Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนหน่วยที่ 2 เคมีพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต BIO1

แผนการสอนหน่วยที่ 2 เคมีพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต BIO1

Published by ida6011, 2021-05-11 11:14:22

Description: แผนการสอนหน่วยที่ 2 เคมีพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต BIO1

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าชีววิทยา 1 มธั ยมศึกษาปท ่ี 4 1 โดย ครสู ุดาภรณ สืบบุญเปยม กลุม สาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าชีววิทยา 1 มธั ยมศึกษาปท ่ี 4 2 แผนการจัดการเรยี นรู หนว ยการเรียนรูท่ี 2 เรอ่ื ง เคมที เี่ ปน พน้ื ฐานของสง่ิ มีชีวติ แผนจดั การเรยี นรทู ี่1 เร่อื ง สารอนนิ ทรยี  รายวชิ า ชีววทิ ยา1 รหัสวิชา ว 31101 ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปก ารศึกษา 2564 นํ้าหนักเวลาเรยี น 1.5 (นน./นก.) เวลาเรยี น 3 ชว่ั โมง/สปั ดาห เวลาที่ใชใ นการจัดกจิ กรรมการเรียนรู 1 ช่ัวโมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสําคญั สารอนินทรียท่เี ปน องคป ระกอบสาํ คัญในรา งกายส่งิ มีชวี ติ คือ นา้ํ และแรธาตุบางชนดิ โดยน้ําเปน ตัว ทําละลายทด่ี ี ชว ยลาํ เลียงสารตางๆ ไปทัว่ รางกาย ชวยรักษาอุณหภูมิของรางกายใหคงที่ สวนแรธาตุเปน สวนประกอบของเซลลและเน้ือเย่ือ และชว ยใหเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมีตางๆ 2. ผลการเรยี นรู 3. สบื คน ขอมูล อธิบายเกยี่ วกบั สมบตั ิของนาํ้ และบอกความสาํ คัญของนํ้าท่ีมตี อสิง่ มชี วี ิต และ ยกตวั อยา งธาตุชนิดตา งๆ ทีม่ ีความสาํ คญั ตอรา งกายสิง่ มชี วี ิต 3. สาระการเรยี นรู 3.1 เนือ้ หาสาระหลกั : Knowledge 1) อธิบายเกย่ี วกบั สมบัตขิ องนา้ํ ได 2) บอกความสาํ คญั ของนํ้าทีม่ ตี อสิง่ มชี วี ิตได 3) ยกตัวอยางธาตชุ นดิ ตา งๆ ทม่ี ีความสําคัญตอรา งกายสิง่ มีชีวติ ได 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process 1) สืบเสาะหาความรเู ก่ยี วกบั ความสําคัญของสารอนนิ ทรยี ต อ รา งกายส่ิงมชี วี ติ ได 3.3 คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค : Attitude 1) สนใจใฝรใู นการศกึ ษา 4. สมรรถนะสําคญั ของนกั เรยี น 1) ความสามารถในการสอื่ สาร 2) ความสามารถในการคิด 5) ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี 5. คุณลกั ษณะของวิชา 1) ความรับผิดชอบ 2) กระบวนการกลุม 6. คณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค 1. มีวนิ ยั 2. ใฝเรียนรู 3. มุง มั่นในการทํางาน โดย ครูสุดาภรณ สบื บุญเปยม กลุมสาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าชวี วิทยา 1 มัธยมศึกษาปท ี่ 4 3 7. ช้ินงาน/ภาระงาน : 1. แบบทดสอบกอนเรียน หนวยการเรียนรทู ่ี 2 เคมีท่เี ปน พืน้ ฐานของสงิ่ มชี ีวิต 2. ใบงาน เร่ือง ความสําคัญของสารอนินทรยี ต อ สิ่งมชี วี ิต 3. แบบฝกทกั ษะ เร่อื ง สารอนนิ ทรยี  8. กจิ กรรมการเรยี นรู ชวั่ โมงที่ 1 ขน้ั นําเขาสูบ ทเรียน/ขั้นตัง้ คําถาม 1. ครแู จงผลการเรียนรู ใหน กั เรยี นทราบ และใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรยี น หนว ยการเรียนรูท่ี 2 เรอื่ ง เคมที ่ีเปน พนื้ ฐานของสิง่ มชี วี ติ เพอื่ วดั ความรเู ดิม ของนกั เรยี นกอ นเขา สูก จิ กรรม 2. ครนู ําอภปิ รายเกีย่ วกับหนวยพ้ืนฐานของสิ่งมชี วี ิตทีน่ กั เรียนไดศ กึ ษามาแลว โดยกลา วถงึ โครงสรา ง และหนาท่ีของเซลลแตละชนิด แลว เช่ือมโยงเขาสเู นื้อหาวาภายในเซลลของสิง่ มีชีวติ นน้ั ประกอบดวยสารเคมีหลายชนดิ 3. ครูกระตุนความสนใจของนกั เรียน โดยต้งั คําถามใหน ักเรยี นรวมกันอภิปราย 1. สารเคมีเกีย่ วของกบั รางกายส่ิงมีชีวติ อยางไร (แนวคําตอบ : รา งกายส่ิงมชี ีวติ ประกอบไปดว ยหนวยพื้นฐานท่เี รยี กวา เซลล โดยภายใน เซลลป ระกอบไปดวยโมเลกลุ ของสารเคมีหลายชนดิ เชน นา้ํ แรธาตุ คารโ บไฮเดรต โปรตีน เปนตน ซึง่ สารเคมตี า งๆ เหลาน้ี ลว นมผี ลตอ การทํางานของระบบตางๆ ในรา งกายสิง่ มชี วี ิต) 2. รา งกายของสิ่งมชี วี ติ ทกุ ชนิดประกอบดว ยสารเคมเี ชนเดียวกนั หรอื ไม อยา งไร (แนวคําตอบ : รางกายส่ิงมีชีวิตทุกชนิดประกอบไปดวยสารเคมีเชนเดียวกัน แตอาจมี ปริมาณสารแตล ะชนดิ แตกตา งกนั ) 3. สารเคมีทเ่ี ปน องคป ระกอบของรางกายสิ่งมีชีวติ ไดแกส ารชนิดใดบา ง (แนวคาํ ตอบ : สารอนนิ ทรยี  และสารอินทรีย) ข้นั สํารวจและคน พบ/ขัน้ การเตรียมการคน หาคําตอบ 1. ใหนกั เรยี นรวมกลมุ กลมุ ละ 5-6 คน แลว ต้ังคําถามเกยี่ วกับ สารอนินทรียใ นประเดน็ ท่ีนกั เรียน สนใจ ตวั อยา งเชน 1) สารอนนิ ทรยี ใ นรา งกายสงิ่ มีชีวิตมอี ะไรบา ง (แนวคําตอบ : นํา้ และแรธาต)ุ 2) สารอนินทรยี ม ีความสําคญั ตอ การดาํ รงชีวติ ของสิ่งมีชีวติ อยา งไร (แนวคาํ ตอบ : นํ้าเปน ตัวทําละลาย ชวยลําเลียงสาร และควบคมุ อุณหภูมขิ องรางกาย สว น แรธ าตุชวยในการ เกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมีตา งๆ ในรา งกาย) 2. ครกู ระตนุ ใหน กั เรียนศึกษาสัดสวนของนํ้าในรางกายมนุษย จากภาพแผนภูมิแสดงปรมิ าณสารเคมี ในรา งกายมนุษย แลวรว มกนั อภิปราย โดยมแี นวอภปิ ราย ดงั นี้ น้ําเปน องคประกอบทพ่ี บมากท่สี ุดในรา งกายมนุษย แสดงวา นาํ้ มคี วามสําคญั อยา งยงิ่ ตอ รา งกาย ดังน้ัน จงึ ควรดืม่ น้ําใหเพยี งพอตอความตองการของรางกาย อยางนอ ยวันละ 8-10 แกว นอกจากนย้ี งั ควรดืม่ น้ําหลังจากออกกําลงั กาย และหลงั จากรับประทานอาหารอยา งสมํ่าเสมอ 3. ครใู ชเ ทคนิคการเขียนรอบโตะ (round table) โดยแจกกระดาษใหน กั เรยี นกลมุ ละ 1 แผน แลว ให โดย ครสู ดุ าภรณ สบื บุญเปย ม กลุมสาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าชีววิทยา 1 มัธยมศกึ ษาปท ่ี 4 4 สมาชกิ แตละคนในกลุมเขยี นความสาํ คัญของนาํ้ ตอส่งิ มีชีวติ คนละ 1 ขอ ไมซํา้ กนั ซึง่ นกั เรยี นอาจ เขยี นได ดังน้ี - น้าํ ชว ยใหเกิดปฏิกริ ิยาเคมี - น้าํ ชว ยในการลาํ เลยี งสาร - น้าํ ชวยรักษาสมดุลอุณหภูมิในรางกาย - น้าํ ชวยรักษาสมดุลของกรด-เบส - นํ้าเปนตัวทาํ ละลายที่ดี ข้นั อธบิ ายและลงขอ สรุป/ข้ันดาํ เนนิ การคนหาคําตอบและตรวจสอบคําตอบ 1. ครูต้ังคําถามเพือ่ ใหนักเรยี นแตล ะกลมุ รวมกันหาคําตอบวา สมบตั ขิ องน้ําเกี่ยวขอ งกับโครงสรา ง โมเลกลุ ของนาํ้ อยางไร 2. ใหนักเรยี นแตล ะกลุมอธิบายการเกดิ โมเลกุลท่ีมขี ัว้ ของนํา้ รวมทง้ั การเขียนสัญลักษณแทนขั้วบวก และขวั้ ลบ แลวนาํ เสนอหนา ช้ันเรยี น โดยมีแนวการอธิบาย ดงั นี้ การเกิดโมเลกุลทีม่ ีขั้วของน้าํ เกิดจากอะตอมออกซเิ จนในโมเลกลุ ของน้าํ ยังมอี เิ ลก็ ตรอนวง นอกสุดเหลอื อกี 4 ตัว ซึ่งไมไดยึดเหนีย่ วกับอะตอมของธาตอุ นื่ ทาํ ใหอะตอมของออกซิเจนแสดง ประจลุ บ สวนอะตอมของไฮโดรเจนทั้ง 2 อะตอม แสดงประจบุ วก ซึ่งเขยี นสัญลักษณแ ทนขั้วบวก และขัว้ ลบได ดังน้ี 3. ใหนักเรียนแตละกลุมสืบคนขอมูลเก่ียวกับแรธ าตุ กลุมละ 1 ชนิด จากใบความรู เร่ือง แรธ าตุในส่ิงมชี วี ิต 4. ใหน ักเรียนแตละกลุมสง ตวั แทนออกมานาํ เสนอสาระสาํ คญั ท่ีกลมุ ตนเองศกึ ษาหนาช้นั เรียน โดย กลา วถึงประเดน็ เกีย่ วกับความสาํ คัญ และแหลงทพ่ี บแรธาตุนนั้ ๆ 5. ครูและนกั เรียนรว มกนั สรปุ ความรูเร่ืองแรธาตุ โดยมีแนวการสรปุ ดงั นี้ แรธ าตเุ ปน สารอนินทรยี ซึง่ เปน สวนประกอบของสารอินทรียหลายชนิด แรธาตุบางชนิดเปน สวนประกอบของเอนไซมและโปรตีนตางๆ ท่ีจําเปนตอการทํางานของระบบตางๆ ในรางกาย การ ขาดแรธาตุบางชนดิ อาจกอใหเกิดความผิดปกตขิ องรางกาย เชน หากพชื ขาดธาตแุ มกนีเซียม ใบแกจะ มสี ีเหลืองระหวา งเสน ใบ ปลายใบและขอบใบมว นเปน รูปถวย หากขาดธาตุไอโอดีน อาจทําใหเกิดโรค คอพอก เปนตน 6. ครูนําอภิปรายเก่ยี วกับความสาํ คัญของสารอนินทรียตอ สิง่ มชี วี ิต และรวมกนั อภปิ รายตอ ไปวา หากขาดสารอนนิ ทรยี บ างชนิดจะสง ผลตอรา งกายอยางไร โดยอาจมแี นวการอภิปราย ดังน้ี การขาดแรธ าตใุ นมนษุ ย เชน - ขาดแคลเซียม : กระดูกและฟนไมแ ข็งแรง - ขาดเหล็ก : เปนโรคดลหิตจาง - ขาดไอโอดนี : เปนโรคคอพอก การขาดแรธ าตุในพชื เชน - ขาดไนโตรเจน : ลําตนและรากแคระแกรน็ ใบเลก็ ใบมสี ีเหลือง ใบรวงงาย - ขาดฟอสฟอรสั : ลําตนแคระแกร็น ใบเล็ก ใบมสี เี หลือง - ขาดโพแทสเซยี ม : ใบแกม อี าการไหมโ ดยเร่มิ จากปลายใบ แผนใบมว น โดย ครสู ุดาภรณ สืบบญุ เปย ม กลุม สาระการเรียนรู วิทยาศาสตร

แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาชีววิทยา 1 มัธยมศกึ ษาปที่ 4 5 7. ครูมอบหมายใหนกั เรยี นแตล ะคนทํากจิ กรรมในใบงาน เร่ือง ความสําคญั ของสารอนนิ ทรยี ต อ สิง่ มีชีวิต 8. ครูมอบหมายใหนกั เรียนทําแบบฝกทักษะ เรือ่ ง สารอนนิ ทรยี  ขน้ั สรปุ และประเมินผล 1. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบกอ นเรยี น หนว ยการเรียนรทู ่ี 2 เคมีทเ่ี ปน พื้นฐานของสงิ่ มชี วี ิต 2. ครูตรวจสอบผลจากใบงาน เร่อื ง ความสําคญั ของสารอนนิ ทรยี ต อ สงิ่ มีชีวิต 3. ครปู ระเมินผล โดยการสงั เกตการตอบคําถาม การรว มกนั อภปิ ราย และการนาํ เสนอผลงาน 4. ครูตรวจสอบผลจากการทําแบบฝก ทักษะ เรื่อง สารอนนิ ทรีย 9. ส่อื การเรียนการสอน / แหลงเรียนรู จํานวน สภาพการใชสือ่ รายการสอ่ื 1 ชดุ ขัน้ อธบิ ายและลงขอสรปุ 1. แบบทดสอบกอ นเรียน หนว ยการเรยี นรทู ี่ 2 เคมีท่ีเปน 1 ชุด ขั้นอธบิ ายและลงขอสรปุ พนื้ ฐานของสิง่ มีชีวติ 1 ชดุ ขน้ั อธิบายและลงขอ สรปุ 1 ชดุ ข้นั สํารวจและคน พบ 2. ใบงาน เรอื่ ง ความสําคญั ของสารอนินทรยี ต อส่ิงมีชีวิต 3. แบบฝก ทักษะ เรอ่ื ง สารอนนิ ทรีย 4. Microsoft PowerPoint หนว ยท่ี 2 เคมีท่ีเปน พนื้ ฐานของ ส่ิงมชี ีวิต โดย ครสู ุดาภรณ สืบบุญเปย ม กลมุ สาระการเรยี นรู วิทยาศาสตร

แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าชวี วิทยา 1 มัธยมศกึ ษาปท ี่ 4 6 10. การวัดผลและประเมนิ ผล ประเดน็ / เกณฑการให เปาหมาย หลกั ฐานการเรยี นรู วิธีวัด เครื่องมอื วดั ฯ การเรียนรู ชน้ิ งาน/ภาระงาน คะแนน แบบทดสอบกอนเรียน 1) อธิบายเกีย่ วกบั 1. แบบทดสอบกอ นเรยี น ตรวจแบบทดสอบ ประเมนิ ตามสภาพจรงิ สมบตั ิของน้าํ ได หนวยการเรียนรูที่ 2 เคมที ี่ กอนเรยี น 2) บอกความสําคญั ของ เปนพน้ื ฐานของสิ่งมีชีวิต ตรวจใบงาน เร่อื ง แบบประเมนิ ใบงาน รอ ยละ 65 ผานเกณฑ นํา้ ที่มตี อ ส่ิงมชี ีวิตได 2. ใบงาน เรื่อง ความ ความ สาํ คัญของ 3) ยกตัวอยางธาตุชนิด สาํ คัญของสารอนนิ ทรียต อ สารอนินทรยี ตอ แบบประเมนิ แบบฝก ทกั ษะ รอ ยละ 65 ผา นเกณฑ ตางๆ ทมี่ ีความสําคัญ สง่ิ มชี วี ติ ส่ิงมีชวี ติ ตอรา งกายสง่ิ มีชวี ิตได ตรวจแบบฝก ทักษะ 3. แบบฝกทักษะ เรอ่ื ง สารอนินทรีย เรอ่ื ง สารอนินทรีย 6. การนาํ เสนอผลงาน ประเมินการนาํ เสนอ ผลงานท่นี าํ เสนอ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผลงาน ผานเกณฑ 7. พฤติกรรมการ สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ 2 ทาํ งานรายบคุ คล การทํางานรายบุคคล การทาํ งานรายบคุ คล ผา นเกณฑ สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดบั คณุ ภาพ 2 8. พฤตกิ รรมการ การทํางานรายกลมุ การทํางานรายกลมุ ผานเกณฑ ทาํ งานรายกลุม 9. คุณลักษณะ สังเกตความมีวินัย แบบประเมนิ คุณลกั ษณะ ระดบั คณุ ภาพ 2 อันพึงประสงค ใฝเ รียนรูและมุง ม่นั อนั พงึ ประสงค ผา นเกณฑ ในการทํางาน โดย ครูสุดาภรณ สบื บุญเปยม กลุมสาระการเรยี นรู วิทยาศาสตร

แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาชีววิทยา 1 มัธยมศึกษาปท ่ี 4 7 แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผน ฯ ท่ี 1 แบบประเมนิ การนําเสนอผลงาน คําชี้แจง : ใหผูสอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวางเรียนและนอกเวลาเรียน แลว ขดี ลงในชอ งที่ ตรงกับระดับคะแนน ลาํ ดบั ที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1 32 1 เนื้อหาละเอียดชัดเจน  2 ความถูกตอ งของเน้อื หา   3 ภาษาท่ใี ชเขาใจงาย   4 ประโยชนทไ่ี ดจ ากการนําเสนอ   5 วธิ กี ารนาํ เสนอผลงาน    รวม ลงชอ่ื ...................................................ผูป ระเมนิ (นางสาวสดุ าภรณ สืบบญุ เปย ม) ............./................../............... เกณฑก ารใหคะแนน ให 3 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคลองกับรายการประเมนิ สมบรู ณชัดเจน ให 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคลองกับรายการประเมินเปน สว นใหญ ให 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคลอ งกับรายการประเมินบางสว น เกณฑการตัดสินคณุ ภาพ ชวงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14 - 15 ดมี าก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช ตํ่ากวา 8 ปรบั ปรุง โดย ครูสดุ าภรณ สืบบุญเปยม กลุมสาระการเรยี นรู วิทยาศาสตร

แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าชวี วิทยา 1 มัธยมศกึ ษาปท่ี 4 8 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทาํ งานกลุม คําชีแ้ จง : ใหผ สู อนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวางเรยี นและนอกเวลาเรียน แลวขดี ลงในชองที่ ตรงกบั ระดับคะแนน การมี การแสดง การยอมรับ การทาํ งาน ความมี สว นรวมใน รวม ชอ่ื – สกลุ ความ ฟงคนอื่น ตามท่ีไดรับ น้าํ ใจ การ 15 ลาํ ดับที่ ของนกั เรยี น คิดเห็น มอบหมาย ปรบั ปรงุ คะแนน ผลงานกลุม 321321321321321 ลงช่อื ...................................................ผปู ระเมนิ (นางสาวสดุ าภรณ สบื บญุ เปย ม) ............../.................../............... เกณฑก ารใหคะแนน ให 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมอยางสมํา่ เสมอ ให 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบอ ยครั้ง ให 1 คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบางครั้ง เกณฑก ารตัดสนิ คุณภาพ ชว งคะแนน ระดับคุณภาพ 14 - 15 ดมี าก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช ตา่ํ กวา 8 ปรบั ปรงุ โดย ครูสดุ าภรณ สบื บุญเปย ม กลมุ สาระการเรยี นรู วิทยาศาสตร

แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าชีววิทยา 1 มธั ยมศึกษาปท ี่ 4 9 แบบประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค คําชี้แจง : ใหผสู อนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวา งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว ขดี ลงในชอ งที่ ตรงกับระดับคะแนน คณุ ลักษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน อันพงึ ประสงคด าน 321 1. มีวนิ ยั รบั ผดิ ชอบ 1.1 ปฏิบตั ติ ามขอ ตกลง กฎเกณฑ ระเบียบ ขอ บังคับของครอบครวั มคี วามตรงตอ เวลาในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตาง ๆ ในชวี ติ ประจําวัน 2. ใฝเรยี นรู 2.1 รจู ักใชเ วลาวา งใหเปน ประโยชน และนําไปปฏบิ ตั ิได 2.2 รจู ักจดั สรรเวลาใหเ หมาะสม 2.3 เชือ่ ฟง คาํ ส่ังสอนของบดิ า - มารดา โดยไมโตแยง 2.4 ตง้ั ใจเรียน 3. มงุ มน่ั ในการทํางาน 3.1 มคี วามต้ังใจและพยายามในการทาํ งานท่ไี ดร ับมอบหมาย 3.2 มคี วามอดทนและไมทอ แทต ออุปสรรคเพ่ือใหงานสาํ เร็จ ลงชอ่ื ...................................................ผูประเมนิ (นางสาวสุดาภรณ สืบบญุ เปยม) ............../.................../................ เกณฑก ารใหคะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่ําเสมอ ให 3 คะแนน พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ตั ิชัดเจนและบอ ยครงั้ ให 2 คะแนน พฤติกรรมทีป่ ฏิบตั บิ างครง้ั ให 1 คะแนน เกณฑการตัดสินคุณภาพ ชว งคะแนน ระดับคุณภาพ 51 - 60 ดีมาก 41 - 50 ดี 30 - 40 พอใช ตํา่ กวา 30 ปรบั ปรุง โดย ครูสุดาภรณ สบื บญุ เปยม กลมุ สาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าชวี วิทยา 1 มัธยมศึกษาปท่ี 4 10 11. ความเหน็ ของผบู รหิ ารสถานศึกษาหรอื ผทู ไี่ ดร ับมอบหมาย ขอเสนอแนะ ลงชื่อ.................................................. (นายอดศิ ร แดงเรอื น) ผอู าํ นวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห 31 12. บนั ทกึ ผลหลงั การสอน  ดานความรู  ดานสมรรถนะสาํ คญั ของผเู รียน  ดานคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค  ดานความสามารถทางวทิ ยาศาสตร  ดา นอ่ืน ๆ (พฤตกิ รรมเดน หรือพฤติกรรมที่มปี ญหาของนักเรยี นเปน รายบคุ คล (ถาม)ี )  ปญ หา/อปุ สรรค  แนวทางการแกไข ลงชอื่ ..................................................ผูส อน (นางสาวสดุ าภรณ สืบบุญเปย ม) ตาํ แหนง พนักงานราชการ โดย ครูสดุ าภรณ สบื บญุ เปย ม กลุม สาระการเรียนรู วิทยาศาสตร

แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าชวี วิทยา 1 มัธยมศกึ ษาปท่ี 4 11 แบบทดสอบกอนเรยี น หนวยการเรียนรทู ่ี 2 เคมพี ื้นฐานของสิ่งมีชีวิต คาํ ช้ีแจง : ใหนกั เรยี นเลือกคาํ ตอบท่ีถูกตองท่ีสุดเพียงขอเดียว คาํ ช้ีแจง : ใหน กั เรยี นเลือกคําตอบท่ีถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว 1. นา้ํ มคี วามสําคญั หลายประการยกเวนขอ ใด 7. กรดอะมิโนชนิดใดที่จําเปน สาํ หรบั การ 1. เปนตวั ทําละลายทไ่ี มด ี เจริญเติบโตและพฒั นาการในวัยเดก็ 2. เปนองคประกอบสวนใหญใ นเซลล 1. ซรี นี และโพรลนี 3. ชว ยหลอ เลีย้ งอวยั วะตางๆ ในรา งกาย 2. อะลานนี และวาลนี 4. ชวยรกั ษาสมดุลของอณุ หภูมิในรางกาย 3. อารจีนนี และฮีสทดิ นี 5. ชว ยลาํ เลียงออกซิเจนและ 4. ไลซีนและเมไทโอนีน คารบอนไดออกไซด 5. ลิวซีนและแอสปาราจีน 2. นายอนนั ตป ว ยเปน โรคคอพอก นายอนันตค วร 8. เด็กชายปกรณโดนมีดบาดมือแลวเลือดไหล รับประทานอาหารจําพวกใด ออกมาปริมาณมาก และใชเวลานานกวา 1. ไข 2. นม เลือดจะหยุดไหล จากเหตุการณนี้นักเรียนคิด 3. หอยนางรม 4. ขา วซอมมือ วาเด็กชายปกรณนาจะขาดวิตามินชนิดใด 5. ปลาตะเพียน 1. วิตามนิ A 2. วิตามิน B 3. แหลงสะสมคารโ บไฮเดรตในรา งกายของมนุษย 3. วิตามิน C 4. วติ ามิน D คือสว นใด 5. วิตามิน K 1. ตบั และไต 9. เอนไซมม หี นาทีอ่ ยางไร 2. ตับและตบั ออน 1. เพ่ิมพลงั งานกอกัมมนั ต 3. ตบั และกลา มเนื้อ 2. เพิ่มระดับพลังงานกระตุน 4. กระดกู และพงั ผดื หนาทอ ง 3. ยับยัง้ การเรง ปฏิกริ ิยาเคมี 5. กระดูกและกลามเน้อื ตนขา 4. ยบั ย้งั การเกิดปฏิกิรยิ าเคมี 4. สารชนิดใดเมอ่ื นาํ ไปตม กับสารละลายเบเนดกิ ซ 5. เรงปฏิกิรยิ าเคมีใหเ กดิ ไดเรว็ ข้นึ แลว จะไมเกดิ ปฏิกิรยิ า 10. ปฏิกริ ยิ าของสาร A และสาร B เปน ดังนี้ 1. กลโู คส 2. ซโู ครส A+B ไมเกดิ ปฏิกิรยิ า 3. ฟรกั โทส 4. แลกโทส A+B+C ไมเ กดิ ปฏิกริ ิยา 5. มอลโทส A+B+C+D ไมเกดิ ปฏิกริ ยิ า 5. เซลลูโลสพบไดใ นสวนใดของส่ิงมีชวี ิต 1. สาร C เปน เอนไซม 1. เสนผม 2. เปลือกกงุ 2. สาร A เปนสารต้ังตน 3. กลา มเน้ือ 4. กระดองปู 3. สาร B เปนสารตัง้ ตน 5. ผนังเซลลข องพืช 4. สาร C เปนผลติ ภัณฑ 6. ขอ ใดเปน ผลิตภัณฑจากปฏิกริ ิยาสปอนนฟิ เคชนั 5. สาร D เปนตัวยับย้งั เอนไซม 1. สบู 2. เบส 3. ไขมนั 4. น้ํามัน 5. เบนซิน โดย ครูสดุ าภรณ สบื บญุ เปยม กลุม สาระการเรียนรู วิทยาศาสตร

แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าชีววิทยา 1 มัธยมศกึ ษาปท่ี 4 12 เฉลย แบบทดสอบกอ นเรียน หนว ยการเรยี นรทู ่ี 2 เคมพี น้ื ฐานของสิ่งมชี วี ติ คาํ ชแี้ จง : ใหน กั เรียนเลือกคําตอบท่ีถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว คําชีแ้ จง : ใหนักเรยี นเลือกคาํ ตอบท่ีถูกตองท่ีสุดเพียงขอเดียว 6. นาํ้ มคี วามสาํ คญั หลายประการยกเวน ขอใด 9. กรดอะมิโนชนดิ ใดทจี่ าํ เปนสําหรบั การ 6. เปนตวั ทําละลายท่ไี มดี เจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการในวัยเดก็ 7. เปนองคประกอบสว นใหญใ นเซลล 6. ซีรนี และโพรลีน 8. ชว ยหลอ เลีย้ งอวัยวะตา งๆ ในรา งกาย 7. อะลานนี และวาลนี 9. ชว ยรักษาสมดุลของอณุ หภมู ใิ นรา งกาย 8. อารจ นี นี และฮีสทิดีน 10.ชว ยลําเลยี งออกซเิ จนและ 9. ไลซนี และเมไทโอนีน คารบอนไดออกไซด 10. ลิวซีนและแอสปาราจนี 7. นายอนันตปว ยเปนโรคคอพอก นายอนันตควร 11. เด็กชายปกรณโดนมีดบาดมือแลวเลือดไหล รบั ประทานอาหารจาํ พวกใด ออกมาปริมาณมาก และใชเวลานานกวา 2. ไข 2. นม เลือดจะหยุดไหล จากเหตุการณน้ีนักเรียนคิด 3. หอยนางรม 4. ขา วซอมมอื วาเด็กชายปกรณนาจะขาดวิตามินชนิดใด 5. ปลาตะเพียน 2. วติ ามิน A 2. วติ ามนิ B 8. แหลงสะสมคารโบไฮเดรตในรา งกายของมนุษย 3. วิตามนิ C 4. วิตามิน D คอื สว นใด 5. วิตามิน K 6. ตบั และไต 12. เอนไซมม ีหนา ท่อี ยา งไร 7. ตบั และตับออ น 6. เพิม่ พลงั งานกอกมั มนั ต 8. ตบั และกลา มเน้อื 7. เพิม่ ระดับพลงั งานกระตุน 9. กระดูกและพงั ผืดหนา ทอ ง 8. ยับย้งั การเรงปฏกิ ริ ยิ าเคมี 10.กระดูกและกลามเน้อื ตน ขา 9. ยบั ยง้ั การเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี 9. สารชนดิ ใดเมอื่ นําไปตมกบั สารละลายเบเนดิกซ 10.เรง ปฏิกิรยิ าเคมใี หเกิดไดเร็วข้ึน แลวจะไมเ กิดปฏิกิริยา 13. ปฏิกิรยิ าของสาร A และสาร B เปน ดงั น้ี 2. กลูโคส 2. ซูโครส A+B ไมเ กิดปฏิกิริยา 4. ฟรกั โทส 4. แลกโทส A+B+C ไมเกดิ ปฏกิ ิรยิ า 10.มอลโทส A+B+C+D ไมเกิดปฏิกริ ิยา 6. เซลลูโลสพบไดในสวนใดของสิง่ มีชวี ิต 6. สาร C เปน เอนไซม 2. เสนผม 2. เปลือกกงุ 7. สาร A เปน สารตัง้ ตน 3. กลา มเนอ้ื 4. กระดองปู 8. สาร B เปนสารตงั้ ตน 5. ผนงั เซลลของพืช 9. สาร C เปนผลิตภณั ฑ 8. ขอใดเปนผลิตภัณฑจ ากปฏกิ ิรยิ าสปอนนิฟเคชัน 10. สาร D เปน ตัวยับย้งั เอนไซม 2. สบู 2. เบส 3. ไขมนั 4. นํา้ มนั 6. เบนซนิ โดย ครูสดุ าภรณ สืบบญุ เปย ม กลุมสาระการเรยี นรู วิทยาศาสตร

แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาชวี วิทยา 1 มธั ยมศกึ ษาปท่ี 4 13 แบบฝก ทักษะ เร่ือง สารอนินทรยี  คาํ ชแ้ี จง : ใหนักเรียนเขียนอักษร “T” หนา ขอ ความที่ถกู ตอง และเขียนอักษร “F” หนาขอ ความทผี่ ิด พรอ มทง้ั แกไขขอ ความน้ันใหถกู ตอง ………. 1. นํา้ ชว ยลอลน่ื อวัยวะตา งๆ ดวงตา ขอตอ ชอ งทอง เย่ือหุม ปอด หวั ใจ ตอบ= ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………. 2. สตู รโมเลกุลของนํา้ คือ (H2O)n ซง่ึ อะตอมของไฮโดรเจนและออกซเิ จนยึดเหนี่ยวกนั ดวยพนั ธะ ไอออนกิ ตอบ= ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………. 3. ในรา งกายมนุษยมนี ้าํ อยูป ระมาณรอ ยละ 65 ของนา้ํ หนักตวั ตอบ= ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………. 4. โมเลกุลของน้ํามีสมบัตคิ วามเปน กรดและเบสในตวั เดยี วกัน ตอบ= ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………. 5. สารชอบนาํ้ เปนสารทมี่ โี มเลกลุ แบบไมมีขวั้ สวนสารไมช อบนํ้าเปนสารทีม่ ีโมเลกุลแบบมีข้ัว ตอบ= ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………. 6. ความจุความรอนของน้ํา เทา กบั 4.814 จูล/กรัม/องศาเซลเซียส หมายถงึ การทจี่ ะทําใหน ํ้า 1 กรัม มอี ุณหภมู ลิ ดลง 1 องศาเซลเซียส จะตองใชพ ลังงานความรอ นเทากับ 4.814 จูล ตอบ= ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………. 7. ไอโอดนี พบมากในเน้ือสตั ว นม ไข ผักและผลไมทุกชนดิ ตอบ= ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………. 8. โรคโลหติ จางเกิดจากการขาดธาตุฟอสฟอรสั ตอบ= ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………. 9. ธาตเุ หลก็ เปนสวนประกอบของเอนไซมบ างชนดิ และเฮโมโกบินในเมด็ เลือดแดง ตอบ= ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………. 10. แคลเซยี มและฟอสฟอรสั มีบทบาทเกีย่ วขอ งกบั ความแข็งแรงของกระดกู และฟน ตอบ= ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. โดย ครสู ดุ าภรณ สบื บุญเปย ม กลุม สาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าชวี วิทยา 1 มธั ยมศกึ ษาปที่ 4 14 แบบฝกทักษะ เร่ือง สารอนินทรยี  คําช้ีแจง : ใหนกั เรียนเขยี นอกั ษร “T” หนาขอ ความทีถ่ กู ตอง และเขยี นอกั ษร “F” หนาขอ ความทผี่ ิด พรอมทัง้ แกไขขอความนน้ั ใหถ ูกตอ ง ……T…. 1. น้ําชวยลอล่นื อวยั วะตางๆ ดวงตา ขอ ตอ ชองทอง เยื่อหมุ ปอด หัวใจ ตอบ= ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……F…. 2. สตู รโมเลกลุ ของนา้ํ คอื (H2O)n ซงึ่ อะตอมของไฮโดรเจนและออกซเิ จนยึดเหนีย่ วกันดวยพนั ธะ ไอออนกิ ตอบ= สตู รโมเลกุลของน้าํ คือ H2O ซ่งึ อะตอมของไฮโดรเจนและออกซเิ จนยดึ เหนี่ยวกันดว ยพนั ธะ โคเวเลนต ซงึ่ เปน แรงยดึ เหน่ยี วทเี่ กดิ จากการใชอิเล็กตรอนรว มกัน ……T…. 3. ในรางกายมนษุ ยมีน้ําอยปู ระมาณรอยละ 65 ของนาํ้ หนกั ตัว ตอบ= ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……T…. 4. โมเลกุลของนํา้ มสี มบัติความเปนกรดและเบสในตวั เดียวกนั ตอบ= ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……F…. 5. สารชอบนาํ้ เปน สารทม่ี ีโมเลกุลแบบไมมีขว้ั สวนสารไมชอบนาํ้ เปนสารทมี่ ีโมเลกุลแบบมีข้ัว ตอบ= สารชอบนํา้ เปนสารทม่ี ีสมบัติละลายนํ้าได ซ่ึงมโี มเลกุลแบบมขี ้ัว สว นสารไมชอบน้าํ เปน สารท่ไี ม สามารถละลายน้ําได ซึ่งมีโมเลกุลแบบไมม ขี ้วั ……F…. 6. ความจุความรอนของนํา้ เทากับ 4.814 จลู /กรัม/องศาเซลเซยี ส หมายถงึ การทจี่ ะทําใหนํ้า 1 กรัม มีอณุ หภูมิลดลง 1 องศาเซลเซียส จะตองใชพ ลังงานความรอ นเทากบั 4.814 จูล ตอบ= ความจคุ วามรอนของนํา้ เทา กบั 4.184 จลู /กรัม/องศาเซลเซียส หมายถึง การท่ีจะทําใหนํ้า 1 กรมั มอี ุณหภูมิลดลง 1 องศาเซลเซียส จะตองใชพ ลงั งานความรอ นเทากับ 4.184 จลู ……F…. 7. ไอโอดีน พบมากในเนื้อสัตว นม ไข ผักและผลไมทุกชนิด ตอบ= ไอโอดนี พบมากในอาหารทะเล เกลือสมทุ ร และผลติ ภณั ฑจากทะเล ……F…. 8. โรคโลหิตจางเกิดจากการขาดธาตุฟอสฟอรัส ตอบ= โรคโลหิตจางเกดิ จากการขาดธาตุเหล็ก ……T…. 9. ธาตเุ หลก็ เปนสว นประกอบของเอนไซมบ างชนดิ และเฮโมโกบนิ ในเม็ดเลอื ดแดง ตอบ= ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……T…. 10. แคลเซียมและฟอสฟอรัสมบี ทบาทเกี่ยวขอ งกบั ความแข็งแรงของกระดูกและฟน ตอบ= ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. โดย ครสู ุดาภรณ สืบบุญเปย ม กลมุ สาระการเรียนรู วิทยาศาสตร

แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าชีววิทยา 1 มัธยมศกึ ษาปที่ 4 15 แผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรยี นรูที่ 2 เรอ่ื ง เคมพี ้นื ฐานของส่ิงมชี วี ติ แผนจดั การเรยี นรูท่ี 2 เรอ่ื ง สารอินทรีย รายวิชา ชีววิทยา1 รหัสวิชา 31101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปก ารศึกษา 2564 น้าํ หนักเวลาเรยี น 1.0 (นน./นก.) เวลาเรยี น 3 ชวั่ โมง/สปั ดาห เวลาทีใ่ ชในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู 5 ชวั่ โมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสําคญั สารอนิ ทรยี มีธาตุคารบอนและธาตไุ ฮโดรเจนเปนองคประกอบหลัก สารอินทรยี ท พ่ี บมากในรางกาย สิ่งมีชวี ิตมี 4 กลุม ไดแก คารโ บไฮเดรต โปรตีน ลิพดิ และกรดนิวคลีอกิ ซึ่งสารตา งๆ เหลา น้ีเปนสว นประกอบ ของเซลล ชวยใหร างกายเจริญเตบิ โต 2. ผลการเรยี นรู 4. สืบคนขอ มูล อธิบายโครงสรางของคารโ บไฮเดรต ระบกุ ลุมของคารโบไฮเดรต รวมท้ังความสําคัญ ของคารโบไฮเดรตทม่ี ีตอส่งิ มีชวี ิต 5. สบื คน ขอ มูล อธบิ ายโครงสรางของโปรตีน และความสาํ คัญของโปรตนี ทีม่ ตี อ ส่งิ มชี วี ิต 6. สบื คนขอมูล อธบิ ายโครงสรา งของลพิ ิด และความสาํ คัญของลพิ ดิ ทีม่ ีตอสิ่งมชี ีวิต 7. สืบคน ขอ มูล อธิบายโครงสรางของกรดนิวคลอี ิก ระบกุ ลมุ ของกรดนิวคลอี กิ และความสําคญั ของ กรดนิวคลีอิกทม่ี ีตอส่ิงมชี ีวติ 3. สาระการเรยี นรู 3.1 เน้ือหาสาระหลกั : Knowledge 1) อธบิ ายโครงสรา ง ความสาํ คญั และชนิดของคารโบไฮเดรต โปรตีน ลิพดิ และกรดนวิ คลีอกิ ได 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process 1) สบื คน ขอ มูลและอภิปรายเกยี่ วกับความสําคัญของสารอนิ ทรียตอ ส่งิ มีชวี ติ ได 3.3 คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค : Attitude 1) สนใจใฝร ูในการศกึ ษา มีความรบั ผิดชอบ 4. สมรรถนะสาํ คญั ของนักเรยี น 1) ความสามารถในการสือ่ สาร 2) ความสามารถในการคิด 5) ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี 5. คณุ ลักษณะของวิชา 1) ความรบั ผิดชอบ 2) กระบวนการกลมุ 6. คุณลกั ษณะที่พึงประสงค 1. มวี นิ ยั 2. ใฝเรยี นรู 3. มงุ มน่ั ในการทํางาน โดย ครสู ุดาภรณ สบื บญุ เปย ม กลมุ สาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าชวี วิทยา 1 มัธยมศึกษาปที่ 4 16 7. ช้นิ งาน/ภาระงาน : 1. ใบงาน เร่อื ง คารโ บไฮเดรต 2. บทปฏิบัตกิ าร เร่ือง ปรมิ าณกรดไขมันไมอ ิ่มตวั ในน้ํามนั พชื แลน้าํ มันสัตว 8. กิจกรรมการเรียนรู ชัว่ โมงท่ี 1 ขน้ั นาํ เขาสบู ทเรยี น/ข้นั ตง้ั คาํ ถาม 1. ครกู ลา วนาํ เกย่ี วกบั สารอนิ ทรีย โดยถามคําถามวา สารอินทรยี แตกตา งจากสารอนนิ ทรยี อ ยางไร จากนน้ั รวมกันอภปิ รายวา สารอินทรยี เปนสารท่ีมีธาตคุ ารบอนและไฮโดรเจนเปนองคป ระกอบหลัก 2. ครูอธบิ ายเกี่ยวกบั การยึดเหน่ยี วระหวางอะตอมของคารบอนกบั คารบ อน และอะตอมของคารบอน กับไฮโดรเจน เกิดเปน สารประกอบไฮโดรคารบ อน ซึ่งเปนสวนหน่งึ ของหมูฟ งกช ันในสารอินทรยี  โดยอาจเขยี นโครงสรางโมเลกุลของสารประกอบไฮโดรคารบ อนใหน ักเรียนรวมกนั พิจารณา ดังนี้ อเี ทน เอทลิ ีน อะเซทลิ ีน 3. ใหน กั เรียนศึกษาหมูฟงกชันบางชนดิ ทเี่ ปนองคประกอบของในสารอินทรีย ขั้นสํารวจและคน พบ/ขัน้ การเตรยี มการคนหาคาํ ตอบ 1. ครูอธบิ ายวา สารอนิ ทรียท ่พี บในสง่ิ มชี ีวติ มหี ลายชนดิ ทเี่ ปนสารชีวโมเลกุล (biological molecule) ซึ่งมีโครงสราง สมบตั ิ และการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าแตกตา งกนั ทําใหส ารชีวโมเลกุลมหี นา ทแ่ี ตกตางกนั 2. ครใู หน ักเรยี นรว มกันยกตัวอยา งอาหารทมี่ สี ารอาหารประเภทคารโ บไฮเดรต 3. ครูและนักเรียนรวมกนั อภปิ รายและสรปุ เก่ยี วกบั โครงสรางของคารโบไฮเดรต โดยมแี นวการสรปุ ดังนี้ คารโ บไฮเดรต (carbohydrate) เปนสารชวี โมเลกุลที่ประกอบดวยธาตุหลกั 3 ชนดิ ไดแ ก คารบ อน (carbon) ไฮโดรเจน (hydrogen) และออกซเิ จน (oxygen) โดยมีอตั ราสว นของอะตอม ไฮโดรเจนตอ อะตอมออกซิเจนเปน 2 : 1 มีสูตรโมเลกลุ เปน (CH2O)n ซึง่ n มีคา ตงั้ แต 3 ขึน้ ไป 4. ใหนกั เรียนแบงกลุม ออกเปน 3 กลุม ศึกษาประเภทของคารโบไฮเดรต ดังนี้ กลมุ ที่ 1 ศกึ ษาเร่ือง มอโนแซก็ คาไรด กลุมท่ี 2 ศกึ ษาเรือ่ ง โอลิโกแซก็ คาไรด กลมุ ที่ 3 ศึกษาเรอื่ ง พอลแิ ซ็กคาไรด 5. ใหน ักเรียนแตล ะกลุม สง ตวั แทนออกมานาํ เสนอผังมโนทัศนของกลุมตนเอง ใชเ วลาในการนาํ เสนอ กลมุ ละไมเ กิน 5 นาที โดย ครสู ุดาภรณ สืบบุญเปยม กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร

แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาชวี วิทยา 1 มธั ยมศกึ ษาปที่ 4 17 ข้ันอธบิ ายและลงขอสรปุ /ข้นั ดําเนนิ การคน หาคาํ ตอบและตรวจสอบคําตอบ 1. หลงั จากกลุม ที่ 1 นาํ เสนอเร่ืองมอโนแซ็กคาไรด ครูตั้งคําถามเพอ่ื ตรวจสอบความเขาใจของ นกั เรียน - มอโนแซ็กคาไรดชนิดใดท่ีพบมากทสี่ ุดในธรรมชาติ (แนวตอบ : นํา้ ตาลเฮกโซส ไดแก กลูโคส กาแลกโทส และฟรักโทส) - จงอธบิ ายลกั ษณะและแหลงทีพ่ บน้าํ ตาลกลูโคส กาแลกโทส และฟรกั โทส (แนวตอบ : กลโู คส เปนผลึกสขี าว ละลายนา้ํ ไดด ี มีรสหวาน พบมากในผกั ผลไม น้ําผ้งึ กาแลกโทส ละลายนํ้าไดไมดี มรี สหวานนอย มกั รวมตวั อยูกับกลูโคส พบมากในนม ฟรกั โทส เปน ผลกึ สขี าว ละลายนํ้าไดด ี มรี สหวานจดั พบมากในผลไมสุก น้ําผงึ้ ) 2. หลงั จากกลุมท่ี 2 นาํ เสนอเรอ่ื งโอลโิ กแซก็ คาไรด ครูตั้งคาํ ถามเพ่อื ตรวจสอบความเขา ใจของ นกั เรียน - โอลโิ กแซก็ คาไรดเ กิดขนึ้ ไดอ ยา งไร (แนวตอบ : เกดิ จากการทีม่ อโนแซก็ คาไรดต ัง้ แต 2-10 โมเลกุลมาเชือ่ มตอกันดว ยพันธะ ไกลโคซดิ กิ ) - จงอธบิ ายลกั ษณะและแหลง ทพี่ บน้ําตาลมอลโทส แลกโทส และซูโครส (แนวตอบ : มอลโทส เกดิ จากกลูโคส 2 โมเลกลุ เช่อื มตอ กัน ละลายนา้ํ ไดดี มีรสหวานนอ ย พบมากในขาวมอลต เมลด็ ธญั พชื ทก่ี าํ ลังงอก ขาวโพด แลกโทส เกิดจากกลูโคลเช่ือมกบั กาแลกโทส ผลกึ เปนผงละเอยี ด ละลายน้ําไดไมดี มีรส หวานนอ ย พบมากในนม ซโู ครส เกิดจากกลูโคสเชื่อมกับฟรกั โทส เปนผลึกสีขาว ละลายนํ้าไดดี มีรสหวาน พบมาก ในออ ย ตาล มะพรา ว) 3. ใหนักเรียนสังเกตตาํ แหนง ของพนั ธะไกลโคซิดกิ ในนํา้ ตาลมอลโทสกบั นํา้ ตาลแลกโทส ซ่ึงมลี กั ษณะ ตางกัน 4. หลงั จากกลุม ท่ี 3 นาํ เสนอเรือ่ ง พอลิแซก็ คาไรด ครตู งั้ คาํ ถามเพือ่ ตรวจสอบความเขาใจของ นักเรียน - พอลแิ ซก็ คาไรดเ กิดขึน้ ไดอยา งไร (แนวตอบ : เกิดจากมอโนแซ็กคาไรด 11-1,000 โมเลกุลเชอื่ มตอกนั ดวยพนั ธะไกลโคซดิ กิ ) - จงอธิบายลกั ษณะและแหลง ที่พบแปง เซลลูโลส และไกลโคเจน (แนวตอบ : แปง ประกอบดว ยกลโู คสเรียงตวั ตอกนั เปนเสน ยาว ซง่ึ ถา ไมมีการแตกแขนง จะ ไดอ ะไมโลส แตถา มีการแตกแขนง จะไดอะไมโลเพกทนิ พบในพชื เซลลโู ลส ประกอบดวยกลูโคสเรียงตวั ตอ กนั เปนเสน ยาวท่ไี มแตกแขนง เสน ใยเหนยี ว ไมละลายน้าํ พบในพืช ไกลโคเจน ประกอบดวยกลโู คสเรยี งตัวตอ กนั เปนเสนยาวที่มกี ารแตกแขนง พบในสัตว) 5. ครูอธิบายเพ่ิมเติมวา พืชแตละชนิดจะมีปริมาณอะไมโลสและอะไมโลเพกทินแตกตางกัน เชน ขา วเหนียว มีอะไมโลเพกทนิ รอยละ 99 มอี ะไมโลสรอ ยละ 1 สวนขาวเจา มีอะไมโลสรอยละ 7-33 จงึ ทาํ ใหขา วเหนียวมคี วามเหนยี วมากกวา ขา วเจา มาก โดย ครสู ุดาภรณ สืบบุญเปย ม กลุม สาระการเรียนรู วิทยาศาสตร

แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าชีววิทยา 1 มัธยมศึกษาปท ี่ 4 18 ชว่ั โมงที่ 2 ขน้ั นําเขา สูบทเรียน/ขน้ั ตั้งคาํ ถาม 1. ครูใหนักเรียนรวมกันยกตวั อยา งอาหารทมี่ ีสารอาหารประเภทโปรตนี 2. ครูตง้ั คําถามเพื่อตรวจสอบความรูเ ดิมของนกั เรยี น - สารอาหารประเภทโปรตนี มคี วามสําคญั ตอ รางกายอยา งไร (แนวตอบ : - ชวยในการเจริญเตบิ โต - เปนแหลงพลงั งาน - เปน เอนไซมเ รง ปฏิกิรยิ าเคมีในรา งกาย - เปนโครงสรางของเซลล เยอ่ื หมุ เซลล เปนองคป ระกอบของโครโมโซม - เสรมิ สรา งภูมคิ ุมกัน) ขั้นสาํ รวจและคนพบ/ขั้นการเตรยี มการคนหาคาํ ตอบ 1. ใหน ักเรยี นสงั เกตภาพสตู รโครงสรางของกรดอะมิโน จากหนังสอื เรียน แลว ครถู ามคาํ ถามวา - โครงสรางของกรดอะมโิ นมีธาตใุ ดเปน องคป ระกอบบา ง (แนวตอบ : คารบอน ไฮโดรเจน ออกซเิ จน และไนโตรเจน) - กรดอะมิโนท่ีเปน องคประกอบของโปรตนี ในส่ิงมีชวี ิตมกี ช่ี นดิ จงยกตวั อยาง (แนวตอบ : 20 ชนดิ ซงึ่ ดูขอมลู ไดจ ากหนงั สือเรยี น) 2. ใหน ักเรยี นสงั เกตภาพการเชอ่ื มตอกันของกรดอะมโิ นดว ยพันธะเพปไทด - พันธะเพปไทดเกดิ ขึ้นไดอ ยา งไร (แนวตอบ : เกิดจากการเช่ือมตอ กนั ระหวา งหมคู ารบอกซิลของกรดอะมโิ นโมเลกุลหนึง่ กับหมอู ะมิโนของกรดอะมโิ นอกี โมเลกลุ หนง่ึ ) - เมือ่ เกิดพนั ธะเพปไทดจะมีสารใดเกิดขน้ึ บาง (แนวตอบ : เกดิ สายของกรดอะมิโนที่เรยี กวา เพปไทด และเกิดน้าํ 1 โมเลกลุ ) 3. ครใู หนักเรียนแบง กลุม กลุมละ 5-6 คน เพื่อเลนเกมตอลูกปด โดยแจกลูกปดใหนักเรียนกลุมละ 4 สี สีละ 5 เมด็ แลว ใหน กั เรียนลองตอลกู ปดแบบตา งๆ ซึง่ เปรียบเทยี บกับการสรางสาย เพปไทด โดยแทนลูกปด แตละสีเปน กรดอะมโิ นแตละชนิด ขั้นอธิบายและลงขอ สรปุ /ขั้นดําเนนิ การคน หาคาํ ตอบและตรวจสอบคําตอบ 1. ใหนักเรยี นแตล ะกลุมนําเสนอวา กลุมตนเองตอ ลกู ปดไดก แ่ี บบ อยา งไรบาง จากน้ันครูตั้งคาํ ถามให นักเรยี นชว ยกันตอบวา - เพปไทดท่ปี ระกอบดวยกรดอะมโิ น 4 ชนดิ ชนิดละ 1 โมเลกุล จะมสี ายเพปไทดที่มลี ําดบั กรดอะมิโนทีแ่ ตกตางกันไดก แี่ บบ (แนวตอบ : 24 วธิ ี โดยคิดจากสตู ร n! (n factorial) ซง่ึ n คือ จาํ นวนชนดิ ของกรดอะมโิ น แทนคา สตู ร 4! = 4x3x2x1 = 24) 2. ครูและนักเรียนรวมกันอภปิ รายและสรปุ วา เน่อื งจากการจดั เรยี งตวั และจํานวนกรดอะมิโนท่เี ปน องคประกอบแตกตา งกัน จึงทําใหโ ปรตนี แตละชนดิ มีสมบตั แิ ตกตา งกนั โดย ครสู ดุ าภรณ สืบบุญเปยม กลมุ สาระการเรยี นรู วิทยาศาสตร

แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าชวี วิทยา 1 มัธยมศึกษาปท ี่ 4 19 ชั่วโมงที่ 3 ขั้นนําเขา สบู ทเรียน/ข้ันตั้งคําถาม 1. ครูใหน ักเรยี นรวมกันยกตวั อยางอาหารทม่ี ีสารอาหารประเภทลิพดิ 2. ครูต้งั คําถามเพือ่ ตรวจสอบความรเู ดมิ ของนกั เรยี น - เมือ่ กลาวถึงลิพิด นกั เรียนนกึ ถึงสารชนิดใดบา ง (แนวตอบ : นํา้ มนั ไขมัน ไข) ครูควรอธิบายเพิ่มเติมวา สารจาํ พวกลพิ ดิ นอกจากจะมีน้าํ มัน ไขมนั และไขแลว ยงั มีอีกหลาย ชนิด เชน ฟอสโฟลพิ ดิ ไกลโคลพิ ดิ สเตอรอยด เปน ตน ซงึ่ นักเรยี นจะไดศกึ ษาตอ ไป - ลพิ ดิ ละลายน้าํ ไดหรือไม และละลายในสารใดไดบ า ง (แนวตอบ : ลพิ ดิ มีสมบัติไมล ะลายนาํ้ แตสามารถละลายไดใ นสานละลายอินทรยี หลายชนิด เชน คลอโรฟอรม อะซโิ ตน อีเทอร เปนตน ) - ลพิ ิดมีประโยชนตอ รา งกายอยา งไร (แนวตอบ : ลิพดิ มีเปน สารอาหารทใ่ี หพลังงานแกร างกาย ใหค วามอบอุนแกร า งกาย ชว ยปองกนั การกระทบกระเทือนของอวยั วะภายใน) ขนั้ สํารวจและคนพบ/ข้ันการเตรยี มการคน หาคาํ ตอบ 1. ใหนักเรียนสงั เกตภาพการเกดิ ไขมนั ชนิดไตรกลเี ซอไรด แลวครูถามคาํ ถามวา - โมเลกุลของไขมันและนา้ํ มันประกอบดวยหนว ยยอ ยใดบาง (แนวตอบ : โมเลกลุ ของไขมันและนํา้ มนั ประกอบดว ยหนวยยอย 2 สวน ไดแก กรดไขมัน (fatty acid) และกลีเซอรอล (glycerol)) 2. ใหนักเรียนทําความเขาใจในการเรียกชนิดของไขมันตามจํานวนโมเลกลุ ของกรดไขมัน ดังน้ี - หากมีกรดไขมนั 1 โมเลกลุ เรยี กวา มอโนกลีเซอไรด - หากมกี รดไขมนั 1 โมเลกุล เรียกวา ไดกลเี ซอไรด - หากมกี รดไขมัน 1 โมเลกลุ เรยี กวา ไตรกลเี ซอไรด ขั้นอธิบายและลงขอ สรุป/ข้ันดําเนนิ การคนหาคําตอบและตรวจสอบคาํ ตอบ 1. ครูต้งั คําถามเพอ่ื ตรวจสอบความเขา ใจของนักเรยี น - กรดไขมันมสี มบตั อิ ยางไร (แนวตอบ : ไมล ะลายน้าํ จุดเดือดและจุดหลอมเหลวสงู ข้นึ ตามจํานวนคารบ อนอะตอม) - กรดไขมันอิม่ ตัวกบั กรดไขมันไมอ ิ่มตัวแตกตางกนั อยา งไร (แนวตอบ : กรดไขมันอ่มิ ตวั อะตอมของคารบอนในโมเลกลุ ตอกนั ดว ยพนั ธะเดี่ยว พบใน ไขมันจากสัตว หรือจากพืชบางชนิด เชน นา้ํ มนั มะพราว นํา้ มนั ปาลม กรดไขมนั ไมอ่มิ ตัว อะตอมของคารบ อนในโมเลกลุ ตอ กันดวยพันธะคู ทาํ ปฏกิ ิรยิ ากับ ออกซเิ จนในอากาศ เกิดเปนสารประเภทเพอรออกไซด ทําใหเ กิดกล่ินเหม็นหืน) - การรวมตวั กนั ระหวา งโมเลกุลกรดไขมันกับโมเลกลุ กลีเซอรอล เรยี กวา ปฏกิ ริ ิยาอะไร (แนวตอบ : ดีไฮเดรชัน (dehydration) หรอื ปฏิกิริยาควบแนน (condensation)) - จงยกตวั อยางลพิ ิดเชงิ ซอ น และลพิ ดิ อนพุ ันธ (แนวตอบ : ลิพิดเชงิ ซอ น เชน ฟอสโฟลพิ ดิ ไกลโคลพิ ิด ลิโพโปรตีน ลพิ ิดอนุพนั ธ เชน โดย ครูสุดาภรณ สบื บุญเปย ม กลุมสาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาชีววิทยา 1 มัธยมศกึ ษาปท ่ี 4 20 คอเลสเตอรอล โพรเจสเทอโรน เทสโทสเทอโรน) ข้ันขยายความรูและนาํ เสนอผลการคนหาคาํ ตอบ 1. ครอู ธบิ ายเพ่มิ เติมเก่ียวกบั การทดสอบหาปริมาณกรดไขมนั ไมอ ่ิมตวั ในนํ้ามันชนดิ ตา งๆ ดังน้ี สามารถทดสอบหาปรมิ าณกรดไขมนั ไมอ ม่ิ ตัว โดยใหท ําปฏกิ ิรยิ ากับไอโอดีน ซึง่ ไอโอดนี สามารถเขาทําปฏกิ ิริยาบรเิ วณพันธะคูร ะหวางอะตอมคารบอน เกดิ เปน สารท่ีไมม สี ี ดังน้ัน หากนํา้ มนั มปี ริมาณกรดไขมนั ไมอ มิ่ ตัวอยมู าก จะสามารถฟอกสขี องไอโอดีนไดมาก 2. ใหน กั เรยี นแบง กลุม กลมุ ละ 5-6 คน ปฏบิ ัตกิ ิจกรรม เร่อื ง ปริมาณกรดไขมนั ไมอ ม่ิ ตัวในนา้ํ มนั พชื และนํา้ มนั สัตว แลว รวมกนั อภปิ รายและสรุปผลการทํากิจกรรม 3. ครอู ธบิ ายเพิ่มเติมเกี่ยวกบั การเหม็นหนื ของน้ํามัน โดยน้ํามันทีม่ กี รดไขมนั ไมอมิ่ ตัวจะเหม็นหนื ได งา ยกวา ซ่งึ สามารถแกไ ขไดด ว ยการเติมวิตามินอเี พื่อชะลอการเหม็นหนื 4. ครตู ง้ั คําถามเชือ่ มโยงกับชวี ติ ประจาํ วนั ดังน้ี - เหตใุ ดเมอื่ นํานํ้ามันพืชบางชนดิ ไปแชใ นตเู ยน็ น้าํ มนั นั้นจะไมแ ขง็ ตัว (แนวตอบ : นํ้ามันพืชจะประกอบไปดวยกรดไขมันไมอ่ิมตัวปริมาณมาก ซึ่งกรดไขมันไม อม่ิ ตัวสว นใหญมีจุดหลอมเหลวต่ําประมาณ -0.5 ถึง -49 oC ซึ่งตํ่ากวาอุณหภูมิในตูเย็น นํ้ามัน นั้นจึงไมแข็งตัว สวนกรดไขมันอ่ิมตัวสวนใหญมีจุดหลอมเหลวประมาณ 44-48 C ซ่ึงสูงกวา อุณหภูมิในตูเ ยน็ นา้ํ มนั น้นั จึงแขง็ ตวั ) - น้ํามนั ทีใ่ ชป ระกอบอาหารที่ขายทัว่ ไปในทอ งตลาด มคี วามแตกตา งกนั อยา งไร (แนวตอบ : นํ้ามันท่ีขายในทองตลาดมีหลายชนิด เชน น้ํามันรําขาว นํ้ามันปาลม นํ้ามัน ถั่วเหลือง นํ้ามันขาวโพด น้ํามันเมล็ดทานตะวัน ซึ่งประกอบไปดวยกรดไขมันไมอิ่มตัว สวน น้าํ มันจากสตั ว เชน นาํ้ มนั หมู ประกอบไปดวยกรดไขมันอม่ิ ตวั ) ช่ัวโมงที่ 4 ขน้ั นาํ เขา สบู ทเรียน/ขนั้ ตั้งคําถาม 1. ครตู ั้งคําถามเพื่อตรวจสอบความรูเดิมของนักเรยี น - ลกั ษณะของส่งิ มชี วี ิตถูกควบคมุ ดวยสารใด (แนวตอบ : สารพนั ธกุ รรม) - สารพันธกุ รรมในส่งิ มีชีวิตแตละชนดิ เปน สารเดยี วกันหรือไม อยา งไร (แนวตอบ : สารพนั ธุกรรมในส่งิ มีชวี ติ แตละชนดิ แตกตา งกัน โดยอาจเปน DNA หรอื RNA) 2. ครูอาจนําภาพหรือแบบจําลอง DNA ใหนกั เรียนสังเกตลักษณะและสว นประกอบตางๆ 3. ครแู ละนักเรียนรว มกนั อภิปรายเกีย่ วกับนวิ คลโี อไทล นํ้าตาลเพนโทส ไนโตรจีนัสเบส และหมู ฟอสเฟต ข้ันสํารวจและคน พบ/ข้ันการเตรียมการคน หาคําตอบ 1. ใหนกั เรียนศึกษาเกีย่ วกับประเด็นตา งๆ ดังน้ี - นิวคลีโอไทล - น้ําตาลเพนโทส - ไนโตรจีนัสเบส โดย ครูสุดาภรณ สืบบุญเปย ม กลมุ สาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าชวี วิทยา 1 มัธยมศึกษาปท ี่ 4 21 - หมูฟอสเฟต - ชนดิ ของกรดนวิ คลอี กิ สรปุ สาระสําคญั ลงในสมดุ บนั ทึกของนกั เรยี น 2. ครูเนนย้ําใหนักเรียนสังเกตความแตกตางระหวาง DNA กับ RNA แตยังไมตองศึกษาโครงสราง ละเอยี ด ขน้ั อธบิ ายและลงขอสรปุ /ข้ันดาํ เนนิ การคนหาคาํ ตอบและตรวจสอบคําตอบ 1. ครูตงั้ คาํ ถามเพอื่ ตรวจสอบความเขา ใจของนกั เรียน ดงั น้ี - แตล ะโมเลกลุ ของนิวคลโี อไทดประกอบดว ยหนวยยอยอะไรบา ง (แนวตอบ : น้ําตาลเพนโทส ไนโตรจีนสั เบส และหมฟู อสเฟต) - DNA กบั RNA แตกตางกันอยา งไร (แนวตอบ : แตกตา งกันที่ชนดิ ของเบส (ใน DNA เปน A C G T สว นใน RNA เปน A C G U) ชนดิ ของน้ําตาล (ใน DNA เปนดอี อกซีไรโบส สวนใน RNA เปน ไรโบส)) 2. ครอู าจแจงวาในหนวยการรนู ้ี นักเรียนอาจยงั ไมตอ งศกึ ษาโครงสรา งและหนาทีข่ อง DNA กับ RNA อยา งละเอียด ซ่งึ นกั เรียนจะไดศ กึ ษาตอ ไปในเรอ่ื งพันธศุ าสตร แตใ หนกั เรียนทราบเพียงวา กรดนิวคลีอกิ เปน สารพนั ธกุ รรมอยูในนิวเคลยี ส มหี นา ที่ควบคมุ การถา ยทอดลักษณะทางพันธุกรรม ชั่วโมงท่ี 5 ขั้นนําเขาสูบทเรยี น/ขน้ั ตัง้ คาํ ถาม 1. ครตู งั้ คาํ ถามเพ่อื ตรวจสอบความรเู ดมิ ของนกั เรยี น 1.1 ใหนกั เรยี นชวยกนั ยกตวั อยางอาการหรอื โรคท่เี กดิ จากการขาดวิตามิน (แนวตอบ : พิจารณาจากคาํ ตอบของนักเรยี น ตวั อยา งเชน - โรคตาบอดกลางคืน เกิดจากการขาดวิตามินเอ - โรคเหนบ็ ชา เกดิ จากการขาดวิตามินบี 1 - โรคลักปด ลกั เปด เกดิ จากการขาดวติ ามนิ ซี - โรคกระดกู ออน เกิดจากการขาดวติ ามนิ ดี - เลือดแข็งตวั ชา เกดิ จากการขาดวิตามนิ เค) ขั้นสาํ รวจและคน พบ/ขั้นการเตรยี มการคน หาคาํ ตอบ 1. ใหน ักเรียนแบง กลุม กลุม ละ 6 คน ศกึ ษาเก่ียวกับวิตามินชนดิ ตางๆ ดังน้ี - คนท่ี 1 ศกึ ษาวติ ามนิ ซี - คนที่ 2 ศึกษาวติ ามนิ บี - คนที่ 3 ศกึ ษาวติ ามนิ เอ - คนท่ี 4 ศกึ ษาวิตามนิ ดี - คนท่ี 5 ศึกษาวิตามินอี - คนที่ 6 ศึกษาวติ ามนิ เค สรุปสาระสาํ คญั ในประเด็นของความสําคัญ และแหลง ท่พี บลงในสมุดบันทกึ ของนักเรียน 2. ใหน ักเรียนแตละกลุม สรปุ ความรทู ่ีศึกษาเปนแผนผังความคิดในรปู แบบ mind mapping โดย ครูสดุ าภรณ สบื บุญเปย ม กลมุ สาระการเรยี นรู วิทยาศาสตร

แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าชวี วิทยา 1 มัธยมศกึ ษาปที่ 4 22 ขนั้ อธิบายและลงขอ สรปุ /ขนั้ ดาํ เนนิ การคน หาคําตอบและตรวจสอบคาํ ตอบ 1. ครแู ละนกั เรยี นรวมกันอภิปรายและสรุปประเดน็ เก่ยี วกบั เรอื่ งวติ ามนิ 2. ครตู ้ังคําถามเพ่อื ตรวจสอบความเขาใจของนกั เรียน ดงั นี้ - รา งกายสง่ิ มีชวี ิต จําเปนตอ งไดร บั วิตามินหรือไม อยางไร (แนวตอบ : จําเปน เพราะวิตามินชวยควบคุมการทํางานของระบบตางๆ ในรางกายให ทํางานไดอยางปกติ ซ่ึงรางกายไมสามารถสังเคราะหวิตามินไดเอง จึงจําเปนตองไดรับจาก สารอาหาร) - วิตามินพบไดม ากในอาหารประเภทใด (แนวตอบ : วิตามินพบไดในอาหารหลายชนิด แตพบไดมากในผลไม) ขนั้ ขยายความรูและนําเสนอผลการคนหาคําตอบ 1. ครูและนักเรยี นรว มกันอภิปรายและสรุปความสาํ คัญของสารอนิ ทรียแ ตละชนิดตอรางกาย สงิ่ มชี ีวิต โดยควรสรุปประเด็นสําคัญได ดังนี้ - คารโ บไฮเดรต : เปนแหลง พลังงานและวตั ถดุ ิบสําหรบั สรา งโครงรา งและสว นประกอบของเซลล - โปรตีน : เปน โครงสรางของเซลล เปน ตวั เรง ปฏิกริ ิยาเคมภี ายในเซลล ควบคมุ การทาํ งานของ รา งกาย เกย่ี วขอ งกบั ระบบภูมิคมุ กัน - ลิพิด : เปนแหลงพลังงาน ปอ งกันการสูญเสียนาํ้ ควบคมุ อณุ หภมู ิของรา งกาย ปอ งกันการ กระทบกระแทกของอวัยวะภายในรางกาย - กรดนวิ คลีอกิ : ควบคุมการถา ยทอดลกั ษณะทางพันธุกรรมของสง่ิ มีชวี ิต - วิตามนิ : ควบคุมการทํางานของระบบตา งๆ ในรางกายใหอ ยใู นสภาวะปกติ 2. ครนู าํ อภปิ รายวา จากการศกึ ษาพบวา สารอนิ ทรยี แ ตละชนิดลว นมคี วามสําคัญตอสิง่ มีชีวติ ดงั นนั้ จงึ ควรบริโภคอาหารทห่ี ลากหลายและมปี ระโยชน ท้ังน้เี พอื่ สขุ ภาพรา งกายทส่ี มบูรณแ ข็งแรง 3. ครกู ลาวเชือ่ มโยงเขาสูเ นอ้ื หาที่จะไดศึกษาตอ ไปวา สารอาหารตางๆ ทงั้ สารอนนิ ทรียและ สารอนิ ทรีย เมือ่ เขา สรู างกายแลว จะถกู ลําเลียงไปสเู ซลล แลวเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมีภายในเซลล 4. ครูมอบหมายใหน ักเรียนทาํ แบบฝก ทกั ษะ เรื่อง สารอินทรยี  ขัน้ สรปุ และประเมนิ ผล 1. ครูประเมนิ ผล โดยการสงั เกตการตอบคําถาม การรวมกนั ทําผลงาน และการนําเสนอผลงาน 2. ครูวัดและประเมินผลจากการทาํ ใบงาน เรื่อง คารโบไฮเดรต 3. ครูวัดและประเมินจาก แบบบันทึกบทปฏิบัติการ เร่ือง ปริมาณกรดไขมันไมอิ่มตัวในนํ้ามันพืชแล นา้ํ มนั สัตว 4. ครตู รวจสอบผลการทําแบบฝกหัด โดย ครสู ดุ าภรณ สืบบุญเปยม กลมุ สาระการเรยี นรู วิทยาศาสตร

แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าชีววิทยา 1 มัธยมศกึ ษาปท่ี 4 23 9. ส่อื การเรยี นการสอน / แหลง เรียนรู จํานวน สภาพการใชส อ่ื รายการสือ่ 1 ชุด ขั้นอธบิ ายและลงขอสรุป ขั้นอธบิ ายและลงขอ สรุป 1. ใบงาน เร่อื ง คารโ บไฮเดรต 1 ชดุ 2. บทปฏบิ ัติการ เร่อื ง ปรมิ าณกรดไขมนั ไมอม่ิ ตวั ในน้ํามันพืชและ นาํ้ มนั สัตว 10. การวดั ผลและประเมนิ ผล เปา หมาย หลักฐานการเรยี นรู วธิ วี ดั เครื่องมือวดั ฯ ประเด็น/ การเรียนรู ช้ินงาน/ภาระงาน ตรวจใบงาน เร่อื ง เกณฑการใหคะแนน 1) อธิบายโครงสราง 1. ใบงาน เร่ือง คารโ บไฮเดรต แบบประเมนิ ใบงาน ระดับคณุ ภาพ ความสาํ คัญ และ คารโ บไฮเดรต รอยละ 65 ผา นเกณฑ ชนดิ ของ 2. บทปฏบิ ัตกิ าร เรื่อง คารโ บไฮเดรต ปรมิ าณกรดไขมนั ไม ตรวจ บท แบบประเมินแบบ ระดับคณุ ภาพ โปรตีน ลิพดิ และ อม่ิ ตวั ในนํ้ามนั พชื และ ปฏิบตั กิ าร เรอ่ื ง บทปฏบิ ตั กิ าร เรอ่ื ง รอยละ 65 ผา นเกณฑ กรดนวิ คลอี กิ ได นา้ํ มันสัตว ปริมาณกรดไขมัน ปริมาณกรดไขมัน 2) สืบคนขอ มูลและ 3. การนาํ เสนอผลงาน ไมอ มิ่ ตัวในนํา้ มนั ไมอ ่มิ ตัวในนา้ํ มัน อภิปรายเก่ียวกบั พชื และนาํ้ มนั สัตว พชื และนํ้ามันสตั ว ความสาํ คัญของ 4. พฤตกิ รรมการ ประเมนิ การ ผลงานท่ีนําเสนอ ระดบั คุณภาพ 2 สารอนิ ทรียต อ ทํางานรายบคุ คล นาํ เสนอผลงาน สง่ิ มีชีวิตได ผานเกณฑ 3) สนใจใฝรูใน 5. พฤติกรรมการ การศึกษา และมี ทํางานรายกลมุ สังเกตพฤติกรรม แบบสงั เกต ระดับคณุ ภาพ 2 ความรบั ผดิ ชอบ การทาํ งาน พฤตกิ รรม ผานเกณฑ 6. คุณลักษณะ รายบุคคล การทํางาน อันพึงประสงค รายบคุ คล สังเกตพฤติกรรม แบบสงั เกต ระดบั คุณภาพ 2 การทํางานรายกลมุ พฤตกิ รรม ผา นเกณฑ การทํางานรายกลุม สงั เกตความมวี นิ ยั แบบประเมิน ระดบั คณุ ภาพ 2 ใฝเ รยี นรแู ละมุงม่นั คุณลกั ษณะ ผานเกณฑ ในการทํางาน อนั พึงประสงค โดย ครสู ดุ าภรณ สบื บญุ เปย ม กลุม สาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาชีววิทยา 1 มัธยมศกึ ษาปท ่ี 4 24 แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน แบบประเมินการนําเสนอผลงาน คาํ ชแ้ี จง : ใหผ สู อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหวา งเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว ขดี ลงในชองที่ ตรงกับระดับคะแนน ลาํ ดับที่ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 1 32 1 เนื้อหาละเอียดชดั เจน  2 ความถูกตองของเน้อื หา   3 ภาษาทใ่ี ชเขาใจงาย   4 ประโยชนท ีไ่ ดจากการนาํ เสนอ   5 วธิ กี ารนาํ เสนอผลงาน    รวม ลงช่ือ...................................................ผูประเมนิ (นางสาวสดุ าภรณ สบื บญุ เปย ม) ............./................../............... เกณฑการใหค ะแนน ให 3 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคลอ งกับรายการประเมนิ สมบูรณชัดเจน ให 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคลองกบั รายการประเมินเปน สวนใหญ ให 1 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคลอ งกับรายการประเมินบางสวน เกณฑก ารตัดสนิ คณุ ภาพ ชว งคะแนน ระดับคุณภาพ 14 - 15 ดีมาก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช ต่าํ กวา 8 ปรบั ปรุง โดย ครสู ดุ าภรณ สบื บุญเปย ม กลมุ สาระการเรียนรู วิทยาศาสตร

แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าชวี วิทยา 1 มัธยมศกึ ษาปท ่ี 4 25 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทาํ งานรายบุคคล คําช้ีแจง : ใหผสู อนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวางเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว ขีด ลงในชองที่ ตรงกบั ระดับคะแนน ลาํ ดับที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน 3 21 1 การแสดงความคิดเห็น   2 การยอมรบั ฟงความคดิ เหน็ ของผอู ่ืน   3 การทํางานตามหนา ท่ีทไ่ี ดรบั มอบหมาย   4 ความมนี ํา้ ใจ   5 การตรงตอเวลา   รวม ลงชอ่ื ...................................................ผปู ระเมิน (นางสาวสดุ าภรณ สืบบญุ เปยม) ............./................../.............. เกณฑการใหค ะแนน ให 3 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยา งสม่ําเสมอ ให 2 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบอ ยครงั้ ให 1 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางครัง้ เกณฑการตัดสินคุณภาพ ชวงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14 - 15 ดีมาก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช ตํา่ กวา 8 ปรับปรงุ โดย ครสู ุดาภรณ สืบบญุ เปย ม กลุมสาระการเรยี นรู วิทยาศาสตร

แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าชวี วิทยา 1 มัธยมศกึ ษาปท ่ี 4 26 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทํางานกลมุ คําชี้แจง : ใหผ สู อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา งเรียนและนอกเวลาเรียน แลวขดี ลงในชอ งที่ ตรงกบั ระดับคะแนน การมี ลําดบั ท่ี ชื่อ – สกลุ การแสดง การยอมรับ การทํางาน ความมี สวนรวมใน รวม ของนักเรยี น ความ ฟง คนอืน่ ตามท่ีไดรับ นาํ้ ใจ 15 คิดเหน็ การ คะแนน มอบหมาย ปรับปรงุ ผลงานกลุม 321321321321321 ลงชอื่ ...................................................ผูประเมนิ (นางสาวสดุ าภรณ สืบบุญเปย ม) ............../.................../............... เกณฑการใหคะแนน ให 3 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมอยางสมาํ่ เสมอ ให 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบอยคร้ัง ให 1 คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบางคร้งั เกณฑก ารตัดสนิ คุณภาพ ชว งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14 - 15 ดีมาก 11 - 13 ดี โดย ครสู ุดาภรณ สืบบญุ เปย ม กลมุ สาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาชีววิทยา 1 มัธยมศกึ ษาปท่ี 4 27 8 - 10 พอใช ต่ํากวา 8 ปรับปรงุ แบบประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค คาํ ชี้แจง : ใหผสู อนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลวขีด ลงในชอ งที่ ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน อันพงึ ประสงคด า น 321 1. มีวนิ ัย รับผดิ ชอบ 1.1 ปฏบิ ตั ิตามขอตกลง กฎเกณฑ ระเบียบ ขอบงั คับของครอบครวั มีความตรงตอ เวลาในการปฏิบัติกจิ กรรมตาง ๆ ในชีวติ ประจาํ วัน 2. ใฝเ รยี นรู 2.1 รจู กั ใชเ วลาวา งใหเปนประโยชน และนาํ ไปปฏบิ ตั ิได 2.2 รจู ักจัดสรรเวลาใหเหมาะสม 2.3 เช่ือฟงคําสง่ั สอนของบดิ า - มารดา โดยไมโ ตแ ยง 2.4 ตั้งใจเรยี น 3. มุงมัน่ ในการทาํ งาน 3.1 มคี วามตั้งใจและพยายามในการทาํ งานทีไ่ ดร บั มอบหมาย 3.2 มคี วามอดทนและไมทอแทต ออปุ สรรคเพอื่ ใหงานสาํ เร็จ ลงช่อื ...................................................ผปู ระเมิน (นางสาวสดุ าภรณ สืบบุญเปยม) ............../.................../................ เกณฑการใหคะแนน พฤติกรรมที่ปฏบิ ตั ชิ ัดเจนและสม่ําเสมอ ให 3 คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบอยครงั้ ให 2 คะแนน พฤติกรรมทปี่ ฏิบตั ิบางครง้ั ให 1 คะแนน เกณฑการตัดสินคณุ ภาพ ชว งคะแนน ระดับคุณภาพ 51 - 60 ดีมาก 41 - 50 ดี 30 - 40 พอใช ต่ํากวา 30 ปรับปรุง โดย ครูสุดาภรณ สบื บุญเปย ม กลุม สาระการเรียนรู วิทยาศาสตร

แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าชีววิทยา 1 มธั ยมศึกษาปท ี่ 4 28 11. ความเห็นของผูบ รหิ ารสถานศึกษาหรอื ผทู ไี่ ดร ับมอบหมาย ขอ เสนอแนะ ลงช่อื .................................................. (นายอดศิ ร แดงเรอื น) ผอู ํานวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห 31 12. บนั ทกึ ผลหลงั การสอน  ดานความรู  ดา นสมรรถนะสาํ คญั ของผเู รียน  ดา นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค  ดา นความสามารถทางวทิ ยาศาสตร  ดา นอน่ื ๆ (พฤติกรรมเดน หรือพฤติกรรมที่มปี ญหาของนักเรยี นเปนรายบคุ คล (ถาม)ี )  ปญหา/อปุ สรรค  แนวทางการแกไข ลงชอื่ ..................................................ผูส อน (นางสาวสดุ าภรณ สืบบุญเปย ม) โดย ครสู ุดาภรณ สืบบญุ เปย ม กลุมสาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาชวี วิทยา 1 มัธยมศกึ ษาปที่ 4 29 ตาํ แหนง พนกั งานราชการ ใบงาน เร่อื ง คารโบไฮเดรต คําช้ีแจง : ใหน ักเรียนสรุปใจความสําคญั เรอ่ื ง คารโ บไฮเดรต เปน ผังมโนทัศน วธิ ีดําเนนิ การ 1. ใหนกั เรียนแบง กลุม กลุมละ 5-6 คน สืบคน ขอ มลู เกี่ยวกบั คารโบไฮเดรต แลวสรุปใจความสําคญั เปนผงั มโนทัศนใ หม คี วามนา สนใจ โดยอาจมปี ระเดน็ ตา งๆ ดงั น้ี • สตู รโมเลกุล • ประเภท - มอโนแซก็ คาไรด (ชนิด ลกั ษณะ แหลงทีพ่ บ) - โอลิโกแซ็กคาไรด (ชนิด ลกั ษณะ แหลงท่พี บ) - พอลแิ ซ็กคาไรด (ชนิด ลักษณะ แหลง ท่พี บ) • การทดสอบ โดยจดั ทําช้ินงานที่มีขนาดเทากบั กระดาษ A4 ท่ตี อกนั จํานวน 6 แผน 2. ใหน กั เรียนแตละกลมุ นาํ เสนอผลงานหนาชน้ั เรยี น โดย ครสู ดุ าภรณ สืบบุญเปย ม กลุม สาระการเรยี นรู วิทยาศาสตร

แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าชวี วิทยา 1 มัธยมศึกษาปที่ 4 30 แผนการจัดการเรียนรู หนว ยการเรยี นรูที่ 1 เร่ือง เคมที ่เี ปนพ้นื ฐานของส่ิงมีชีวติ แผนจดั การเรียนรทู ่ี 3 เรือ่ ง ปฏกิ ิรยิ าเคมีในเซลลของสิง่ มชี วี ิต รายวชิ า ชวี วิทยา1 รหสั วชิ า 31101 ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 4 ภาคเรยี นท่ี 1 ปการศึกษา 2564 น้าํ หนกั เวลาเรียน 1.0 (นน./นก.) เวลาเรยี น 3 ช่ัวโมง/สปั ดาห เวลาที่ใชในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู 6 ชวั่ โมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสําคัญ ปฏิกิริยาเคมใี นเซลลของสิ่งมีชีวิต มี 2 ประเภท คือ ปฏิกิริยาคายพลังงานและปฏิกิริยาดูดพลังงาน ปฏิกิรยิ าเหลาน้ีจําเปนตอ งอาศยั เอนไซมช วยเรงปฏกิ ริ ิยา ความเปน กรด-เบส อุณหภูมิ ความเขมขนของสารต้ัง ตน และความเขม ขน ของเอนไซมมผี ลตอปฏกิ ิริยาตางๆ ในเซลล ปฏกิ ริ ยิ าอาจหยุดชะงักหรือหยุดไปถามีสารที่ มสี มบตั ยิ ับยัง้ การทํางานของเอนไซมเขา รวมกบั เอนไซมห รอื สารต้ังตน 2. ผลการเรียนรู 8. สบื คน ขอมูลและอธิบายปฏกิ ิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในสงิ่ มชี วี ติ 9. อธิบายการทาํ งานของเอนไซมใ นการเรง ปฏกิ ริ ยิ าเคมใี นสิง่ มชี ีวิต และระบุปจ จัยท่มี ีผลตอ การ ทาํ งานของเอนไซม 3. สาระการเรียนรู 3.1 เน้อื หาสาระหลกั : Knowledge 1) อธิบายการเกิดปฏกิ ิรยิ าดูดพลงั งานและปฏกิ ิรยิ าคายพลังงานได 2) อธบิ ายการทํางานของเอนไซม ตวั ยงั ย้งั เอนไซม และปจ จัยทม่ี ผี ลตอการทํางานของ เอนไซมไ ด 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process 1) ทดลองเพ่ือศึกษาการทาํ งานของเอนไซมจ ากเน้ือเย่ือของสิ่งมชี ีวติ ได 3.3 คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค : Attitude 1) สนใจใฝรูในการศึกษา 4. สมรรถนะสาํ คัญของนักเรียน 1) ความสามารถในการสอื่ สาร 2) ความสามารถในการคิด 5) ความสามารถในการใชเทคโนโลยี 5. คณุ ลกั ษณะของวิชา 1) ความรับผิดชอบ 2) กระบวนการกลมุ 6. คณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค 1. มีวินัย 2. ใฝเ รียนรู 3. มงุ ม่ันในการทาํ งาน โดย ครูสดุ าภรณ สืบบุญเปย ม กลมุ สาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าชีววิทยา 1 มัธยมศึกษาปท่ี 4 31 7. ชิน้ งาน/ภาระงาน : 1. กิจกรรม เร่ือง การทํางานของเอนไซม 2. ใบงาน เรอ่ื ง ปจ จัยท่มี ีผลตอการทาํ งานของเอนไซม 3. แบบทดสอบหลงั เรยี น เร่อื ง เคมีพ้นื ฐานของสิ่งมชี วี ิต 8. กิจกรรมการเรียนรู ช่ัวโมงท่ี 1 ขัน้ นาํ เขาสูบ ทเรียน/ขน้ั ต้ังคาํ ถาม 1. ครูกระตุนความสนใจของนกั เรียนเกยี่ วกับเร่ืองปฏกิ ิริยาเคมี โดยใหน ักเรยี นดูส่ือดิจิทลั จาก อินเทอรเ น็ต หรือ PowerPoint หรือภาพยนตรส ารคดสี ้ัน TWIG เรือ่ ง การเปลย่ี นแปลงพลงั งานของปฏิกริ ิยา 2. ครตู ง้ั ประเด็นเพื่อใหน ักเรียนศกึ ษาเก่ียวกับปฏิกิรยิ าดูดพลังงานและปฏกิ ิรยิ าคายพลงั งาน ดังน้ี - ปฏกิ ิริยาการแยกนา้ํ ดวยไฟฟา - ปฏกิ ริ ยิ าการรวมตัวของอะตอมไฮโดรเจนกับอะตอมออกซิเจนเปนโมเลกลุ ของนํ้า ขน้ั สํารวจและคนพบ/ขน้ั การเตรียมการคน หาคําตอบ 1. ใหน กั เรยี นแบงกลุม กลมุ ละ 4-5 คน ศกึ ษาขอมลู เกย่ี วกับปฏิกริ ิยาท่ีครูกาํ หนดขา งตน ในประเด็น ตา งๆ ดงั นี้ - สารตั้งตนของปฏกิ ิริยา - ผลติ ภัณฑข องปฏกิ ิริยา - การเปลี่ยนแปลงพลงั งานในปฏิกิริยา - พันธะเคมี - พลงั งานพนั ธะ - ประเภทของปฏกิ ิริยาเคมี โดยนักเรียนอาจศกึ ษาไดจากใบความรู เรอ่ื ง ประเภทของปฏกิ ริ ยิ าเคมี 2. ใหนักเรยี นแตล ะกลุมสรปุ ความรูท ี่ศึกษาในรูปแบบของผงั มโนทศั น หรอื รูปแบบอื่นๆ ที่นา สนใจ 3. ครแู ละนักเรียนรวมกนั อภิปรายเก่ยี วกบั ปฏกิ ิรยิ าเคมีที่ศึกษา โดยควรมีแนวการอภิปราย ดงั น้ี - อะตอมของธาตหุ รือสารประกอบรวมตัวกันอยูไดด วยพนั ธะเคมีซึ่งมพี ลังงานสะสมอยู - โมเลกุลของสารทุกชนดิ มพี ลงั งานสะสมอยใู นรปู ของพลงั งานพนั ธะ - ถา พลังงานพนั ธะของสารตั้งตนสูงกวา พลงั งานพนั ธะของผลติ ภัณฑ เม่ือเกดิ ปฏิกิรยิ าจะมี พลังงานถูกปลดปลอ ยออกมา เรียกปฏิกริ ิยาแบบน้ีวา ปฏกิ ิรยิ าคายพลังงาน - ปฏิกิรยิ าการรวมตัวกันระหวางอะตอมของไฮโดรเจนกบั อะตอมออกซเิ จน จะตองมีการใช พลงั งานไปกระตุนเพอื่ สลายพนั ธะและสรางพนั ธะใหมระหวางไฮโดรเจนกบั ออกซเิ จนกลายเปน นํา้ ซึง่ มี พลังงานถกู ปลดหลอ ยออกมา โดยพลังงานท่ีปลดปลอ ยออกมามคี ามากกวาพลงั งานกระตุน จงึ เปนปฏิกริ ยิ า คายพลงั งาน - ถา พลังงานพนั ธะของสารต้ังตนตํา่ กวา พลงั งานพนั ธะของผลิตภัณฑ เมอ่ื เกิดปฏิกริ ิยา จําเปนตอ งใชพ ลงั งานจากภายนอก เรยี กปฏกิ ิริยาแบบนวี้ า ปฏกิ ิรยิ าดูดพลังงาน - ปฏกิ ริ ยิ าการแยกนาํ้ ดว ยไฟฟา จะตองมกี ารใชพลงั งานไปกระตนุ เพ่อื สลายพันธะระหวาง ไฮโดรเจนกับออกซเิ จน และมกี ารสรา งพนั ธะใหมระหวา งไฮโดรเจนกับไฮโดรเจน และออกซิเจนกับออกซิเจน โดยพลงั งานท่ีใชก ระตุน มีคามากกวา พลังงานท่ปี ลอยออกมา จงึ เปนปฏิกริ ิยาดดู พลังงาน โดย ครสู ดุ าภรณ สืบบญุ เปย ม กลมุ สาระการเรียนรู วิทยาศาสตร

แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาชีววิทยา 1 มธั ยมศกึ ษาปที่ 4 32 ชว่ั โมงท่ี 2 ขัน้ สํารวจและคนพบ/ขน้ั การเตรียมการคน หาคําตอบ 1. ครตู ั้งคําถามใหนกั เรียนรว มกันแสดงความคิดเหน็ ดังนี้ 1) ภายในเซลลข องส่งิ มีชวี ติ มปี ฏกิ ิริยาเคมีเกิดขน้ึ หรอื ไม (แนวตอบ : มี ซึ่งมีทั้งปฏิกิริยาสลายสารและสังเคราะหสาร โดยเรียกปฏิกิริยาที่เกิดข้ึนในเซลล สงิ่ มีชีวติ วา เมแทบอลิซมึ ) 2) เอนไซมมคี วามสาํ คญั ตอส่งิ มชี ีวติ อยางไร (แนวตอบ : เอนไซมมีความสําคัญตอส่ิงมีชีวิต เนื่องจากปฏิกิริยาเคมีภายในเซลลของส่ิงมีชีวิตตอง อาศยั เอนไซม) 3. ใหนักเรยี นกลมุ เดมิ จากชั่วโมงท่ีแลว ศกึ ษาขอ มลู เก่ียวกับประเด็นตางๆ ดังน้ี - การเรยี กชือ่ เอนไซม - กลไกการทํางานของเอนไซม - ปจ จัยที่มีผลตอการทาํ งานของเอนไซม 4. ใหนักเรียนแตละกลุมสรุปความรูท่ีศึกษาแลวรวมกันตั้งคําถามกลุมละ 1-2 คําถาม เกี่ยวกับเร่ือง ดังกลา ว ตัวอยางเชน - เอนไซมมสี มบตั อิ ยา งไร - การเรียกช่อื เอนไซมม กี ่วี ิธี อยางไรบาง - เอนไซมมีกลไกการทํางานอยางไร - เอนไซมเ ขา จับสารตงั้ ตนทีบ่ ริเวณใด - การจบั กันระหวา งเอนไซมกบั สารตง้ั ตนมกี ่ีทฤษฎี อะไรบาง ขน้ั อธบิ ายและลงขอ สรปุ /ขั้นดําเนนิ การคนหาคาํ ตอบและตรวจสอบคาํ ตอบ 1. ใหน ักเรยี นแตละกลุม สง ตัวแทนออกมาถามคาํ ถามเพ่อื นในชนั้ เรียน โดยมแี นวการตอบคาํ ถาม ดังนี้ 1) เอนไซมม สี มบตั ิอยางไร (แนวตอบ : เอนไซมเ ปนโปรตนี ทรงกลม มีความจําเพาะเจาะจง มปี ระสิทธิภาพการทํางานสูง คงสภาพเดิม ตลอดปฏกิ ริ ยิ า แตอาจเสียสภาพเมือ่ ไดร บั ความรอน หรืออยูในภาวะกรด-เบสที่ไมเ หมาะสม) 2) การเรียกชื่อเอนไซมมกี วี่ ิธี อยา งไรบาง (แนวตอบ : การเรยี กช่ือเอนไซมมี 3 วธิ ี ไดแก 1. เรยี กตามชนดิ ของสารตั้งตน โดนเตมิ –ase ลงไปทายชอื่ สารตั้งตน 2. เรยี กตามชนิดของปฏกิ ริ ยิ าที่เกิดขึน้ โดยเตมิ –ase ลงไปทา ยชอื่ ปฏิกิริยา 3. เรียกช่อื เฉพาะ) 3) เอนไซมม กี ลไกการทํางานอยา งไร (แนวตอบ : เอนไซมจ ะไปลดพลงั งานกอ กัมมนั ตหรือพลงั งานกระตนุ ในการเกดิ ปฏกิ ริ ิยา และทาํ ใหสารต้งั ตน ชนกันในทิศทางทเ่ี หมาะสม) 4) เอนไซมเขาจับสารต้ังตน ท่ีบรเิ วณใด (แนวตอบ : บริเวณเรง (active site)) 5) การจับกันระหวางเอนไซมกบั สารตั้งตนมีก่ที ฤษฎี อะไรบา ง (แนวตอบ : 2 ทฤษฎี ไดแก 1. ทฤษฎแี มกญุ แจและลูกกุญแจ 2. ทฤษฎีการเหน่ียวนาํ ) 6) ปจ จยั ใดบา งทมี่ ีผลตอการทํางานของเอนไซม (แนวตอบ : 1. ความเขมขน ของเอนไซม 2. ความเขมขน ของสารตงั้ ตน 3. ความเปน กรด-เบส 4. อุณหภูม)ิ โดย ครสู ดุ าภรณ สบื บญุ เปยม กลมุ สาระการเรยี นรู วิทยาศาสตร

แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาชวี วิทยา 1 มธั ยมศึกษาปท ี่ 4 33 ชว่ั โมงที่ 3-4 ข้นั สํารวจและคนพบ/ขัน้ การเตรยี มการคน หาคาํ ตอบ 1. ครูนําอภิปรายเพื่อเขาสูกิจกรรมเรื่อง การทํางานของเอนไซม โดยใหนักเรียนพิจารณาขอความ ตอ ไปนี้ “ไฮโดรเจนเปอรออกไซด (H2O2) เปนผลิตภัณฑจากปฏิกิริยาเคมีท่ีเกิดขึ้นภายในเซลล ซึ่งเปนสารท่ี อันตรายตอ เซลล หากไมถูกทํางายอาจสงผลใหเซลลตาย แตเซลลทั่วไปยังคงมีชีวิตอยูได ดังน้ัน จะเปนไปได หรือไมวาภายในเซลลม ีปฏกิ ิรยิ าสลายไฮโดรเจนเปอรอ อกไซด” 1) จากขอ ความขา งตน นกั เรยี นสรปุ ขอ เทจ็ จรงิ ไดอยางไรบาง (แนวตอบ : - H2O2 เปนสารทีเ่ กดิ จากปฏิกริ ิยาเคมภี ายในเซลล - H2O2 เปน อันตรายตอเซลล ถา สารน้ไี มถ ูกทาํ ลาย เซลลอ าจตายได ดังนั้น ภายในเซลล มีการสลาย H2O2 ซึ่งมีเอนไซมเขา มาเก่ยี วของ) 2. ใหนกั เรยี นแบงกลมุ เพ่ือทํากจิ กรรม เร่ือง การทํางานของเอนไซม โดยใหนักเรียนรวมกันตั้งปญหา และสมมตุ ิฐานของกิจกรรม ตวั อยางเชน ปญหา : เอนไซมม ีบทบาทอยางไรในการสลาย H2O2 สมมุตฐิ าน : เอนไซมช ว ยเรง ปฏิกิรยิ าการสลาย H2O2 3. ครูใชร ปู แบบการเรยี นรูแบบรวมมือ เทคนิค LT มาจัดกระบวนการเรยี นรู โดยกําหนดใหสมาชิกแต ละคนภายในกลมุ มบี ทบาทหนา ที่ของตนเอง ดังน้ี สมาชิกคนที่ 1 และ 2 : ทําหนาที่เตรียมวัสดอุ ปุ กรณ สมาชิกคนที่ 3 และ 4 : ทําหนา ท่ีอา นวธิ ีการทาํ กจิ กรรม และอธิบายใหส มาชกิ ในกลุมฟง สมาชิกคนที่ 5 และ 6 : ทาํ หนาทบ่ี ันทกึ ผลการทดลอง สมาชกิ คนที่ 7 และ 8 : ทําหนา ทน่ี าํ เสนอผลการทดลอง 4. ระหวางท่ีนักเรียนทํากิจกรรม ครูอาจตั้งคําถามเพ่ือใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็น ตัวอยางเชน 1) เพราะเหตุใดจงึ ตองแบงการทดลองออกเปน 3 หลอดทดลอง (แนวตอบ : เนอื่ งจากการทดลองหลอดที่ 1 และ 2 เปนชดุ ทดลอง สวนหลอดท่ี 3 เปนชุดควบคุม เพื่อใชเ ปรยี บเทยี บกับผลทีไ่ ดจ ากหลอดที่ 1 และ 2) ชั่วโมงท่ี 5-6 ขนั้ อธบิ ายและลงขอสรปุ /ขั้นดําเนินการคน หาคําตอบและตรวจสอบคําตอบ 1. ครูและนกั เรยี นรว มกนั อภปิ รายผลการทาํ กจิ กรรม โดยใชค ําถามทายกจิ กรรรม หรือคําถามอนื่ ๆ เชน 1) ผลการทดลองจากหลอดทดลองท้ังสามหลอดมีความแตกตา งกนั อยา งไร เพราะเหตใุ ดจึงเปน เชน น้ัน (แนวตอบ : ในหลอดทดลองท่ี 1 เกดิ ฟองแกสเน่อื งจากการสลายตวั ของ H2O2 เพราะมีเอนไซมช ว ยเรง ปกิ กริ ิยา ในหลอดทดลองท่ี 2 เกดิ ฟองแกสเลก็ นอ ยเนื่องจากการสลายตวั ของ H2O2 เพราะมีเอนไซม แตเอนไซม บางสว นเสยี ประสิทธภิ าพไปเน่อื งจากความรอน สวนหลอดทดลองที่ 3 เกิดฟองแกส เล็กนอยเนือ่ งจากการ สลายตัวของ H2O2 ตามธรรมชาต)ิ โดย ครสู ุดาภรณ สืบบญุ เปยม กลมุ สาระการเรียนรู วิทยาศาสตร

แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าชีววิทยา 1 มัธยมศกึ ษาปท ่ี 4 34 2) เพราะเหตุใดจึงตองนาํ ของเหลวท่ีไดจ ากการบดเนือ้ เยอื่ ไปอนุ จนมอี ุณหภมู ิประมาณ 60-70 oC (แนวตอบ : ทาํ ใหเ อนไซมเสียสภาพ เพราะเอนไซมเสียสภาพเมื่อไดรบั ความรอนสูงกวา 60 oC) 3) แกสทเ่ี กิดขนึ้ ในกิจกรรมเปนแกส ชนดิ ใด และทดสอบไดอยา งไร (แนวตอบ : แกสออกซเิ จน ทดสอบไดโดยใชธ ูปที่ติดไฟแลว ทําใหเปลวไฟดบั เหลือเฉพาะเปน ถานแดงๆ จอ เขา ไปในหลอดทดลอง ซ่งึ จะมีเปลวไปสวา งวาบขึน้ ) 2. หลังจากอภปิ รายผลการทํากิจกรรม ครแู ละนกั เรยี นรวมกันสรุปเกี่ยวกบั การทํางานของเอนไซม ดงั นี้ “ในปฏกิ ริ ยิ าสลาย H2O2 เอนไซมจากเซลลทาํ หนาท่ีเรงปฏิกิริยา ซ่ึงสังเกตไดวา เม่ือขาดเอนไซม การ สลาย H2O2 จะเกดิ ชา มาก และจากกิจกรรมเปนการศกึ ษาถึงความเขมขน ของเอนไซมท ่มี ีผลตอการทํางานของ เอนไซม” ขนั้ ขยายความรแู ละนําเสนอผลการคนหาคาํ ตอบ 1. หลังจากทนี่ ักเรยี นทาํ กิจกรรมแลว ใหน กั เรยี นแตล ะกลุมศกึ ษาเร่ืองตางๆ ดังน้ี - สารท่ชี ว ยเอนไซมใ นการทาํ งานของเอนไซม - การยบั ยั้งการทํางานของเอนไซม - การเสยี สภาพของเอนไซม 2. ครตู ัง้ คําถามเพ่ือใหนกั เรยี นแตละกลุมแขงขันกนั ตอบคําถาม ดังน้ี 1) สารใดบางทชี่ ว ยในการทาํ งานของเอนไซม (แนวตอบ : โคแฟกเตอร และโคเอนไซม) 2) การยับยงั้ การทาํ งานของเอนไซมม กี ่ีรูปแบบ อยา งไรบาง (แนวตอบ : 2 รปู แบบ ไดแ ก 1. การยบั ย้งั แบบไมทวนกลบั 2. การยับยั้งแบบทวนกลับได) 3) ภาวะใดทีม่ ีผลทําใหเอนไซมเสยี สภาพ (แนวตอบ : อณุ หภูมิสูง) 3. จากการทาํ กิจกรรม เร่อื ง การทาํ งานของเอนไซม ใหน กั เรยี นแตล ะกลมุ ออกแบบการทดลองเพอื่ ศกึ ษาปจ จัยท่มี ผี ลตอ การทํางานของเอนไซม โดย ทาํ ใบงาน เร่ือง ปจ จยั ทมี่ ีผลตอการทํางานของเอนไซม ขนั้ สรุปและประเมนิ ผล 1. ครูตรวจสอบผลการทาํ แบบทดสอบหลังเรยี น 2. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการตอบคําถาม การรวมกันทําผลงาน และจากการนําเสนอผลงาน 3. ครูวัดและประเมนิ การปฏบิ ตั กิ าร จากการทาํ กิจกรรม เร่อื ง การทาํ งานของเอนไซม 4. ครวู ดั และประเมินการปฏิบตั ิการ จากการทํา ใบงาน เร่อื ง ปจจัยทม่ี ีผลตอ การทํางานของเอนไซม 9. สือ่ การเรยี นการสอน / แหลง เรยี นรู รายการสื่อ จํานวน สภาพการใชสื่อ 1. กจิ กรรม เร่อื ง การทํางานของเอนไซม 1 ชดุ ขน้ั สํารวจและคนพบ 2. ใบงาน เร่อื ง ปจจยั ท่มี ผี ลตอการทาํ งานของเอนไซม 1 ชดุ ข้ันอธิบายและลงขอสรปุ 3. แบบทดสอบหลงั เรยี น เร่อื ง เคมีพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวติ 1 ชุด ขน้ั อธิบายและลงขอ สรุป โดย ครสู ุดาภรณ สืบบญุ เปยม กลุมสาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าชีววิทยา 1 มธั ยมศกึ ษาปท่ี 4 35 10. การวัดผลและประเมินผล เปา หมาย หลักฐานการเรยี นรู วธิ ีวดั เครอื่ งมอื วัดฯ ประเดน็ / การเรียนรู ชิน้ งาน/ภาระงาน เกณฑการให 1. อธบิ ายการ 1. แบบทดสอบหลงั ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบหลังเรยี น คะแนน เกดิ ปฏกิ ริ ิยาดูด เรยี น เร่อื ง เคมี หลังเรียน เรื่อง เรือ่ ง เคมีพน้ื ฐานของ ประเมินตามสภาพ พลงั งานและ พืน้ ฐานของส่ิงมชี วี ติ เคมีพนื้ ฐานของ สิ่งมชี วี ติ จรงิ ปฏกิ ริ ยิ าคาย สงิ่ มชี ีวิต พลงั งานได 2. กจิ กรรม เร่ือง การ ตรวจกจิ กรรม เรอ่ื ง แบบประเมินบท ระดบั คุณภาพ 2 2. อธิบายการทาํ งาน ทํางานของเอนไซม การทํางานของ ปฏบิ ตั กิ าร ผา นเกณฑ ของเอนไซม ตวั ยังยง้ั เอนไซม เอนไซม และปจ จัยท่ี ระดบั คุณภาพ มีผลตอ การทํางาน 3. ใบงาน เร่อื ง ปจจัยท่ี ตรวจใบงาน เร่ือง แบบประเมนิ ใบงาน รอยละ 65 ของเอนไซมไ ด มผี ลตอการทาํ งานของ ปจ จัยทมี่ ีผลตอการ ผลงานที่นําเสนอ ผานเกณฑ 3. ทดลองเพอื่ ศกึ ษา เอนไซม ทํางานของเอนไซม ระดบั คุณภาพ 2 การทาํ งานของ 4. การนาํ เสนอผลงาน ประเมินการ ผา นเกณฑ เอนไซมจ ากเน้อื เยื่อ นําเสนอผลงาน ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา นเกณฑ ของส่ิงมีชีวติ ได 5. พฤตกิ รรมการ สังเกตพฤติกรรม แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดบั คณุ ภาพ 2 ทํางานรายบคุ คล การทาํ งาน การทํางานรายบุคคล ผานเกณฑ รายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 6. พฤตกิ รรมการ สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤตกิ รรม ผานเกณฑ ทํางานรายกลมุ การทํางานรายกลุม การทํางานรายกลมุ 7. คุณลักษณะ สงั เกตความมีวนิ ยั แบบประเมิน อนั พงึ ประสงค ใฝเ รียนรแู ละมุง ม่ัน คณุ ลักษณะ ในการทาํ งาน อนั พงึ ประสงค โดย ครูสุดาภรณ สบื บญุ เปย ม กลุมสาระการเรยี นรู วิทยาศาสตร

แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาชีววิทยา 1 มัธยมศกึ ษาปท ่ี 4 36 แบบประเมินช้นิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผน ฯ ที่ 3 แบบประเมินการนาํ เสนอผลงาน คําชีแ้ จง : ใหผูสอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหวางเรยี นและนอกเวลาเรียน แลวขดี ลงในชอ งที่ ตรงกับระดับคะแนน ลําดับที่ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 1 32 1 เน้อื หาละเอียดชดั เจน  2 ความถูกตองของเนือ้ หา   3 ภาษาทใี่ ชเขาใจงาย   4 ประโยชนท ีไ่ ดจากการนําเสนอ   5 วิธกี ารนาํ เสนอผลงาน    รวม ลงชอ่ื ...................................................ผูป ระเมิน (นางสาวสุดาภรณ สบื บญุ เปยม) ............./................../............... เกณฑก ารใหค ะแนน ให 3 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคลองกบั รายการประเมนิ สมบรู ณช ัดเจน ให 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคลองกบั รายการประเมนิ เปน สวนใหญ ให 1 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคลอ งกบั รายการประเมินบางสวน เกณฑการตัดสินคณุ ภาพ ชว งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14 - 15 ดมี าก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช ตํา่ กวา 8 ปรบั ปรงุ โดย ครูสดุ าภรณ สบื บุญเปย ม กลมุ สาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าชวี วิทยา 1 มัธยมศกึ ษาปท ่ี 4 37 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทาํ งานรายบุคคล คําช้ีแจง : ใหผสู อนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวางเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว ขีด ลงในชองที่ ตรงกบั ระดับคะแนน ลาํ ดับที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน 3 21 1 การแสดงความคิดเห็น   2 การยอมรบั ฟงความคดิ เหน็ ของผอู ่ืน   3 การทํางานตามหนา ท่ีทไ่ี ดรบั มอบหมาย   4 ความมนี ํา้ ใจ   5 การตรงตอเวลา   รวม ลงชอ่ื ...................................................ผปู ระเมิน (นางสาวสดุ าภรณ สืบบญุ เปยม) ............./................../.............. เกณฑการใหค ะแนน ให 3 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยา งสม่ําเสมอ ให 2 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบอ ยครงั้ ให 1 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางครัง้ เกณฑการตัดสินคุณภาพ ชวงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14 - 15 ดีมาก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช ตํา่ กวา 8 ปรับปรงุ โดย ครสู ุดาภรณ สืบบญุ เปย ม กลุมสาระการเรยี นรู วิทยาศาสตร

แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาชีววิทยา 1 มัธยมศึกษาปท ่ี 4 38 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทํางานกลุม คําชแี้ จง : ใหผ สู อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวางเรียนและนอกเวลาเรยี น แลวขีด ลงในชองที่ ตรงกบั ระดับคะแนน การมี การแสดง การยอมรบั การทาํ งาน ความมี สว นรว มใน รวม ชอื่ – สกุล ความ ฟง คนอนื่ ตามทไ่ี ดรับ นา้ํ ใจ การ 15 ลาํ ดับที่ ของนกั เรยี น คดิ เห็น มอบหมาย ปรับปรุง คะแนน ผลงานกลุม 321321321321321 ลงช่อื ...................................................ผปู ระเมิน (นางสาวสุดาภรณ สบื บุญเปยม) ............../.................../............... เกณฑการใหค ะแนน ให 3 คะแนน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมอยา งสมาํ่ เสมอ ให 2 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบอ ยครัง้ ให 1 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง เกณฑการตัดสนิ คุณภาพ ชว งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14 - 15 ดีมาก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช ตา่ํ กวา 8 ปรบั ปรงุ โดย ครสู ุดาภรณ สืบบญุ เปยม กลมุ สาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาชีววิทยา 1 มธั ยมศึกษาปท่ี 4 39 แบบประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค คําชแ้ี จง : ใหผ สู อนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหวา งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แลวขีด ลงในชอ งที่ ตรงกับระดับคะแนน คุณลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน อันพึงประสงคดาน 321 1. มวี นิ ัย รบั ผดิ ชอบ 1.1 ปฏิบัตติ ามขอ ตกลง กฎเกณฑ ระเบยี บ ขอบังคับของครอบครวั มคี วามตรงตอเวลาในการปฏิบัติกจิ กรรมตาง ๆ ในชวี ิตประจาํ วัน 2. ใฝเรยี นรู 2.1 รจู กั ใชเ วลาวางใหเปน ประโยชน และนําไปปฏบิ ัติได 2.2 รจู ักจัดสรรเวลาใหเหมาะสม 2.3 เชอ่ื ฟง คาํ สั่งสอนของบิดา - มารดา โดยไมโตแ ยง 2.4 ต้งั ใจเรียน 3. มุงมั่นในการทํางาน 3.1 มคี วามต้งั ใจและพยายามในการทาํ งานทไี่ ดร ับมอบหมาย 3.2 มคี วามอดทนและไมท อ แทต อ อปุ สรรคเพือ่ ใหง านสําเรจ็ ลงช่ือ...................................................ผปู ระเมิน (นางสาวสุดาภรณ สืบบญุ เปย ม) ............../.................../................ เกณฑก ารใหคะแนน พฤติกรรมที่ปฏบิ ัตชิ ัดเจนและสมํ่าเสมอ ให 3 คะแนน พฤตกิ รรมที่ปฏิบัตชิ ัดเจนและบอยครงั้ ให 2 คะแนน พฤติกรรมทีป่ ฏบิ ัตบิ างครง้ั ให 1 คะแนน เกณฑก ารตัดสนิ คณุ ภาพ ชวงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 51 - 60 ดมี าก 41 - 50 ดี 30 - 40 พอใช ต่ํากวา 30 ปรับปรงุ โดย ครสู ดุ าภรณ สบื บญุ เปย ม กลุมสาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาชวี วิทยา 1 มัธยมศกึ ษาปที่ 4 40 11. ความเห็นของผูบริหารสถานศึกษาหรอื ผทู ไี่ ดร ับมอบหมาย ขอเสนอแนะ ลงชือ่ .................................................. (นายอดิศร แดงเรอื น) ผอู ํานวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห 31 12. บนั ทึกผลหลงั การสอน  ดานความรู  ดา นสมรรถนะสาํ คญั ของผเู รียน  ดา นคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค  ดา นความสามารถทางวทิ ยาศาสตร  ดานอน่ื ๆ (พฤติกรรมเดน หรือพฤติกรรมที่มปี ญหาของนักเรียนเปน รายบคุ คล (ถามี))  ปญหา/อุปสรรค  แนวทางการแกไ ข ลงชอื่ ..................................................ผสู อน (นางสาวสุดาภรณ สบื บญุ เปยม) ตําแหนง พนกั งานราชการ โดย ครูสดุ าภรณ สบื บญุ เปยม กลมุ สาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาชีววิทยา 1 มัธยมศกึ ษาปท่ี 4 41 ใบงาน เรอ่ื ง ปจจัยท่มี ผี ลตอ การทาํ งานของเอนไซม คาํ ชี้แจง : ใหนักเรียนออกแบบและดําเนนิ การทดลองเพื่อศึกษาปจจยั ที่มผี ลตอการทํางานของเอนไซม วธิ ีดาํ เนนิ การ 1. ใหนกั เรยี นแบง กลมุ กลุมละ 5-6 คน ออกแบบและดําเนินการทดลองเพอ่ื ศึกษาปจ จัยที่มผี ลตอการ ทํางานของเอนไซม 2. กําหนดปจจัยทม่ี ผี ลตอการทํางานของเอนไซมโ ดยไมซา้ํ กบั กลมุ อ่ืน ๆ 3. กําหนดปญ หา สมมติฐาน ตวั แปรตน ตวั แปรตาม ตัวแปรควบคุม และออกแบบการทดลอง โดยบันทกึ ลงในกรอบดานลาง 4. ปฏบิ ตั กิ ารทดลองตามทอ่ี อกแบบไว บนั ทกึ ผล และนาํ เสนอผลงาน โดย ครสู ุดาภรณ สบื บุญเปย ม กลมุ สาระการเรียนรู วิทยาศาสตร

แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาชวี วิทยา 1 มัธยมศกึ ษาปท ี่ 4 42 ใบงาน เฉลย เรือ่ ง ปจ จยั ท่มี ผี ลตอการทาํ งานของเอนไซม คําชี้แจง : ใหนกั เรยี นออกแบบและดําเนนิ การทดลองเพอ่ื ศึกษาปจ จยั ท่ีมผี ลตอ การทํางานของเอนไซม วิธีดาํ เนนิ การ 1. ใหน ักเรยี นแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน ออกแบบและดาํ เนินการทดลองเพ่อื ศกึ ษาปจ จยั ท่ีมผี ลตอการ ทาํ งานของเอนไซม 2. กาํ หนดปจจยั ทมี่ ผี ลตอ การทํางานของเอนไซมโ ดยไมซ้าํ กับกลมุ อนื่ ๆ 3. กําหนดปญหา สมมตฐิ าน ตัวแปรตน ตวั แปรตาม ตวั แปรควบคุม และออกแบบการทดลอง โดยบันทกึ ลงในกรอบดา นลา ง 4. ปฏบิ ตั ิการทดลองตามท่อี อกแบบไว บันทึกผล และนาํ เสนอผลงาน พจิ ารณาจากผลงานของนกั เรยี น โดยอยใู นดลุ ยพินจิ ของครผู ูส อน ตวั อยา งเชน ความเขมขน ของสารต้งั ตนตอ การทาํ งานของเอนไซม ปญ หา : ความเขมขนของสารตง้ั ตน มีผลตอการทํางานของเอนไซมหรอื ไม สมมติฐาน : ถา ความเขมขนของสารตัง้ ตนมผี ลตอ การทาํ งานของเอนไซม ดังนั้น ถา เปลีย่ นความ เขม ขนของสารต้ังตน อัตราการทาํ งานของเอนไซมจะเปลี่ยนแปลงไป ตัวแปรตน : ความเขม ขนของสารตั้งตน ตัวแปรตาม : อัตราการทํางานของเอนไซม ตัวแปรควบคมุ : ภาชนะทใี่ ส อุณหภมู ิ การออกแบบการทดลอง : 1. นาํ ถวั่ งอกประมาณ 20 กรมั มาบดในโกรง บดยาแลว เติมนํ้ากลั่น 20 ลกู บาศกเซนติเมตร คนให เขากัน จากน้ันใชผาขาวบางคน้ั เอานาํ้ เก็บไว 2. ใส H2O2 ความเขมขน 3% 5% 10% ลงในหลอดทดลองความเขมขนละ 1 หลอด หลอดละ 5 ลกู บาศกเ ซนติเมตร แลวใสสารจากขอ 1. 5 ลูกบาศกเซนตเิ มตร 3. ปด หลอดทดลองทั้งสามหลอดดวยจุกยาง สังเกตและบนั ทึกผลการทดลอง โดย ครูสดุ าภรณ สบื บุญเปย ม กลมุ สาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตร

เฉลยแผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาชวี วิทยา 1 มธั ยมศกึ ษาปท่ี 4 43 พิจารณาจากผลงานของนกั เรียน โดยอยูใ นดลุ ยพินจิ ของครผู ูสอน ตัวอยา งเชน ความเขมขนของเอนไซมต อการทํางานของเอนไซม ปญ หา : ความเขม ขน ของเอนไซมมผี ลตอ การทาํ งานของเอนไซมหรอื ไม สมมตฐิ าน : ถา ความเขม ขน ของเอนไซมมีผลตอ การทาํ งานของเอนไซม ดังนั้น ถา เปลย่ี นความ เขมขน ของเอนไซม อตั ราการทํางานของเอนไซมจ ะเปลยี่ นแปลงไป ตวั แปรตน : ความเขม ขนของเอนไซม ตัวแปรตาม : อัตราการทํางานของเอนไซม ตวั แปรควบคมุ : ภาชนะท่ใี ส อุณหภูมิ การออกแบบการทดลอง : 1. นาํ ถว่ั งอกประมาณ 20 กรมั มาบดในโกรง บดยาแลวเตมิ นํา้ กลน่ั 20 ลูกบาศกเซนติเมตร คนให เขา กัน จากนั้นใชผาขาวบางคัน้ เอานํ้าเก็บไว 2. เจอื จางสารจากขอ 1. ใหไดความเขม ขน ตา งกนั 3 ระดับ โดยการเติมนาํ้ กลั่นลงไป 3. ใส H2O2 ความเขม ขน 3% ลงในหลอดทดลอง 3 หลอด หลอดละ 5 ลูกบาศกเซนตเิ มตร แลว ใสส ารจากขอ 2. ความเขม ขนละ 5 ลกู บาศกเ ซนตเิ มตร 4. ปดหลอดทดลองท้ังสามหลอดดวยจกุ ยาง สังเกตและบนั ทึกผลการทดลอง โดย ครสู ุดาภรณ สืบบุญเปย ม กลมุ สาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าชีววิทยา 1 มัธยมศึกษาปท่ี 4 44 แบบทดสอบหลงั เรยี น หนวยการเรียนรูที่ 2 คาํ ชแี้ จง : ใหน กั เรยี นเลือกคาํ ตอบท่ีถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว 1. คณุ สมบตั ขิ องนํ้ามหี ลายประการ ยกเวน ขอใด 5. ขอใดกลา วไมถกู ตอ ง 1. โมเลกุลของนํ้าเปนโมเลกุลทมี่ ีข้ัว 1. ในพืช น้าํ ตาลสามารถเปล่ียนรูปกลับมาเปน 2. แสดงไดท ้งั ประจุบวกและประจุลบ ทําให แปง ได เปนตัวทาํ ละลายทีด่ ี 2. คารโบไฮเดรตสามารถสะสมในรปู ของ 3. เกดิ จากอะตอมของออกซเิ จนกับอะตอมของ ไกลโคเจนในตบั ได ไฮโดรเจนยึดเหนย่ี วกันดวยพนั ธะโคเวเลนต 3. คารโ บไฮเดรตถกู ใชสาํ หรับผลิตพลงั งานใน 4. แตล ะโมเลกุลของน้าํ ยึดเหนยี่ วกันดวยพนั ธะ เซลลของสง่ิ มีชีวติ โคเวเลนต ทาํ ใหนํ้ามีสถานะเปน ของเหลว 4. อะไมโลสประกอบดวยกลโู คสเรยี งตวั ตอกนั 5. สามารถแตกตัวใหไ ฮโดรเจนไอออน H+ เปนเสนยาวท่ไี มม กี ารแตกแขนง และไฮดรอกไซดไ อออน OH- ซึ่งแสดงสมบตั ิ 5. เซลลโู ลสเกิดจากโมเลกุลของกลโู คสเชื่อมกนั ความเปน กรด-เบส แบบ α (1 → 6 ) glycosidic bond 2. นํา้ นมของสตั วมีแรธาตใุ ดอยูปรมิ าณมาก 6. พนั ธะใดทเ่ี ชื่อมตอระหวางกรดอะมโิ นในสาย 1. แคลเซียมและเหลก็ พอลิเพปไทด 2. ไอโอดนี และโซเดยี ม 1. พนั ธะโลหะ 3. แคลเซียมและฟอสฟอรสั 2. พันธะอะมโิ น 4. แคลเซียม เหล็ก และโพแทสเซยี ม 3. พนั ธะเพปไทด 5. ฟอสฟอรสั เหลก็ และโพแทสเซียม 4. พนั ธะไฮโดรเจน 3. ขอ ใดถกู ตอ งเกี่ยวกับนา้ํ ตาลมอลโทส 5. พนั ธะไกลโคซิดกิ 1. ไมสามารถละลายน้าํ ได 7. ขอใดไมถกู ตอ งเก่ยี วกับคุณสมบัตขิ องลิพดิ 2. ยอยไดดว ยเอนไซมเพปซนิ 1. ชว ยละลายวติ ามนิ B และ C 3. โดยทวั่ ไปจะเรียกวา นาํ้ ตาลทราย 2. ชว ยรักษาความอบอุน ของรางกาย 4. ประกอบดวยโมเลกุลทเ่ี ล็กท่ีสดุ คือ กลโู คส 3. เปนองคประกอบสาํ คญั ของเยอ่ื หุม เซลล 5. มคี วามหวานมากกวา น้าํ ตาลซโู ครส 0.4 เทา 4. ชว ยปอ งกนั การกระทบกระเทอื นของอวยั วะ 4. เซลลโู ลสพบไดในสวนใดของส่ิงมีชีวติ ภายใน 1. เสน ผม 5. ไมล ะลายน้ํา แตสามารถละลายไดใ น 2. เปลือกกงุ สารละลายอินทรยี  3. กลามเนอ้ื 4. กระดองปู 5. ผนังเซลลของพืช โดย ครูสดุ าภรณ สืบบญุ เปย ม กลุมสาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาชีววิทยา 1 มธั ยมศกึ ษาปท่ี 4 45 8. วิตามนิ ใดทช่ี ว ยปอ งกนั อาการออ นเพลีย ปองกัน 10. ขอ ใดกลา วไมถกู ตอง โรคโลหิตจาง และปองกันการเกดิ ความผิดปกติ 1. เม่อื ความดันเพ่มิ ข้นึ การเกิดปฏิกริ ยิ าของ ของกระบวนการเมแทบอลิซมึ ของกรดอะมโิ น สารท่ีเปนแกส จะเกดิ ไดเร็วขึ้น ตามลาํ ดบั 2. หากสภาวะความเปน กรด-เบสเปล่ียนแปลง 1. B1 B2 B5 จะมีผลตอการทํางานของเอนไซม 2. B1 B2 B6 3. ในสภาวะที่อณุ หภูมติ ํ่า จะทําใหก าร 3. B1 B12 B6 เกดิ ปฏิกริ ยิ าเรว็ กวาสภาวะทม่ี ีอณุ หภูมิสงู 4. B1 B6 B12 4. สารตั้งตนท่เี ปน ของแข็งท่ีมีพืน้ ท่ีผิวมาก จะ 5. B2 B6 B12 เกิดปฏิกริ ิยาเรว็ กวาสารตง้ั ตน ท่มี พี ้นื ท่ีผิว นอย 9. ขอ ใดไมใชสมบัติของเอนไซม 5. ถาสารตัง้ ตน เปนสารละลายทีม่ คี วามเขม ขน 1. ละลายไดในนํา้ และกลเี ซอรอล สูง จะเกดิ ปฏิกริ ยิ าเรว็ กวาสารตั้งตนทีเ่ จือ 2. ทาํ หนาที่ลดพลังงานกอกมั มนั ต จาง 3. ตกตะกอนในแอลกอฮอลเขม ขน 4. เปน สารประเภทโปรตนี รปู ทรงกลม 5. ทํางานไดด ีเมอื่ ไดรับความรอนสงู มาก เฉลย 1. 4 2. 3 3. 4 4. 5 5. 5 6. 3 7. 1 8. 3 9. 5 10. 3 โดย ครูสดุ าภรณ สืบบุญเปยม กลมุ สาระการเรยี นรู วิทยาศาสตร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook