกษาหาความรู๎ หรือเชิญทาํ นเหลําน้นั ไป เป็นผ๎ูถาํ ยทอดความรไ๎ู ด๎

8. เป็นผู๎มีคูํครองหรือบริวารดี ผู๎ทรงภูมิป๓ญญา ถ๎าเป็นคฤหัสถ๑ จะพบวํา ล๎วนมีคํูครองท่ีดีที่ คอยสนับสนุน ชํวยเหลือ ให๎กาลังใจ ให๎ความรํวมมือในงานที่ทํานทา ชํวยให๎ผลิตผลงานท่ีมีคุณคํา ถ๎าเป็น นกั บวช ไมํวําจะเป็นศาสนาใด ตอ๎ งมีบริวารท่ดี ี จงึ จะสามารถผลิตผลงานทมี่ คี ุณคาํ ทางศาสนาได๎ 9. เป็นผู๎มีป๓ญญารอบรแ๎ู ละเชี่ยวชาญจนได๎รบั การยกยํองวาํ เปน็ ปราชญ๑ ผ๎ูทรงภูมิป๓ญญา ต๎อง เป็นผู๎มีป๓ญญารอบร๎ูและเชี่ยวชาญ รวมทั้งสร๎างสรรค๑ผลงานพิเศษใหมํๆ ที่เป็นประโยชน๑ตํอสังคมและ มนษุ ยชาติอยาํ งตํอเน่ืองอยูํเสมอ 3. การจดั แบ่งสาขาภมู ปิ ัญญาไทย จากการศกึ ษาพบวาํ มกี ารกาหนดสาขาภูมิปญ๓ ญาไทยไวอ๎ ยํางหลากหลาย ข้นึ อยํกู ับวัตถุประสงค๑ และ หลักเกณฑ๑ตํางๆ ที่หนํวยงาน องค๑กร และนักวิชาการแตํละทํานนามากาหนด ในภาพรวมภูมิป๓ญญาไทย สามารถแบงํ ได๎เป็น 10 สาขาดงั น้ี 1. สาขาเกษตรกรรมหมายถึง ความสามารถในการผสมผสานองค๑ความร๎ู ทักษะ และเทคนิค ด๎านการเกษตรกับเทคโนโลยี โดยการพัฒนาบนพื้นฐานคุณคําดั้งเดิม ซึ่งคนสามารถพ่ึงพาตนเองในภาวการณ๑ ตํางๆ ได๎ เชํน การทา การเกษตรแบบผสมผสาน วนเกษตร เกษตรธรรมชาติ ไรํนาสวนผสม และสวน ผสมผสาน การแก๎ป๓ญหาการเกษตรด๎านการตลาด การแก๎ป๓ญหาด๎านการผลิต การแก๎ไขป๓ญหาโรคและแมลง และการร๎ูจักปรับใช๎เทคโนโลยที ีเ่ หมาะสมกบั การเกษตร เป็นตน๎ 2. สาขาอตุ สาหกรรมและหตั ถกรรม หมายถึง การรู๎จักประยุกต๑ใช๎เทคโนโลยีสมัยใหมํในการ แปรรูปผลิตผล เพื่อชะลอการนาเข๎าตลาด เพ่ือแก๎ป๓ญหาด๎านการบริโภคอยํางปลอดภัย ประหยัด และเป็น ธรรม อันเป็นกระบวนการท่ีทาให๎ชุมชนท๎องถิ่นสามารถพ่ึงพาตนเองทางเศรษฐกิจได๎ ตลอดทั้งการผลิต และ การจาหนาํ ย ผลิตผลทางหัตถกรรม เชนํ การรวมกลมุํ ของกลํุมโรงงานยางพารา กลํมุ โรงสี กลํุมหัตถกรรม เป็น ตน๎ 3. สาขาการแพทยแ์ ผนไทย หมายถงึ ความสามารถในการจดั การปูองกัน และรักษาสุขภาพ ของคนในชุมชน โดยเน๎นให๎ชุมชนสามารถพ่ึงพาตนเอง ทางด๎านสุขภาพ และอนามัยได๎ เชํน การนวดแผน โบราณ การดูแลและรกั ษาสขุ ภาพแบบพ้ืนบ๎าน การดแู ลและรกั ษาสขุ ภาพแผนโบราณไทย เป็นตน๎ 4. สาขาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมหมายถึง ความสามารถเกี่ยวกับ การจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ๎ ม ท้ังการอนรุ ักษ๑ การพฒั นา และการใช๎ประโยชน๑จากคุณคําของ ทรพั ยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล๎อม อยาํ งสมดลุ และย่ังยืน เชํน การทาแนวปะการงั เทียม การอนุรักษ๑ปุาชาย เลน การจัดการปุาต๎นนา้ และปุาชุมชน เป็นต๎น 5. สาขากองทุนและธุรกิจชมุ ชน หมายถึง ความสามารถในการบรหิ ารจดั การด๎านการสะสม และบริการกองทุน และธุรกิจในชุมชน ท้ังที่เป็นเงินตรา และโภคทรัพย๑ เพ่ือสํงเสริมชีวิตความเป็นอยูํของ สมาชิกในชุมชน เชํน การจัดการเร่ืองกองทุนของชุมชน ในรูปของสหกรณ๑ออมทรัพย๑ และธนาคารหมูํบ๎าน เปน็ ต๎น 6. สาขาสวัสดิการหมายถึง ความสามารถในการจัดสวัสดิการในการประกันคุณภาพชีวิต ของคน ให๎เกิดความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม เชํน การจัดตั้งกองทุนสวัสดิการรักษาพยาบาล ของชุมชน การจดั ระบบสวสั ดกิ ารบริการในชมุ ชน การจัดระบบสงิ่ แวดลอ๎ มในชมุ ชน เปน็ ต๎น 7. สาขาศลิ ปกรรม หมายถึง ความสามารถในการผลิตผลงานทางด๎านศิลปะสาขาตํางๆ เชํน จิตรกรรม ประตมิ ากรรม วรรณกรรม ทัศนศิลป์ คีตศลิ ป์ ศลิ ปะมวยไทย เปน็ ต๎น

8. สาขาการจัดการองค์กร หมายถึง ความสามารถในการบริหารจัดการดาเนินงานของ องค๑กรชุมชนตํางๆ ให๎สามารถพัฒนา และบริหารองค๑กรของตนเองได๎ ตามบทบาท และหน๎าที่ขององค๑การ เชํน การจัดการองค๑กรของกลมุํ แมบํ ๎าน กลุํมออมทรพั ย๑ กลุํมประมงพื้นบ๎าน เปน็ ตน๎ 9. สาขาภาษาและวรรณกรรม หมายถึง ความสามารถผลติ ผลงานเก่ยี วกบั ด๎านภาษา ท้ังภาษาถ่ิน ภาษาโบราณ ภาษาไทย และการใช๎ภาษา ตลอดท้ังด๎านวรรณกรรมทุกประเภท เชํน การจัดทา สารานกุ รมภาษาถิน่ การปริวรรต หนังสือโบราณ การฟน้ื ฟกู ารเรียนการสอนภาษาถ่ินของท๎องถิ่นตํางๆ เปน็ ตน๎ 10. สาขาศาสนาและประเพณี หมายถึง ความสามารถประยุกต๑ และปรับใช๎หลักธรรมคา สอนทางศาสนา ความเชอื่ และประเพณีดั้งเดิมที่มีคุณคําให๎เหมาะสมตํอการประพฤติปฏิบัติ ให๎บังเกิดผลดีตํอ บุคคล และส่ิงแวดล๎อม เชํน การถํายทอดหลักธรรมทางศาสนา ลักษณะความสัมพันธ๑ของภูมิป๓ญญาไทยภูมิ- ปญ๓ ญาไทยสามารถสะทอ๎ นออกมาใน 3 ลกั ษณะท่ีสมั พนั ธใ๑ กลช๎ ดิ กนั คือ 10.1 ความสัมพันธ๑อยํางใกล๎ชิดกันระหวํางคนกับโลก ส่ิงแวดล๎อม สัตว๑ พืช และ ธรรมชาติ 10.2 ความสัมพันธข๑ องคนกบั คนอื่นๆ ที่อยํรู วํ มกันในสงั คม หรอื ในชุมชน 10.3 ความสัมพันธ๑ระหวํางคนกับส่ิงศักดิ์สิทธิ์ส่ิงเหนือธรรมชาติ ตลอดทั้งสิ่งท่ีไมํ สามารถสัมผัสได๎ทั้งหลาย ทั้ง 3 ลักษณะนี้ คือ สามมิติของเร่ืองเดียวกัน หมายถึง ชีวิตชุมชน สะท๎อนออก มาถึงภูมิป๓ญญาในการดาเนินชีวติ อยาํ งมเี อกภาพ เหมือนสามมุมของรูปสามเหลี่ยม ภูมิป๓ญญา จึงเป็นรากฐาน ในการดาเนินชวี ติ ของคนไทย ซง่ึ สามารถแสดงให๎เห็นไดอ๎ ยาํ งชัดเจนโดยแผนภาพ ดังนี้ ลักษณะภูมิป๓ญญาท่ีเกิดจากความสัมพันธ๑ ระหวํางคนกับธรรมชาติสิ่งแวดล๎อม จะแสดงออกมา ในลักษณะภูมิป๓ญญาในการดาเนินวิถีชีวิตขั้นพื้นฐาน ด๎านป๓จจัยสี่ ซึ่งประกอบด๎วย อาหาร เคร่ืองนํุงหํมที่ อยํูอาศัย และยารักษาโรค ตลอดทั้งการประกอบ อาชพี ตาํ งๆ เปน็ ต๎น ภูมิป๓ญญาท่ีเกิดจากความสัมพันธ๑ ระหวํางคนกับคนอ่ืนในสังคม จะแสดงออกมาใน ลักษณะ จารีต ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ และ นันทนาการ ภาษา และวรรณกรรม ตลอดท้ังการ สอื่ สารตํางๆ เป็นตน๎ ภูมปิ ๓ญญาท่ีเกิดจากความสมั พนั ธ๑ระหวํางคน กบั สิ่งศกั ดิ์สทิ ธ์ิ สงิ่ เหนอื ธรรมชาติ จะแสดงออกมาในลกั ษณะของส่งิ ศักดิส์ ิทธิ์ ศาสนา ความเชื่อตาํ งๆ เปน็ ต๎น 4. คณุ คา่ และความสาคัญของภมู ปิ ญั ญาไทย คุณคําของภูมิป๓ญญาไทย ได๎แกํ ประโยชน๑ และความสาคัญของภูมิป๓ญญา ท่ีบรรพบุรุษไทย ได๎ สรา๎ งสรรค๑ และสืบทอดมาอยํางตํอเน่ือง จากอดีตสํูป๓จจุบัน ทาให๎คนในชาติเกิดความรัก และความภาคภูมิใจ ทีจ่ ะรวํ มแรงรํวมใจสบื สานตํอไปในอนาคต เชํน โบราณสถาน โบราณวัตถุ สถาป๓ตยกรรม ประเพณีไทย การมี น้าใจ ศกั ยภาพในการประสานผลประโยชน๑ เป็นตน๎ ภมู ิป๓ญญาไทยจึงมีคณุ คาํ และความสาคัญดังนี้ 1. ภูมิป๓ญญาไทยชวํ ยสร๎างชาตใิ ห๎เป็นปกึ แผํน

พระมหากษัตริย๑ไทยได๎ใช๎ภูมิป๓ญญาในการสร๎างชาติ สร๎างความเป็นปึกแผํนให๎แกํ ประเทศชาติมาโดยตลอด ตั้งแตํสมัยพํอขุนรามคาแหงมหาราช พระองค๑ทรงปกครองประชาชน ด๎วยพระ เมตตา แบบพํอปกครองลูก ผ๎ูใดประสบความเดือดร๎อน ก็สามารถตีระฆัง แสดงความเดือดร๎อน เพ่ือขอรับ พระราชทานความชํวยเหลือ ทาให๎ประชาชนมีความจงรักภักดีตํอพระองค๑ ตํอประเทศชาติรํวมกันสร๎าง บ๎านเรือนจนเจรญิ รงํุ เรืองเป็นปกึ แผนํ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระองค๑ทรงใช๎ภูมิป๓ญญากระทายุทธหัตถี จนชนะข๎าศึกศัตรู และทรงกอบก๎ูเอกราชของชาติไทยคืนมาได๎ พระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยูํหัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลป๓จจุบัน พระองค๑ทรงใชภ๎ ูมิป๓ญญาสร๎างคุณประโยชน๑แกํประเทศชาติ และเหลําพสกนิกรมากมายเหลือคณานับ ทรงใช๎ พระปรีชาสามารถ แก๎ไขวิกฤตการณ๑ทางการเมือง ภายในประเทศ จนรอดพ๎นภัยพิบัติหลายคร้ัง พระองค๑ทรง มีพระปรีชาสามารถหลายด๎าน แม๎แตํด๎านการเกษตร พระองค๑ได๎พระราชทานทฤษฎีใหมํให๎แกํพสกนิกร ทั้ง ด๎านการเกษตรแบบสมดุลและยั่งยืน ฟื้นฟูสภาพแวดล๎อม นาความสงบรํมเย็นของประชาชนให๎กลับคืนมา แนวพระราชดาริ \"ทฤษฎใี หม\"ํ แบงํ ออกเป็น 2 ขน้ั โดยเริม่ จาก ข้ันตอนแรก ให๎เกษตรกรรายยํอย \"มีพออยํูพอ กิน\" เป็นขั้นพื้นฐาน โดยการพัฒนาแหลํงน้า ในไรํนา ซ่ึงเกษตรกรจาเป็นท่ีจะต๎องได๎รับความชํวยเหลือจาก หนํวยราชการ มูลนิธิ และหนํวยงานเอกชน รํวมใจกันพัฒนาสังคมไทย ในข้ันท่ีสอง เกษตรกรต๎องมีความ เข๎าใจ ในการจัดการในไรํนาของตน และมกี ารรวมกลํุมในรูปสหกรณ๑ เพื่อสร๎างประสิทธิภาพทางการผลิต และ การตลาด การลดรายจํายด๎านความเป็นอยูํ โดยทรงตระหนักถึงบทบาทขององค๑กรเอกชน เม่ือกลํุ มเกษตร ววิ ฒั นม๑ าขั้นที่ 2 แลว๎ กจ็ ะมศี กั ยภาพ ในการพัฒนาไปสํูข้ันที่สาม ซึ่งจะมีอานาจในการตํอรองผลประโยชน๑กับ สถาบันการเงินคือ ธนาคาร และองค๑กรท่ีเป็นเจ๎าของแหลํงพลังงาน ซึ่งเป็นป๓จจัยหนึ่งในการผลิต โดยมีการ แปรรูปผลิตผล เชํน โรงสี เพอ่ื เพิ่มมูลคําผลติ ผล และขณะเดียวกันมีการจัดตั้งร๎านค๎าสหกรณ๑ เพื่อลดคําใช๎จําย ในชีวิตประจาวัน อันเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลในสังคม จะเห็นได๎วํา มิได๎ทรงทอดท้ิงหลักของ ความสามัคคีในสังคม และการจัดตั้งสหกรณ๑ ซึ่งทรงสนับสนุนให๎กลํุมเกษตรกรสร๎างอานาจตํอรองในระบบ เศรษฐกจิ จงึ จะมีคุณภาพชีวิตท่ีดี จึงจัดได๎วํา เป็นสังคมเกษตรท่ีพัฒนาแล๎ว สมดังพระราชประสงค๑ที่ทรงอุทิศ พระวรกาย และพระสตปิ ญ๓ ญา ในการพัฒนาการเกษตรไทยตลอดระยะเวลาแหงํ การครองราชย๑ 2. สรา๎ งความภาคภูมใิ จ และศกั ดศ์ิ รี เกยี รติภูมแิ กคํ นไทย คนไทยในอดีตท่ีมีความสามารถปรากฏในประวัติศาสตร๑มีมาก เป็นท่ียอมรับของนานา อารยประเทศ เชํน นายขนมต๎มเป็นนักมวยไทย ท่ีมีฝีมือเกํงในการใช๎อวัยวะทุกสํวน ทุกทําของแมํไม๎มวยไทย สามารถชกมวยไทย จนชนะพมําได๎ถึงเก๎าคนสิบคนในคราวเดียวกัน แม๎ในป๓จจุบัน มวยไทยก็ยังถือวํา เป็น ศิลปะช้ันเย่ียม เป็นท่ี นิยมฝึกและแขํงขันในหมูํคนไทยและชาวตําง ประเทศ ป๓จจุบันมีคํายมวยไทยท่ัวโลกไมํ ต่ากวาํ 30,000 แหงํ ชาวตาํ งประเทศทไ่ี ด๎ฝึกมวยไทย จะรสู๎ กึ ยนิ ดแี ละภาคภูมิใจ ในการท่ีจะใช๎กติกา ของมวย ไทย เชํน การไหว๎ครูมวยไทย การออก คาสั่งในการชกเป็นภาษาไทยทุกคา เชํน คาวํา \"ชก\" \"นับหนึ่งถึงสิบ\" เป็นต๎น ถือเป็นมรดก ภูมิป๓ญญาไทย นอกจากนี้ ภูมิป๓ญญาไทยที่โดด เดํนยังมีอีกมากมาย เชํน มรดกภูมิ ป๓ญญาทาง ภาษาและวรรณกรรม โดยที่มีอักษรไทยเป็นของ ตนเองมาต้ังแตํสมัยกรุงสุโขทัย และวิวัฒนาการ มาจนถึงป๓จจุบัน วรรณกรรมไทยถือวํา เป็นวรรณกรรมท่ีมีความไพเราะ ได๎อรรถรสครบทุกด๎าน วรรณกรรม หลายเร่อื งไดร๎ ับการแปลเป็นภาษาตํางประเทศหลายภาษา ด๎านอาหาร อาหารไทยเป็นอาหารท่ีปรุงงําย พืชที่ ใชป๎ ระกอบอาหารสํวนใหญํเป็นพืชสมุนไพร ที่หาได๎งํายในท๎องถิ่น และราคาถูก มี คุณคําทางโภชนาการ และ ยังปูองกันโรคได๎หลายโรค เพราะสํวนประกอบสํวนใหญํเป็นพืชสมุนไพร เชํน ตะไคร๎ ขิง ขํา กระชาย ใบ มะกรูด ใบโหระพา ใบกะเพรา เป็นต๎น 3. สามารถปรับประยุกต๑หลักธรรมคาสอนทางศาสนาใชก๎ บั วถิ ีชีวิตได๎อยํางเหมาะสม

คนไทยสวํ นใหญํนับถือศาสนาพุทธ โดยนาหลักธรรมคาสอนของศาสนา มาปรับใช๎ในวิถีชีวิต ได๎อยํางเหมาะสม ทาให๎คนไทยเป็นผ๎ูอํอนน๎อมถํอมตน เอ้ือเฟื้อเผื่อแผํ ประนีประนอม รักสงบ ใจเย็น มีความ อดทน ให๎อภัยแกผํ ูส๎ านกึ ผิด ดารงวถิ ชี วี ติ อยาํ งเรียบงําย ปกติสุข ทาให๎คนในชุมชนพ่ึงพากันได๎ แม๎จะอดอยาก เพราะ แห๎งแล๎ง แตํไมํมีใครอดตาย เพราะพ่ึงพาอาศัย กัน แบํงป๓นกันแบบ \"พริกบ๎านเหนือเกลือบ๎านใต๎\" เป็น ต๎น ท้งั หมดน้ีสบื เนือ่ งมาจากหลักธรรมคาสอนของพระพทุ ธศาสนา เป็นการใช๎ภูมิป๓ญญา ในการนาเอาหลักขอ พระพทุ ธศาสนามา ประยกุ ตใ๑ ชก๎ บั ชวี ิตประจาวัน และดาเนินกุศโลบาย ด๎านตํางประเทศ จนทาให๎ชาวพุทธท่ัว โลกยกยอํ ง ให๎ประเทศไทยเป็นผ๎ูนาทางพุทธศาสนา และเป็น ท่ีตั้งสานักงานใหญํองค๑การพุทธศาสนิกสัมพันธ๑ แหํงโลก (พสล.) อยูํเยื้องๆ กับอุทยานเบญจสิริ กรุงเทพมหานคร โดยมีคนไทย (ฯพณฯ สัญญา ธรรมศักดิ์ องคมนตร)ี ดารงตาแหนํงประธาน พสล. ตอํ จาก ม.จ.หญงิ พูนพศิ มัยดศิ กุล 4. สร๎างความสมดุลระหวาํ งคนในสงั คม และธรรมชาติได๎อยาํ งยง่ั ยนื ภูมิป๓ญญาไทยมีความเดํนชัดในเรื่องของการยอมรับนับถือ และให๎ความสาคัญแกํคน สังคม และธรรมชาตอิ ยาํ งยิง่ มเี ครอื่ งชี้ท่ีแสดงใหเ๎ หน็ ไดอ๎ ยํางชัดเจนมากมาย เชํน ประเพณีไทย 12 เดือน ตลอดท้ังปี ล๎วนเคารพคุณคําของธรรมชาติ ได๎แกํ ประเพณีสงกรานต๑ ประเพณีลอยกระทง เป็นต๎น ประเพณีสงกรานต๑ เป็นประเพณีที่ทาใน ฤดูร๎อนซ่ึงมีอากาศร๎อน ทาให๎ต๎องการความเย็น จึงมีการรดน้าดาหัว ทาความสะอาด บ๎านเรือน และธรรมชาติส่ิงแวดล๎อม มีการแหํนางสงกรานต๑ การทานายฝนวําจะตกมากหรือน๎อยในแตํละปี สํวนประเพณีลอยกระทง คุณคําอยูํท่ีการบูชา ระลึกถึงบุญคุณของน้า ท่ีหลํอเล้ียงชีวิตของ คน พืช และสัตว๑ ให๎ได๎ใช๎ทั้งบริโภคและอุปโภค ในวันลอยกระทง คนจึงทาความสะอาดแมํน้า ลาธาร บูชาแมํน้าจากตัวอยําง ข๎างตน๎ ลว๎ นเปน็ ความสมั พนั ธ๑ระหวํางคนกบั สังคมและธรรมชาติ ทั้งสิน้ ในการรักษาปุาไมต๎ ๎นน้าลาธาร ไดป๎ ระยกุ ตใ๑ ห๎มีประเพณีการบวชปุา ให๎คนเคารพสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ธรรมชาติ และสภาพแวดล๎อม ยังความอุดมสมบูรณ๑แกํต๎นน้า ลาธาร ให๎ฟื้นสภาพกลับคืนมาได๎มาก อาชีพ การเกษตรเปน็ อาชพี หลกั ของคนไทย ทคี่ านงึ ถงึ ความสมดุล ทาแตํนอ๎ ยพออยูํพอกิน แบบ \"เฮ็ดอยํูเฮ็ดกิน\" ของ พอํ ทองดี นนั ทะ เมอื่ เหลอื กนิ ก็แจกญาติพน่ี ๎อง เพ่อื นบา๎ น บา๎ นใกล๎เรือนเคียง นอกจากนี้ ยังนาไปแลกเปลี่ยน กับสงิ่ ของอยํางอื่น ทต่ี นไมมํ ี เมื่อเหลอื ใชจ๎ รงิ ๆ จึงจะนาไปขาย อาจกลําวได๎วํา เป็นการเกษตรแบบ \"กิน-แจก- แลก-ขาย\" ทาให๎คนในสังคมได๎ชํวยเหลือเก้ือกูล แบํงป๓นกัน เคารพรัก นับถือ เป็นญาติกัน ทั้งหมํูบ๎าน จึงอยํู รํวมกันอยํางสงบสุข มีความสัมพันธ๑กันอยาํ งแนบแนํน ธรรมชาติไมํถูกทาลายไปมากนัก เน่ืองจากทาพออยํูพอ กนิ ไมโํ ลภมากและไมทํ าลายทกุ อยํางผิด กบั ในปจ๓ จบุ ัน ถอื เป็นภูมิป๓ญญาทีส่ ร๎างความ สมดุลระหวํางคน สังคม และธรรมชาติ 5. เปลีย่ นแปลงปรับปรงุ ไดต๎ ามยคุ สมยั แมว๎ าํ กาลเวลาจะผํานไป ความรู๎สมยั ใหมํ จะหลั่งไหลเข๎ามามาก แตํภูมิป๓ญญาไทย ก็สามารถ ปรับเปลยี่ นใหเ๎ หมาะสมกบั ยคุ สมยั เชํน การรู๎จกั นาเครอื่ งยนตม๑ าติดตั้งกับเรือ ใสํใบพัด เป็นหางเสือ ทาให๎เรือ สามารถแลํนได๎เร็วข้ึน เรียกวํา เรือหางยาว การรู๎จักทาการเกษตรแบบผสมผสาน สามารถพลิกฟื้นคืน ธรรมชาตใิ ห๎ อดุ มสมบูรณแ๑ ทนสภาพเดิมที่ถูกทาลายไป การร๎ูจักออมเงิน สะสมทุนให๎สมาชิกกู๎ยืม ปลดเปล้ือง หน้ีสนิ และจัดสวสั ดิการแกํสมาชิก จนชุมชนมีความมน่ั คง เข๎มแขง็ สามารถชวํ ยตนเองได๎หลายร๎อยหมูํบ๎านท่ัว ประเทศ เชนํ กลํุมออมทรัพย๑คีรีวง จังหวัดนครศรีธรรมราช จัดในรูปกองทุนหมุนเวียนของชุมชน จนสามารถ ชํวยตนเองได๎ เม่ือปุาถูกทาลาย เพราะถูกตัดโคํน เพ่ือปลูกพืชแบบเดี่ยว ตามภูมิป๓ญญาสมัยใหมํ ท่ีหวัง รา่ รวย แตใํ นทส่ี ดุ กข็ าดทุน และมีหน้ีสิน สภาพแวดล๎อมสูญเสียเกิดความแห๎งแล๎ง คนไทยจึงคิดปลูกปุา ที่กิน ได๎ มีพืชสวน พืชปุาไม๎ผล พืชสมุนไพร ซ่ึงสามารถมีกินตลอดชีวิตเรียกวํา \"วนเกษตร\" บางพ้ืนที่ เมื่อปุาชุมชน

ถูกทาลาย คนในชุมชนก็รวมตัวกัน เป็นกลุํมรักษาปุา รํวมกันสร๎างระเบียบ กฎเกณฑ๑กันเอง ให๎ทุกคนถือ ปฏิบัติได๎ สามารถรักษาปุาได๎อยํางสมบูรณ๑ดังเดิม เม่ือปะการังธรรมชาติถูกทาลาย ปลาไมํมีท่ีอยูํอาศัย ประชาชนสามารถสร๎าง \"อูหยัม\" ขึ้น เป็นปะการังเทียม ให๎ปลาอาศัยวางไขํ และแพรํพันธ๑ุให๎เจริญเติบโต มี จานวนมากดงั เดมิ ได๎ ถือเป็นการใช๎ภมู ิปญ๓ ญาปรับปรุงประยุกต๑ใชไ๎ ด๎ตามยุคสมัย สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ เลํมที่ 19 ให๎ความหมายของคาวํา ภูมิป๓ญญาชาวบ๎าน หมายถึง ความร๎ูของชาวบ๎าน ซึ่งได๎มาจากประสบการณ๑ และความเฉลียวฉลาดของชาวบ๎าน รวมทั้งความร๎ูท่ี สง่ั สมมาแตบํ รรพบรุ ษุ สบื ทอดจากคนรุํนหนึ่งไปสูํคนอีกรํุนหนึ่ง ระหวํางการสืบทอดมีการปรับ ประยุกต๑ และ เปลย่ี นแปลง จนอาจเกิดเป็นความรใู๎ หมตํ ามสภาพการณ๑ทางสังคมวฒั นธรรม และ สิง่ แวดล๎อม ภูมปิ ญ๓ ญาเป็นความรู๎ที่ประกอบไปด๎วยคุณธรรม ซ่ึงสอดคล๎องกับวิถีชีวิตดั้งเดิมของชาวบ๎าน ในวิถดี ง้ั เดิมนั้น ชีวิตของชาวบ๎านไมํได๎แบํงแยกเป็นสํวนๆ หากแตํทุกอยํางมีความสัมพันธ๑กัน การทามาหากิน การอยูํรํวมกันในชุมชน การปฏิบัติศาสนา พิธีกรรมและประเพณี ความร๎ูเป็นคุณธรรม เม่ือผ๎ูคนใช๎ความร๎ูน้ัน เพื่อสร๎างความสัมพันธ๑ท่ีดีระหวําง คนกับคน คนกับธรรมชาติ และคนกับส่ิงเหนือธรรมชาติ ความสัมพันธ๑ท่ีดี เป็นความสัมพันธ๑ท่ีมีความสมดุล ท่ีเคารพกันและกัน ไมํทาร๎ายทาลายกัน ทาให๎ทุกฝุายทุกสํวนอยูํรํวมกันได๎ อยํางสันติ ชุมชนด้ังเดิมจึงมีกฎเกณฑ๑ของการอยํูรํวมกัน มีคนเฒําคนแกํเป็นผู๎นา คอยให๎คาแนะนาตักเตือน ตัดสิน และลงโทษหากมีการละเมิด ชาวบ๎านเคารพธรรมชาติรอบตัว ดิน น้า ปุา เขา ข๎าว แดด ลม ฝน โลก และจักรวาล ชาวบ๎านเคารพผหู๎ ลักผ๎ูใหญํ พํอแมํ ปุยู ําตายาย ทั้งที่มีชีวิตอยูํและลํวงลับไปแล๎วภูมิป๓ญญาจึงเป็น ความรู๎ท่มี ีคุณธรรม เป็นความรู๎ที่มีเอกภาพของทุกส่ิงทุกอยําง เป็นความรู๎วํา ทุกสิ่งทุกอยํางสัมพันธ๑กันอยํางมี ความสมดุล เราจึงยกยํองความรู๎ข้ันสูงสํง อันเป็นความรู๎แจ๎งในความจริงแหํงชีวิตน้ีวํา \"ภูมิป๓ญญา\"ความคิด และการแสดงออกเพ่ือจะเข๎าใจภูมิป๓ญญาชาวบ๎าน จาเป็นต๎องเข๎าใจความคิดของชาวบ๎านเก่ียวกับโลก หรือท่ี เรียกวํา โลกทัศน๑ และเก่ียวกับชีวิต หรือท่ีเรียกวํา ชีวทัศน๑ ส่ิงเหลํานี้เป็นนามธรรม อันเก่ียวข๎องสัมพันธ๑ โดยตรงกับการแสดงออกใน ลักษณะตํางๆ ท่ีเป็นรูปธรรม แนวคิดเรื่องความสมดุลของชีวิต เป็นแนวคิด พน้ื ฐานของภูมิป๓ญญาชาวบ๎าน การแพทย๑แผนไทย หรือที่เคยเรียกกันวํา การแพทย๑แผนโบราณน้ันมีหลักการ วํา คนมีสุขภาพดี เม่ือรํางกายมีความสมดุลระหวํางธาตุท้ัง 4 คือ ดิน น้า ลม ไฟ คนเจ็บไข๎ได๎ปุวยเพราะธาตุ ขาดความสมดลุ จะมีการปรับธาตุ โดยใช๎ยาสมุนไพร หรือวิธีการอื่นๆ คนเป็นไข๎ตัวร๎อน หมอยาพ้ืนบ๎านจะให๎ ยาเยน็ เพ่อื ลดไข๎ เป็นต๎น การดาเนินชีวิตประจาวันก็เชํนเดียวกัน ชาวบ๎านเช่ือวํา จะต๎องรักษาความสมดุลใน ความสัมพนั ธส๑ ามด๎าน คอื ความสัมพนั ธก๑ ับคนในครอบครัว ญาตพิ ่ีน๎อง เพ่ือนบ๎านในชุมชน ความสัมพันธ๑ท่ีดีมี หลักเกณฑ๑ ท่ีบรรพบุรุษได๎สั่งสอนมา เชํน ลูกควรปฏิบัติอยํางไรกับพํอแมํ กับญาติพ่ีน๎อง กับผ๎ูสูงอายุ คนเฒํา คนแกํ กับเพ่ือนบ๎าน พํอแมํควรเลี้ยงดูลูกอยํางไร ความเอ้ืออาทรตํอกันและกัน ชํวยเหลือเก้ือกูลกัน โดยเฉพาะในยามทุกข๑ยาก หรือมีป๓ญหา ใครมีความสามารถพิเศษก็ใช๎ความสามารถน้ันชํวยเหลือผู๎อื่น เชํน บางคนเป็นหมอยา ก็ชํวยดแู ลรักษาคนเจบ็ ปุวยไมํสบาย โดยไมํคิดคํารักษา มีแตํเพียงการยกครู หรือการราลึก ถึงครบู าอาจารย๑ที่ประสาทวิชามาให๎เทําน้ัน หมอยาต๎องทามาหากิน โดยการทานา ทาไรํ เลี้ยงสัตว๑เหมือนกับ ชาวบ๎านอ่ืนๆ บางคนมคี วามสามารถพเิ ศษดา๎ นการทามาหากิน กช็ วํ ยสอนลูกหลานใหม๎ ีวชิ าไปดว๎ ย ความสัมพันธ๑ระหวํางคนกับคนในครอบครัว ในชุมชน มีกฎเกณฑ๑เป็นข๎อปฏิบัติ และข๎อห๎ามอยําง ชัดเจน มีการแสดงออกทางประเพณี พิธีกรรม และกิจกรรมตํางๆ เชํน การรดน้าดาหัวผู๎ใหญํ การบายศรีสูํ ขวญั เปน็ ต๎น ความสมั พันธ๑กบั ธรรมชาติ ผ๎ูคนสมัยกํอนพ่ึงพาอาศัยธรรมชาติแทบทุกด๎าน ต้ังแตํอาหารการกิน เครือ่ งนงุํ หํม ท่อี ยอูํ าศยั และยารักษาโรค วิทยาศาสตร๑ และเทคโนโลยียังไมํพัฒนาก๎าวหน๎าเหมือนทุกวันนี้ ยัง ไมํมีระบบการค๎าแบบสมัยใหมํ ไมํมีตลาด คนไปจับปลาลําสัตว๑ เพ่ือเป็นอาหารไปวันๆ ตัดไม๎ เพ่ือสร๎างบ๎าน และใช๎สอยตามความจาเป็นเทําน้ัน ไมํได๎ทาเพื่อการค๎า ชาวบ๎านมีหลักเกณฑ๑ในการใช๎ส่ิงของในธรรมชาติ ไมํ

ตดั ไมอ๎ อํ น ทาให๎ตน๎ ไมใ๎ นปุาขน้ึ แทนต๎นท่ีถูกตัดไปได๎ตลอดเวลาชาวบ๎านยังไมํรู๎จักสารเคมี ไมํใช๎ยาฆําแมลง ฆํา หญา๎ ฆาํ สตั ว๑ ไมใํ ชป๎ ๋ยุ เคมี ใชส๎ ่งิ ของในธรรมชาติให๎เกื้อกูลกัน ใช๎มูลสัตว๑ ใบไมใ๎ บ หญ๎าทเ่ี นาํ เป่ือยเป็นปุ๋ย ทาให๎ ดินอดุ มสมบรู ณ๑ นา้ สะอาด และไมํเหอื ดแห๎ง ชาวบ๎านเคารพธรรมชาติ เช่ือวํา มีเทพมีเจ๎าสถิตอยํูในดิน น้า ปุา เขา สถานที่ทุกแหํง จะทาอะไรต๎องขออนุญาต และทาด๎วยความเคารพ และพอดี พองาม ชาวบ๎านรู๎คุณ ธรรมชาติ ท่ีได๎ให๎ชีวิตแกํตน พิธีกรรมตํางๆ ล๎วนแสดงออกถึงแนวคิดดังกลําว เชํน งานบุญพิธี ท่ีเก่ียวกับ น้า ข๎าว ปุาเขา รวมถึงสัตว๑ บ๎านเรือน เคร่ืองใช๎ตํางๆ มีพิธีสูํขวัญข๎าว สํูขวัญควาย สูํขวัญเกวียน ทางอีสานมีพิธี แฮกนา หรอื แรกนา เล้ียงผตี าแฮก มีงานบญุ บ๎าน เพือ่ เล้ยี งผี หรือสิ่งศกั ดิ์สทิ ธป์ิ ระจาหมํบู า๎ น เปน็ ตน๎ ความสัมพันธ๑กับสิ่งเหนือธรรมชาติ ชาวบ๎านรู๎วํา มนุษย๑เป็นเพียงสํวนเล็กๆ สํวนหนึ่ง ของ จักรวาล ซ่ึงเต็มไปด๎วยความเร๎นลับ มีพลัง และอานาจ ที่เขาไมํอาจจะหาคาอธิบายได๎ ความเร๎นลับดังกลําว รวมถึงญาติพีน่ อ๎ ง และผ๎ูคนท่ีลํวงลับไปแล๎ว ชาวบา๎ นยงั สมั พนั ธ๑กบั พวกเขา ทาบญุ และราลึกถึงอยํางสม่าเสมอ ทุกวัน หรือในโอกาสสาคัญๆ นอกน้ันเป็นผีดี ผีร๎าย เทพเจ๎าตํางๆ ตามความเชื่อของแตํละแหํง ส่ิงเหลํานี้ สิง สถิตอยูํในส่ิงตํางๆ ในโลก ในจักรวาล และอยบูํ นสรวงสวรรคก๑ ารทามาหากนิ แม๎วิถีชีวิตของชาวบ๎านเม่ือกํอนจะดูเรียบงํายกวําทุกวันน้ี และยังอาศัยธรรมชาติ และ แรงงานเป็นหลัก ในการทามาหากิน แตํพวกเขาก็ต๎องใช๎สติป๓ญญา ที่บรรพบุรุษถํายทอดมาให๎ เพ่ือจะได๎อยํู รอด ทงั้ น้ีเพราะปญ๓ หาตํางๆ ในอดตี ก็ยังมไี มํนอ๎ ย โดยเฉพาะเมอื่ ครอบครัวมีสมาชิกมากข้ึน จาเป็นต๎องขยายท่ี ทากิน ต๎องหกั รา๎ งถางพง บุกเบกิ พืน้ ท่ีทากนิ ใหมํ การปรับพื้นท่ีป๓้นคันนา เพื่อทานา ซึ่งเป็นงานท่ีหนัก การทา ไรํทานา ปลูกพืชเล้ียงสัตว๑ และดูแลรักษาให๎เติบโต และได๎ผล เป็นงานท่ีต๎องอาศัยความรู๎ความสามารถ การ จับปลาลาํ สตั ว๑กม็ ีวธิ กี าร บางคนมีความสามารถมากรู๎วํา เวลาไหน ที่ใด และวิธีใด จะจับปลาได๎ดีที่สุด คนที่ไมํ เกํงกต็ อ๎ งใช๎เวลานาน และได๎ปลาน๎อย การลําสตั ว๑กเ็ ชํนเดยี วกัน การจัดการแหลํงน้า เพื่อการเกษตร ก็เป็นความร๎ูความสามารถ ที่มีมาแตํโบราณ คนทาง ภาคเหนือร๎ูจักบริหารน้า เพ่ือการเกษตร และเพื่อการบริโภคตํางๆ โดยการจัดระบบเหมืองฝาย มีการจัด แบํงป๓นน้ากันตามระบบประเพณีที่ สืบทอดกันมา มีหัวหน๎าที่ทุกคนยอมรับ มีคณะกรรมการจัดสรรน้าตาม สดั สํวน และตามพน้ื ทท่ี ากิน นับเปน็ ความร๎ูที่ทาให๎ชุมชนตํางๆ ที่อาศัยอยูํใกล๎ลาน้า ไมํวําต๎นน้า หรือปลายน้า ได๎รับการแบงํ ป๓นน้าอยาํ งยุตธิ รรม ทกุ คนไดป๎ ระโยชน๑ และอยํูรํวมกนั อยาํ งสนั ติ ชาวบ๎านรจู๎ ักการแปรรปู ผลติ ผลในหลายรูปแบบ การถนอมอาหารให๎กินได๎นาน การดองการ หมัก เชํน ปลาร๎า นา้ ปลา ผักดอง ปลาเคม็ เน้ือเค็ม ปลาแหง๎ เนอ้ื แห๎ง การแปรรูปข๎าว ก็ทาได๎มากมายนับร๎อย ชนิด เชํน ขนมตํางๆ แตํละพิธีกรรม และแตํละงานบุญประเพณี มีข๎าวและขนมในรูปแบบไมํซ้ากัน ตั้งแตํ ขนมจีน สังขยา ไปถึงขนมในงานสารท กาละแม ขนมครก และอ่ืนๆ ซ่ึงยังพอมีให๎เห็นอยูํจานวนหนึ่ง ใน ปจ๓ จบุ นั สํวนใหญปํ รบั เปล่ยี นมาเปน็ การผลติ เพือ่ ขาย หรือเปน็ อตุ สาหกรรมในครัวเรือน ความรู๎เรื่องการปรุงอาหารก็มีอยูํมากมาย แตํละท๎องถิ่นมีรูปแบบ และรสชาติแตกตํางกันไป มมี ากมายนับร๎อยนับพันชนิด แม๎ในชีวิตประจาวัน จะมีเพียงไมํกี่อยําง แตํโอกาสงานพิธี งาน เลี้ยง งานฉลอง สาคัญ จะมีการจัดเตรียมอาหารอยํางดี และพิถีพิถันการทามาหากินในประเพณีเดิมนั้น เป็นท้ังศาสตร๑และ ศิลป์ การเตรียมอาหาร การจัดขนม และผลไม๎ ไมํได๎เป็นเพียงเพื่อให๎รับประทานแล๎วอรํอย แตํให๎ได๎ความ สวยงาม ทาใหส๎ ามารถสัมผสั กับอาหารนั้น ไมํเพียงแตํทางปาก และรสชาติของลิ้น แตํทางตา และทางใจ การ เตรียมอาหารเป็นงานศิลปะ ที่ปรุงแตํด๎วยความตั้งใจ ใช๎เวลา ฝีมือ และความร๎ูความสามารถ ชาวบ๎าน สมยั กํอนสวํ นใหญจํ ะทานาเป็นหลัก เพราะเมอื่ มีข๎าวแลว๎ กส็ บายใจ อยํางอื่นพอหาได๎จากธรรมชาติ เสร็จหน๎า นาก็จะทางานหัตถกรรม การทอผ๎า ทาเส่ือ เลี้ยงไหม ทาเคร่ืองมือ สาหรับจับสัตว๑ เคร่ืองมือการเกษตร และ อปุ กรณ๑ตาํ งๆ ท่จี าเปน็ หรอื เตรียมพนื้ ท่ี เพื่อการทานาครงั้ ตอํ ไป

หัตถกรรมเป็นทรัพย๑สิน และมรดกทางภูมิป๓ญญาที่ยิ่งใหญํที่สุดอยํางหนึ่งของบรรพบุรุษ เพราะเป็นสือ่ ทถ่ี าํ ยทอดอารมณ๑ ความรู๎สึก ความคิด ความเช่ือ และคุณคําตํางๆ ท่ีส่ังสมมาแตํนมนาน ลายผ๎า ไหม ผา๎ ฝูาย ฝีมือในการทออยํางประณตี รปู แบบเคร่ืองมอื ทส่ี านด๎วยไม๎ไผํ และอุปกรณ๑ เครื่องใช๎ไม๎สอยตํางๆ เครื่องดนตรี เคร่ืองเลํน สิ่งเหลําน้ีได๎ถูกบรรจงสร๎างข้ึนมา เพ่ือการใช๎สอย การทาบุญ หรือการอุทิศให๎ใครคน หน่ึง ไมํใชํเพื่อการค๎าขาย ชาวบ๎านทามาหากินเพียงเพื่อการยังชีพ ไมํได๎ทาเพ่ือขาย มีการนาผลิตผลสํวนหน่ึง ไปแลกส่ิงของที่จาเป็น ท่ีตนเองไมํมี เชํน นาข๎าวไป แลกเกลือ พริก ปลา ไกํ หรือเส้ือผ๎า การขายผลิตผลมีแตํ เพียงสํวนน๎อย และเมื่อมีความจาเป็นต๎องใช๎เงิน เพื่อเสียภาษีให๎รัฐ ชาวบ๎านนาผลิตผล เชํน ข๎าว ไปขายใน เมอื งใหก๎ ับพอํ ค๎า หรือขายใหก๎ ับพอํ ค๎าท๎องถิน่ เชํน ทางภาคอีสาน เรียกวํา \"นายฮ๎อย\" คนเหลํานี้จะนาผลิตผล บางอยาํ ง เชนํ ขา๎ ว ปลารา๎ ววั ควาย ไปขายในทไี่ กลๆ ทางภาคเหนือมีพอํ คา๎ ววั ตํางๆ เปน็ ตน๎ แมว๎ าํ ความรเ๎ู รอื่ งการค๎าขายของคนสมัยกํอน ไมํอาจจะนามาใช๎ในระบบตลาดเชํนป๓จจุบันได๎ เพราะสถานการณ๑ได๎เปล่ียนแปลงไปอยํางมาก แตํการค๎าท่ีมีจริยธรรมของพํอค๎าในอดีต ที่ไมํได๎หวังแตํเพียง กาไร แตคํ านึงถงึ การชวํ ยเหลอื แบงํ ป๓นกนั เปน็ หลัก ยงั มคี ณุ คําสาหรับป๓จจุบนั นอกน้ัน ในหลายพื้นท่ีในชนบท ระบบการแลกเปลี่ยนส่ิงของยงั มีอยูํ โดยเฉพาะในพื้นทย่ี ากจน ซงึ่ ชาวบ๎านไมํมีเงินสด แตํมีผลิตผลตํางๆ ระบบ การแลกเปล่ียนไมํได๎ยึดหลักมาตราชั่งวัด หรือการตีราคาของส่ิงของ แตํแลกเปลี่ยน โดยการคานึงถึง สถานการณ๑ของผ๎ูแลกทั้งสองฝุาย คนที่เอาปลาหรือไกํมาขอแลกข๎าว อาจจะได๎ข๎าวเป็นถัง เพราะเจ๎าของข๎าว คานงึ ถงึ ความจาเปน็ ของครอบครวั เจา๎ ของไกํ ถา๎ หากตรี าคาเปน็ เงนิ ขา๎ วหนึ่งถังยํอมมีคําสูงกวาํ ไกหํ นึง่ ตวั การอยรู่ ่วมกนั ในสังคม การอยูํรํวมกันในชุมชนดั้งเดิมน้ัน สํวนใหญํจะเป็นญาติพ่ีน๎องไมํก่ีตระกูล ซึ่งได๎อพยพย๎ายถิ่นฐานมา อยํู หรือสืบทอดบรรพบุรุษจนนับญาติกันได๎ทั้งชุมชน มีคนเฒําคนแกํท่ีชาวบ๎านเคารพนับถือเป็นผู๎นาหน๎าที่ ของผ๎ูนา ไมํใชํการสั่ง แตํเป็นผู๎ให๎คาแนะนาปรึกษา มีความแมํนยาในกฎระเบียบประเพณีการดาเนินชีวิต ตัดสินไกลํเกลี่ย หากเกิดความขัดแย๎ง ชํวยกันแก๎ไขป๓ญหาตํางๆ ที่เกิดขึ้น ป๓ญหาในชุมชนก็มีไมํน๎อย ป๓ญหา การทามาหากิน ฝนแล๎ง น้าทํวม โรคระบาด โจรลักวัวควาย เป็นต๎น นอกจากน้ัน ยังมีป๓ญหาความขัดแย๎ง ภายในชุมชน หรือระหวํางชุมชน การละเมิดกฎหมาย ประเพณี สํวนใหญํจะเป็นการ \" ผิดผี\" คือ ผีของบรรพ บุรุษ ผู๎ซ่ึงได๎สร๎างกฎเกณฑ๑ตํางๆ ไว๎ เชํน กรณีท่ีชายหนุํมถูกเนื้อต๎องตัวหญิงสาวที่ยังไมํแตํงงาน เป็นต๎น หาก เกิดการผิดผีขึ้นมา ก็ต๎องมีพิธีกรรมขอขมา โดยมีคนเฒําคนแกํเป็นตัวแทนของบรรพบุรุษ มีการวํากลําวสั่ง สอน และชดเชยการทาผิดนั้น ตามกฎเกณฑ๑ท่ีวางไว๎ ชาวบ๎านอยูํอยํางพึ่งพาอาศัยกัน ยามเจ็บไข๎ได๎ปุวย ยาม เกิดอุบัติเหตุเภทภัย ยามที่โจรขโมยวัวควายข๎าวของ การชํวยเหลือกันทางานที่เรียกกันวํา การลงแขก ท้ัง แรงกายแรงใจที่มีอยูํก็จะแบํงป๓นชํวยเหลือ เอ้ืออาทรกัน การ แลกเปล่ียนส่ิงของ อาหารการกิน และอ่ืนๆ จึง เกี่ยวข๎องกับวิถีของชุมชน ชาวบ๎านชํวยกันเก็บเกี่ยวข๎าว สร๎างบ๎าน หรืองานอ่ืนที่ต๎องการคนมากๆ เพื่อจะได๎ เสร็จโดยเรว็ ไมํมกี ารจา๎ ง กรณีตวั อยํางจากการปลกู ขา๎ วของชาวบ๎าน ถ๎าปีหนึ่งชาวนาปลูกข๎าวได๎ผลดี ผลิตผลท่ีได๎จะใช๎เพ่ือการ บรโิ ภคในครอบครัว ทาบุญที่วัด เผอ่ื แผใํ หพ๎ น่ี ๎องทข่ี าดแคลน แลกของ และเก็บไว๎ เผื่อวําปีหน๎าฝนอาจแล๎ง น้า อาจทํวม ผลิตผล อาจไมํดีในชุมชนตํางๆ จะมีผ๎ูมีความร๎ูความสามารถหลากหลาย บางคนเกํงทางการรักษา โรค บางคนทางการเพาะปลูกพืช บางคนทางการเลี้ยงสัตว๑ บางคนทางด๎านดนตรีการละเลํน บางคนเกํง ทางด๎านพิธีกรรม คนเหลําน้ีตํางก็ใช๎ความสามารถ เพื่อประโยชน๑ของชุมชน โดยไมํถือเป็นอาชีพ ที่มี คาํ ตอบแทน อยาํ งมากกม็ ี \"คาํ คร\"ู แตเํ พียงเลก็ น๎อย ซึ่งปกติแล๎ว เงินจานวนน้ัน ก็ใช๎สาหรับเคร่ืองมือประกอบ พิธกี รรม หรอื เพอ่ื ทาบุญที่วดั มากกวําท่ีหมอยา หรอื บคุ คลผู๎นนั้ จะเกบ็ ไว๎ใช๎เอง เพราะแท๎ที่จริงแล๎ว \"วิชา\" ที่ ครูถํายทอดมาให๎แกํลูกศิษย๑ จะต๎องนาไปใช๎ เพื่อประโยชน๑แกํสังคม ไมํใชํเพื่อผลประโยชน๑สํวนตัว การตอบ

แทนจึงไมํใชํเงินหรือสิ่งของเสมอไป แตํเป็นการชํวยเหลือเกื้อกูลกันโดยวิธีการตํางๆด๎วยวิถีชีวิตเชํนน้ี จึงมี คาถาม เพือ่ เป็นการสอนคนรนํุ หลงั วาํ ถ๎าหากคนหน่ึงจบั ปลาชํอนตัวใหญํได๎หนึ่งตัว ทาอยํางไรจึงจะกินได๎ท้ังปี คนสมยั น้ีอาจจะบอกวํา ทาปลาเค็ม ปลาร๎า หรอื เกบ็ รกั ษาดว๎ ยวิธกี ารตาํ งๆ แตํคาตอบที่ถูกต๎อง คือ แบํงป๓นให๎ พี่น๎อง เพ่ือนบ๎าน เพราะเมื่อเขาได๎ปลา เขาก็จะทากับเราเชํนเดียวกัน ชีวิตทางสังคมของหมํูบ๎าน มีศูนย๑กลาง อยทูํ ี่วดั กจิ กรรมของสํวนรวม จะทากันทว่ี ัด งานบญุ ประเพณีตาํ งๆ ตลอดจนการละเลํนมหรสพ พระสงฆเ๑ ป็น ผูน๎ าทางจิตใจ เปน็ ครูที่สอนลูกหลานผช๎ู าย ซึง่ ไปรบั ใชพ๎ ระสงฆ๑ หรือ \"บวชเรียน\" ทัง้ น้เี พราะกํอนนยี้ งั ไมมํ ี โรงเรียน วดั จึงเปน็ ทั้งโรงเรยี น และหอประชมุ เพื่อกจิ กรรมตาํ งๆ ตํอเมื่อโรงเรยี นมขี ้ึน และแยกออกจากวดั บทบาทของวดั และของพระสงฆ๑ จงึ เปลี่ยนไป งานบญุ ประเพณีในชุมชนแตํกํอนมีอยูํทุกเดือน ตํอมาก็ลดลงไป หรือสองสามหมํูบ๎านรํวมกันจัด หรือ ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกัน เชํน งานเทศน๑มหาชาติ ซึ่งเป็นงานใหญํ หมูํบ๎านเล็กๆ ไมํอาจจะจัดได๎ทุกปี งาน เหลํานีม้ ที ้ังความเช่ือ พธิ ีกรรม และความสนกุ สนาน ซึ่งชุมชนแสดงออกรํวมกัน ระบบคุณค่า ความเชื่อในกฎเกณฑ๑ประเพณี เป็นระเบียบทางสังคมของชุมชนดั้งเดิม ความเช่ือนี้เป็นรากฐานของ ระบบคุณคําตํางๆ ความกตัญ๒ูร๎ูคุณตํอพํอแมํ ปูุยําตายาย ความเมตตาเอ้ืออาทรตํอผ๎ูอ่ืน ความเคารพตํอส่ิง ศกั ด์ิสทิ ธิ์ในธรรมชาติรอบตัว และในสากลจกั รวาล ความเช่ือ \"ผี\" หรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในธรรมชาติ เป็นที่มาของการดาเนินชีวิต ท้ังของสํวนบุคคล และของ ชมุ ชน โดยรวมการเคารพในผีปุูตา หรือผีปุูยํา ซึ่งเป็นผีประจาหมํูบ๎าน ทาให๎ชาวบ๎านมีความเป็นหน่ึงเดียวกัน เปน็ ลูกหลานของปูุตาคนเดียวกนั รักษาปุาที่มบี า๎ นเล็กๆ สาหรับผี ปลูกอยูํติดหมูํบ๎าน ผีปุา ทาให๎คนตัดไม๎ด๎วย ความเคารพ ขออนุญาตเลอื กตดั ต๎นแกํ และปลูกทดแทน ไมทํ ง้ิ สิ่งสกปรกลงแมํน้า ด๎วยความเคารพในแมํคงคา กนิ ขา๎ วดว๎ ยความเคารพ ในแมโํ พสพ คนโบราณกนิ ขา๎ วเสร็จ จะไหวข๎ ๎าว พิธีบายศรีสูํขวัญ เป็นพิธีรื้อฟื้น กระชับ หรือสร๎างความสัมพันธ๑ระหวํางผ๎ูคน คนจะเดินทางไกล หรือ กลับจากการเดินทาง สมาชิกใหมํ ในชุมชน คนปุวย หรือกาลังฟ้ืนไข๎ คนเหลําน้ีจะได๎รับพิธีสูํขวัญ เพื่อให๎เป็น สริ มิ งคล มีความอยูํเยน็ เป็นสุข นอกนนั้ ยังมพี ิธีสืบชะตาชีวิตของบุคคล หรอื ของชุมชน นอกจากพิธีกรรมกับคนแล๎ว ยังมีพิธีกรรมกับสัตว๑และธรรมชาติ มีพิธีสํูขวัญข๎าว สํูขวัญควาย สํูขวัญ เกวยี น เปน็ การแสดงออกถงึ การขอบคณุ การขอขมา พิธีดังกลําวไมํได๎มีความหมายถึงวํา ส่ิงเหลําน้ีมีจิต มีผีใน ตัวมันเอง แตํเป็นการแสดงออก ถึงความสัมพันธ๑กับจิตและสิ่งศักด์ิสิทธิ์ อันเป็นสากลในธรรมชาติทั้งหมด ทา ให๎ผ๎ูคนมีความสัมพันธ๑อันดีกับทุกส่ิง คนขับแท็กซ่ีในกรุงเทพฯ ที่มาจากหมํูบ๎าน ยังซื้อดอกไม๎ แล๎วแขวนไว๎ที่ กระจกในรถ ไมํใชํเพื่อเซํนไหว๎ผีในรถแท็กซี่ แตํเป็นการราลึกถึงส่ิงศักด์ิสิทธิ์ ใน สากลจักรวาล รวมถึงที่สิงอยูํ ในรถคันนั้นผ๎ูคนสมัยกํอนมีความสานึกในข๎อจากัดของตนเอง ร๎ูวํา มนุษย๑มีความอํอนแอ และเปราะบาง หาก ไมํรักษาความสมั พันธอ๑ นั ดี และไมคํ งความสมดุลกับธรรมชาติรอบตัวไว๎ เขาคงไมํสามารถมีชีวิตได๎อยํางเป็นสุข และยืนนาน ผ๎ูคนทั่วไปจึงไมํมีความอวดกล๎าในความสามารถของตน ไมํท๎าทายธรรมชาติ และส่ิงศักดิ์สิทธ์ิ มี ความออํ นนอ๎ มถอํ มตน และรักษากฎระเบยี บประเพณีอยาํ งเครํงครดั ชีวิตของชาวบ๎านในรอบหนึ่งปี จึงมีพิธีกรรมทุกเดือน เพ่ือแสดงออกถึงความเชื่อ และความสัมพันธ๑ ระหวํางผ๎ูคนในสังคม ระหวํางคนกับธรรมชาติ และระหวํางคนกับสิ่งศักด์ิสิทธ์ิตํางๆ ดังกรณีงานบุญประเพณี ของชาวอสี านที่เรียกวําฮตี สบิ สอง คอื เดือนอ๎าย (เดือนที่หน่ึง) บุญเข๎ากรรม ให๎พระภิกษุเข๎าปริวาสกรรมเดือน ย่ี (เดือนที่สอง) บุญคูณลาน ให๎นาข๎าวมากองกันที่ลาน ทาพิธีกํอนนวด เดือนสาม บุญข๎าวจี่ ให๎ถวายข๎าวจ่ี

(ข๎าวเหนียวป้๓นชุบไขํทาเกลือนาไปยํางไฟ)เดือนส่ี บุญพระเวส ให๎ฟ๓งเทศน๑มหาชาติ คือ เทศน๑เรื่องพระ เวสสันดรชาดก เดอื นหา๎ บญุ สรงนา้ หรือบญุ สงกรานต๑ ให๎สรงน้าพระ ผ๎ูเฒาํ ผ๎ูแกํ เดือนหก บุญบ้ังไฟ บูชาพญา แถน ตามความเชื่อเดิม และบุญวิสาขบูชา ตามความเช่ือของชาวพุทธ เดือนเจ็ด บุญซาฮะ (บุญชาระ) ให๎บน บานพระภูมิเจ๎าที่ เลี้ยงผีปูุตา เดือนแปด บุญเข๎าพรรษา เดือนเก๎า บุญข๎าวประดับดิน ทาบุญอุทิศสํวนกุศลให๎ ญาติพี่น๎องผ๎ูลํวงลับ เดือนสิบ บุญข๎าวสาก ทาบุญเชํนเดือนเก๎า รวมให๎ผีไมํมีญาติ (ภาคใต๎มีพิธีคล๎ายกัน คือ งานพิธีเดือนสิบ ทาบุญให๎แกํบรรพบุรุษผู๎ลํวงลับไปแล๎ว แบํงข๎าวปลาอาหารสํวนหน่ึงให๎แกํผีไมํมีญาติ พวก เด็กๆ ชอบแยงํ กันเอาของทแ่ี บํงให๎ผีไมมํ ญี าตหิ รือเปรต เรียกวาํ \"การชิงเปรต\") เดอื นสิบเอ็ด บุญออกพรรษา เดือนสบิ สอง บญุ กฐนิ จัดงานกฐิน และลอยกระทง ภูมิป๓ญญาชาวบ๎านในสังคมป๓จจุบันภูมิป๓ญญาชาวบ๎านได๎กํอเกิด และสืบทอดกันมาในชุมชนหมูํบ๎าน เมื่อหมํูบ๎านเปลี่ยนแปลงไปพร๎อมกับสังคมสมัยใหมํ ภูมิป๓ญญาชาวบ๎านก็มีการปรับตัวเชํนเดียวกัน ความร๎ู จานวนมากไดส๎ ญู หายไป เพราะไมมํ กี ารปฏบิ ตั สิ ืบทอด เชํน การรกั ษาพ้ืนบ๎านบางอยําง การใช๎ยาสมุนไพรบาง ชนิด เพราะหมอยาท่ีเกํงๆ ได๎เสียชีวิต โดยไมํได๎ถํายทอดให๎กับคนอ่ืน หรือถํายทอด แตํคนตํอมาไมํได๎ปฏิบัติ เพราะชาวบ๎านไมํนิยมเหมือนเมื่อกํอน ใช๎ยาสมัยใหมํ และไปหาหมอ ท่ีโรงพยาบาล หรือคลินิก งํายกวํา งาน หันตถกรรม ทอผ๎า หรือเคร่ืองเงิน เคร่ืองเขิน แม๎จะยังเหลืออยํูไมํน๎อย แตํก็ได๎ถูกพัฒนาไปเป็นการค๎า ไมํ สามารถรักษาคุณภาพ และฝีมือแบบด้ังเดิมไว๎ได๎ ในการทามาหากินมีการใช๎เทคโนโลยีทันสมัย ใช๎รถไถแทน ควาย รถอีแตน๐ แทนเกวยี น การลงแขกทานา และปลูกสร๎างบ๎านเรือน ก็เกือบจะหมดไป มีการจ๎างงานกันมากขึ้น แรงงานก็หา ยากกวําแตํกํอน ผคู๎ นอพยพยา๎ ยถิน่ บ๎างกเ็ ข๎าเมือง บ๎างก็ไปทางานที่อ่ืน ประเพณีงานบุญ ก็เหลือไมํมาก ทาได๎ ก็ตอํ เมือ่ ลูกหลานท่จี ากบา๎ นไปทางาน กลับมาเย่ียมบ๎านในเทศกาลสาคัญๆ เชํน ปีใหมํ สงกรานต๑ เข๎าพรรษา เป็นต๎น สังคมสมัยใหมํมีระบบการศึกษาในโรงเรยี น มีอนามัย และโรงพยาบาล มีโรงหนัง วิทยุ โทรทัศน๑ และ เคร่ืองบันเทิงตํางๆ ทาให๎ชีวิตทางสังคมของชุมชนหมูํบ๎านเปล่ียนไป มีตารวจ มีโรงมีศาล มีเจ๎าหน๎าท่ีราชการ ฝุายปกครอง ฝาุ ยพฒั นา และอนื่ ๆ เข๎าไปในหมูํบ๎าน บทบาทของวัด พระสงฆ๑ และคนเฒําคนแกํเร่ิมลดน๎อยลง การทามาหากินก็เปล่ียนจากการทาเพื่อยังชีพไปเป็นการผลิตเพ่ือการขาย ผ๎ูคนต๎องการเงิน เพื่อซื้อเคร่ือง บริโภคตํางๆ ทาให๎สิ่งแวดล๎อม เปลี่ยนไป ผลิตผลจากปุาก็หมด สถานการณ๑เชํนน้ีทาให๎ผู๎นาการพัฒนาชุมชน หลายคน ที่มีบทบาทสาคัญในระดับจังหวัด ระดับภาค และระดับประเทศ เร่ิมเห็นความสาคัญของภูมิป๓ญญา ชาวบา๎ น หนํวยงานทางภาครัฐ และภาคเอกชน ให๎การสนับสนุน และสํงเสริมให๎มีการอนุรักษ๑ ฟ้ืนฟู ประยุกต๑ และค๎นคดิ สิง่ ใหมํ ความรูใ๎ หมํ เพ่ือประโยชนส๑ ขุ ของสงั คม

สานสวงิ ความเปน็ มาและความสาคัญของการสานสวิง มนุษย๑ได๎รู๎จักวิธีการนาวัตถุดิบท่ีอยํูใกล๎ ตัว มาดัดแปลงเป็นส่ิ งของเคร่ืองใช๎ จากข้ันตอนที่งํายจน วิวัฒนาการสูํความละเอียดอํอน ประณีตงดงามในเชิงศิลปะและประโยชน๑ใช๎สอย จนสนองความต๎องการได๎ เป็นอยํางดีและสืบทอดมาจนป๓จจุบัน กรรมวิธีดังกลําว ชํวยให๎มนุษย๑ได๎ผลิตส่ิงของเคร่ืองใช๎ตํางๆ ไว๎เป็น จานวนมาก เราเรียกส่ิงประดิษฐ๑นั้นวํา “หัตถกรรม”อันหมายถึง การสร๎างสิ่งของเครื่องใช๎ด๎วยมือ เคร่ืองมือ ภมู ิป๓ญญา เพอื่ ให๎ได๎มาซ่งึ ประโยชน๑ใช๎สอยในชีวิตประจาวัน การสานสวิงเป็นภูมิป๓ญญาท๎องถิ่นท่ีมีสืบตํอกันมานาน สวิงมีใช๎แพรํหลายทั่วไปทุกหลังคาเรือน ในพ้ืนท่ีชนบทชาวบ๎านจะเป็นผู๎ถักทาขึ้นใช๎เองเม่ือมีเวลาวํางโดยไมํเรํงรีบทาแตํประการใด ทาข้ึนเพ่ือใช๎ ทดแทนสวิงเกําท่ีเริ่มชารุดหรือต๎องการมีสวิงเพ่ิมขึ้น สวิงเป็นเคร่ืองมือจับสัตว๑น้า ลักษณะเป็นถุงตาขํายมี ขอบทาด๎วยไม๎เส๎นวงกลม ใช๎ช๎อนตักลูกปลา กุ๎ง ปลาซิว ลูกอ๏อด แมลงน้าและปลาขนาดเล็กทั่วไปที่หลงติด อยูํหรืออาศัยในแหลํงน้าต้ืน ๆ เชํนหนองน้า ท๎องนา สามารถใช๎ช๎อนตักได๎ตลอดปี เป็นอุปกรณ๑ที่ใช๎ในการ ดารงชีวิตของคนในชุมชนทไี่ ดร๎ ับการถํายทอดจากบรรพบุรุษ จากบทสัมภาษณ๑นางสาวหนูหริ่ง คาชามา เมื่อวํางจากการทานาหรือหมดฤดูทานาข๎าวก็จะ สานสวิงเพ่ือนาไปจับสัตว๑น้าตํางๆมาเลี้ยงชีพด๎วยตัวเองการสานสวิงทาให๎คลายความเหงาเน่ืองจากไมํมี ครอบครัว และอยํูบ๎านตามลาพัง ในบางคร้ังก็จะสอนหลานหรือคนในชุมชนสานสวิงเพ่ือชํวยสืบทอดภูมิ - ปญ๓ ญาตํอไป แล๎วยงั นาสวิงท่เี หลือไปขายเพ่ือสร๎างรายไดใ๎ หก๎ บั ตนเองอีกดว๎ ย ประเภทของสวิง 1. สวิงปากกลม ใชส๎ าหรบั ช๎อนปลา กุง๎ หรอื สตั ว๑นา้ ตํางๆในแหลงํ น้าตื้นๆ ลกั ษณะขอบปากทา จากไม๎ไผํเป็นเส๎นวงกลมผืนตาขํายหรอื เน้ืออวนทรงกลมท่ีปาก เรียวยาวลงท่กี ๎นสวิง รปู ท่ี 1 สวิงปากกลม ปากกว๎างทาจากไม๎ไผํ ( ทมี่ า:http://tuteun.blogspot.com/2016/02/blog-post_3.html) 2. สวงิ ตักปลา ใชส๎ าหรับตกั ปลาหรอื สัตวน๑ ้าที่เลี้ยงในบํอลักษณะมีด๎ามจับที่ยาว ปากแคบและมี ก๎นที่ลึก กวาํ สวงิ ชอ๎ นปลา ด๎ามจบั และปากสวงิ ทาจากทํอPVC

รปู ท่ี 2 สวงิ ตกั ปลา หรอื สัตว๑น้า ดา๎ ม PVC (ทมี่ า:https://www.facebook.com/jorjaroengreennet/posts) 3. สวิงตกั ปลา ใช๎สาหรับตักปลาในบอํ เลก็ ๆ รปู ทรงวงรมี ีปากกว๎างขนาด 30 เซนตเิ มตร ก๎นไมลํ กึ ดา๎ มจับเป็นอลูมิเนยี ม รูปท่ี 3 สวิงตกั ปลาหรือสัตวน๑ ้า รปู ทรงวงรี ดา๎ มและปากทาจากอลมู เิ นยี ม (ที่มา:http://www.kgrshop.com/product) 4. สวงิ ชอ๎ นปลาใชส๎ าหรบั ชอ๎ นปลาหรอื ขยะออกจากแหลํงน้าตาํ งๆ สามารถขยายความยาวด๎าม จบั ได๎ตามต๎องการ และสามารถขยายความยาวได๎สูงสุด 1.40 ม. น้าหนักเบาทาจากอลูมิเนยี มพับเก็บได๎

รปู ที่ 4 สวิงชอ๎ นปลาหรือขยะ ดา๎ มยาว (ที่มา:http://nnnstore.lnwshop.com/product/45) 5. สวิงช๎อนปลา ใชส๎ าหรบั ตกั ปลาในบอํ หรือช๎อนปลาในหนองนา้ ตื้นๆ ลกั ษณะปากและด๎ามจับ เป็นไมส๎ วยงาม ปากกว๎างขนาด 30 เซนติเมตร รูปท่ี 5 สวงิ ชอ๎ นปลา ลักษณะมดี ๎ามจบั เป็นไม๎ (ที่มา:http://siamfishing.com/content/view.php?nid=175816&cat=handmade)

ขัน้ ตอนการสานสวิง 1.1วัสดุอปุ กรณ์ 1.1.1 ไม๎จีมทาจากไม๎ไผํหรือไม๎ชนิดอ่ืนๆ ใช๎พันด๎ายถักและมีปลายแหลมเพ่ือชํวยในการถักสวิง ถา๎ ต๎องการใหม๎ ีความคงทนและใช๎ได๎นานก็จะทาดว๎ ยไม๎เนอื้ แข็ง แตภํ ูมปิ ๓ญญาท๎องถิ่นที่สืบตํอกันมานานใช๎ไม๎ไผํ เพราะงํายตอํ การเหลาใหก๎ ลมมน และสามารถหาไดง๎ าํ ยในชุมชน 1.1.2 ไมก๎ ํอ (ไมไ๎ ผํเหลาเปน็ เสน๎ เลก็ ยาวประมาณ 6 นวิ้ )ทาจากไม๎ไผํทัว่ ไปซ่ึงหาได๎จากข๎างๆนา ตัดลา ตน๎ แลว๎ นามาเหลาให๎ได๎ขนาดตามท่ีต๎องการเพื่อใชส๎ าหรับถักตาสวงิ

1.1.3 ไมส๎ าน (ไม๎ไผํเหลาเป็นเสน๎ เลก็ ยาวประมาณ 6 นิ้ว ปลายแหลม 1 ดา๎ น)สาหรบั ชวํ ยใชใ๎ นการสานตาสวงิ 1.1.4 ไมข๎ อบสวิง ทาจากไม๎ ไมไ๎ ผหํ รอื หวาย ไมข๎ อบหาได๎ตามปุาและในเขตพื้นที่รอบ ๆ หมํูบ๎านไม๎ หวายจะมคี วามเหนยี วและมอดไมํเจาะ 1.1.4 ด๎ายถกั หาซื้อไดจ๎ ากรา๎ นคา๎ ด๎ายสานสวิง มีตง้ั แตํเบอร๑ 4,6,9,12,.. ถงึ เบอร๑ 60 1.1.5 ตะปเู ลก็ ใชต๎ อกปากสวิงโดยใชต๎ ะปขู นาดเล็ก

1.2 ขนั้ ตอนการทา 1.2.1 นาด๎ายถกั พันที่ไม๎จีมเพ่ือเตรยี มการถกั 1.2.2 นาด๎ายมาผกู ขัดเง่อื นตายเพอ่ื เร่ิมทากน๎ สวิงเรม่ิ กํอจอม ซึ่งเรามักจะเรียกจอมนวี้ าํ ปม เพอ่ื ให๎ ฐานแขง็ แรง 1.2.3 นาไมก๎ ํอ จานวน 2 เสน๎ มาวางเรียงคูํกนั แลว๎ น้าด๎ายคบ หรือคบ 6 มาข้นึ รูปความยาว 15 ตา เปน็ รูปสีเ่ หลย่ี ม (ฐานสวงิ )

1.2.4 นาจีมท่ใี สํดา๎ ยเรยี บรอ๎ ยแล๎ว มาสานตํอจากฐานสวงิ โดยเรมิ่ จากมุมใดมมุ หน่ึงสานลงตา สวิงจานวน 2 ขาเฉพาะมุมสวิงเทาํ น้ันนอกนนั้ ใหส๎ านตาสวงิ ตามปกติ ประมาณ 10 แถว 1.2.5 การเปล่ียนไม๎สานโดยสอดเข๎าแทนไม๎กํอแลว๎ สานตอํ ไปอีก 22 แถวมุมสวิงให๎สานลง 2 ขา เหมอื นเดมิ จากนนั้ ก็สานไปเรื่อยๆจนได๎ความลึกประมาณ50 – 60 เซนติเมตรหรือได๎ตามขนาดที่ ตอ๎ งการ แล๎วแตํความชอบของผ๎ูใช๎

สวิงทถี่ กั จนได๎ขนาดตามที่ต๎องการแล๎ว จะมีก๎นลกึ เลก็ และปากกว๎าง 1.2.6 นาไม๎ไผํมาเหลาใหไ๎ ด๎ 2 อนั อนั แรกเปน็ ดา๎ มสวิง สวํ นอนั ทสี่ องเหลาใหม๎ ขี นาดเลก็ พอประมาณ เพื่อนาไปสอดกับสวิงที่สานไว๎ และใชเ๎ ป็นตัวกาหนดขนาดของชํอง วาํ จะเอาความหํางประมาณ ไหน นาไม๎ไผอํ นั แรก ทีเ่ หลาแล๎วมาเฉือนปลายสองดา๎ นให๎ไดร๎ ูป และนามาประกบกันจนเปน็ ทรงกลม จากนน้ั ก็ มดั ด๎วยเชอื กฟางไวก๎ ํอน แล๎วคํอยตอกตะปเู ข็มใหแ๎ นํน 1.2.7 นาสวิงทีส่ านเสร็จเรียบรอ๎ ยมาสอดกับไม๎ไผอํ นั ทีส่ องท่ีเหลาไวแ๎ ละนามามดั ติดกับไม๎ไผํอัน แรกดว๎ ยเชือกฟาง หลังจากน้ันก็เย็บตดิ กับขอบไม๎ไผํด๎วยการตอกตะปเู ข็มอยํางประณีต

1.2.8 หลงั จากที่เย็บด๎วยตะปูเขม็ เรยี บร๎อยแลว๎ ก็นามดี มาตัดเอาเชอื กฟางออก พร๎อมทั้งเกบ็ ลายละเอียดของสวงิ เล็กน๎อย และนาเขยี งมาใสํไวใ๎ นสวงิ เพ่ือถวํ งน้าหนักและให๎สวงิ นั้นได๎รปู ทรงท่ีสวยงาม 1.2.9 จากนนั้ กเ็ ปน็ อนั เสรจ็ สิ้น กจ็ ะได๎สวงิ ท่ีคงทนแข็งแรง และสวยงาม พร๎อมสาหรบั การออก ใช๎งานหรอื ออกวาํ งจาหนาํ ยแกผํ ๎ทู ่สี นใจ

การนาภูมปิ ัญญาศกึ ษา เรอื่ ง สานสวงิ ไปใช้ในชีวิตประจาวนั 1. ไดร๎ ับความรู๎เกีย่ วกับอุปกรณ๑ ข้ันตอนการสานสวิงและสวิงประเภทตํางๆ 2. ไดร๎ บั ความรูเ๎ กี่ยวกับการนาสวิงไปใชป๎ ระโยชน๑ในการทามาหากนิ ท่หี ลากหลายเชํนจบั สัตว๑น้า จบั ไขมํ ดแดง สํอนขวญั และช๎อนเสน๎ ขนมจีน 3. สํงเสริมและสนบั สนนุ การสร๎างอาชพี การสานสวงิ ขาย ทีช่ วํ ยสร๎างรายไดใ๎ หก๎ บั ครอบครัวของ คนในชุมชน ตัวอย่างการใชส้ วิงจบั สัตวน์ า้ และอนื่ ๆ รูปที่ 1 การใช๎สวิงดักจบั สตั ว๑นา้ เชํนลกู ปลา กงุ๎ ท่ไี หลมาตามนา้ ในฝายนา้ ล๎น (ทมี่ า:www.77jowo.com/tag) รปู ที่ 2 การใชส๎ วงิ ดักจบั สัตว๑น้า เชํนลูกปลา กุง๎ ท่ีไหลออกจากปากทํอ (ที่มา:www.innnews.co.th/regional-news/news_189293/)

รปู ท่ี 3 การใช๎สวงิ ดา๎ มยาวดกั จบั สัตวน๑ ้า เชํน ปลา กง๎ุ ปู ในฤดนู ้าหลาก ตามหว๎ ยหนองคลองบึงของชาวชนบท (ท่ีมา:http://rchaiyarak.blogspot.com/2014/08/blog-post.html ) รปู ที่ 4 การใชส๎ วงิ จับปลา กุ๎ง ปู ในสระน้าที่เริ่มแหง๎ ของชาวบ๎านในชนบท (ทมี่ า:www.77jowo.com/contents/115255) รปู ท่ี 5ชาวบา๎ นใชส๎ วิงการจับลกู อ๏อด หรือ ฮวก ต๎องหาทํงุ นาท่มี นี า้ ขังหรอื น้าขังเปน็ แองํ เพราะลูกอ๏อด ท้ังหลายจะมารวมกันอยํูตรงท่ีมีนา้ ทาให๎จบั ได๎งําย (ที่มา:https://www.naewna.com/likesara/341154?fb_comment_ id=1947983181943813_1948820308526767)

รูปที่ 6 การใชส๎ วิงจบั หอยขมที่อยูํในหนองคลองบึง (ทมี่ า:http://www.soccersuck.com/boards/topicstore/1434527) รปู ที่ 7 ใชส๎ วิงจบั ปลา ลกู อ๏อด ปู ในนาข๎าว (ทม่ี า:http://147pennapa.blogspot.com/2015/07/) รปู ท่ี 8 ใช๎สวิงจับปลาหลดในคลองที่นา้ เร่มิ ตื้น (ทีม่ า:www.pinterest.com/pin/669066088366270725/)

รูปที่ 9 การใช๎สวิงดา๎ มยาวตักปลาสวยงามหรอื ปลาเลย้ี ง ในบํอเลี้ยงท่วั ไป (ทม่ี า:www.kaidee.com/product-344094547) รปู ท่ี 10 การใช๎สวงิ มดี า๎ มชํวยตกั ปลาทีต่ กได๎เพื่อไมํใหป๎ ลาบาดเจบ็ มาก (ทีม่ า:http://www.siamfishing.com/m/content/m.view.php?nid=199439&cat=handmade) รปู ท่ี 11 การใช๎สวิงตกั ปลาในฝายน้าล๎นของชาวบ๎านการใชส๎ วงิ ขนาดใหญํ ทชี่ าวบ๎านทาข้ึนมา นาวางไวท๎ รี่ ิมนา้ ให๎ปลาตัวเล็กๆ กระโดดข้ึนมาในสวงิ

(ท่ีมา:https://www.tnews.co.th/contents/451833) รูปท่ี 12 ทกุ ฤดูหนาว คนริมนา้ บางปะกง ใกลป๎ ากอําว จะเตรยี มเรือ พร๎อมสวงิ ไปช๎อนปลา ดุกทะเล ทีเ่ หลือคร่ึงตวั จากการแบงํ ป๓นของโลมา (ทีม่ า:https://www.tnews.co.th/contents/458477) รปู ที่ 13 การใช๎สวิงชํวยช๎อนเสน๎ ขนมจีนขึน้ มาล๎างในน้าเย็น เพ่อื ทาความสะอาดเส๎น (ทมี่ า:http://202.29.22.167/newlocaldb/stdlocal/2556/553130060103/Page13.html) รูปท่ี 14 สวิงตาถี่นอกจากใชช๎ ๎อนจับปลาทั่วไปได๎แลว๎ ยังสามารถใช๎กรองจับไขํมดแดงทอ่ี ยูํในรงั บนต๎นไม๎ได๎ (ทม่ี า:http://www.khaochad.com/77972?r=1&width=1366)

รปู ท่ี 15 เปน็ การละเลนํ พ้ืนเมืองของภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ในท๎องถิน่ อาเภอยางตลาดจังหวดั กาฬสินธ๑ุ เปน็ การละเลนํ เพื่อสงํ เสริมดา๎ นจติ ใจของประชาชนในท๎องถ่นิ ซึ่งมอี าชีพในการจบั สัตว๑น้า โดยมี สวงิ เป็นเครอื่ งมือ (ท่ีมา:https://sites.google.com/site/ajanthus/seing-swing) รปู ที่ 16 การใช๎สวงิ สอํ นขวัญ สํอน หมายถงึ ตักเอา ช๎อนเอา เมอื่ ผูใ๎ ดประสบอุบัติเหตุ เชนํ ตก จากทสี่ ูง โค กระบือชนกจ็ ะเสียขวัญหรอื ขวญั เสียความตกใจกลัวยงั ไมหํ าย เวลานอนก็จะสะด๎งุ หรือละเมออยูํ จงึ จัดทาพธิ สี ํอนขวัญใหแ๎ กผํ ๎ไู ดร๎ ับอุบตั ิเหตุเพอ่ื เป็นการบารุงขวัญ สาหรบั อุปกรณท๑ ีใ่ ช๎ประกอบในการทาพธิ กี ็ จะมี สวิง ใชใ๎ นการสอํ นขวญั ขนั ธ๑ 5 เพอื่ ขอสมาแกเํ จ๎าแมธํ รณี หมากพลู บุหรี่ ขา๎ วเหนียวหนึ่งป้๓น จะนาไปให๎ ผี ไขํไกํ ทต่ี ม๎ สกุ หนึ่งฟอง ขา๎ วต๎ม ฝูายใชส๎ าหรับผูกแขน ของหวาน ดอกไม๎ และ เสอื้ ผ๎าของผู๎ทีป่ ระสบอบุ ัติเหตุ ๑ชดุ เมือ่ เตรยี มสง่ิ ของตาํ ง ๆ พร๎อมแลว๎ นาไปใสํไวใ๎ นสวงิ ใหผ๎ อู๎ าวโุ สซงึ่ อาจเปน็ พํอ แมํ ปุู ยํา ตา ยาย ลุง ปาู นา๎ อา ของผป๎ู ระสบอบุ ตั เิ หตุคนใดคนหน่งึ กไ็ ด๎ยกสวงิ ทีบ่ รรจเุ ครื่องสอํ นขวัญไว๎แลว๎ ไปยังบริเวณทเี่ กดิ เหตุยนื อยูํสักครํยู กของขึ้นกลาํ ววํา ยนื อยํูสกั ครํูยกของขึ้นกลําววาํ เจ๎าแมํธรณเี จา๎ ทเี่ จ๎าทางแหงํ นี้เอย วนั นเ้ี วลา... (นาย/นาง/เด็กชาย/เด็กหญิง)...ได๎มาประสบอุบตั ิเหตุ ณ ท่ีแหํงน้ีขณะนยี้ งั เจบ็ ปุวยอยํูจึงไดม๎ าสํอนเอาขวัญของ ...ทยี่ ังตกค๎างอยํู ณ ที่แหํงนี้กลบั คืนไปอยํูกบั เนื้อกบั ตวั ของเขา จากนัน้ ก็ใช๎มอื สองมือจับสวิงตักไปมาพรอ๎ มกบั พดู วํา ขอให๎ผู๎ปวุ ยจงหายเจ็บปวุ ยโดยเร็ว การใดทผ่ี ูป๎ วุ ยลวํ งเกิน พระแมํธรณี และเจ๎าท่ีเจา๎ ทางก็ขออโหสิกรรม ด๎วย ขณะทากาข๎อนครง้ั ท่หี น่ึงผ๎ูช๎อนจะพูดวํา \" มาเด๎อขวญั เอย๎ \" ช๎อนคร้ังที่สองจะพูดวํา \" มาเดอ๎ ขวัญเอย๎ \" พอมาถึงครัง้ ท่ีสาม คนล๎อมจะพดู วํา \" เข๎าหรือยัง \" คนช๎อนก็จะตอบวาํ \" เขา๎ แลว๎ \" จากนัน้ ก็จะมีคนมารวบ สวงิ แลว๎ นาผา๎ มาคลุมแล๎วนากลับบา๎ นของผ๎ูปุวย (หา๎ มแวะที่อื่น) ในขณะน้บี รรดาญาติของผู๎ปวุ ยอีกกลมุํ หน่ึง รออยํูบ๎านผป๎ู วุ ยเพ่อื รบั ขวญั เมอ่ื ไปถงึ บ๎านผูป๎ ุวยญาติผูร๎ อรับก็จะรบั เอาสวงิ ทบี่ รรจุสิง่ ของน้นั ไปแตะทตี่ วั ผู๎ปุวย

ผ๎ไู ปสอํ นขวญั และบรรดาญาติจะพดู พร๎อม ๆ กันวํา เออ...ขวญั เจ๎าได๎คนื มาอยํูกับเนอื้ กับตัวเจา๎ แล๎ว ขวญั เอยมา เดอ...ขอห๎าหายปวุ ยหายเคราะหโ๑ ดยเร็ว จากนัน้ ก็วางสวิงหรือหํอผ๎าลงที่พน้ื หยิบเอาส่ิงของออกมา เส้ือผ๎าถ๎า สวมใสํได๎กใ็ สํเลย ถา๎ ใสไํ มํได๎เพราะปุวยหนักก็วางไว๎ขา๎ ง ๆ คนเฒาํ คนแกคํ นหนงึ่ เอาข๎าวเหนียวนง่ึ ไขไํ กํตม๎ ข๎าวต๎ม และขนมใสํมือผ๎ปู ุวย ผูกแขนเรียกขวญั ผูป๎ วุ ยให๎มาอยูํกับเนื้อกบั ตัว โดยใหค๎ นท่ีเอาสวงิ หรอื นาขวญั มา ผกู กอํ น บรรดาญาติก็ทยอยเข๎ามาผูกขอ๎ มือจนหมดทกุ คนโดยจะอวยพรใหค๎ นปวุ ยหายและประสบแตํสงิ่ ดๆี เปน็ อันเสรจ็ พธิ กี ารสํอนขวญั (ทมี่ า:http://ourmaekong.blogspot.com/2016/10/blog-post_32.html) ตัวอยา่ งการสรา้ งกลุ่มอาชีพจากการสานสวิง 1. กลมุ่ วิสาหกิจชุมชนสานสวงิ และหตั ถกรรมจากไม้บ้านดอนไมง้ าม ทอี่ ยํู 151/15 บ๎านดอนไมง๎ าม ตาบลกุดชมภู อาเภอพบิ ูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี 34110 ประวตั ิความเปน็ มา การทาสวงิ บา๎ นดอนไมง๎ าม ตาบลกดุ ชมภู อาเภอพิบลู มงั สาหาร จังหวัดอบุ ลราชธานี สบื ทอดมา จากคณุ ยายคนหนึ่งซง่ึ อาศยั อยใํู นพนื้ ทีบ่ า๎ นดอนไม๎งาม โดยคณุ ยายคนน้ีไดน๎ าวิธีการสานสวิงและสอนให๎ ลูกหลานทา เพื่อใชใ๎ นการชอ๎ นหรือตกั ปลา เพราะพนื้ ทบี่ า๎ นดอนไม๎งาม เปน็ พ้นื ที่ท๎องทํงุ นา มีหว๎ ย หนอง คลอง บึง ปาุ ไม๎ และสัตว๑นา้ จานวนมาก จงึ ได๎นาเอาสวิงมาเปน็ เครอ่ื งมอื ในการทามาหากิน ตอํ มาชาวบ๎านจงึ ได๎รวมกลมุํ กนั ข้นึ มาเมื่อปี พ.ศ. 2542 จานวน 10 คน เพ่ือตั้งกลมุํ สานสวงิ ในการประกอบเปน็ อาชีพเสริม สร๎างอาชีพ สรา๎ งงาน สรา๎ งรายได๎ ของคนในหมบํู ๎านทวี่ ํางงานหลงั เสร็จจากการทานานอกจากนยี้ ังมีการพฒั นา รูปแบบใหมํ เชํน โคมไฟสวงิ โมบายสวิง เป็นตน๎ ปี พ.ศ. 2554 ไดร๎ บั เงนิ อดุ หนนุ จากองค๑การบริหารสวํ น ท๎องถิ่น ตาบลกดุ ชมภู อาเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี จานวน 20,000 บาท และได๎รับการสงํ เสรมิ วัสดุ ด๎ายลอํ นเทียมคบ 6 จากสานักงานพัฒนาชมุ ชนจงั หวัดอบุ ลราชธานี ป๓จจบุ ันชาวบ๎านมีความสนใจ เกิด ความสามัคคี ทาให๎กลุํมมคี วามเข๎มแข็งและมศี ักยภาพมากขึ้น มาตรฐานและรางวัลที่ได้รบั 1. หนงั สือสาคญั แสดงการจดทะเบียนวสิ าหกิจชมุ ชน 2. วุฒบิ ัตรตํอยอดการพัฒนาผลติ ภัณฑ๑ของผ๎ผู ลิต/ผ๎ปู ระกอบการ OTOP จ.อุบลราชธานี 3. หนงั สือรบั รองกลํุมอาชีพ แหล่งจาหนา่ ยผลติ ภัณฑ์ 1. กลมุํ วสิ าหกิจชุมชนสานสวงิ และหัตถกรรมจากไม๎บ๎านดอนไม๎งามบ๎านเลขท่ี 151 หมํูที่ 15 บา๎ นดอนไม๎งาม ตาบลกดุ ชมภู อาเภอพิบลู มังสาหาร จงั หวดั อบุ ลราชธานี

2. รา๎ นมุกดาวรรณ อาเภอพิบลู มังสาหาร จงั หวดั อบุ ลราชธานี 3. รา๎ นศรพี ิทกั ษ๑ อาเภอพิบูลมงั สาหาร จังหวัดอบุ ลราชธานี 4. องค๑การบริหารสํวนตาบลกดุ ชมภู 5. ตามงานบญุ ประจาปีของหมํบู ๎าน 2. กลมุ่ อาชีพสานสวิงทาสนิ ค้าโอทอป หมูทํ ี่ 1 บา๎ นดอนกลาง ตาบลหนองบก ก่ิงอาเภอเหลาํ เสอื โก๎ก จงั หวดั อบุ ลราชธานี กลํมุ มสี มาชิก 297 คน แบํงหน๎าทบี่ ริหาร แตํขาดการสํงเสริมอยาํ งตํอเน่ือง ไมมํ ีเงนิ ทุนของกลุํม ขาดความรใ๎ู นการตลาด และยงั จาหนํายผํานพํอคา๎ คนกลางทาใหร๎ าคาไมํแนนํ อนจัดตั้งโดยการรวมตวั ของ ชาวบ๎านในหมบูํ ๎าน และหมํูบ๎านข๎างเคียงเพ่ือชํวยเหลอื กนั ในการแก๎ไขป๓ญหาเศรษฐกจิ ชุมชนท่รี วมกลุ่มสานสวิง - หมทูํ ี่ 1 บา๎ นดอนกลาง - หมํทู ่ี 2 บา๎ นแตใ๎ หมํ - หมูํท่ี 10 บา๎ นทํุงคาแต๎

3. กลุ่มสานสวงิ บา้ นโนนจารย์ ที่อยูํ หมูํ2 ตาบลกระออม อาเภอสาโรงทาบ จงั หวัดสุรนิ ทร๑ 32170 ประวัตคิ วามเป็นมา การทาสวิงของบ๎านโนนจารย๑ เร่มิ มีมาตัง้ แตปํ ี พ.ศ. 2490 โดยผทู๎ ท่ี าคนแรกคอื คุณพอํ สุดชา นามวรรค และคุณพํอเหงา๎ สิมัยนาม ซ่งึ เป็นผ๎ูริเรม่ิ ทาสวงิ ในหมํูบา๎ น และได๎มีการถํายทอดให๎ลูกหลานจากรุํน ตอํ รํนุ ต้งั แตํอดีตจนถึงปจ๓ จบุ ันในทุกวนั น้ีหลงั จากฤดทู านา หรือในยามวํางชาวบ๎านจะถักสวิงกันทุกครัวเรอื น จัดทากนั 3 ขนาด คือขนาดเลก็ ขนาดกลาง ขนาดใหญํ ราคา 70 - 100 บาทตามขนาด เพื่อเกบ็ ไว๎ใช๎ใน ครัวเรอื น และจาหนํายทง้ั ปลีกและสงํ สรา๎ งรายไดใ๎ หก๎ ับสมาชกิ และคนในชมุ ชนไดเ๎ ปน็ อยาํ งดี ความสัมพันธ์กบั ชุมชน ฝีมอื แรงงาน คือของคนในชุมชนอยาํ งแทจ๎ รงิ ถาํ ยทอดจากรุํนสรูํ ํนุ จงึ ทาใหค๎ นในชุมชนมีความ ผูกพนั กนั เหมือนญาตพิ น่ี ๎อง มีการรวมกลมุํ เตรียมสมาชกิ ให๎ได๎รับความรู๎ สรา๎ งความเขา๎ ใจให๎ตรงกันในการ พฒั นาภมู ปิ ญ๓ ญาท๎องถนิ่ นารายไดม๎ าสํคู นชมุ ชนไดอ๎ ยํางยั่งยนื แหลง่ จาหน่ายผลติ ภณั ฑ์ 1. จาหนาํ ยท่หี มูบํ ๎านมีพํอค๎าคนกลางมารับซอ้ื ถงึ ท่ี 2. ฝากขายทรี่ ๎านค๎าอาเภอสาโรงทาบ 3. จาหนํายตามหมบูํ า๎ นทว่ั ไป 4. ขายสงํ อาเภอสาโรงทาบ จานวน 3 ร๎าน อาเภอศขี รภมู ิ จานวน 2 ร๎าน และอาเภอรัตนบรุ ี จานวน 1 รา๎ น 5. ขายปลีก และขายสงํ ทจี่ ังหวดั ศรสี ะเกษ 4. กลมุ่ หตั ถกรรมสานสวิง แห และตุ๊กตาจากไหมพรม ทีอ่ ยํู หมูํ2 บา๎ นอดุ มพฒั นา ต.หนองขอนกวา๎ ง อ.เมือง จ.อุดรธานี 41000 กลํุมมกี ารรวมตัว และดาเนนิ การอยํูอยาํ งตํอเนื่อง และหาตลาดจาหนํายอยตํู ลอดฤดูกาล โทร : 042 910936 กลุมํ หตั ถกรรมสานแห สวิง และต๏ุกตาจากไหมพรมเริม่ กํอตั้งในชวํ งหลังฤดเู กบ็ เกีย่ ว ชาวบ๎านวํางงานจึงมีการ รวมกลุมํ เพ่ือจัดทาเคร่อื งจกั สานและหัตถกรรมเพื่อสํงขายในตลาดและหมูบํ ๎านใกล๎เคียง โดยมกี ารจาหนําย ราคาถูก

ชมุ ชน กลมุํ จักสาน กลํมุ เพาะเหด็ นางฟูา กลมํุ เล้ียงไกํพันธพ๑ุ นื้ เมอื ง กลมํุ ออมทรัพย๑ การรวมกลุ่ม มีการรวมกลํมุ กนั ทง้ั หมด 30 คน โดยมาจากบ๎านละ 5 คน ทง้ั หมด 6 หมูํบ๎าน อาชพี หลัก ทานา อาชพี เสริม หตั ถกรรม

ภาคผนวก - ประวตั ิผู้จัดทาภูมิปัญญาศกึ ษา - ภาพประกอบ

ประวัติผู้ถา่ ยทอดภูมิปญั ญา ชื่อ: นางสาวหนูหริง่ คาชามา เกิด : 23ตลุ าคม2500อายุ 61 ปี ภมู ลิ าเนา : บา๎ นเลขท1่ี 27 หมํู 2ตาบลหนองบัวลอย อาเภอบัวใหญํ จงั หวัดนครราชสีมา ที่อย่ปู ัจจบุ ัน: บา๎ นเลขที่ 66 หมํู ๑๐ ตาบลวงั นา้ เยน็ อาเภอวงั นา้ เย็น จังหวดั สระแกว๎ สถานภาพ: โสด การศึกษา: ประถมศึกษาปีท่ี ๔ โรงเรียนบ๎านคาปอู ม ตาบลหนองบวั ลอย จังหวัดนครราชสีมา ปจั จุบนั ประกอบอาชพี : ไมไํ ดป๎ ระกอบอาชพี ประวัตผิ ู้เรยี บเรียงภูมปิ ัญญาศึกษา ชอ่ื : นางสาวสุธัญญา สิงหร๑ ัมย๑ เกดิ : 31 สิงหาคม 2520อายุ 41 ปี ภมู ิลาเนา : 6 หมํู 5 ตาบลโปุงน้ารอ๎ น อาเภอโปงุ นา้ รอ๎ น จังหวัดจนั ทบุรี ที่อยปู่ จั จบุ นั : 80/2 หมูํ 4 ตาบลวงั ใหมํ อาเภอวังสมบูรณ๑ จังหวัดสระแก๎ว สถานภาพ : สมรส การศึกษา : ปรญิ ญาตรี วชิ าเอก การศกึ ษาปฐมวยั ปรญิ ญาโท วิชาเอก บรหิ ารการศกึ ษา ปจั จบุ ันประกอบอาชีพ :รับราชการ

ภาพประกอบการจัดทาภูมิปญั ญาศกึ ษา เรอื่ งสานสวงิ

ผถ๎ู าํ ยทอดภูมิป๓ญญานางสาวหนหู ร่งิ คาชามา พเี่ ลี้ยงให๎คาปรึกษา แนะนาในการจัดทาภูมิป๓ญญา

พเ่ี ลี้ยงสมั ภาษณ๑ประวัติของผ๎ูถํายทอดภมู ิป๓ญญา ผ๎ถู าํ ยทอดภมู ปิ ๓ญญาอธบิ ายขั้นตอนการสานสวงิ และอปุ กรณท๑ ี่ใช๎

อุปกรณ๑ในการสานสวงิ ไมส๎ าน สาหรับชวํ ยใช๎ในการสานตาสวงิ

ไมข๎ อบสวิง ทาจากไม๎ ไม๎ไผหํ รอื หวาย ด๎ายถกั ดา๎ ยสานสวิง

ตะปูเลก็ ใช๎ตอกปากสวิงโดยใชต๎ ะปูขนาดเลก็ การเตรยี มดา๎ ยถกั พนั ท่ีไม๎จมี เพื่อเตรียมการถกั

การผกู ขัดเงื่อนตายเพื่อเริม่ ทาก๎นสวิง เร่มิ ถักสวงิ นาจีมท่ใี สดํ ๎ายเรยี บร๎อยแลว๎ มาสานตอํ จากฐานสวงิ โดยเริ่มจากมมุ ใดมมุ หนึ่งสานลงตา

สานไปเรอ่ื ยๆจนได๎ความลึกประมาณ50–60 เซนตเิ มตรหรือได๎ตามขนาดที่ต๎องการ สวงิ ทีถ่ กั จนได๎ขนาดตามทต่ี ๎องการแลว๎ จะมีก๎นลกึ เล็กและปากกว๎าง

เหลาไม๎ไผํ2 อนั อันแรกเป็นด๎ามสวิง สํวนอันท่ีสองเหลาให๎มีขนาดเล็กพอประมาณ เพ่ือนาไปสอดกับสวิงที่สาน ไว๎ และใชเ๎ ปน็ ตวั กาหนดขนาดของชํอง สวิงทีส่ านเสร็จเรียบร๎อยมาสอดกับไม๎ไผํอันทีส่ องท่เี หลาไว๎และนามามดั ติดกบั ไม๎ไผํอันแรกด๎วยเชอื กฟาง

นาเขียงมาใสํไว๎ในสวิง เพ่ือถวํ งนา้ หนักและให๎สวงิ นน้ั ได๎รปู ทรงทส่ี วยงาม สวงิ ท่สี านเสรจ็ เรยี บร๎อยพรอ๎ มสาหรับการออกใชง๎ านหรือออกวาํ งจาหนํายแกํผู๎ท่สี นใจ

อ้างอิง ไทยตาบลดอทคอม“แห สวิง”,เวบ็ ไซต๑ thaitambon.com [Online]. Available : http://www.thaitambon.com/aboutus [Accessed :4 ก.ย. 2545]. สานกั งานสงํ เสริมภูมิปญ๓ ญาท๎องถิ่นและวสิ าหกิจชมุ ชนกรมการพัฒนาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย “สวิง”, เวบ็ ไซต๑ OTOPToday.com[Online]. Available :http://www.otoptoday.com/about- us [Accessed : 2013-2019].


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook