Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาเศรษฐศาสตร์ ม.2

วิชาเศรษฐศาสตร์ ม.2

Published by Thidarat Ratcharak, 2022-03-03 12:14:10

Description: เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการ
วิชาเศรษฐศาสตร์ ม.2

Search

Read the Text Version

เศรษฐ ศาสตร์ 2มัธยมศึกษา ปีที่

เศรษฐกิจพอเพียง กั บ ก า ร ผ ลิ ต สิ น ค้ า แ ล ะ บ ริ ก า ร อ้างอิงเนื้อหาจากหนังสือเรียนเศรษฐศาสตร์ ม.2 สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์

หเศลักรษกฐากริขจอพงอปเพรีัชยญง า

\"อันนี้เคยบอกว่ า ความพอเพียงนี้ไม่ได้หมายความว่ าทุกครอบครัวจะต้อง ผลิตอาหารของตัวจะต้องทอผ้าใส่เอง อย่างนั้นมันเกินไปแต่ว่ าในหมู่บ้าน หรือในอำเภอ จะต้องมีความพอเพียงพอสมควรบางสิ่งบางอย่างที่ผลิตได้ มากกว่ าความต้องการ ก็ขายได้แต่ขายในที่ไม่ห่างไกลเท่าไร ไม่ต้องเสียค่า ขนส่งมากนัก\" พระราชดำรัสเนื่องในโอกาส วันเฉลิมพระชนมพรรษา ๔ ธันวาคม ๒๕๔๐

หลักการของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติ ตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุ มชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อ โลกยุคโลกาภิวัตน์

ทาง พอ มีเหตุผล มี สาย ประมาณ ภใูนมิตคุั้วมทกี่ัดนี กลาง เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม รอบรู้ รอบคอบ ซื่อสัตย์สุจริต ขยัน ระมัดระวัง อดทน สติปั ญญา แบ่งปั น ชีวิต / เศรษฐกิจ /มั่สนังคคงม//ยั่สงิ่งยืแนวดล้อม / สมดุล /

เป้ าหมายของปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง

การใช้ชีวิตบนพื้นฐาน ของการรู้จักตัวเอง ใฝ่ หาความรู้ ฝึ กฝนทักษะ พัฒนาความรู้ ความสามารถ ของตัวเอง

สามารถพึ่งพาตัวเองและ พึ่งพาซึ่งกันและกันได้ เมื่อประสบปั ญหาให้ใช้สติปั ญญา หาสาเหตุ และแก้ไข เมื่อต้องร่วมมือกับผู้อื่น ก็ต้อง ยอมรับความสามารถและรับฟั งความคิดเห็น ของผู้อื่น

ใช้ชีวิตอย่างพอเพียง รู้จักยับยั้งใจตนเอง ลดความต้องการ ของตัวเองลง โดยคำนึงถึงความมีอยู่ ของตนเองเป็ นหลัก

เป้ าหมายของปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ในระดับต่างๆ

ระดับ สมาชิกในครอบครัวมีความเป็ นอยู่ดี ครอบครัว มีความสุขทั้งกายและใจ พึ่งพาตนเองได้และไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่เป็ นหนี้ที่ไม่สามารถชำระคืนได้ มีเงินเหลือออมสำหรับครอบครัว ระดับ รวมกลุ่มกันสร้างงานสร้างอาชีพ เพื่อความ เข้มแข็ง ชุ มชน ของชุ มชน ร่วมกันทำประโยชน์ของส่วนรวม นำทรัพยากรในชุ มชนมาใช้ทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ระดับ สังคมมีความเข้มแข็ง สังคม มีการสร้างงานสร้างอาชีพที่มั่นคง สมาชิกในสังคมมีความเป็ นอยู่ที่ดี มีการสร้างเครือข่ ายทั้งภายในและภายนอกสังคม

วิแเคละรบาะริหก์การารในผทล้ิอตงสิถิน่นค้า

รูปแบบของการผลิตสินค้า และบริการในท้องถิ่น การผลิตในครัวเรือน ตัวอย่างการผลิต ในครัวเรือน เป็ นการผลิตที่คนในครัวเรือนร่วมกันทำเพื่อ เป็ นรายได้ของครอบครัว ขายข้าวแกง ขายของชำ ทำหัตถกรรม สมาชิกในครอบครัวเป็ นทั้งผู้ผลิต ผู้บริโภค ทำขนมไทย ขายหมูปิ้ ง ขายผัดไทย และเจ้าของปั จจัยการผลิต การผลิตมักจะเป็ นกิจการเล็กๆ ใช้เงินลงทุน ไม่มาก มีการผลิตไม่ซับซ้อน

รูปแบบของการผลิตสินค้า และบริการในท้องถิ่น การรวมกลุ่มในรูปแบบต่าง ๆ ตัวอย่างการรวมกลุ่ม ในรูปแบบต่างๆ เป็ นการรวมกลุ่มผลิตสินค้าและบริการของ ผู้ประกอบการ การรวมกลุ่มผลิต กลุ่มแม่บ้านผลิต เป็ นความร่วมมือที่ช่ วยสร้างความเข้มแข็งใน ร่มบ่อสร้าง ผ้าไหมทอมือ การผลิตของชุ มชน ช่ วยเพิ่มอำนาจการต่อรองทางเศรษฐกิจ ของผู้ผลิตในชุ มชน

รูปแบบของการผลิตสินค้า และบริการในท้องถิ่น การผลิตขนาดกลาง ขั้นที่ 1 และขนาดย่อม (SMEs) การผลิตแบบพึ่งพาตนเอง ไม่เป็ นหนี้ มีเงินออม เป็ นการดำเนินการเกี่ยวกับการผลิต หรือบริการในชุ มชน เป็ นแหล่ง ขั้นที่ 2 รองรับการจ้างงานขนาดใหญ่ มีทั้ง รวมตัวเป็ นกลุ่ม สหกรณ์ องค์กร กิจการค้าปลีก ค้าส่ง การผลิต ชุ มชนเพื่อช่ วยเหลือซึ่งกันและกัน สินค้าและให้บริการ ซึ่งเหมาะกับ แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ขั้นที่ 3 เชื่อมโยงการทำธุรกิจ ร่วมมือกับ องค์กรอื่นๆ ภายในประเทศ เช่ น บริษัทขนาดใหญ่ ธนาคาร

รูปแบบของการผลิตสินค้า และบริการในท้องถิ่น เติมเต็ม พ.ร.บ. ส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ความรู้ พ.ศ. 2543 ได้กำหนดลักษณะของธุรกิจ SMEs ไว้ดังนี้

ปั ญหาของการผลิตสินค้า และบริการในท้องถิ่น ขาดแคลนเงินทุน ร้านค้าปลีกขนาดใหญ่เข้ามาเปิ ดกิจการในท้องถิ่น มีการใช้เทคโนโลยีในการผลิตน้อย ขาดแคลนบุ คลากรที่มีความรู้ความสามารถใน การผลิตและบริหารจัดการ การแข่งขันกับสินค้าจากประเทศอื่นที่มีราคาถูกกว่ า

เศกสริานษรคฐป้กาิรแจะลพยุะอกบเตรพ์ิีใกยช้างปรใรทนั้ชอกญางราถิข่ผนอลิงต

ความพอ ประมาณ ปั จจัยภายใน - มีความรู้ความสามารถของตัวเอง และ สมาชิกในครอบครัว - การบริหารจัดการเงินทุนอย่างระมัดระวัง - การขยายธุรกิจแบบค่อยเป็ นค่อยไป ปั จจัยภายนอก - คำนึงถึงความยากง่ ายในการเข้าสู่ตลาด - ความต้องการสินค้าของผู้ซื้อ - ภาวะเศรษฐกิจเหมาะแก่การลงทุนหรือไม่ - ศักยภาพคู่แข่งเป็ นอย่างไร

ความมี เหตุผล - มีความรู้เกี่ยวกับการผลิตสินค้ามากน้อย เพียงใด - มีตลาดรองรับสินค้ามากน้อยเพียงใด - สินค้ามีความยั่งยืนหรือไม่ - คำนึงถึงความยากง่ ายในการเข้าสู่ตลาด - ความต้องการสินค้าของผู้ซื้อ - ภาวะเศรษฐกิจของประเทศเหมาะแก่ การลงทุนหรือไม่ - ศักยภาพคู่แข่งเป็ นอย่างไร

มีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดี - มีการบริหารความเสี่ยง - มีการวางแผนการเติบโตของธุรกิจ - เสาะหาช่ องทางการกระจายสินค้าใหม่ๆ - ปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตให้เหมาะสม - หาแนวทางการเพิ่มมูลค่าให้สินค้าอยู่เสมอ

ความ รอบรู้ - มีความรอบรู้ รอบคอบ และระมัดระวัง ในการผลิตสินค้าและบริการ - เข้ารับการฝึ กอบรมจากหน่วยงานต่างๆ เสมอ - ศึกษาคู่แข่ง - รอบรู้ในสถานการณ์บ้านเมือง

คุณธรรม - มุ่งผลิตสินค้าที่มีคุณภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค - ราคาสินค้าไม่แพงจนเกินไป ไม่เอาเปรียบผู้บริโภค - รักษาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ - ไม่ผลิตสินค้าที่มอมเมาเยาวชน - ให้ความสำคัญต่อการพัฒนาคนเพื่อการทำงาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook