ระบบเศรษฐกิจ ลกั ษณะ ข้อด ี ขอ้ เสยี สงั คมนยิ ม • ระบบสหกรณม์ คี วามส�ำคญั • ลดความไม่เท่าเทียม • ประชาชนขาดเสรีภาพ แบบผสม • มีการจดั สวสั ดิการ ทางรายได้ กระจาย • การผลติ ท่ลี า้ หลัง เกิด • รัฐบาลเข้าควบคมุ กิจกรรม รายได้เปน็ ธรรมมาก ความล่าช้าในการ ทางเศรษฐกจิ ท้ังหมด ขนึ้ ท�ำงาน • มีกลไกราคาน้อยมากๆ • รฐั น�ำรายได้มาจดั • ขาดแรงจูงใจในการ • มกี ารวางแผนจากสว่ นกลาง สวสั ดกิ ารให้ประชาชน ท�ำงาน กินดี อยดู่ ี • เอกชนมีสทิ ธใิ นทรพั ยส์ นิ และ • รฐั แทรกแซงเฉพาะที่ • นายทุนยงั มีอทิ ธิพลอยู่ ปัจจัยการผลิต จำ� เป็น • มปี ญั หาความเหลอื่ มลำ้� • มกี ลไกราคา มกี ารแข่งขนั • ประชาชนมีเสรีภาพ ทางการกระจายรายได้ แตร่ ัฐแทรกแซงบา้ ง ทางการเมอื ง และปัญหาช่องวา่ ง • รฐั ดำ� เนินการพวก • รฐั จะรกั ษาผลประโยชน์ ระหวา่ งชนชั้น สาธารณูปโภคและ ของประชาชนไม่ใหถ้ ูก • รัฐวิสาหกจิ บางแห่ง สาธารณูปการ เอารัดเอาเปรยี บ ยงั ขาดประสิทธภิ าพ • มีการวางแผนพฒั นา • ประชาชนมีแรงจงู ใจใน และขาดทุน เศรษฐกจิ และสงั คม การท�ำงาน • อาจมีการคอรัปช่นั เกิด • รัฐและเอกชนท�ำงานร่วมกัน • มีการแข่งขนั กนั ท�ำให้ ขน้ึ (รัฐวิสาหกจิ ) สินคา้ มีคณุ ภาพข้นึ กลไกตลาด เม่ือพูดถงึ “กลไกตลาด” จะต้องเจออีกสองค�ำ คือ อุปสงค์ และอุปทาน 1. อุปสงค์ (Demand) คือ ปริมาณความต้องการซอ้ื ท่ีผู้ซ้ือน้ันมอี �ำนาจในการซื้อ ตวั อยา่ งเชน่ ตอนพักเท่ียงเอหวิ ขา้ ว มากเลยเดนิ ไปซอ้ื ขา้ วผดั ตรงนแ้ี สดงวา่ เอมคี วามตอ้ งการแลว้ และถา้ เอไปสง่ั แลว้ มเี งนิ จา่ ยคนขายแสดงวา่ เกดิ อปุ สงค์ แตถ่ า้ ไมม่ เี งนิ จา่ ยกไ็ ม่เกดิ อุปสงค์ สรปุ ไดง้ ่ายๆ ว่าอำ� นาจในการซอื้ นั้นก็คือ...มีเงนิ หรอื เปลา่ นนั่ เอง อปุ สงค์ (Demand) = ความต้องการ + อ�ำนาจในการซ้อื กฎของอปุ สงค์ อปุ สงคข์ องผูบ้ ริโภค ถา้ ราคาสนิ ค้าและบริการ อุปสงคข์ องผู้บริโภค ถา้ ราคาสินคา้ และบรกิ าร 50 ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
ปจั จยั ท่ีมผี ลต่ออุปสงค์ • รายได้ของผ้บู รโิ ภค : ถ้ามรี ายได้มากก็จะบริโภคมาก อปุ สงคก์ จ็ ะมากตามไปดว้ ย • ราคาสินค้าชนิดอื่น : เช่น ไข่ไก่ราคาสูงข้ึน ----> อุปสงค์ต่อไข่เป็ดมากข้ึน เพราะคนหันมาซื้อไข่เป็ดแทน หรือไม้ปิงปองราคาสูงขึ้น ----> อุปสงค์ต่อลูกปิงปองจะลดลง เพราะจะซื้อลูกปิงปอง มาเล่นอย่างเดยี วโดยไม่มไี ม้กไ็ ม่ได้ • อน่ื ๆ เช่น รสนยิ ม การโฆษณา และการคาดการณ์รายได้ในอนาคต เปน็ ตน้ 2. อปุ ทาน (Supply) คอื ปริมาณความตอ้ งการขาย กฎของอุปทาน ถ้าราคาสนิ ค้าและบริการ อปุ ทานของผบู้ ริโภค ถ้าราคาสินคา้ และบริการ อปุ ทานของผ้บู รโิ ภค ปจั จยั ทีม่ ผี ลต่ออปุ ทาน • ตน้ ทุนการผลิต : ถ้าต้นทนุ สงู ๆ คนกไ็ ม่อยากขาย อุปทานเลยต�ำ่ • เทคโนโลยกี ารผลติ : เ มื่อใช้เทคโนโลยีเขา้ มาช่วยจะทำ� ให้ผลติ ไดม้ ากขน้ึ ----> ตน้ ทนุ จะตำ�่ ----> อปุ ทานก็จะ สูงขน้ึ • ภาษี : ถา้ สนิ ค้าโดนเกบ็ ภาษีมาก ราคาตน้ ทุนของสนิ คา้ จะสูง อปุ ทานจะลดลง • การคาดคะเนใน : เราคิดว่าในอนาคตข้างหน้าจะขายสินค้าได้มากขึ้น ----> ปัจจุบันจะขายน้อย อนาคตของผ้ผู ลิต ลง ----> ในอนาคตจะขายมากข้ึน (อปุ ทานมากข้นึ ) • จ�ำนวนผขู้ าย : ถา้ มีคนขายสนิ คา้ น้นั มาก ----> อุปทานจะเพิ่มขึน้ เพราะตลาดกำ� ลงั ขยายตัวและเป็นการ ชว่ งชิงสว่ นแบง่ ทางการตลาดด้วย 3. ภาวะดุลยภาพ (Equilibrium) คอื ภาวะทีป่ รมิ าณอุปสงคแ์ ละปริมาณอปุ ทานเทา่ กนั ณ ราคาดุลยภาพ ท�ำให้สินคา้ หมดพอดี และเม่ือพูดถึงค�ำนเ้ี ราจะเจอค�ำว่า ราคาดุลยภาพ และปรมิ าณดุลยภาพซง่ึ ทงั้ สองค�ำนม้ี คี วามหมายต่างกัน ดงั น้ี P ราคาลองกอง (บาท/กก.) 50 อปุ ทาน อปุ ทานสว่ นเกนิ (สินค้าล้นตลาด) 45 ราคาดลุ ยภาพ 40 จดุ ดุลยภาพ(สินค้าหมด) 35 30 อปุ สงค์ Q ปรมิ าณลองกอง (กก.) อปุ สงคส์ ่วนเกนิ (สนิ ค้าขาดตลาด) 25 20 1 2 3 4567 ปริมาณดลุ ยภาพ สมมติวา่ กราฟน้เี ปน็ การแสดงเหตุการณก์ ารซื้อลองกองของยายแหวว ยายดาว และหนจู ้อย ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 51
• ยายแหววกำ� ลงั เดนิ เลือกซื้อของอย่กู ็สะดุดตากบั แผงลองกองทีต่ ดิ ราคาไว้ 1 กโิ ลกรมั 35 บาท ยายแหววเลยเลือกซือ้ ไป 4 กโิ ลกรมั โดยไม่มีการต่อรองใดๆ และก็มีลกู ค้าคนอื่นมาซอื้ ต่อจากยายแหววจนลองกองหมดแผง ----> สถานการณน์ ี้ คือ ภาวะดุลยภาพ ของหมดและพอใจกนั ทงั้ คู่ • ยายดาวก็มาจ่ายตลาดเหมือนกันแต่เดินมาเห็นคนมุงแผงลองกองกันเต็มไปหมดเลยชะโงกหน้าเข้าไปดูปรากฏว่า ขายถกู มากกโิ ลกรัมละ 20 บาท ยาวดาวไม่รอชา้ รีบจ้วงมอื ซ้อื ไป 7 กโิ ลกรัม หลงั จากนน้ั ไม่กี่นาทีลองกองกห็ มด ----> สถานการณ์นี้คือ ภาวะอุปสงค์ส่วนเกิน ของจะหมดลงอย่างรวดเร็วและไม่เพียงพอต่อความต้องการของลูกค้าท�ำให้ สนิ ค้านั้นขาดตลาด แตส่ ดุ ทา้ ยราคาจะปรบั ตวั สูงขนึ้ จนเขา้ ส่รู าคาดุลยภาพ และทกุ อย่างกจ็ ะปกติ • ส่วนหนูจ้อยก็ออกมาซื้อลองกองให้แม่เหมือนกันแต่ดันมาเจอแม่ค้าหน้าเลือดขายกิโลกรัมละ 50 บาท หนูจ้อยเลยซื้อ เพียงกิโลกรัมเดียว พอกลับมาบ้านขณะท่ีเอาลองกองมาให้แม่ แม่ก็หาว่าหนูจ้อยแอบเอาเงินไปซื้อขนมเพราะแม่หนู จ้อยบอกว่ายายดาวซื้อมากิโลกรัมละ 20 บาทเอง ----> สถานการณ์น้ีคือ ภาวะอุปทานส่วนเกิน สินค้าจะมีราคาแพง มาก จนคนไม่ค่อยซ้ือมากนัก ท�ำให้สินค้าเหลือจนล้นตลาดแต่สุดท้ายผู้ขายก็ต้องปรับราคาให้ถูกลงจนเข้าสู่ราคา ดุลยภาพ จากเหตกุ ารณท์ งั้ 3 กรณสี รปุ ไดว้ า่ ราคาจะปรบั ตวั อยใู่ นภาวะอปุ สงคส์ ว่ นเกนิ หรอื อปุ ทานสว่ นเกนิ กต็ าม แตส่ ดุ ทา้ ย แล้วราคาจะปรับเข้าสู้จุดดุลยภาพเสมอเพราะท่ีจุดดุลยภาพเป็นจุดที่สินค้าขายหมดพอดี ไม่ขาด ไม่เหลือ และเม่ือของ ขายหมดคนขายก็ happy มคี วามสุขส่วนคนซื้อก็ happy กบั ราคาท่ตี นพอใจเชน่ กัน การแทรกแซงราคา ในความเป็นจริงของสังคมโลก ตลาดมักจะมีการแข่งขันที่ไม่สมบูรณ์ ดังนั้นรัฐจึงมีหน้าที่เข้ามาช่วยเหลือและจัดการโดยใช้ กลไกการแทรกแซงราคาเพ่อื ใหเ้ กิดความเป็นธรรมในการกระจายรายได้ระหว่างผผู้ ลติ กบั ผบู้ รโิ ภค ทีน่ ยิ มทำ� กันจะมี 3 แบบ • การก�ำหนดราคาขัน้ ตำ่� รฐั บาลจะเขา้ มาชว่ ยเหลอื ผผู้ ลติ โดยจะกำ� หนดราคาขน้ั ตำ่� ในการรบั ซอ้ื สนิ คา้ ทำ� ใหส้ นิ คา้ มรี าคาสงู กวา่ ราคาดลุ ยภาพ แต่สิง่ ท่ตี ามมา คอื ตลาดจะอยูใ่ นภาวะอปุ ทานสว่ นเกนิ คอื จะมขี องเหลือมากมาย ดงั น้ันในสว่ นที่เหลอื น้ีรฐั บาลจะมารับซอ้ื ไป แตม่ าตรการนจ้ี ะทำ� เพยี งชวั่ คราวเทา่ นนั้ เพราะใชเ้ งนิ เยอะพอสมควร การแกไ้ ขในระยะยาว คอื ลดปรมิ าณการผลติ สนิ คา้ ลง • การจ่ายเงินอดุ หนนุ มาตรการน้ีจะมีลักษณะคล้ายกับการก�ำหนดราคาขั้นต�่ำ แต่ต่างกันตรงท่ีรัฐจะให้เกษตรกรขายสินค้าในราคาตลาด (ราคาดุลยภาพ) ก่อน แล้วสว่ นท่ีเหลอื รัฐจะจา่ ยสมทบ เชน่ ราคาตลาดข้าวเกวยี นละ 10,000 บาท แต่รัฐกำ� หนดราคาขัน้ สงู (ราคาประกนั ) ไวท้ ี่ 15,000 บาท ดังนั้นรฐั ตอ้ งจ่ายเงินสมทบเกษตรกรอีก 5,000 บาท เพ่อื ให้ไดเ้ งินเทา่ กับราคาประกัน • การก�ำหนดราคาข้ันสูง เมื่อผู้บริโภคเดือดร้อนรัฐจะเข้ามาแทรกแซงราคาโดยก�ำหนดราคาเพดาน (ราคาขั้นสูง) โดยจะเป็นราคาท่ีต่�ำกว่า ระดับดลุ ยภาพ ดงั นน้ั จะทำ� ให้ตลาดอย่ใู นภาวะ อุปสงคส์ ่วนเกนิ สนิ คา้ จะขาดตลาดจนนำ� ไปสกู่ ารเกดิ ลกั ลอบขายสนิ ค้าใน ร าคา ทส่ี ูงเกินกว่ารฐั ก�ำหนดหรอื ท่ีเราเรยี กกนั ว่า “ตลาดมดื ” (แต่กจ็ ะตำ�่ กว่าราคาดลุ ยภาพ) เพราะฉะนั้นรฐั จะมีมาตรการ การปันส่วนสินค้า เพือ่ กระจายสินค้าใหไ้ ดท้ ัว่ ถงึ ตามมาด้วย • การกำ� หนดราคาขนั้ ตำ�่ ----> ราคาประกนั สูงกวา่ ราคาดลุ ยภาพ ----> ชว่ ยเหลือผผู้ ลติ • การก�ำหนดราคาข้นั สูง ----> ราคาเพดานต�ำ่ กวา่ ราคาดลุ ยภาพ ----> ช่วยเหลอื ผ้บู ริโภค 52 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya
สถาบันทางการเงนิ สถาบันการเงนิ ดอกเบี้ย ดอกเบี้ย ฝาก กูท้ างออ้ ม ผมู้ ีเงินออม กูท้ างตรง ผตู้ อ้ งการกู้ ดอกเบ้ีย คอื สอ่ื กลางทางการเงนิ เพอ่ื อำ� นวยความสะดวกในการทำ� ธรุ กรรมทางการเงนิ เราสามารถแบง่ สถาบนั ทางการเงนิ ออกเปน็ 2 ประเภท คือ • สถาบันทางการเงนิ ทีเ่ ปน็ ธนาคาร • สถาบนั ทางการเงินท่ีไม่ใช่ธนาคาร 1. สถาบันทางการเงินทเ่ี ป็นธนาคาร 1.1. ธนาคารแห่งประเทศไทย (ชื่อเลน่ : ธนาคารกลาง หรอื แบงค์ชาติ) มีหน้าท่ี คอื • เป็นนายธนาคารพาณิชย์ • เปน็ นายธนาคารของรฐั บาลและเป็นท่ีปรึกษาด้านเศรษฐกจิ ใหก้ ับรฐั บาล (จะรบั ฝากเงินจากรัฐบาลเทา่ นั้น) • ออกธนบัตรและดูแลการแลกเปลย่ี นเงนิ ตราระหวา่ งประเทศ • รักษาทนุ ส�ำรองระหวา่ งประเทศ • ควบคุมปรมิ าณเงนิ ในระบบและก�ำหนดนโยบายการเงนิ • รักษาเสถยี รภาพทางการเงนิ 1.2. ธนาคารพาณิชย์ มหี นา้ ท่ี รบั ฝากเงนิ และใหก้ ยู้ มื แก่ประชาชนทั่วไป ตัวอย่างธนาคารพาณชิ ยใ์ นปจั จุบนั เกรด็ น่ารู้ • ธนาคารพาณชิ ย์แห่งแรกทีจ่ ดั ตงั้ ขึน้ ในประเทศไทย คอื ธนาคารฮอ่ งกงและเซ่ียงไฮข้ องชาวอังกฤษ • ธนาคารพาณชิ ยแ์ ห่งแรกของไทย คอื แบงค์สยามกัมมาจล ตอ่ มาเปลย่ี นเป็นธนาคารไทยพาณชิ ย์ 1.3. ธนาคารพเิ ศษหรอื ธนาคารทมี่ ีวตั ถปุ ระสงค์เฉพาะอย่าง ไดแ้ ก่ • ธนาคารออมสนิ : มหี นา้ ทเี่ หมอื นธนาคารพาณชิ ยท์ วั่ ไป แตม่ หี นา้ ทพี่ เิ ศษ คอื ระดมเงนิ ทนุ จากประชาชนไปสู่ ภาครฐั บาล เพอื่ ใชใ้ นการพฒั นาประเทศ ซอื้ ขายพันธบตั รรัฐบาลไทย ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 53
• ธนาคารเพอื่ การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร (ธกส.) : มหี นา้ ทใี่ หค้ วามชว่ ยเหลอื ทางการเงนิ แกส่ หกรณ์ การเกษตรและกลมุ่ เกษตรกร • ธนาคารอาคารสงเคราะห ์ (ธอส.) : มหี นา้ ทใี่ หก้ ารกยู้ มื เงนิ แกป่ ระชาชน เพอื่ ซอ้ื ทด่ี นิ ทอี่ ยอู่ าศยั หรอื อาคารใน กิจการเคหะ • ธนาคารเพ่ือการสง่ ออกและน�ำเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน. หรือ EXIM Bank) : มหี นา้ ที่ในการใหส้ นิ เชอ่ื ค้�ำประกนั รับประกันความเสยี่ ง สนบั สนุนด้านเงนิ ทุนโดยตรงแกผ่ สู้ ่งออกทง้ั หมด 2. สถาบันทางการเงนิ ทีไ่ มใ่ ชธ่ นาคาร • บริษทั เงินทนุ • บริษทั หลักทรพั ย์ • บรษิ ัทประกนั ภยั • บริษทั หลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม • โรงรบั จ�ำนำ� • บริษทั เงินทนุ อตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย • สหกรณ์ออมทรพั ย์ • สหกรณก์ ารเกษตร ภาวะเงินเฟอ้ -ภาวะเงินฝืด ภาวะ เงินเฟอ้ เงินฝดื สาเหต ุ ระดบั ราคาสนิ คา้ สงู ข้นึ อยา่ งตอ่ เนือ่ ง ระดบั ราคาสนิ คา้ ลดลงอยา่ งต่อเน่อื ง + มเี งนิ ในระบบมากเกนิ ไป + มีเงนิ ในระบบน้อยเกินไป ค่าของ ลดลง (จ�ำนวนเงินเท่าเดิมแต่ซือ้ ของ เพ่ิมข้ึน (จ�ำนวนเงินเท่าเดมิ แตซ่ ือ้ ของ ไดน้ อ้ ยลง) ไดม้ ากขนึ้ ) คนท่ีได้ • นักธรุ กิจ พ่อคา้ (ของราคาแพง • ขา้ ราชการหรอื ผู้มรี ายได้ประจ�ำ ลกู จ้าง ประโยชน์ ท�ำใหข้ ายได้ก�ำไรมากขึน้ ) • เจ้าหนี้ เพราะเงินเทา่ เดิมแตซ่ ้ือของได้ • ลูกหนี้ (หน้ีท่ีจา่ ยเท่าเดมิ แต่ค่าของเงิน มากขนึ้ น้อยลง เจา้ หนเี้ อาไปซอื้ ของไดน้ อ้ ยลง) Concept ใน ตอ้ งท�ำให้เงนิ ในระบบมนี ้อยลง (เอาเงนิ เงนิ ในระบบมีน้อยตอ้ งเพิม่ เงนิ เข้า การแก้ปัญหา ออกจากระบบ) ไปใหม้ ากขึ้น (อัดฉดี เงนิ เข้าไปในระบบ) นโยบายการเงนิ แบบเข้มงวด นโยบายการเงนิ แบบผอ่ นคลาย • เพิม่ อตั ราดอกเบี้ย • ลดอัตราดอกเบี้ย • เพิ่มการขายพันธบตั รรฐั บาล • ลดการขายพันธบัตรรัฐบาล วิธีการแกไ้ ข • ลดการปลอ่ ยสินเชือ่ • เพ่มิ การปลอ่ ยสนิ เชอ่ื นโยบายการคลังแบบเขม้ งวด นโยบายการคลังแบบขยายตัว • เพม่ิ อัตราภาษี • ลดอัตราภาษี • ท�ำงบประมาณเกนิ ดลุ • ทำ� งบประมาณขาดดุล 54 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
เกร็ดนา่ รู้ • นโยบายการเงนิ เปน็ นโยบายทธี่ นาคารกลางใช้ดูแลแก้ปญั หาเศรษฐกิจ • นโยบายการคลงั เป็นนโยบายท่ีรัฐบาลใชด้ ูแลแก้ปัญหาเศรษฐกจิ • งบประมาณแผ่นดนิ = การประมาณการรายรบั และรายจา่ ยของรัฐบาลใน 1 ปี มี 3 กรณี ถ้ารายได้ > รายจา่ ย ------> งบประมาณเกนิ ดลุ (รฐั จะมีเงินออมมากขึน้ ) ถ้ารายได้ = รายจา่ ย ------> งบประมาณสมดุล ถ้ารายได้ < รายจ่าย ------> งบประมาณขาดดุล (เปน็ การกระตนุ้ เศรษฐกจิ ) การแลกเปลย่ี นเงนิ ระหวา่ งประเทศ การคา้ ขายระหวา่ งประเทศไมส่ ามารถใชเ้ งนิ บาทซอื้ ไดต้ ลอด ดงั นน้ั เราตอ้ งมกี ารแลกเปลยี่ นเงนิ เปน็ สกลุ อน่ื ดว้ ย เพราะฉะนนั้ เราต้องมาเรยี นรไู้ วว้ ่ามันเปน็ ยงั ไง เร่อื งนแ้ี ม้วา่ นานๆ ทีจะออกข้อสอบก็ตาม ระบบการแลกเปลีย่ นเงินระหว่างประเทศมีด้วยกัน 2 ระบบใหญๆ่ คอื 1. แบบคงท่ี : ไม่มีการเปลย่ี นแปลง เชน่ 1 $ = 50 บาท กเ็ ปน็ อยา่ งนี้ตลอด 2. แบบลอยตวั : จะแบ่งได้เปน็ 2 ลักษณะยอ่ ยๆ คือ ลอยตัวเสรี (ปลอ่ ยให้เปน็ ไปตามกลไกตลาด) กับ ลอยตวั ภายใตก้ ารจัดการ (อนั น้ปี ระเทศไทยใชอ้ ยู่ ปล่อยใหเ้ ป็นไปตามกลไกตลาด แตก่ ม็ ีธนาคารกลาง คอยดแู ลอยู่ดว้ ย) 40 บาท = 1 $ ลด/อ่อน 20 บาท = 1 $ เพม่ิ /แขง็ 35 บาท = 1 $ ถ้าค่าเงินลดลง / ออ่ นตัว สินค้าน�ำเข้าจะราคาแพงข้ึน เราจะน�ำเข้าน้อยลงแต่จะส่งออกมากขึ้นเพราะสินค้าของเราจะถูกลงในสายตาคน ตา่ งชาติ ตวั อย่างกระเป๋าใบหนึ่งราคา 40 บาท ถา้ ใชอ้ ัตรา 20 บาท = 1 $ เวลาสง่ ออกกระเป๋าใบนจ้ี ะราคา 2 $ แตถ่ า้ ค่าเงิน อ่อนตัวลงกระเป๋าใบน้ีจะราคา 1 $ (ถูกกว่า) และที่ส�ำคัญนักท่องเที่ยวจะเข้ามาเท่ียวในบ้านเรามากขึ้นเพราะเงินต่างชาติ สามารถแลกเป็นเงินไทยได้มากขึน้ ถา้ คา่ เงินเพม่ิ ขึน้ / แข็งตัว ทกุ อยา่ งจะตรงขา้ มกบั ตอนทคี่ า่ เงนิ ออ่ นตวั หมดเลย เราจะนำ� เขา้ มากขนึ้ โดยเฉพาะเครอื่ งจกั รเปน็ การลดตน้ ทนุ การ ผลติ แตก่ ารสง่ ออกจะนอ้ ยลงและทีส่ �ำคัญนกั ทอ่ งเทย่ี วก็มาเท่ยี วบา้ นเรานอ้ ยลงด้วย การค้าระหว่างประเทศ การคา้ ระหวา่ งประเทศจะมีท้ังสนิ คา้ นำ� เข้า (Import) และสินค้าส่งออก (Export) เม่ือเอามูลคา่ ทัง้ สองอย่างมาหักลบกนั ก็จะ ไดเ้ ป็นดลุ การค้า ซึง่ มีท้ังหมด 3 กรณี (คล้ายๆ การทำ� งบประมาณแผ่นดิน) - ถา้ มูลค่าการส่งออก > มูลคา่ การนำ� เข้า ------> การคา้ เกินดลุ (ได้กำ� ไร) - ถ้ามลู ค่าการสง่ ออก = มลู ค่าการน�ำเข้า ------> การคา้ สมดลุ - ถา้ มูลคา่ การสง่ ออก < มูลค่าการนำ� เขา้ ------> การคา้ ขาดดุล (ขาดทนุ ) ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 55
สาเหตุ ทที่ ำ� ใหเ้ กดิ การคา้ ขายกันระหว่างประเทศ มดี งั น้ี 1. ประเทศตา่ งๆ มที รัพยากรท่ใี ช้ในการผลติ แต่ละชนดิ ในปริมาณทีแ่ ตกตา่ งกนั 2. ความช�ำนาญในการผลิตเฉพาะอยา่ งแตกตา่ งกนั ในแตล่ ะประเทศ ประโยชน์ของการค้าระหวา่ งประเทศ 1. ซื้อสินคา้ ทีป่ ระเทศตนเองผลติ ไมไ่ ด้ 2. เกดิ การแบง่ งานกันทำ� 3. มีการแขง่ ขนั ในด้านคุณภาพและบริการ 4. กระตุ้นใหเ้ กิดเศรษฐกจิ แบบการคา้ ในประเทศต่างๆ และเศรษฐกจิ ขยายตวั ประเภทของนโยบายการค้าระหว่างประเทศ 1. นโยบายการคา้ แบบเสรี : เปดิ โอกาสให้มกี ารส่งสินคา้ จากประเทศหน่งึ เข้าไปขายอกี ประเทศหน่งึ อยา่ งเสรีไม่มี การกีดกนั แตอ่ ยา่ งใด • ยึดหลกั แบง่ งานกันท�ำ • ไม่มกี ารเก็บภาษหี รอื มีแต่กน็ อ้ ย • ต้องไม่มกี ารใหส้ ทิ ธิพเิ ศษและไม่มขี อ้ จำ� กดั ทางการคา้ กบั ประเทศต่างๆ 2. นโยบายการค้าแบบคุม้ กนั : มีการจ�ำกัดการนำ� เขา้ สนิ ค้า เพ่อื คุ้มครองสนิ ค้าท่ตี นเองผลติ • ช่วยตนเองไดเ้ มอื่ เกิดภาวะฉุกเฉนิ • คุม้ ครองอุตสาหกรรมภายใน • ปอ้ งกันการทุ่มตลาด • แก้ปญั หาการขาดดลุ การคา้ เครอ่ื งมอื ในการใช้นโยบายการคา้ แบบคุ้มกัน มีดงั น้ี • การต้ังกำ� แพงภาษี และก�ำหนดโควตาสินค้าน�ำเข้า • การควบคมุ การแลกเปล่ยี นเงนิ ตรา และ การห้ามนำ� เขา้ หรอื ส่งออกสินค้าบางชนดิ โดยเด็ดขาด • ให้ความชว่ ยเหลอื แกผ่ ผู้ ลิตภายในประเทศหรือผูส้ ่งออก เกรด็ นา่ รู้ 2. ใช้ระบบภาษศี ลุ กากรอัตราเดียว นโยบายการคา้ ระหวา่ งประเทศของไทยยึดหลัก ดังน้ี 1. ให้เอกชนมบี ทบาทในการค้ามากทสี่ ดุ 3. ใช้นโยบายคมุ้ กนั บนั ทึกช่วยจ�ำ 56 ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
การรวมกลมุ่ กันทางเศรษฐกิจ ก ารรวมกลุ่มมที ง้ั หมด 5 ระดับโดยเรยี งลำ� ดบั ดงั นี้ ยกเลกิ มาตรการกดี กันทางการคา้ ภายในประเทศสมาชิก เขตการคา้ เสรี ตวั อยา่ งเชน่ NAFTA, EFTA, AFTA เปน็ ต้น (FTA = Free Trade Area) พัฒนาเป็น ยกเลิกมาตรการตา่ งๆ ทเ่ี ป็นอุปสรรคระหวา่ งกัน และเกบ็ สหภาพศุลกากร ภาษนี �ำเขา้ จากประเทศนอกกลุ่มอตั ราเดียวกัน พฒั นาเปน็ เหมือนสหภาพศุลกากรแตเ่ พม่ิ การเคล่อื นย้ายปัจจยั การ ผลิตไดอ้ ย่างเสรีในประเทศสมาชกิ ดว้ ยกนั ตวั อยา่ ง ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน (AEC) พัฒนาเปน็ ตลาดรว่ ม เหมือนตลาดรว่ ม แตม่ ีการใช้นโยบายเศรษฐกจิ และเงนิ สหภาพเศรษฐกิจ สกลุ เดียวกัน ตัวอยา่ ง สหภาพยโุ รป (EU) พัฒนาเปน็ อนั น้เี ปน็ การแปลงรา่ งขนั้ สุดยอด (ข้นั สงู สุด) มีการใชน้ โยบาย เศรษฐกิจและนโยบายการเมอื งรว่ มกนั คลา้ ยๆ กับการรวมเปน็ ชาตเิ ดียวกัน สหภาพเหนอื ชาติ องค์กรทางเศรษฐกจิ ระหว่างประเทศ การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในปัจจบุ ันมเี ยอะมาก แต่ท่สี �ำคญั และถูกน�ำมาออกข้อสอบบ่อยๆ มีดงั นี้ 1. สหภาพยุโรป (EU) 1.1. มีพัฒนาการมาจาก ประชาคมยโุ รป (EC) 1.2. วตั ถปุ ระสงค์ คอื • สร้างความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิก ท้งั ดา้ นเศรษฐกจิ และการเมือง • เนน้ นโยบายการค้าแบบเสรีภายในกล่มุ • ยกเลิกการเก็บภาษศี ุลกากรหรอื เก็บในอัตราที่ต�ำ่ ภายในกลุ่ม ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 57
• ยกเลิกขอ้ กดี กันทางการคา้ ระหวา่ งกัน • แรงงานเคลือ่ นยา้ ยไดอ้ ยา่ งเสรีระหวา่ งประเทศสมาชิก • สรา้ งอ�ำนาจตอ่ รองทางการค้ากับประเทศนอกกลมุ่ 2. ความรว่ มมือทางเศรษฐกิจในภมู ภิ าคเอเชีย-แปซฟิ ิก (APEC) หลกั การของ APEC กค็ อื เปน็ เวทสี ำ� หรบั การปรกึ ษาหรอื แลกเปลยี่ นขอ้ คดิ เหน็ เกย่ี วกบั ประเดน็ ทางเศรษฐกจิ ทป่ี ระเทศ สมาชิก APEC สนใจ โดยยดึ หลักฉนั ทามติความเท่าเทยี มกัน และผลประโยชนร์ ่วมกันของประเทศสมาชิก และในการด�ำเนิน กา รใดๆ ต้องค�ำนึงถึงความแตกต่างของระบบเศรษฐกิจและสังคม และระดับการพัฒนาของประเทศสมาชิก โดยมี วัตถุประสงคท์ ่สี ำ� คญั คือ • พัฒนาและสง่ เสรมิ ระบบการค้าหลายฝา่ ย • สนบั สนนุ การขยายตวั ทางเศรษฐกจิ ของภมู ภิ าคและของโลก • ลดอุปสรรคและอำ� นวยความสะดวกให้การค้า การลงทนุ ระหว่างประเทศสมาชิก 3. สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ (ASEAN) เกดิ ขนึ้ หลงั จากมกี ารลงนามในปฏญิ ญากรงุ เทพฯ โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ คอื สง่ เสรมิ ความรว่ มมอื และชว่ ยเหลอื กนั ทาง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เพอ่ื ให้เกิดสนั ติภาพและความมั่นคงภายในภมู ิภาค และหลงั จากที่ มกี ารลงนามใน ‘กฎบตั รอาเซยี น’ ซึง่ เปรยี บเสมือนธรรมนูญของอาเซียน ท�ำให้ในปี พ.ศ. 2558 ASEAN จะพฒั นากลายเป็น ประชาคมอาเซียน โดยมีองคป์ ระกอบสำ� คัญ 3 เสาหลัก คือ • ประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น • ประชาคมความม่ันคงอาเซียน • ประชาคมสังคมวัฒนธรรมอาเซยี นนอกจากน้ียังมี ความรว่ มมอื กับประเทศนอกกลมุ่ เชน่ ASEAN + 3 (จนี เกาหลใี ต้ และญปี่ ุ่น) ASEAN + 6 (จีน เกาหลใี ต้ ญีป่ ุน่ อนิ เดยี ออสเตรเลีย และนิวซแี ลนด)์ สหกรณ์ สหกรณ์ คอื องคก์ รท่ีเกดิ จากการรวมกล่มุ บคุ คลเพ่ือดำ� เนนิ กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกดิ ประโยชนต์ อ่ ความต้องการ และเป้าหมายของสมาชกิ ทเ่ี ปน็ เจ้าของร่วมกัน แสดงวา่ สหกรณจ์ ะตอ้ งแบ่งก�ำไรที่ไดม้ าแกส่ มาชกิ ผถู้ ือหุ้นทเ่ี ป็นเจ้าของร่วมกัน สรปุ ลกั ษณะส�ำคญั ของสหกรณ์ ไดด้ ังน้ี 1. สหกรณ์เป็นองคก์ รของกลุ่มบุคคล มใิ ช่ของคนใดคนหน่ึง 2. การรวมกลมุ่ หรอื การเปน็ สมาชิกสหกรณต์ ้องเปน็ ไปโดยสมคั รใจ 3. สหกรณด์ ำ� เนนิ วิสาหกิจ คอื ประกอบกจิ การ เชน่ การผลติ การจำ� หน่าย 4. กจิ การนี้สมาชิกเปน็ เจา้ ของรว่ มกัน 5. การควบคมุ การดำ� เนนิ การใช้หลักประชาธปิ ไตย 6. ตอบสนองความต้องการ ในทางเศรษฐกจิ สังคม และวัฒนธรรม 58 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya
เกรด็ น่ารู้ • กระทรวงเกษตรและสหกรณไ์ ด้แบ่งสหกรณ์ในประเทศไทยเป็น 6 ประเภท ไดแ้ ก ่ สหกรณ์การเกษตร สหกรณป์ ระมง สหกรณ์นิคม สหกรณ์ร้านค้า สหกรณบ์ รกิ าร และสหกรณอ์ อมทรัพย์ • ในประเทศไทย สหกรณ์แห่งแรกกอ่ ตงั้ ขน้ึ ในสมัยรัชกาลที่ 6 เม่ือวันท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2456 ต้งั อยู่ที่อำ� เภอเมอื ง จังหวัดพิษณโุ ลก คือ ‘สหกรณว์ ดั จันทรไ์ ม่จ�ำกัดสินใช’้ • บดิ าแห่งสหกรณโ์ ลก คือ โรเบิรต์ โอเวน • บิดาแหง่ สหกรณ์ไทย คือ พระบรมวงศ์เธอกรมหม่นื พทิ ยาลงกรณ์ • การจัดตง้ั สหกรณจ์ ะต้องมผี รู้ ว่ มจดั ตง้ั 10 คนข้นึ ไป • สมาชิกสหกรณไ์ มว่ า่ จะถือกีห่ ุ้นก็ตามเวลาออกเสยี งสามารถออกได้ 1 เสียงเท่านัน้ ข้อดี-ขอ้ เสียของสหกรณ์ ข้อด ี ข้อเสยี • เกิดความผกู พันระหว่างสมาชิก • หากสมาชกิ ไมม่ ีความพร้อมก็จะไมส่ ามารถ เพราะเปน็ สมาชิกด้วยความสมคั รใจ ใช้ประโยชน์จากสหกรณไ์ ดเ้ ตม็ ที่ • เกิดการประหยัดค่าใชจ้ า่ ยในการผลติ • สถานการณ์ทางเศรษฐกจิ ในปัจจบุ นั ทำ� ให้มี การตลาดและการขนส่ง การแข่งขันสูง การบริหารจัดการของสหกรณ์ • สนับสนุนการแบ่งงานกนั ทำ� ตามความ จึงมคี วามสำ� คญั เพื่อดำ� เนินการตัดสนิ ใจจะ ช�ำนาญเฉพาะอย่าง ผลิตอะไร ผลติ เพ่ือใคร ผลติ อยา่ งไร • สอดคล้องกบั แนวความคิดเรื่อง เศรษฐกจิ พอเพียง บันทึกช่วยจ�ำ ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 59
เศรษฐกจิ พอเพียง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ทางสายกลาง พอประมาณ มเี หตผุ ล มีภูมคิ ุม้ กนั ในตวั ที่ดี ความรู้ คณุ ธรรม รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวงั ซ่อื สตั ยส์ จุ รติ ขยันอดทน สตปิ ญั ญา แบ่งปัน นำ� ไปสู่ เศรษฐกจิ / สังคม / ส่ิงแวดล้อม / วฒั นธรรม / สมดุล พรอ้ มรับต่อการเปลีย่ นแปลง “เศรษฐกจิ พอเพียง คือ...การอยูอ่ ยา่ งพอประมาณ ซื่อตรง ไม่โลภมาก และไม่ต้องเบียดเบียนผู้อื่น...” “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชด�ำรัสช้ีแนะแนวทางการด�ำเนินชีวิตแก่ พสกนกิ รชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 25 ปี ต้งั แต่กอ่ นวกิ ฤตกิ ารณท์ างเศรษฐกจิ และเมอ่ื ภายหลังได้ทรงเน้นย้ำ� แนวทาง การแกไ้ ขเพอื่ ใหร้ อดพน้ และสามารถดำ� รงอยไู่ ดอ้ ยา่ งมนั่ คงและยงั่ ยนื ภายใตก้ ระแสโลกาภวิ ฒั นแ์ ละความเปลยี่ นแปลงตา่ งๆ แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง 1) ใชช้ ีวติ บนพืน้ ฐานของการรู้จักตนเอง 2) สามารถพ่งึ พาตนเองและพึง่ พาซึ่งกันและกัน 3) ใชช้ ีวติ อย่างพอเพียง ยดึ หลกั พออยู่ พอกนิ พอใช้ (ประหยัด) 4) ประกอบอาชีพด้วยความสุจรติ 5) ไมแ่ ก่งแยง่ ผลประโยชนแ์ ละแข่งขันกนั อย่างรนุ แรง 60 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
เกษตรทฤษฎใี หม่ แนวคิดของเกษตรทฤษฎใี หม่ 1) เป็นหลกั ในการบรหิ ารจดั การท่ีดนิ และน้ำ� เพือ่ การเกษตรในทีด่ ินขนาดเล็กให้เกิดประโยชนส์ ูงสุด 2) เน้นความพอมี พอกนิ พอใช้ ไมฟ่ ุม่ เฟอื ย 3) เน้นการรวมกลุม่ ชมุ ชนใหม้ นั่ คง พง่ึ ตนเองได้แลว้ ค่อยช่วยในหนว่ ยทีใ่ หญข่ ึ้น 4) เปน็ ตัวอยา่ งท่ชี ดั เจนของเกษตรผสมผสาน 5) เป็นตวั อย่างในการใชห้ ลกั เศรษฐกจิ พอเพยี งในทางปฏิบตั ิ เกรด็ น่ารู้ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติต้งั แต่ฉบบั ที่ 8 – 11 (ปจั จุบนั ) ยังคงยึดหลกั “ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพยี ง” ทีใ่ ห้ “คนเปน็ ศูนย์กลางของการพัฒนา” และ “สร้างสมดุลการพฒั นา” ในทุกมติ ิ ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 61
แนวข้อสอบ 1. ข้อใดเปน็ ปญั หาพนื้ ฐานทางเศรษฐกจิ ของทกุ ประเทศ ก. คุณภาพของผลผลติ การกระจายสนิ ค้าและบรกิ าร ตน้ ทุนการผลติ ข. การเลือกผลิตสินคา้ และบรกิ าร ตน้ ทนุ การผลิต การขาดแคลนเงนิ ทนุ ค. การขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ การขาดแคลนเงนิ ทุน การเลอื กวิธกี ารผลติ ง. การเลอื กผลิตสินค้าและบริการ การเลอื กวธิ กี ารผลติ การกระจายสนิ คา้ และบรกิ าร 2. “สามารถแก้ไขความไม่ยตุ ธิ รรมในสงั คมได้มาก และลดชอ่ งวา่ งทางเศรษฐกิจระหวา่ งประชาชนในชาติ” เปน็ ขอ้ ดี ของระบบเศรษฐกิจในข้อใด ก. ระบบเศรษฐกจิ แบบทนุ นยิ ม ข. ระบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนยิ ม ค. ระบบเศรษฐกจิ แบบผสม ง. เศรษฐกจิ พอเพียง 3. การรถไฟแหง่ ประเทศไทย เป็นหนว่ ยงานท่ีให้บรกิ ารดา้ นการขนส่ง จดั อยู่ในระบบตลาดแบบใด ก. ตลาดผูกขาด ข. ตลาดกึ่งผกู ขาด ค. ตลาดผขู้ ายน้อยราย ง. ตลาดแขง่ ขนั สมบูรณ์ 4. หากร้านจดั ดอกไม้รับพนักงานท่ีจบสาขาคหกรรมในระดบั ปรญิ ญาตรเี ขา้ ทำ� งานและต้องจา้ งในอตั ราเงินเดือน เดือนละ 15,000 บาท ส่งผลให้เกดิ ปรากฏการณ์ตามขอ้ ใด ก. อปุ สงค์เพ่ิม ข. อปุ สงค์ลด ค. อปุ ทานเพมิ่ ง. อปุ ทานลด 5. ปัจจัยในขอ้ ใดส่งผลใหผ้ ้ผู ลิตตัดสนิ ใจเพิม่ ปรมิ าณการผลิต ก. ธนาคารปรับเพม่ิ ดอกเบยี้ เงนิ กู้ ข. ปรบั อตั ราค่าจา้ งแรงงานขน้ั ต�่ำเพิ่มขึน้ ค. ราคาของวัตถุดิบท่ีใช้ในการผลิตลดตำ�่ ลง ง. ราคาของสินค้าทีท่ ดแทนกันได้ลดต�่ำลง 6. ถา้ ปรมิ าณเงนิ หมุนเวยี นในประเทศเพมิ่ มากข้ึน ท�ำให้เกดิ ผลดีตอ่ เศรษฐกิจอย่างไร ก. การลงทนุ ลดลง ข. อัตราดอกเบ้ียสงู ขึ้น ค. มกี ารจ้างงานเพม่ิ มากข้ึน ง. เอกชนสามารถลงทนุ ได้อย่างเสรี 62 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya
7. เพราะเหตใุ ดวิชาเศรษฐศาสตรจ์ งึ ใหค้ วามส�ำคญั กบั การจัดสรรทรัพยากรให้เกดิ ประโยชนอ์ ยา่ งคมุ้ คา่ ก. เพราะทรพั ยากรมรี าคาแพง ข. เพราะทรัพยากรมอี ยอู่ ย่างจำ� กัด ค. เพราะทรพั ยากรเปน็ สิ่งท่ีใช้แลว้ หมดไป ง. เพราะทรัพยากรไมส่ ามารถเกิดขนึ้ ใหมไ่ ด้ 8. ค่าเสียโอกาสของหนดู ที ีเ่ ลอื กไปเท่ียวกบั เพื่อนแทนการอา่ นหนังสอื เตรยี มสอบอย่ทู ี่บ้านคอื อะไร ก. การสอบไม่ผา่ น ข. การไมไ่ ดอ้ ่านหนังสอื ค. การไม่ได้ปฏบิ ัตติ นเป็นนกั เรียนท่ีด ี ง. การเสยี ค่าใชจ้ ่ายในการไปเทย่ี ว 9. เพราะเหตุใดจึงตอ้ งมกี ารคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค ก. เพอื่ ให้ผบู้ รโิ ภคมโี อกาสซื้อสนิ คา้ และบริการในราคาถูก ข. เพอื่ ให้ผ้บู รโิ ภคมีโอกาสเลือกสินคา้ และบริการตามที่ต้องการ ค. เพ่ือใหผ้ บู้ รโิ ภคไดร้ บั ความพอใจในการบรโิ ภคสนิ คา้ และบริการ ง. เพื่อให้ผู้บรโิ ภคได้รับความปลอดภัยในการบรโิ ภคสินค้าและบริการ 10. ข้อใดสอดคลอ้ งกับกฎอุปสงค์ ก. คนไทยเช้ือสายจนี ซ้อื ของเซน่ ไหว้มากข้ึนในชว่ งตรุษจีน ข. ชาวบา้ นซือ้ เครอื่ งอุปโภคบรโิ ภคมากขึน้ ในช่วงทหี่ ้างสรรพสินคา้ ลดราคา ค. ผ้ปู กครองซ้อื ชดุ นกั เรยี นและอุปกรณ์การศกึ ษามากขึ้นในช่วงกอ่ นเปดิ เทอม ง. ประชาชนเดินทางท่องเทย่ี วและจับจา่ ยใชส้ อยมากขนึ้ ในชว่ งเทศกาลสงกรานต์ 11. การเปล่ียนแปลงของสนิ ค้าในขอ้ ใดเป็นไปตามกฎของอุปทาน ก. ยอดจ�ำหน่ายน�ำ้ สม้ คนั้ สงู ขึน้ เพราะมผี ู้บริโภคเพ่มิ ข้นึ ข. บ้านจัดสรรปรับราคาสงู ขึ้น เพราะตน้ ทนุ การผลติ เพมิ่ ข้นึ ค. จากเหตุการณ์อุทกภยั ทำ� ใหผ้ ลผลิตผกั ลดลงมาก ราคาผกั จงึ สงู ขนึ้ ง. ราคาน�้ำมนั ปาล์มสงู ข้ึน พอ่ คา้ จงึ สั่งน�้ำมันปาลม์ จากตา่ งประเทศเขา้ มาขาย 12. ราคาดลุ ยภาพการตลาดจะเกดิ ขึ้นเมอื่ ใด ก. จ�ำนวนผู้ซอ้ื เทา่ กบั จ�ำนวนผขู้ าย ข. ปรมิ าณเสนอซอ้ื สมดลุ กับราคาเสนอขาย ค. ผซู้ ้อื สามารถซ้ือสินค้าไดต้ ามจ�ำนวนท่ตี ้องการ ง. อุปสงคส์ ว่ นเกนิ และอปุ ทานสว่ นเกินมีค่าเท่ากับศูนย์ 13. สถาบันการเงินในข้อใดมบี ทบาทหนา้ ที่หลักแตกตา่ งจากสถาบนั การเงินอื่น ก. ธนาคารออมสิน ข. สหกรณ์ออมทรัพย์ ค. ธนาคารอสิ ลามแห่งประเทศไทย ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 63
ง. ธนาคารเพอ่ื การส่งออกและน�ำเข้าแห่งประเทศไทย 14. “เกดิ ช่องว่างทางเศรษฐกจิ และสงั คม ทำ� ใหเ้ กดิ การผูกขาดของผู้ทีม่ ีก�ำลังทนุ ในทางเศรษฐกจิ และอาจมกี ารเอารัด เอาเปรียบซึง่ เกิดจากการผูกขาดของเจา้ ของทนุ ” เป็นขอ้ เสยี ของระบบเศรษฐกิจใด ก. ระบบเศรษฐกจิ แบบผสม ข. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ค. ระบบเศรษฐกจิ แบบสงั คมนยิ ม ง. ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมวิ นิสต์ 15. การรวมเป็นประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น มเี ปา้ หมายสำ� คญั อย่างไร ก. เพ่อื การแบ่งตลาดและฐานการผลติ เดียว ข. ก�ำจัดอุปสรรคท่ีกดี กนั การค้าและบริการ ค. เปน็ ตวั กลางประสานงานด้านนโยบายน้ำ� มัน ง. เพอ่ื ประโยชนด์ ้านการคา้ เสรรี ะหว่างประเทศสมาชกิ เฉลยแนวข้อสอบ 1. ตอบ ง. ปัญหาพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจมีสาเหตุมาจากความไม่สมดุลกันระหว่างความต้องการสินค้าและบริการ มาสนองความต้องการของมนุษย์กับทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจ�ำกัด ซึ่งเป็นปัญหาพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจท่ีทุก ประเทศต้องประสบ ซึ่งได้แก่ จะผลิตอะไร จ�ำนวนเท่าไหร่ จะผลิตอย่างไร จะผลิตเพ่ือใคร จะกระจายหรือ จัดสินคา้ และบรกิ ารทผ่ี ลิตนไ้ี ปยงั บุคคลตา่ งๆ ในสังคมอย่างไร 2. ตอบ ข. ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมเป็นระบบเศรษฐกิจท่ีรัฐบาลเข้าไปควบคุมด�ำเนินการผลิต เน้นการจัด สวัสดิการให้ประชาชน ท�ำให้มีการจัดสรรทรัพยากรและรายได้ที่เป็นธรรม มีความเท่าเทียมกัน สามารถลด ช่องว่างทางเศรษฐกจิ ของประชาชนได้ 3. ตอบ ก. การรถไฟแห่งประเทศไทย เป็นหน่วยงานท่ีให้บริการด้านการขนส่งภายในประเทศแต่เพียงผู้เดียว โดย ไม่มเี อกชนเข้าร่วมการแข่งขัน ดงั น้ันการบรหิ ารงานดงั กล่าวจงึ จัดอยู่ในประเภทตลาดผูกขาด 4. ตอบ ง. อปุ ทานลด เนอื่ งจากอตั ราเงนิ เดือนดังกล่าวถือเป็นต้นทุนการผลติ อย่างหนงึ่ ท่รี า้ นจัดดอกไมต้ อ้ งรบั ผิดชอบ ส่งผลท�ำให้เจ้าของธุรกิจดังกล่าวไม่มีความต้องการแรงงานในกลุ่มน้ี อาจจะรับสมัครบุคคลท่ีจบเพียงระดับช้ัน ม.6 เข้าทำ� งาน เพือ่ จะได้ไมต่ อ้ งจา่ ยค่าจา้ งตามทีร่ ฐั กำ� หนด 5. ตอบ ค. การท่ีราคาวัตถุดิบลดลง ต้นทุนการผลิตก็ลดลง ผู้ผลิตได้ก�ำไรมากขึ้น จึงมีแรงจูงใจให้มีการผลิตเพ่ิมขึ้น แต่หากอัตราดอกเบ้ียปรับตัวสูงขึ้น ค่าจ้างแรงงานเพ่ิมข้ึน ท�ำให้ต้นทุนในการผลิตเพิ่มขึ้น ได้ก�ำไรน้อยลง ไม่เป็นแรงจูงใจในการเพ่ิมการผลิต และหากราคาสินค้าที่ทดแทนกันได้ราคาต่�ำลง ท�ำให้ราคาสินค้านั้นต�่ำ ลงด้วย ไมเ่ ป็นแรงจูงใจในการผลิตสนิ คา้ 6. ตอบ ค. การท่ีปริมาณเงินหมุนเวียนในประเทศมีเพิ่มมากข้ึน ส่งผลดีต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ อัตราดอกเบ้ีย ลดลง การจา้ งงานเพม่ิ มากขนึ้ ประชาชนมเี งนิ จบั จา่ ยใชส้ อยเพม่ิ มากขนึ้ ผลผลติ และรายไดโ้ ดยรวมของประเทศ มีแนวโนม้ เพ่ิมขนึ้ ดว้ ย 7. ตอบ ข. วิชาเศรษฐศาสตร์ให้ความส�ำคัญกับการจัดสรรทรัพยากรให้เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่า เน่ืองจากทรัพยากร ตา่ งมีอยูอ่ ยา่ งจ�ำกดั ในขณะท่ีความตอ้ งการของมนษุ ยม์ อี ยู่อย่างไม่จ�ำกัด จึงต้องมกี ารจัดสรรทรัพยากรอย่าง 64 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya
มีประสิทธภิ าพ เพอ่ื ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุด 8. ตอบ ข. ในกรณีน้ี คา่ เสียโอกาส คอื การไมไ่ ด้อ่านหนังสอื เนื่องจากหนดู ีเลอื กทจี่ ะใชเ้ วลาซง่ึ อาจมีอยูอ่ ยา่ งจำ� กัดไป เทย่ี วกับเพอ่ื น ท�ำใหข้ าดโอกาสในการอา่ นหนังสือเพ่ือเตรยี มสอบ 9. ตอบ ง. หัวใจส�ำคัญในการคุ้มครองผู้บริโภค คือ ความปลอดภัยในการบริโภคสินค้าและบริการและได้รับความเป็น ธรรมจากการบริโภค ซ่ึงหากผู้บริโภคไม่ได้รับความปลอดภัยจากการบริโภค สามารถร้องเรียนไปยังหน่วยงาน และองค์กรต่างๆ ที่ท�ำหน้าท่ีในการคุ้มครองผู้บริโภค เช่น หากได้รับอันตรายจากการบริโภคอาหารส�ำเร็จรูป ยา เครอื่ งส�ำอาง สามารถร้องเรียนไปที่ ส�ำนำ� งานคณะกรรมการอาหาร และยา 10. ตอบ ข. กฎของอุปสงค์ คือ ปริมาณซ้ือของสินค้าหรือบริการชนิดใดชนิดหนึ่งจะแปรผกผันกับระดับราคาของสินค้า หรอื บรกิ ารชนดิ นน้ั การทช่ี าวบา้ นซอ้ื เครอ่ื งอปุ โภคบรโิ ภคมากขนึ้ ในชว่ งทห่ี า้ งสรรพสนิ คา้ ลดราคา จงึ สอดคลอ้ ง กบั กฎของอปุ สงค์ 11. ตอบ ข. กฎของอุปทานที่จะส่งผลให้เกิดปรากฏการณ์เพ่ิม-ลดน้ัน ประกอบไปด้วยปัจจัยต่างๆ เช่น เทคนิคการผลิต จำ� นวนผปู้ ระกอบการ ปจั จยั การผลติ ราคาสนิ คา้ เปน็ ตน้ ซง่ึ ปจั จยั สำ� คญั ประการหนง่ึ ทมี่ ผี ลตอ่ การปรบั อปุ ทาน ให้สงู ข้นึ น้นั คอื ต้นทุนการผลิต ดงั นั้น ตัวเลือกข้อ 2 บ้านจดั สรรปรับราคาสูงขน้ึ เพราะตน้ ทุนการผลติ เพม่ิ ขึ้น จึงมคี วามสอดคลอ้ งตามปัจจัยทม่ี ีผลตอ่ การกำ� หนดอุปทาน 12. ตอบ ข. ราคาดุลยภาพ หมายถึง ราคาท่ีผู้บริโภคพอใจท่ีจะซื้อหรือใช้ มีค่าเท่ากับราคาสินค้าที่ผู้ผลิตประสงค์ที่จะ ผลิตออกขายในขณะเดียวกนั พอดี 13. ตอบ ง. ธนาคารเพื่อการส่งออกและน�ำเข้าแห่งประเทศไทย เป็นสถาบันการเงินเฉพาะกิจ มีบทบาทหน้าที่ในการให้ บรกิ ารสินเช่อื แก่ผูป้ ระกอบการส่งออกและน�ำเข้า สว่ น 1. 2. และ 3. เป็นสถาบันการเงินที่มบี ทบาทหน้าที่หลัก ในการรับฝากและปล่อยสินเชอ่ื แกส่ มาชกิ และประชาชนท่วั ไป 14. ตอบ ข. ในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมหรือระบบเศรษฐกิจแบบตลาด เอกชนมีสิทธิเป็นเจ้าของทรัพย์สิน เจ้าของ ปจั จัยการผลิต สามารถดำ� เนนิ การผลิต การจดั จ�ำหน่ายและการแลกเปล่ียนตา่ งๆ ด้วยตนเอง ทำ� ใหผ้ ้ทู ่ีมีความ สามารถในการผลิตสูงสามารถผลติ สินคา้ ได้มาก ขายสินคา้ ไดม้ าก ไดก้ �ำไรมาก อาจเกดิ การผกู ขาดได้ ส่วนผ้ทู ่ี มีความสามารถในการผลิตและการจำ� หน่ายน้อยกว่าจะเสยี เปรยี บ 15. ตอบ ก. การรวมเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มีเป้าหมายเพือ่ การเป็นตลาดและฐานการผลติ เดียว การสร้างเสรมิ ความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของอาเซียน พัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค และเช่ือมโยงอาเซียน เขา้ กับเศรษฐกิจโลก นอ้ งๆ สามารถศึกษาเพ่มิ เตมิ ไดท้ ี่ Tag : สอนศาสตร,์ สงั คมศกึ ษา, เศรษฐศาสตร์, เศรษฐกจิ , เศรษฐกจิ พอเพยี ง, อปุ สงค,์ อุปทาน, สถาบันทางเศรษฐกิจ, การธนาคาร • สอนศาสตร์ สังคมศึกษา ม.3 : อุปสงค์ อปุ ทาน http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch4-1 • 14 : ยาคลายเสน้ อุปสงค์ – อปุ ทาน http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch4-2 ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 65
• สอนศาสตร์ : ม.ต้น : สงั คมศกึ ษา : รดี พษิ เศรษฐกจิ ไทย http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch4-3 • 15 : รีดพษิ เศรษฐกิจไทย http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch4-4 • 23 : นั่งทบทวน...กวนข้อสอบเศรษฐศาสตร์ http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch4-5 • สงั คมศกึ ษา ม.ตน้ - เศรษฐศาสตร์เบอื้ งต้น ตอนที่ 1 http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch4-6 • สงั คมศกึ ษา ม.ต้น - เศรษฐศาสตรเ์ บื้องต้น ตอนท่ี 2 http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch4-7 • สงั คมศกึ ษา ม.ตน้ - เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น ตอนท่ี 3 http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch4-8 • สถาบนั เศรษฐกิจ (Economic Institutions) http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch4-9 • การธนาคารเบอื้ งต้น http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch4-10 • เศรษฐกิจพอเพยี ง http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch4-11 66 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
บทท่ี 4 สาระ: ประวตั ิศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ ประวตั ิศาสตร์ (History) คอื การศึกษาเรื่องราวหรือเหตุการณใ์ นอดตี ของมนุษย์ รวมไปถึงความเปน็ มาของมนษุ ย์ จาก หลักฐานท่ีมอี ยโู่ ดยใช้วิธีการท่ีเรยี กวา่ วธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์ ศกั ราชและการแบง่ ยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์ มนุษย์เรามีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมาก จึงเป็นเรื่องท่ียากมากที่จะบอกเวลาของเร่ืองราวแต่ละเรื่องได้อย่างชัดเจน นักประวัติศาสตร์จึงได้ท�ำการสร้างรูปแบบการนับเวลาขึ้นมา เรียกว่า ศักราช ซ่ึงจะเริ่มการนับโดยยึดเอาเหตุการณ์ส�ำคัญเป็นหลัก ศกั ราชทเ่ี ราใช้กนั โดยทว่ั ไป มีดงั ต่อไปน้ี ศักราช วิธีเทียบเป็น พ.ศ. รายละเอียด มหาศกั ราช พ.ศ. - 621 เริ่มนับหลงั ปี พ.ศ. 621 โดยกษัตริย์อินเดยี นาม พระเจา้ (ม.ศ.) กนษิ กะ พบมากในศิลาจารึกสุโขทยั จลุ ศักราช พ.ศ. - 1181 เริ่มนบั หลัง พ.ศ. 1181 โดยพระเจา้ โปปะสอระหัน กษัตรยิ ์ (จ.ศ.) พม่าเป็น จ.ศ. 1 รตั นโกสนิ ทรศ์ ก พ.ศ. - 2324 เรมิ่ นบั ปี พ.ศ. 2325 ซึง่ เป็นปกี อ่ ตงั้ กรุงรตั นโกสินทร์ เปน็ (ร.ศ.) ร.ศ. 1 พุทธศักราช - เร่ิมนับปที พ่ี ระพุทธเจ้าปรนิ ิพพานเป็น พ.ศ. 1 เปน็ ศกั ราช (พ.ศ.) ทใี่ ช้ในศาสนาพุทธ เร่มิ ใชส้ มยั สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช ครสิ ตศ์ ักราช พ.ศ. - 543 นับปีที่พระเยซปู ระสูติเป็น ค.ศ. 1 หรอื A.D. 1 เปน็ ศักราช (ค.ศ.) ทใี่ ชก้ ันสากลมากทีส่ ุด ฮจิ เราะห์ศักราช พ.ศ. - 1122 แปลวา่ การอพยพ เป็นศักราชทางศาสนาอิสลาม เรมิ่ นบั (ฮ.ศ.) เม่อื นบมี ฮู ัมหมัดอพยพจากเมกกะไปเมดนิ ะเปน็ ฮ.ศ. 1 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 67
ทศวรรษ คือ ระยะเวลารอบ 10 ปี เช่น ครสิ ตท์ ศวรรษ 2000 = ค.ศ. 2000-2009 หรือพุทธทศวรรษ 2550 = 2550-2559 เปน็ ตน้ สังเกตวา่ จะปีเร่ิมดว้ ยเลข 0 ลงท้ายด้วยปีเลข 9 ศตวรรษ คอื ระยะเวลารอบ 100 ปี เช่น คริสต์ศตวรรษท่ี 20 = ค.ศ. 1901-2000 หรือพุทธศตวรรษท่ี 25 = พ.ศ. 2401-2500 เปน็ ตน้ สหัสวรรษ คอื ระยะเวลา 1,000 ปี เชน่ สหัสวรรษท่ี 1 ตามคริสต์ศกั ราช คอื ค.ศ. 1-1000 เป็นตน้ หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ นักประวัตศิ าสตรจ์ ะศกึ ษาเร่ืองราวในอดตี ด้วยการใชส้ ่งิ ทเ่ี รยี กว่า “หลักฐาน” แล้วหลกั ฐานคืออะไร หลักฐาน คอื รอ่ งรอย หรอื สิง่ ที่หลงเหลอื ทสี่ ามารถให้ข้อมลู ถงึ เรื่องราวในอดีตได้ อาจจะเป็นบันทกึ ของคนในสมยั กอ่ น รปู ภาพ ภาพวาด งานศลิ ปะ เคร่อื ง ใช้ต่างๆ รวมไปถึงคำ� บอกเล่าตา่ งๆ กถ็ ือเปน็ หลกั ฐานทงั้ หมด หลกั ฐานสามารถแบ่งออกไดเ้ ปน็ 2 ประเภทใหญๆ่ คอื 1. หลักฐานทีเ่ ป็นลายลักษณ์อักษร คือ หลกั ฐานท่ีเปน็ ตวั หนงั สือ ไมว่ ่าจะเปน็ ศิลาจารกึ พงศาวดาร ใบลาน จดหมายเหตุ วรรณกรรม ชวี ประวัติ หนงั สอื พิมพ์ วารสาร นติ ยสาร รวมถึงการบันทึกไว้ตามส่งิ กอ่ สรา้ ง โบราณสถาน โบราณวตั ถุ แผนที่ ล้วนเปน็ หลกั ฐานท่เี ปน็ ลายลักษณ์อกั ษรทั้งหมด 2. หลักฐานท่ีไม่เป็นลายลักษณ์อักษร คือ ผลงานหรือส่ิงที่มนุษย์สร้างขึ้นแต่ไม่ได้เป็นลายลักษณ์อักษร หรือไม่ได้เป็นการ บนั ทกึ ดว้ ยตวั หนงั สอื ไดแ้ ก่ สงิ่ กอ่ สรา้ ง โบราณสถาน โบราณวตั ถุ การแสดง คำ� บอกเลา่ (มขุ ปาฐะ) นาฏศลิ ป์ ดนตรี จติ รกรรม ฯลฯ ดงั นนั้ เวลาศกึ ษาประวตั ศิ าสตรจ์ งึ เปน็ สง่ิ ทจ่ี ำ� เปน็ ยง่ิ ทจ่ี ะตอ้ งใชห้ ลกั ฐานทงั้ สองแบบนใ้ี นการตคี วามเนอ้ื หา ความเปน็ ไปของ เรอ่ื งราวทเ่ี กดิ ขนึ้ ในอดตี หลกั ฐานทงั้ สองแบบนเ้ี มอ่ื นำ� มาใชว้ เิ คราะห์ หรอื ประกอบการศกึ ษาเรอ่ื งราวเกยี่ วกบั ประวตั ศิ าสตรก์ จ็ ะสามารถ จัดประเภทไดเ้ ปน็ สองประเภท 1. หลักฐานชนั้ ตน้ (primary sources) คือ หลักฐานท่ถี กู สร้างข้ึนในช่วงเวลานน้ั จรงิ ๆ เช่น ถ้าเราศึกษาเรื่องราวของอยธุ ยา หลกั ฐานชั้นต้น คือ ทกุ สง่ิ ทุกอย่างท่เี กดิ ข้ึนในยคุ สมัยนนั้ เช่น จดหมายทัง้ หมด แผ่นหนิ ต่างๆ และเครอื่ งถว้ ยชามทุกชนิ้ ท่ี ถกู สร้างขนึ้ ในสมยั อยุธยา ถอื เป็นหลกั ฐานช้นั ตน้ 2. หลกั ฐานรอง (secondary sources) คือ หลักฐานหรือผลงานท่ีคนร่นุ หลงั เขียนขึ้น หรือสรา้ งขน้ึ หลังจากท่เี กดิ เหตุการณ์ นน้ั แลว้ โดยอาศยั หลักฐานชนั้ ต้นในการสรา้ ง หลักฐานประเภทนี้ ได้แก่ หนงั สอื เรยี นประวตั ิศาสตร์ต่างๆ เป็นตน้ วิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์ เมอื่ เราจะศึกษาเรอ่ื งราวในอดตี เราจะใช้หลกั การทเ่ี รยี กว่าวธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์ในการศึกษา เราแบ่งขน้ั ตอนออกได้ เปน็ 5 ขั้นตอนใหญ่ๆ คอื 1 การต้งั หวั ขอ้ ที่จะศึกษา - เลือกเรอื่ งหรอื ประเดน็ ทเ่ี ราสนใจ 2 การรวบรวมหลกั ฐาน - ทำ� การสำ� รวจ เก็บรวบรวมหลักฐานในหวั ขอ้ ท่เี ราตอ้ งการ จะศกึ ษา ซ่งึ อาจจะเป็นไปไดท้ ัง้ หลักฐานขนั้ ต้น (ปฐมภมู )ิ และหลกั ฐานชน้ั รอง (ทตุ ยิ ภมู )ิ 68 ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
3 วิเคราะหแ์ ละประเมนิ คุณคา่ ของหลกั ฐาน คือ น�ำหลกั ฐานทเ่ี ราได้มาน้นั มา วิเคราะห์ว่าเป็นของจริงหรือไม่ หรอื เป็นของปลอมแปลง 4 การเลอื กสรรและจัดความสมั พันธข์ ้อมลู - คัดเลอื กขอ้ มูลทีส่ �ำคัญตรงกบั เร่อื งที่ เราตอ้ งการศกึ ษาจรงิ ๆ ไมใ่ ชข่ อ้ มลู ทน่ี อกเรอื่ งหรอื อาจไมม่ คี วามเกย่ี วขอ้ งกบั เนอื้ หา ที่ต้องการจริงๆ แล้วน�ำมาจัดหมวดหม่เู คา้ โครงตามทก่ี �ำหนดไว้ 5 การนำ� เสนอขอ้ มลู หรอื การสงั เคราะหข์ อ้ มลู - นำ� ขอ้ มลู ทเ่ี ราวเิ คราะหเ์ รยี บเรยี งให้ได้ เรอื่ งราวท่ตี อ้ งการและน�ำเสนอความรใู้ หมท่ ีไ่ ด้จากการคน้ คว้า การแบง่ ยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์ มนษุ ย์เราอาศัยอยบู่ นโลกนม้ี าเป็นเวลายาวนาน ผคู้ นสว่ นใหญใ่ นทุกวนั นเี้ ชือ่ กนั ว่ามนุษย์คนแรกๆ ถือก�ำเนิดขึน้ เมอ่ื ประมาณ สองลา้ นปกี อ่ น แตเ่ พราะพวกเขาเขยี นหนงั สอื ไมไ่ ด้ จงึ ไมม่ ี “ประวตั ศิ าสตร”์ เกดิ ขนึ้ เราจงึ เรยี กพวกเขาวา่ เปน็ คนยคุ “กอ่ นประวตั ศิ าสตร”์ พ วกเขาเป็นมนุษย์ทมี่ ีความฉลาดลำ้� และคอยคิดประดิษฐแ์ ละสร้างสงิ่ ต่างๆ มากมาย พวกเขาใช้ชวี ติ โดยไมม่ ไี ฟ จนกระทัง่ พวกเขา เรียนรวู้ ิธจี ุดมัน พวกเขาไม่มอี าวุธไวป้ อ้ งกนั ตวั จากสตั วร์ ้าย จนกระทง่ั พวกเขารวู้ ิธที ่จี ะสร้างมนั ข้ึน และไม่มีเสอ้ื ผา้ ใส่ จนกระทัง่ พวก เ ขารู้วิธีท่ีจะท�ำมัน ยุคสมัยของพวกเขาเป็นยุคสมัยท่ีโหดร้ายและน่ากลัว และเนื่องจากช่วงเวลาของพวกเขามันช่างยาวนาน นัก ประวตั ศิ าสตรจ์ ึงไดแ้ บง่ ชว่ งเวลาของพวกเขาไว้เป็นยคุ ต่างๆ ดงั ต่อไปนี้ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ยุคหนิ 1. ยคุ หินเกา่ – พวกเขาเริ่มคิดประดษิ ฐอ์ าวธุ เช่น ขวานท่ที ำ� จากหนิ และค้อน พวกเขาเอาชนะการไม่มไี ฟด้วยการ คดิ คน้ วธิ ีจุดมันไดส้ �ำเร็จ อีกท้ังยังไดม้ กี ารเริ่มทำ� เสอ้ื ผ้าขึ้น พวกเขาใช้ชีวิตดว้ ยการลา่ สตั ว์หาของปา่ และยา้ ยท่ี อยไู่ ปเร่ือยๆ ตามถ้�ำต่างๆ ยงั ไมม่ ีความคดิ ท่ีจะอยู่เปน็ หลกั แหล่ง 2. ยุคหินกลาง – พวกเขาเร่ิมสร้างบ้านด้วยไม้แทนการอยู่ในถ�้ำ มีการท�ำมีดและอาวุธจากหินที่ดีข้ึน เริ่มหันมา นับถือศาสนากัน และเริ่มวาดรูปภาพเรื่องราวต่างๆ ลงบนผนังถ้�ำ แต่น่าเสียดายที่เราไม่นับว่าภาพวาดต่างๆ เหล่านเ้ี ป็นบนั ทึกทเี่ ปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษร พวกเขาจึงตอ้ งอยู่ในยุคกอ่ นประวัติศาสตร์ตอ่ ไปอีก 3. ยคุ หินใหม่ – มนษุ ยย์ ุคหินผเู้ กง่ กาจเร่ิมคดิ ได้ว่า มันไม่เขา้ ทา่ เสยี เลยที่จะตอ้ งย้ายถนิ่ ฐานไปเรื่อยๆ ตามถ้ำ� หรือ สร้างบ้านใหม่เร่ือยๆ พวกเขาจึงไปต้ังถิ่นฐานกันตามแม่น�้ำ ในตอนน้ีพวกเขาไม่ต้องตามฝูงสัตว์ไปรอบโลกเพื่อ ล่าและฆ่าพวกมันอีกแล้ว ตอนนี้พวกเขาอยู่เป็นท่ีเป็นทางได้แล้ว พวกเขายังได้เรียนรู้ที่จะท�ำการเพาะปลูก เลยี้ งสัตว์ จงึ หมดยคุ สมัยแหง่ การเรร่ อ่ น ยุคโลหะ 1 . ยุคส�ำริด – หลังจากใช้เคร่ืองมือเครื่องใช้ที่ท�ำจากหินมาเป็นเวลายาวนาน มนุษย์ก็ได้คิดค้นส่ิงใหม่ข้ึนด้วย การนำ� ทองแดงผสมกับดีบุก เป็นวัสดทุ ่ีแขง็ แรงขึน้ พวกเขาเรยี กมนั วา่ สำ� รดิ เคร่ืองมอื เครอ่ื งใช้ต่างๆ รวมไป ถึงอาวธุ ในยคุ นี้จึงถกู สร้างจากสำ� รดิ 2 . ยุคเหล็ก – พวกเขาได้ค้นพบสิ่งใหม่อีกครั้งด้วยการถลุงเหล็ก จึงได้เป็นเหล็กซ่ึงแข็งแรงกว่าส�ำริดมาใช้ท�ำ เครอื่ งมอื เครือ่ งใช้ต่างๆ ท�ำให้ยคุ นี้ถกู เรยี กวา่ ยคุ เหล็ก ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 69
เ มื่อพวกเขาได้ท�ำการเพาะปลูก มีความเป็นอยู่ที่ดี ก็ได้ตัดสินใจท่ีจะเลิกอยู่แบบเร่ร่อนและมีความคิดท่ีจะอาศัยอยู่ รวมกันเปน็ กลุ่มกอ้ น จนเกดิ สงิ่ ทีเ่ รียกวา่ “เมือง” ขึ้น เมือ่ เมอื งมีขนาดใหญ่ขึน้ มผี ู้คนอพยพเข้ามาอย่มู ากขนึ้ กลายเปน็ เมอื ง ขนาดใหญ่ จงึ เกดิ เปน็ สง่ิ ทเี่ รยี กวา่ “นคร” ขน้ึ ตามมา เมอื งและนครในยคุ แรกๆ นน้ั เกดิ ขนึ้ ในเมโสโปเตเมยี ทางตะวนั ออกกลาง จากนน้ั คนในสว่ นอน่ื ของโลกกค็ อ่ ยๆ เลยี นแบบตาม ตอ่ มามนษุ ยผ์ ฉู้ ลาดลำ้� ในเมโสโปเตเมยี กไ็ ดก้ ระทำ� สง่ิ ทพ่ี ลกิ ประวตั ศิ าสตร์ อกี ครงั้ คอื การคดิ คน้ สง่ิ ทเี่ รยี กวา่ “ตวั อกั ษร” ขน้ึ ทำ� ใหเ้ ราสามารถพบเหน็ งานเขยี นบนั ทกึ ของพวกเขาได้ และรบั รเู้ รอื่ งราว กา รใช้ชีวิตของผู้คนในสมัยน้ันได้ จนเกิดเป็นวิชาประวัติศาสตร์ ตัวอักษรที่พวกชาวสุเมเรียนคิดค้นขึ้นน้ันเราเรียกกันว่า คนู ฟิ อรม์ (Cuneiform) และนั่นเปน็ กา้ วแรกสู่ยคุ สมยั ใหม่ทเ่ี รียกวา่ ยุคประวตั ศิ าสตร์ ประวตั ิศาสตร์สากล เราแบ่งยคุ ประวัตศิ าสตร์ออกเปน็ ช่วงเวลาต่างๆ ดงั นี้ 1. สมัยโบราณ (3,500 ปีกอ่ นคริสตกาล – ค.ศ. 476) – มนษุ ยต์ ้งั ถิน่ ฐานกันเป็นกลุ่มจนเกิดเปน็ อาณาจักรขนึ้ มา โดยแหล่ง อารยธรรมท่ีเกา่ แก่ทส่ี ดุ น้ัน คอื เมโสโปเตเมีย ในล่มุ แมน่ ำ้� ไทกรสิ -ยเู ฟรตสิ หรือที่เรยี กกันวา่ “ดินแดนพระจันทร์เสีย้ ว” ซึ่งอยู่ในประเทศอิรักและซีเรียในปัจจุบัน อย่างท่ีกล่าวไปแล้วว่าพวกเขาเป็นมนุษย์กลุ่มแรกที่จดบันทึกเร่ืองราวต่างๆ ด้วยตัวอักษร หลังจากนั้นผู้คนในส่วนอื่นๆ ของโลกก็เร่ิมจะเลียนแบบตาม ผู้คนในแถบบริเวณแม่น�้ำไนล์ก็ได้ท�ำเช่น เดียวกัน และสร้างเป็นอารยธรรมอียิปต์ขึ้น ชาวจีนที่อาศัยอยู่ในลุ่มแม่น้�ำหวางเหอ ชาวอินเดียในลุ่มแม่น้�ำสินธุ ก็ได้ ทำ� เชน่ เดียวกนั ในเวลาตอ่ มา อารยธรรมทส่ี ำ� คญั ท่ีเกิดข้ึนตามมา คอื อารยธรรมกรีก ตามด้วยอารยธรรมโรมนั ซึ่งเปน็ จักรวรรดิที่ย่ิงใหญ่ท่ีสุดแห่งหนึ่งของโลกเท่าที่เคยมีมา ยุคสมัยโบราณส้ินสุดลงเม่ือจักรวรรดิโรมันล่มสลายด้วยการ รกุ รานของอนารยชน หรือท่ีชาวโรมนั เรยี กวา่ คนเถอื่ นเยอรมัน 2. สมยั กลาง (ค.ศ. 476 - 1453) – หลงั จากทจ่ี กั รวรรดโิ รมนั ลม่ สลาย เหล่าอนารยชนเยอรมันไดร้ กุ รานดนิ แดนต่างๆ ใน ยโุ รป สรา้ งความเดือดรอ้ นใหผ้ ู้คนในยโุ รปเป็นอย่างมาก ประชาชนในยุโรปเดือดร้อนและไรท้ ีพ่ ึ่ง พวกเขามีความศรัทธา ต่อศาสนาครสิ ตน์ กิ ายโรมันคาทอลิกมาก โดยเชื่อว่าพระผู้เปน็ เจ้าจะคุ้มครองพวกเขาจากพวกคนเถือ่ นเยอรมันได้ ส่งผล ให้ศาสนาครสิ ตม์ อี ิทธิพลอย่างมากในยโุ รป เปน็ ยคุ ที่ความเจริญของมนษุ ย์ไดห้ ยดุ ชะงักเพราะหา้ มมกี ารคดิ ค้นสงิ่ ใดที่ขดั ต่อค�ำสอนของพระผู้เป็นเจ้า ยุคสมัยน้ีส้ินสุดลงเมื่อกรุงคอนสแตนตินโนเปิลซึ่งเป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิโรมัน ตะวันออกถูกตีแตกด้วยฝมี อื ของพวกมุสลมิ 3. สมัยใหม่ (ค.ศ. 1453 - 1945) - หลังจากพน้ จากยุคมืด โลกได้เขา้ สู่ยคุ แหง่ แสงสวา่ งท่ีเรียกกันว่ายคุ “Enlightenment” ซ่ึงเกิดการพัฒนาด้านอารยธรรมและเทคโนโลยีอีกครั้ง มีการร้ือฟื้นอารยธรรมกรีกโรมันในอดีตกลับมาอีกคร้ังโดย เริม่ ต้นในอิตาลี เรียกวา่ การฟื้นฟศู ลิ ปวทิ ยาการ หรือ เรเนอซอง (Renaissance) มีการพัฒนาในทุกๆ ด้านทงั้ วิทยาศาสตร์ อตุ สาหกรรม เกิดระบอบการปกครองใหมท่ เี่ รียกกันวา่ ประชาธิปไตยขน้ึ ชาวยโุ รปเริ่มออกลา่ อาณานคิ มจนในทีส่ ุดก็นำ� ไป สกู่ ารเกิดสงครามโลกถงึ สองคร้ัง 4. สมยั ปัจจุบนั / รว่ มสมยั (ค.ศ. 1945 – ปัจจุบัน) – เริ่มต้ังแต่การสนิ้ สุดสงครามโลกคร้ังที่ 2 เหตุการณ์ทส่ี ำ� คญั คือ สงครามเย็น ซึ่งเป็นสงครามทางจิตวิทยาระหว่างสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นผู้น�ำลัทธิทุนนิยม และ สหภาพโซเวียตผู้น�ำลัทธิ คอมมวิ นิสต์ มีการกอ่ การรา้ ยต่างๆ มากมายเกดิ ขึน้ เป็นยุคสมัยที่โลกก�ำลงั ด�ำเนนิ เข้าสู่การเปน็ โลกาภิวตั น์ 70 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
พัฒนาการและการสร้างสรรคท์ างอารยธรรม มนุษยไ์ ดพ้ ฒั นาสิง่ ต่างๆ ตลอดมาตง้ั แต่ยุคหินเป็นตน้ มา เมอ่ื เขา้ สยู่ ุคประวัตศิ าสตรต์ ง้ั แตพ่ วกเขาเรม่ิ จดบันทกึ สิ่งตา่ งๆ เป็น ตัวอักษรแลว้ นั้น พวกเขากย็ งั ไดส้ ร้างสงิ่ ตา่ งๆ ขนึ้ มามากมายตอ่ เนื่อง จนเกิดเป็นสง่ิ ท่เี รียกวา่ “อารยธรรม” ซึง่ สง่ิ น้ไี ดต้ กทอดมาสู่คน รุ่นหลังมาจนถึงปัจจุบัน เราสามารถแบ่งอารยธรรมของมนุษย์ออกเป็นสองประเภทใหญ่ๆ คือ อารยธรรมตะวันตก และอารยธรรม ตะวันออก ซ่ึงอารยธรรมตะวันตก อย่ทู างซกี โลกฝง่ั ตะวันตก (ทวีปยุโรป) และอารยธรรมตะวนั ออก อยใู่ นซีกโลกฝงั่ ตะวนั ออก (ทวีป เอเชีย) น่นั เอง อารยธรรมส�ำคญั ของโลกตะวนั ตก เราเรียกมนุษย์ท่ีอาศัยอยู่ในโลกฝั่งตะวันตกว่า “ชาวตะวันตก” พวกเขาเหล่าน้ีได้สร้างสรรค์ผลงานทางอารยะธรรมข้ึนมา มากมาย เราอาจจะจัดประเภทของอารยะธรรมเหล่านี้ได้ดงั น้ี อารยธรรมอยี ิปตโ์ บราณท่ีลมุ่ แมน่ ้ำ� ไนล์ ชาวอยี ปิ ตน์ น้ั กเ็ หมอื นกบั มนษุ ยท์ ว่ั ไปในสว่ นตา่ งๆ ของโลก ทไ่ี ดเ้ รมิ่ ตน้ สรา้ งเมอื งและถน่ิ ฐานรมิ แมน่ ำ้� เพราะนำ�้ เปน็ สิ่งส�ำคัญในการดำ� รงชวี ติ ของมนุษย์ ดังนนั้ พวกเขาจงึ ต้ังถิ่นฐานกันรมิ แมน่ ำ้� เพือ่ ท่ีจะได้ไม่ขาดแคลน ส�ำหรับชาวอยี ปิ ต์แลว้ พวกเขาตง้ั ถิน่ ฐานในบริเวณท่เี รียกว่า “ล่มุ แมน่ ้ำ� ไนล์” ชาวอยี ปิ ตม์ ผี ปู้ กครองทเี่ รยี กวา่ “ฟาโรห”์ ซง่ึ ตามตำ� นานความเชอ่ื ของชาวอยี ปิ ตน์ นั้ ฟาโรหข์ องพวกเขา คอื เทพเจา้ เพราะฉะนนั้ จงึ ตอ้ งมคี วามเปน็ อยทู่ แี่ ตกตา่ งจากมนษุ ยท์ ว่ั ไปคนอน่ื ๆ เมอื่ เสยี ชวี ติ ลงจงึ ตอ้ งสรา้ งสสุ านทมี่ ขี นาดใหญ่ เพราะ เชื่อว่าหลังจากที่ตายไปแล้วจะสามารถฟื้นคืนชีพมาได้อีกครั้งและจะมาปกครองโลกมนุษย์อีกคร้ังหน่ึง สุสานมหึมาท่ีสร้าง ให้กบั ฟาโรหน์ ี้เราเรยี กกันวา่ “ปีรามดิ ” เราจะพบปรี ามิดไดม้ ากมายกระจายตามทต่ี ่างๆ ในอยี ปิ ต์ ปีรามิดที่ใหญท่ ่สี ุด คอื ปรี ามดิ แห่งกิซ่า หรือ ปิรามิดคฟู ู ซง่ึ สร้างใหก้ บั กษัตริย์คฟู ู ของประเทศอียิปต์ ซงึ่ สถานที่นถ้ี ือวา่ เป็นสถาปตั ยกรรมทีส่ ำ� คัญของอียิปต์ หากเราสังเกตก็จะพบ วา่ บรเิ วณใกลๆ้ กบั ปรี ามิดน้นั จะมีรูปปนั้ ของสิงโตท่ีมีใบหน้าเหมอื นคนต้งั อยู่ เราเรียกเจา้ สงิ โตน้ีวา่ “สฟงิ ค”์ ซึง่ ใบหนา้ จะ ตา่ งกันไป เช่ือกันวา่ เป็นใบหน้าของกษัตริย์อยี ิปต์ ซึ่งเชือ่ กันวา่ เมอื่ จากโลกนไ้ี ปแลว้ จะคนื ชพี เป็นเทพเจ้าท่มี อี �ำนาจด่ังสงิ โต ชาวอยี ปิ ตจ์ งึ สรา้ งสฟงิ คเ์ ปน็ ครงึ่ สงิ โตครงึ่ มนษุ ยด์ งั ทเ่ี ราเหน็ กนั ชาวอยี ปิ ตย์ งั ไดป้ ระดษิ ฐต์ วั อกั ษรภาพทเ่ี รยี กวา่ “ไฮโรกลฟิ กิ ” (Hiroglyphic) เพือ่ ใชใ้ นการจดบนั ทกึ ตา่ งๆ อกี ดว้ ย ท่มี า: http://wallpaperpassion.com/download-wallpaper/23110/taj-mahal-wallpaper.html ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 71
อารยธรรมเมโสโปเตเมยี (ลมุ่ แมน่ �้ำไทกรสิ -ยเู ฟรติส) ถัดมาทางตะวันออกของอียิปต์ มีดินแดนท่ีเรียกว่า เมโสโปเตเมีย ซึ่งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้�ำไทกริส-ยูเฟรติส ที่นี่เป็น แหลง่ รวมของผู้คนหลายชนชาติ จึงกลายเปน็ แหล่งอารยธรรมที่สำ� คญั ของโลกตะวันตกในเวลาต่อมา “ซกิ กูแรต” ทีม่ า: http://dc191.4shared.com/doc/fZ9RDe1a/ preview_html_m66ec14d4.jpg หนึง่ ในชนชาตทิ มี่ ีชื่อเสยี งและมักเปน็ ที่กลา่ วถึง คือ ชาวสุเมเรียน ซ่ึงเป็นคนกลมุ่ แรกที่ประดิษฐ์ตวั อักษร “ลิม่ ” หรอื อักษร “คนู ิฟอรม์ ” เปน็ ตวั อักษรแรกของโลก ซ่งึ ท�ำให้บริเวณอ่นื ๆ ในโลกเลยี นแบบตามการประดิษฐต์ วั อักษรข้ึนมาในภาย หลัง ซ่ึงชาวสุเมเรียนก็เช่นเดียวกับชาวอียิปต์ พวกเขาเช่ือเร่ืองของเทพเจ้า และได้สร้างส่ิงก่อสร้างท่ีย่ิงใหญ่ไม่แพ้กันคือ “ซกิ กแู รต” ขน้ึ เพอ่ื บชู าพระเจา้ แตพ่ วกเขาไดก้ า้ วไปไกลกวา่ นน้ั มาก ชาวสเุ มเรยี นไดแ้ บง่ ชว่ งเวลาในแตล่ ะวนั เปน็ 24 ชวั่ โมง และแบง่ ช่ัวโมงออกเป็น 60 นาที ซง่ึ เปน็ รปู แบบเวลาที่เรายังใชอ้ ยู่จนถงึ ปัจจุบัน ชนชาตทิ ีส่ �ำคญั อีกชาติ คือ ชาวบาบิโลเนีย พวกเขาสรา้ งอาณาจกั รใหญ่ชือ่ ว่า บาบโิ ลน มีสังคมขนาดใหญท่ ีม่ ีผูค้ น อาศยั อยมู่ ากมาย จงึ ตอ้ งมกี ารตง้ั กฎเกณฑ์ ขอ้ บงั คบั ของสงั คมขนึ้ กษตั รยิ บ์ าบโิ ลน ชอ่ื วา่ พระเจา้ ฮมั มรู าบี ไดเ้ ขยี นกฎหมาย ท่สี ำ� คญั ขึ้นคอื กฎหมายฮัมมูราบี หรอื กฎหมายทีเ่ ราเรียกวา่ “กฎแบบตาต่อตา ฟนั ต่อฟัน” หรอื ทำ� ผดิ อะไรกจ็ ะได้อยา่ งน้นั เชน่ ถา้ คณุ เกดิ ไปทำ� คนตาบอดเขา้ คณุ กจ็ ะตอ้ งถกู ควกั ตาทงิ้ ถา้ คณุ เกดิ ไปทำ� เพอื่ นฟนั หกั คณุ กจ็ ะตอ้ งถกู ถอนฟนั บา้ ง เปน็ ตน้ อย่างไรกต็ ามกฎหมายฮัมมูราบีถือว่าเป็นประมวลกฎหมายท่ีเก่าแกท่ ่สี ุดของมนษุ ย์กว็ า่ ได้ อารยธรรมกรีก ชาวกรีก เป็นชนชาติท่ีมีความส�ำคัญชาติหน่ึงในยุโรป ตั้งถ่ินฐานในเกาะชื่อว่าเกาะครีต ว่ากันว่า อารยธรรมกรีกน้ี เปน็ รากฐานของอารยธรรมตะวนั ตก พวกเขาไดส้ รา้ งอารยธรรมทมี่ คี วามเจรญิ อยา่ งมาก ซงึ่ ตอ่ มาไดพ้ ฒั นาเปน็ รากฐานของ อารยธรรมตะวันตก ชาวกรกี กเ็ ปน็ เหมอื นมนษุ ย์ในสมยั โบราณอ่ืนๆ คือ มกี ารเชื่อเรอ่ื งเทพเจา้ จึงมงี านเขยี น ศลิ ปะ และส่งิ กอ่ สรา้ งที่ เกี่ยวข้องกับเทพเจ้ามากมาย และหน่งึ ในงานก่อสรา้ งทส่ี �ำคัญ คือ วิหารพาร์ธนี อน ซึ่งสรา้ งขึ้นเพ่ือบชู าเทพเอเธนา ซง่ึ เป็น เทพเจา้ แห่งปญั ญาและความรอบรู้ กรกี มนี ักปรชั ญาที่เก่งกาจอยา่ ง โซเครติส เพลโต และอริสโตเตลิ ซ่ึงเปน็ แม่แบบของ ปรัชญาตะวนั ตก นอกจากนีย้ ังมงี านดา้ นวรรณกรรมท่สี ำ� คัญอย่างมหากาพยอ์ เี ลียต และดิโอดสี ซีของโฮเมอร์ และส่ิงหนึง่ ท่ีตกทอดจากกรีกมาสู่ยุคปจั จุบนั คือ งานด้านศิลปะ ซงึ่ ศิลปะกรกี จะเน้นรูปร่างสรีระของมนษุ ยท์ ส่ี มบรู ณแ์ บบ ตวั อย่างเช่น รปู ปนั้ ไมรอน หรอื คนขวา้ งจักร ซง่ึ เปน็ งานศลิ ปะทม่ี ชี ่ือเสยี ง 72 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
วิหารพาร์ธนี อน ทม่ี า: http://www.sainampeung.ac.th/chalengsak/ images/unit5/chapter5/chapter5_3/culture/ doric2.jpg อารยธรรมโรมัน หลังจากที่อารยธรรมกรีกได้เบ่งบานในเกาะครีต ผคู้ นท่อี าศัยอยใู่ นดินแดนอิตาลใี นปัจจุบันไดเ้ ร่ิมสรา้ งอารยธรรมที่ ย่ิงใหญ่ข้ึนโดยมีแม่แบบจากอารยธรรมกรีก พวกเขาเรียกตัวเองว่า ชาวโรมัน ซึ่งต่อมาคนกลุ่มน้ีได้ขยายอิทธิพลไปอย่าง กวา้ งขวาง มศี นู ย์กลางอยทู่ ่ีกรุงโรม ชาวโรมันไดพ้ ฒั นากา้ วไปไกลกว่าชาวกรกี มาก พวกเขาได้สร้างส่งิ กอ่ สร้างขนาดใหญ่ เรยี กวา่ สนามกฬี าโคลอสเซยี ม เพอ่ื ใชแ้ ขง่ กฬี าอนั เหยี้ มโหดทเ่ี รยี กวา่ แกลดเิ อเตอร์ คอื การใหท้ าสมาตอ่ สกู้ นั จนฝา่ ยใดฝา่ ย หน่งึ ตายไปข้างหน่งึ หรอื อาจให้ทาสต่อสู้กับสัตว์ ซ่ึงเป็นความบนั เทงิ อย่างหนึง่ ของชาวโรมนั ในขณะเดียวกนั ชาวโรมนั ได้ พัฒนาระบบกฎหมายให้มีความเจริญก้าวหน้าขึ้นเรยี กว่า “กฎหมายสิบสองโต๊ะ” ซึ่งให้สิทธิกับพลเมอื งชาวโรมันมากขึน้ ใน เวลาต่อมาเม่ืออิทธิพลของจักรวรรดิโรมันแผ่กระจายไปท่ัว อารยธรรมของกรีกที่ผสมผสานกับโรมันจึงกลายเป็นรากฐาน ของอารยธรรมตะวันตก สนามกีฬาโคลอสเซียม ที่มา: http://wallpaperpassion.com/download- wallpaper/26401/colosseum-wallpaper.html อารยธรรมส�ำคัญของโลกตะวนั ออก อีกฟากหน่งึ ของโลกทางตะวนั ออก ชาวตะวนั ออกได้พฒั นาอารยธรรมมาเปน็ เวลายาวนาน อารยธรรมตะวันออกที่สำ� คญั ท่ี มักจะพดู ถงึ กันคอื อารยธรรมจีน และอนิ เดีย อารยธรรมจนี เมอื่ พดู ถงึ เอเชยี คงหนไี มพ่ น้ ทจี่ ะตอ้ งพดู ถงึ จนี แผน่ ดนิ ใหญ่ ซงึ่ เปน็ ประเทศทมี่ ขี นาดใหญแ่ ละมอี ารยธรรมเกา่ แกม่ า ตง้ั แตโ่ บราณ เพอ่ื ใหง้ า่ ยตอ่ การทำ� ความเขา้ ใจ นกั ประวตั ศิ าสตรจ์ งึ ไดแ้ บง่ ชว่ งเวลาในประวตั ศิ าสตรจ์ นี ออกเปน็ ราชวงศต์ า่ งๆ ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 73
ดงั น้ี ราชวงศ ์ พัฒนาการดา้ นอารยธรรม ราชวงศ์ชาง ในยคุ แรกนจ้ี นี ปกครองแบบนครรฐั มีการประดิษฐอ์ กั ษรจีนโดยการบันทึกลงบนกระดูกสตั ว์ และมีการสร้างปฏิทินแบบจนี ข้ึนมาใช้ในอาณาจกั ร ราชวงศ์โจว มกี ารพฒั นาความเชอื่ เรือ่ งกษตั ริยจ์ ีนเปน็ โอรสของสวรรค์ พวกเขาเชอ่ื ว่าการที่ไดก้ ษตั ริยท์ ี่ดี มาปกครองประเทศนั้น เพราะถูกสง่ มาจากสวรรค์ แต่ลขิ ิตของสวรรค์นัน้ เปลย่ี นแปลงไดเ้ สมอ เพราะฉะนัน้ เมือ่ กษตั ริยไ์ รค้ วามสามารถในการปกครอง ก็จึงเป็นเรอ่ื งธรรมดาท่ีจะมีการส่งโอรส องคใ์ หมม่ าปกครองบ้านเมือง ความเช่อื น้ที ำ� ใหส้ ังคมจนี มีการปฏวิ ัติราชวงศบ์ อ่ ยคร้งั ในสมยั ของ ราชวงศ์โจวยงั มีนักปราชญต์ ะวนั ออกคนสำ� คญั คอื ขงจือ๊ ซ่งึ เป็นแม่แบบของปรชั ญาตะวันออก ราชวงศจ์ น๋ิ ในยคุ นม้ี จี กั รพรรดทิ ยี่ ง่ิ ใหญ่ คอื จนิ๋ ซฮี อ่ งเต้ ซง่ึ เปน็ ผรู้ วมแผน่ ดนิ จนี เปน็ จกั รวรรดใิ หญ่ มกี ารใชภ้ าษา เขยี นทเ่ี ปน็ ตวั อกั ษรจนี และยงั ไดส้ รา้ งกำ� แพงเมอื งจนี ขน้ึ เพอ่ื ปอ้ งกนั การรกุ รานจากภายนอกซงึ่ เปน็ หนงึ่ ในสิง่ มหัศจรรยข์ องโลก ราชวงศฮ์ น่ั มกี ารพฒั นาสรา้ งระบบราชการขนึ้ เปน็ ยคุ ทองของการคา้ ของจนี มกี ารใชเ้ สน้ ทางการคา้ ทม่ี ชี อื่ เสยี ง เรยี กวา่ เสน้ ทางสายไหมซงึ่ ตอ่ มามารโ์ คโปโลนกั สำ� รวจชาวอติ าลกี ไ็ ดใ้ ชเ้ สน้ ทางเสน้ นเี้ ดนิ ทางมายงั จนี ใน สมัยราชวงศห์ ยวน ราชวงศ์ถัง กล่าวกนั ว่าเป็นยคุ ทองของวรรณกรรมจีน และยังเปน็ ยุคทองของพทุ ธศาสนาดว้ ย ราชวงศซ์ อ้ ง ชาวจีนได้พฒั นาไปไกลกว่าชาวตะวนั ตกมาก ในสมัยนชี้ าวจนี สามารถผลติ แทน่ พมิ พไ์ ดก้ อ่ น ชาวยุโรปถึง 400 ปี นอกจากนพ้ี วกเขายงั ผลิตถว้ ยชามตา่ งๆ ดว้ ยกระเบอื้ งสีขาวและสีเขยี วไขก่ า อกี ด้วย ราชวงศ์หงวน เชื้อสายจกั รพรรดิราชวงศ์นเ้ี ปน็ ชาวต่างชาติ คือ เปน็ ชาวมองโกล ซงึ่ เข้ามายดึ ครองเมืองจีน /หยวน มงี านเขยี นที่ส�ำคญั คอื สามกก๊ และมีความกา้ วหน้าด้านศิลปะวัฒนธรรมมากโดยเฉพาะการ แสดงงว้ิ ราชวงศห์ มิง มีการสร้างพระราชวังปักก่งิ หรือพระราชวังต้องห้ามท่ีมีชอื่ เสียง ราชวงศ์แมนจู เปน็ ราชวงศ์ตา่ งชาติอกี เชน่ กนั โดยมเี ชอ้ื สายชาวแมนจเู รีย เป็นยคุ ท่ีชาวตา่ งชาตเิ ขา้ มาโดย /ชิง หวังจะยึดจีนเปน็ อาณานคิ ม เกิดสงครามกับอังกฤษ และลงทา้ ยด้วยความพ่ายแพ้ของจีน ซง่ึ ต่อมาน�ำไปสกู่ ารลม่ สลายของระบบจกั รพรรดิในจนี จนี เปลีย่ นกลายเปน็ สาธารณรัฐ อารยธรรมอินเดยี อนิ เดยี ถอื เปน็ ดนิ แดนทมี่ คี วามเจรญิ มาเปน็ เวลาชา้ นาน ชาวอนิ เดยี กเ็ หมอื นกบั ชาตอิ น่ื ๆ ทว่ั โลกทไ่ี ดต้ งั้ ถน่ิ ฐานรมิ นำ�้ ขนึ้ มา โดยแม่นำ�้ ท่ชี าวอนิ เดยี ไปต้งั ถิน่ ฐาน คอื แม่น�ำ้ สินธุ อนิ เดยี มีวรรณกรรมที่สำ� คัญมากมาย หนึ่งในวรรณกรรมทส่ี ำ� คญั คอื คัมภีร์พระเวท ซ่งึ กลา่ วถงึ เทพเจ้าในศาสนา พราหมณ์ - ฮินดู อินเดียยังเป็นดินแดนซึ่งเป็นแหล่งก�ำเนิดของพุทธศาสนา ซึ่งต่อมาได้เผยแผ่ไปนอกอินเดียในสมัยของ 74 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
กษตั รยิ ์ทย่ี ง่ิ ใหญ่ คือ พระเจา้ อโศกมหาราช งานด้านสถาปัตยกรรมที่สำ� คัญของอินเดยี คือ ทัชมาฮาล ซ่ึงจกั รพรรดิอนิ เดีย ในสมัยราชวงศ์โมกุลได้สร้างข้ึนเพ่ือร�ำลึกถึงพระมเหสีของพระองค์ที่สิ้นพระชนม์ ซึ่งเป็นอนุสรณ์แห่งความรักท่ีมีช่ือเสียง ระดบั โลกมาจนถึงปัจจุบนั ทัชมาฮาล ทมี่ า: http://wallpaperpassion.com/download- wallpaper/23110/taj-mahal-wallpaper.html ประวตั ิศาสตรไ์ ทย รัฐโบราณในดินแดนประเทศไทย กอ่ นจะมกี ารสถาปนากรุงสโุ ขทัยเป็นราชธานี ในดนิ แดนประเทศไทยปจั จุบนั มอี าณาจกั รหลายอาณาจกั รรงุ่ เรอื งมากอ่ น ซงึ่ มี ทงั้ อาณาจกั รของคนไทยและของชนชาติอ่ืน กระจายอยู่ท่ัวดินแดนแถบนี้ เรามาทำ� ความรู้จกั รฐั โบราณ ดังตอ่ ไปนี้ 1. รฐั โบราณในดินแดนภาคกลางของไทยปัจจบุ นั 1. อาณาจักรทวารวดี เป็นอาณาจักรท่ีรุ่งเรืองในพุทธศตวรรษที่ 11-16 ซึ่งถือเป็นอาณาจักรสมัยประวัติศาสตร์ แห่งแรกในดินแดนแถบนี้ เพราะรู้จักใช้ตัวอักษรจารึกเรื่องราว ซ่ึงศูนย์กลางของอาณาจักรน่าจะอยู่บริเวณ จังหวัดนครปฐมในปัจจุบัน ซึ่งประชากรจะเป็นชนชาติมอญเป็นส่วนใหญ่ อาณาจักรนี้ได้รับอิทธิพลจากอินเดีย ทั้งในด้านรูปแบบการปกครองที่มีกษัตริย์ และด้านความเช่ือ คือ พระพุทธศาสนานิกายเถรวาท มีศิลปกรรม ขึ้นชอ่ื คอื ธรรมจักรและกวางหมอบ 2. อาณาจกั รละโว้หรือลพบรุ ี เปน็ อาณาจกั รของชนชาตมิ อญมอี ายรุ ่วมสมยั กับทวารวดี ราวพุทธศตวรรษ 12-16 มเี มืองละโวห้ รือลพบุรีเปน็ ศนู ย์กลาง ทต่ี ้งั อุดมสมบรู ณเ์ พราะมีแม่นำ้� หลายสายไหลผ่าน ไดร้ บั อทิ ธิพลจากอินเดีย ทั้งการปกครองระบบกษัตริย์และพระพุทธศาสนา นอกจากนี้ในภายหลังได้ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของขอมจึงเป็น หน่ึงในประเทศราชของขอมและหันมานับถือพระพุทธศาสนามหายาน จากเดิมเป็นเถรวาท ศิลปกรรมสำ� คัญ คือ พระปรางคส์ ามยอด 2. รัฐโบราณในดินแดนภาคเหนือของไทย 1. อาณาจักรโยนกเชียงแสน เป็นอาณาจักรของคนไทย มีศูนย์กลางอยู่ท่ีเมืองเชียงแสน จังหวัดเชียงรายปัจจุบัน จากต�ำนานสิงหนวัติเชื่อกันว่า เจ้าชายสิงหนวัติได้อพยพผู้คนจากตอนใต้ของจีนลงมา และปราบอิทธิพล ขอมได้จงึ ตัง้ อาณาจกั รโยนกเชียงแสน ภายหลังอาณาจักรโยนกถูกผนวกรวมเขา้ กับอาณาจักรล้านนา 2. อาณาจักรหริภุญชัย มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองหริภุญชัย จังหวัดล�ำพูนปัจจุบัน จากต�ำนานจามเทวีวงศ์กล่าวว่า กษัตริย์ได้ส่งพระนางจามเทวีผู้เป็นธิดามาปกครองเมืองและต้ังเมืองหริภุญชัยข้ึน สุดท้ายอาณาจักรนี้ก็ถูกผนวก รวมกับอาณาจกั รล้านนา ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 75
3. อาณาจกั รลา้ นนา เปน็ อาณาจักรของคนไทย มศี ูนยก์ ลางอย่ทู เ่ี มืองเชยี งใหม่ ก่อตัง้ โดยพระยามังรายทร่ี วบรวม แ ว่นแคว้นต่างๆ เป็นหน่ึงเดียว โดยล้านนาสามารถขยายอาณาเขตไปกว้างใหญ่สมัยพระเจ้าติโลกราช ล้านนา นน้ั เปน็ รัฐกนั ชนระหวา่ งอยุธยากับพมา่ ท้งั สองชาตพิ ยายามเข้ามามบี ทบาทในล้านนา ตั้งแต่สมัยอยุธยา ล้านนา เปน็ ประเทศราชของไทย จนกระทง่ั สมยั รัชกาลท่ี 5 ทรงผนวกลา้ นนาเป็นหน่งึ เดยี วกับสยาม 3 . รฐั โบราณในดินแดนภาคอีสานของไทย 1. อาณาจักรโคตรบูรณ์ มีศูนย์กลางอย่ทู ่ีนครพนม บริเวณลุ่มแม่น้�ำโขง โดยมตี ำ� นานอรุ ังคธาตุบอกเลา่ ก�ำเนดิ ของ อ าณาจกั รและการสร้างพระธาตพุ นม ซง่ึ เจดยี พ์ ระธาตพุ นม เปน็ ศูนย์รวมความเชอ่ื และความศรัทธาในพระพทุ ธ ศาสนา ภายหลงั ตกภายใต้อิทธพิ ลของขอมและอาณาจักรล้านช้างตามลำ� ดบั 2 . อาณาจักรอิศานปุระหรืออาณาจักรขอมหรือเจนละ เป็นอาณาจักรของชนชาติขอมครอบคลุมดินแดนกัมพูชา ใ นปัจจุบัน โดยในตอนแรกเรียกว่า อิศานปุระ ต่อมาเปล่ียนเป็นอาณาจักรขอม ซึ่งรัชสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 อ าณาจักรขอมมีความม่ันคงมาก มีการสร้างปราสาทหินจ�ำนวนมาก ถือได้ว่าอาณาจักรขอมเป็นต้นแบบของ การปกครอง ความคดิ ความเช่อื และอีกหลายๆ ดา้ นในดินแดนแถบน้ี 4 . รฐั โบราณในดนิ แดนภาคใตข้ องไทย 1 . อาณาจักรลังกาสุกะ เป็นอาณาจักรโบราณบริเวณจังหวัดปัตตานีและยะลา เป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนา ม หายาน มีกษัตริย์เป็นผู้ปกครอง แต่ต่อมาโดนอาณาจักรศรีวิชัยแผ่อิทธิพลและกลายเป็นประเทศราชของ ศรีวชิ ัยในทสี่ ุด 2 . อาณาจักรตามพรลงิ ค์ (นครศรีธรรมราช) เมอื งนครศรธี รรมราชเปน็ ศูนย์กลาง เปน็ รัฐโบราณทีเ่ ดน่ เร่ืองการค้า ท างทะเล อีกทง้ั นครศรีธรรมราชยังมีสว่ นสำ� คัญในการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาเถรวาท ลัทธิลังกาวงศท์ ่ตี อ่ มาแผ่ ไปสู่สโุ ขทัยและล้านนาในทสี่ ดุ หลักฐานสำ� คัญ คือ พระบรมธาตุเจดยี ์ จงั หวดั นครศรธี รรมราช 3 . อาณาจักรศรีวิชัย เป็นอาณาจักรท่ีมีอาณาบริเวณกว้างใหญ่ตั้งแต่ภาคใต้ของไทยครอบคลุมเกาะชวา สุมาตรา แ ละคาบสมทุ รมลายูด้วย เป็นรัฐทีเ่ จริญดา้ นการคา้ ทางทะเลเปน็ สำ� คัญเพราะอยใู่ นทำ� เลทด่ี ีต่อการค้ากบั ประเทศ จีนกบั อินเดยี หลกั ฐานส�ำคญั ที่ปรากฏให้เหน็ คือ พระบรมธาตุไชยา จังหวดั สุราษฎรธ์ านี พัฒนาการของอาณาจักรสุโขทยั (พ.ศ.1792-2006) 1 . ปัจจยั ท่มี ผี ลตอ่ พัฒนาการของอาณาจักรสโุ ขทัย ปจั จยั ทางภมู ศิ าสตร์ คือ ที่ตั้งของอาณาจักรสุโขทัยตงั้ อยบู่ รเิ วณลุม่ แมน่ �ำ้ ปิง แมน่ �ำ้ วงั แม่น�้ำยม และแม่น้ำ� นา่ น มีความเหมาะสมทางการเกษตร อกี ทั้งแมน่ �้ำยัง เชือ่ มตอ่ สู่ทะเลอา่ วไทยเออ้ื ต่อการค้าทางทะเลนอกจากน้ีสุโขทัยยงั อย่ใู นเขตรอ่ ง มรสุมทีท่ �ำใหเ้ อ้ือตอ่ การตัง้ ถน่ิ ฐาน อีกทัง้ ทรัพยากรธรรมชาติในบริเวณน้ีกอ็ ุดม สมบูรณอ์ กี ดว้ ย ปจั จัยด้านอารยธรรม คือ อารยธรรมทส่ี ุโขทยั ไดร้ ับมาทอ่ี ่ืนแล้วนำ� มาดดั แปลง ให้เป็นของตน เชน่ พระพทุ ธศาสนาเถรวาทจากนครศรีธรรมราช หรอื ตวั อักษรขอม เปน็ ตน้ เม่ือรบั มาแลว้ กท็ ำ� ใหเ้ กดิ ลักษณะเดน่ ของสโุ ขทัยด้วย ทม่ี า : Neriga Yakaew ,สำ� นกั งานสง่ เสรมิ สงั คมแหง่ การเรยี นรแู้ ละคณุ ภาพเยาวชน(สสค.) 76 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya
2 . การกอ่ ตั้งอาณาจกั รสุโขทัย เรม่ิ ตน้ จากผ้นู �ำคนไทย 2 คน ไดข้ ับไลอ่ ำ� นาจของขอมในบริเวณนแี้ ละตั้งอาณาจกั รสโุ ขทัยเป็นอสิ ระจากขอม คนไทย 2 คนนั้น คื อ พ่อขุนบางกลางหาว และพ่อขุนผาเมือง ซ่ึงเมื่อสถาปนาเมืองแล้ว พ่อขุนบางกลางหาวได้สถาปนาเป็นกษัตริย์ช่ือว่า พ่อขุนศรี อินทราทติ ย์ ปฐมกษัตรยิ ์แห่งราชวงศ์พระร่วง ซ่งึ เม่ือมาวเิ คราะหป์ ัจจยั ทที่ �ำใหส้ โุ ขทยั สามารถแยกตัวเป็นอสิ ระไดอ้ ยา่ งมน่ั คงในเวลา ต่อมา เน่ืองจากทง้ั ทำ� เลทีต่ ั้งเหมาะสมแกก่ ารต้ังถ่นิ ฐาน มผี นู้ ำ� คนไทยท่ีเข้มแขง็ รวมทัง้ ขณะเดยี วกนั ขอมกเ็ ส่อื มอำ� นาจลงไปแล้ว 3. พัฒนาการดา้ นการเมอื งการปกครองสมยั สโุ ขทยั ดา้ นการปกครองของสุโขทยั ตลอดยคุ สมยั อาณาจกั รสโุ ขทยั มีกษตั ริย์ปกครอง 9 พระองคส์ ืบตอ่ มากอ่ นจะถกู ผนวกรวมเขา้ กับอาณาจักรอยธุ ยาในภายหลงั ซ่งึ หากพจิ ารณาความสมั พนั ธ์ระหว่างกษัตรยิ ์กับราษฎรจะแบง่ เป็น 2 ลักษณะ คือ ในระยะแรกของ อาณาจกั ร กษตั รยิ ก์ บั ราษฎรมคี วามใกลช้ ดิ กนั ในลกั ษณะพอ่ ปกครองลกู เหน็ ไดช้ ดั จากสมยั พอ่ ขนุ รามคำ� แหงมหาราชทมี่ กี ารสนั่ กระดง่ิ แขวนไว้ เพ่อื ให้ราษฎรใช้รอ้ งทุกข์ ตอ่ มาในสมยั พระมหาธรรมราชาท่ี 1 (ลไิ ท) ฐานะกษตั ริยเ์ ปลี่ยนไปเปน็ กษตั รยิ แ์ บบธรรมราชา ไม่ ใกลช้ ดิ ดงั แตก่ ่อน แตใ่ ช้หลกั ธรรม คือ ทศพธิ ราชธรรมในการปกครองอาณาจกั ร สำ� หรบั รปู แบบการปกครอง มอี าณาจกั รสโุ ขทยั เปน็ ศนู ยก์ ลางทางการเมอื ง รายลอ้ มดว้ ยเมอื งลกู หลวงและเมอื งหนา้ ดา่ นทงั้ 4 ทศิ ไดแ้ ก่ ศรีสัชนาลัย สระหลวง สองแคว และเมืองนครชมุ กษัตรยิ จ์ ะแต่งตงั้ เจา้ นายชั้นสูงไปปกครอง ถดั จากเมอื งลกู หลวง ก็จะ เป็นหวั เมอื งช้นั นอกที่หา่ งไกลออกไป และเมืองประเทศราชท่ีไกลมาก โดยให้คนพนื้ เมืองปกครองกนั เอง อ�ำนาจของสุโขทัยเข้มแข็งมากสมัยพ่อขุนรามค�ำแหงมหาราช หลังจากน้ันก็ค่อยๆ เสื่อมถอยลงตามล�ำดับ สมัยพระมหา ธรรมราชาที่ 2 สโุ ขทยั กลายเปน็ เมอื งขน้ึ ของอยธุ ยา จนสดุ ทา้ ยสมยั พระมหาธรรมราชาท่ี 4 ตรงกบั สมยั พระบรมไตรโลกนาถของอยธุ ยา สโุ ขทยั กถ็ กู ผนวกรวมเปน็ สว่ นหนง่ึ ของอยธุ ยาดว้ ย สาเหตทุ ท่ี ำ� ใหอ้ าณาจกั สโุ ขทยั เสอื่ มลง มาจากหลายสาเหตุ ไมว่ า่ จะเปน็ ความออ่ นแอ ทางการทหาร ไมส่ ามารถตา้ นทานอำ� นาจของอยธุ ยาได้ มกี ารแตกแยกภายในหมพู่ ระราชวงศท์ แี่ ยง่ ชงิ อำ� นาจ รวมทัง้ การเกดิ ข้นึ ของ อาณาจักรอยุธยาทีอ่ ยทู่ างตอนใต้ก็ทำ� ใหเ้ สยี ผลประโยชนจ์ ากการค้าทตี่ ้องส่งออกผ่านทางแม่นำ�้ ท่เี ชอื่ มต่อกบั ทะเล ซ่งึ อยุธยาได้เข้า มาควบคมุ ทางการคา้ แทนดว้ ย 4 . พัฒนาการด้านเศรษฐกจิ สมัยสุโขทัย เศรษฐกจิ สมยั สโุ ขทยั เปน็ ไปแบบพอยงั ชพี คอื ผลติ เพอื่ ใช้ เมอ่ื เหลอื จงึ สง่ ออก สว่ นใหญพ่ นื้ ฐานเศรษฐกจิ ขน้ึ อยกู่ บั การเกษตร กรรม รองลงมา คือ การค้าและหตั ถกรรม ดา้ นการเกษตรกรรม พื้นทเ่ี พาะปลูกของสุโขทัยอยบู่ ริเวณลมุ่ แมน่ ำ�้ ทง้ั สามสาย เมอ่ื ถงึ ฤดฝู นกจ็ ะเกิดน�้ำทว่ มขงั แต่ ในฤดแู ลง้ กจ็ ะขาดแคลนนำ้� ปญั หาดงั กลา่ วนำ� ไปสกู่ ารจดั การนำ้� หรอื ระบบชลประทานทจี่ ดั สรรนำ้� ใหเ้ พยี งพอตอ่ การเพาะปลกู เช่น ทำ� นบ = คนั ดนิ กัน้ น้ำ� บังคบั ทิศทางนำ�้ ทมี่ ีมากใหไ้ ปในทางท่ตี ้องการ ตระพัง = สระน�้ำไวเ้ ก็บกักน้�ำ ฯลฯ ด้านหตั ถกรรม สุโขทัยมีชือ่ เสยี งมากในเร่อื งภาชนะเคร่อื งป้นั ดนิ เผาท่เี รยี กว่า เคร่อื งสังคโลก เป็นสนิ คา้ ส่งออกไป ยังท่ีต่างๆ มากมาย นอกจากนส้ี ำ� หรบั การค้าขาย หากดจู ากจารึกหลกั ที่ 1 จะเหน็ วา่ สโุ ขทยั ใหท้ �ำการค้าแบบเสรี ไมเ่ ก็บภาษี ผา่ นดา่ นหรอื ทเ่ี รยี กวา่ “จกอบ” มศี นู ยก์ ลางการคา้ สำ� คญั คอื ตลาดปสาน และใชเ้ งนิ พดดว้ งในการแลกเปลย่ี นสนิ คา้ สำ� หรบั ดินแดนที่มีการคา้ แลกเปล่ยี นสำ� คัญ เชน่ อินเดีย จีน ลงั กา ชวา มะละกา ล้านนา เป็นต้น 5. พฒั นาการด้านสังคมและวัฒนธรรมสมัยสโุ ขทัย 1. กลมุ่ คนในสโุ ขทยั ในสมยั นผ้ี ู้คนยังมไี ม่มาก อาจแบ่งเปน็ กลุ่มคนในชนชัน้ ปกครอง ไดแ้ ก่ กษตั ริย์ เจ้านาย ขนุ นาง และอาจรวมพระสงฆไ์ ปดว้ ย ส่วนคนอกี กลุ่มคือชนชั้นใต้ปกครองได้แก่ ไพร่ (ประชาชนทั่วไป) และทาส 2 . ภ าษาและวรรณกรรม ภาษาถือเป็นมรดกส�ำคัญของสุโขทัย คือ การประดิษฐ์อักษรไทยสมัยพ่อขุนรามค�ำแหง เรียกว่า ลายสือไทย โดยดัดแปลงมาจากอักษรขอม และมีวรรณกรรมเกิดข้ึน เรื่องสำ� คัญ คอื ศลิ าจารกึ หลกั ที่ 1 ทใี่ หส้ ภาพการปกครอง สงั คม เศรษฐกจิ และเรอื่ งราวตา่ งๆ ของสโุ ขทยั ในยคุ เรม่ิ แรก และอกี เรอ่ื งทสี่ ำ� คญั คอื ไตรภมู ิ พระร่วง (เตภมู ิกถา) ของพระมหาธรรมราชาที่ 1 เนอ้ื หาเก่ยี วกบั บาปบุญคุณโทษ นรกสวรรค์ ตามความเชอ่ื ใน พระพุทธศาสนาที่ถือเปน็ พ้นื ฐานความคิดของคนไทยในเวลาต่อมา ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 77
3. พระพุทธศาสนา คนสุโขทัยนับถือพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท ลัทธิลังกาวงศ์ ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจาก นครศรธี รรมราชสมยั พอ่ ขนุ รามคำ� แหง ซงึ่ ในสมยั สโุ ขทยั ถอื วา่ มคี วามเจรญิ ทางดา้ นศาสนาอยไู่ มน่ อ้ ย จะเหน็ ไดจ้ าก พ่อขุนรามค�ำแหงได้จัดลานฟังธรรมให้ราษฎร ทรงสร้าง “แทน่ มนังคศลิ าบาตร” ไว้ให้พระสงฆเ์ ทศในวันพระ 4. การสร้างสรรค์ทางศิลปะ ศิลปกรรมท่ีโดดเด่นในสมัยนี้ คือ สถาปัตยกรรมท่ีได้รับอิทธิพลของพระพุทธศาสนา ซ่ึงสังเกตได้จากเจดีย์ที่นิยมสร้างในสุโขทัยมี 3 ลักษณะ คือ เจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ หรือทรงยอดดอกบัวตูม ที่ เ ป็นเจดีย์แบบเฉพาะของสุโขทัย นอกจากนี้ยังมีเจดีย์ทรงกลมแบบลังกาหรือเรียกว่า เจดีย์ทรงระฆังคว�่ำ และ เจดยี ์แบบศรีวิชยั 6. พัฒนาการดา้ นการต่างประเทศสมัยสโุ ขทัย อาณาจกั รสโุ ขทยั มกี ารเจรญิ สมั พนั ธก์ บั อาณาจกั รอนื่ ๆ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคห์ ลกั คอื เพอ่ื ปอ้ งกนั ภยั คกุ คามจากประเทศทเี่ ขม้ แขง็ กวา่ เพ่อื ขยายอาณาเขตของอาณาจกั ร เพื่อรกั ษาผลประโยชนท์ างการคา้ และเพือ่ เผยแพรแ่ ละรับวฒั นธรรมจากภายนอก อาจแบ่ง ตามความสัมพันธก์ ับอาณาจกั รอน่ื ได้ ดงั น้ี 1 . ความสัมพันธ์กับล้านนา สุโขทัยกับล้านนามีความสัมพันธ์กันสองลักษณะ คือ ด้านการทูต คือ สมัย พ่อขุนรามค�ำแหงมหาราชได้ใกล้ชิดกับพระยามังรายแห่งล้านนาเพ่ือป้องกันภัยคุกคามจากจีน นอกจากน้ียังมี ความสัมพันธ์ดา้ นพระพุทธศาสนา สมัยพระมหาธรรมราชาท่ี 1 ทรงส่งพระสงฆ์ไปเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาเถรวาท ลทั ธลิ ังกาวงศแ์ กล่ ้านนา 2 . ความสัมพันธ์กับอยุธยา สุโขทัยมีความสัมพันธ์กับอาณาจักรอยุธยาในฐานะเป็นอาณาจักรของคนไทยด้วยกัน โดยอยธุ ยาไดแ้ ผ่ขยายอำ� นาจเขา้ ครอบครองสุโขทัยในภายหลงั โดยในสมัยพระมหาธรรมราชาท่ ี 2 อยธุ ยาได้ ยกทัพมาและกษัตริยส์ โุ ขทัยยอมอยใู่ ต้อ�ำนาจของอยุธยา ต่อมามกี ารอภเิ ษกเจา้ หญงิ จากสุโขทยั กับกษตั รยิ ์อยธุ ยา ทำ� ให้ความสมั พนั ธใ์ กลช้ ดิ กนั มากขึน้ นอกจากน้ีเมอ่ื มีเหตุการณแ์ ย่งชิงอำ� นาจในหมู่เจ้านายของสโุ ขทัย อยุธยาจะ ยกทัพมาแทรกแซง จนกระท่งั สุโขทัยถกู ผนวกรวมเป็นส่วนหน่งึ ของอยุธยาปี พ.ศ. 2006 3 . ความสัมพันธ์กับนครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราชยอมอ่อนน้อม และเป็นเมืองประเทศราชแก่สุโขทัยจน ภายหลังอยุธยาได้เขา้ มามบี ทบาทเหนือนครศรีธรรมราชแทน นอกจากนี้ที่ส�ำคญั คือ ความสัมพนั ธ์ด้านศาสนาที่ สุโขทยั ไดร้ ับพระพุทธศาสนาเถรวาทลทั ธลิ งั กาวงศจ์ ากนครศรีธรรมราชในสมยั พ่อขุนรามค�ำแหง 4 . ความสัมพนั ธก์ ับจนี ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสโุ ขทยั กบั จีนเปน็ ไปเรอ่ื งการค้าเป็นส�ำคัญในการค้าทเี่ รยี กว่า “ระบบ รฐั บรรณาการ” กลา่ วคอื ไทยตอ้ งสง่ ทตู และเครอื่ งบรรณาการไปถวายแดพ่ ระจกั รพรรดจิ นี เพอ่ื แสดงความออ่ นนอ้ ม ฝ่ ายจีนจะตอบแทนโดยอ�ำนวยความสะดวกทางการค้า อีกทั้งสุโขทัยยังได้รับถ่ายทอดความรู้และวิทยาการ ต่างๆ จากจีนอกี ดว้ ย บันทกึ ช่วยจำ� 78 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya
สรุปภาพรวมและคำ� ส�ำคัญประวัตศิ าสตรส์ มยั สโุ ขทัย ด้านเศรษฐกจิ - เศรษฐกิจแบบยังชพี - การเกษตรเปน็ ส�ำคัญ - เคร่อื งสงั คโลกเป็นสินค้าขึ้นชื่อ ด้านการเมอื งการปกครอง ประวัตศิ าสตร์ ด้านสังคมและวฒั นธรรม - แบง่ 2 ช่วง คือ พ่อปกครองลกู สมยั สโุ ขทัย - พ่อขุนรามค�ำแหงประดิษฐ์อักษรไทย และ ธรรมราชา เรียกวา่ ลายสอื ไทย - สโุ ขทัยมีกษัตรยิ ์ 9 พระองค์ - นับถือพระพุทธศาสนาเถรวาท ลัทธิ 1 ราชวงศ์ ลังกาวงศ์ ไดร้ บั จากนครศรธี รรมราช - สโุ ขทัยเป็นราชธานี มีเมอื งใหญ่ - เจดีย์พุ่มข้าวบิณฑ์และทรงกลมเป็น สเี่ มอื งลอ้ มรอบ ลกั ษณะเฉพาะของสุโขทัย ด้านความสัมพันธ์ระหวา่ งประเทศ การคา้ ระบบบรรณาการกับจนี เปน็ มิตรกบั ลา้ นนา - ถูกอยธุ ยาครอบงำ� และผนวกรวม พฒั นาการของอาณาจักรอยธุ ยา (พ.ศ. 1893 - 2310) อาณาจักรอยุธยาเป็นอาณาจักรของคนไทยที่มีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องเป็นเวลา 417 ปี ตั้งแต่ปฐมกษัตริย์ คือ พระเจ้าอู่ทอง สถาปนากรงุ ศรอี ยธุ ยาเปน็ ราชธานปี ี พ.ศ. 1893 มีกษัตรยิ ์ปกครอง 33 พระองค์ จาก 5 ราชวงศ์ กอ่ นจะเสยี กรงุ ครง้ั ที่ 2 ในปี พ.ศ. 2310 ทงั้ นี้ มหี ลายปจั จยั ทเี่ กอื้ หนนุ ใหอ้ ยธุ ยารงุ่ เรอื งมาเปน็ เวลายาวนาน ไมว่ า่ จะเปน็ สภาพภมู ปิ ระเทศ ทอี่ ยบู่ รเิ วณทร่ี าบลมุ่ แมน่ ำ้� อดุ มสมบรู ณเ์ ออื้ ตอ่ การเพาะปลกู มที รพั ยากรธรรมชาตอิ ดุ มสมบรู ณ์ ทำ� เลทต่ี ง้ั อยรู่ ะหวา่ งจนี และ อินเดยี เป็นผลดีต่อการคา้ และเศรษฐกิจด้วย ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 79
1. การสถาปนาอาณาจักรอยุธยา กอ่ นการสถาปนากรงุ ศรอี ยุธยา ดินแดนบรเิ วณนเี้ ปน็ แหลง่ ชมุ ชนคนไทยมาก่อน ซ่ึงการเกิดอาณาจักรอยุธยาเป็นการรวมแว่นแคว้นใหญ่สองแคว้นเข้าด้วยกัน คือ แคว้นสุพรรณภูมิ ศูนย์กลางอยู่ที่เมือง อู่ทอง มีความเข้มแข็งทางการทหาร รวมกับแคว้นละโว้ท่ีมีความรุ่งเรืองทางพระพุทธศาสนามาก่อน พระเจ้าอู่ทอง ปฐม กษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาทรงสถาปนากรุงศรเี ปน็ ราชธานเี มอ่ื พ.ศ. 1893 พระนามวา่ “สมเดจ็ พระรามาธิบด”ี ปจั จยั สำ� คญั ทที่ ำ� ใหเ้ กดิ การสถาปนากรงุ ศรอี ยธุ ยาและรงุ่ เรอื งตอ่ มา คอื บรเิ วณดงั กลา่ วมแี มน่ ำ�้ 3 สายลอ้ มรอบ คอื ลพบรุ ี เจา้ พระยา ปา่ สกั ทำ� ใหร้ าชธานเี ปน็ เกาะ ปอ้ งกนั ขา้ ศกึ ได้ อกี ทง้ั ยงั ใกลป้ ากอา่ วไทย ตดิ ตอ่ ตา่ งชาตไิ ดส้ ะดวก ประกอบ กับในเวลานัน้ อาณาจักรสโุ ขทยั เริ่มเส่ือมอำ� นาจลงท�ำให้สามารถต้ังราชธานแี ห่งนสี้ �ำเรจ็ ไปได้ 2. พัฒนาการดา้ นการเมอื งและการปกครองสมัยอยุธยา สมยั อยุธยามีระบอบกษัตริยใ์ นการปกครองเช่นเดยี วกับ สโุ ขทยั หากแตส่ ถานภาพและรปู แบบของการปกครองเปลยี่ นแปลงไปอยา่ งเหน็ ไดช้ ดั คอื พระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ เทวราชา หรอื สมมติเทพ เชื่อว่าทรงเป็นพระนารายณอ์ วตาร มอี ำ� นาจสงู สุดในแผน่ ดิน เปน็ เจ้าชวี ิตของทุกคนในอาณาจกั ร ลกั ษณะ เชน่ น้เี ป็นผลจากความเชื่อในศาสนาพราหมณ-์ ฮนิ ดู อยา่ งไรกด็ ี คติเร่ืองธรรมราชาก็ยงั คงอยู่ คือ พระราชาต้องมคี ณุ ธรรม ในการปกครองตามหลักทศพธิ ราชธรรม พระมหากษัตรยิ ท์ ี่ปกครองอาณาจกั รอยุธยามีท้งั สนิ้ 33 พระองค์ จาก 5 ราชวงศ์ ได้แก่ ราชวงศอ์ ู่ทอง สุพรรณภูมิ สโุ ขทยั ปราสาททอง และบา้ นพลหู ลวง ซง่ึ ลกั ษณะการปกครองในสมยั อยธุ ยาถอื ไดว้ า่ เปน็ พนื้ ฐานใหส้ มยั ตอ่ มาทงั้ ธนบรุ แี ละ รัตนโกสนิ ทร์ดว้ ย โดยอาจแบ่งเปน็ ช่วงเวลา ดังนี้ 1. การปกครองสมัยอยุธยาตอนต้น ตั้งแต่สมัยสร้างกรุงจนถึงรัชสมัยเจ้าสามพระยา ราว 7 รัชกาลแรกของ อยุธยา ท่มี รี ูปแบบการปกครองผสมผสานระหวา่ งเขมรกับสโุ ขทยั “ การปกครองสว่ นกลาง = ปกครองในราชธานี แบ่งการปกครองเป็น 4 ส่วน เรยี กวา่ “จตุสดมภ์” คอื เวยี ง = ความสงบของเมือง วงั = ดูแลราชส�ำนักและการยุตธิ รรม คลัง = ดแู ลการคลงั นา = การเกษตร “ การปกครองหัวเมอื ง = การปกครองเมืองตา่ งๆ นอกราชธานี มีการแบ่งระดับการปกครองออกเปน็ • เมอื งหนา้ ด่าน/เมืองลกู หลวง = เมืองทตี่ ดิ อยธุ ยาทงั้ ส่ที ศิ เจ้านายช้นั สูงคมุ • หวั เมอื งชนั้ ใน = เมอื งท่ีอยไู่ ม่ไกล แต่งตง้ั คนจากส่วนกลางไปดแู ล • หวั เมืองชน้ั นอก = เมอื งขนาดใหญ่และอยหู่ า่ งไกล มอี ิสระพอควร แตต่ ้องอยภู่ าย ใตบ้ ังคบั ของราชธานีอยู่ • ประเทศราช = เมืองที่มีอิสระในการปกครองตนเอง แต่ต้องส่งบรรณาการมา ถวายสว่ นกลางเพอื่ แสดงความจงรักภกั ดี 2. การปฏริ ูปการปกครองสมัยพระบรมไตรโลกนาถ ถอื เปน็ การปฏริ ูปการปกครองครัง้ ใหญ่ เนื่องจากอาณาจกั รม ี ความใหญโ่ ตมากย่งิ ข้นึ สิง่ ทีเ่ ปล่ยี นแปลงไป คือ “ การปกครองส่วนกลาง มีการแยกงานระหว่างทหารกับพลเรือนออกจากกัน โดยท่ีฝ่ายทหาร มี ส มุหกลาโหมเป็นอัครมหาเสนาบดี ดูแลราชการทหารท่ัวอาณาจักร ขณะที่ฝ่ายพลเรือน มีสมุหนายกเป็น อคั รมหาเสนาบดี ดแู ลราชการพลเรอื นทว่ั อาณาจกั ร และควบคมุ งานจตสุ ดมภใ์ นราชธานดี ว้ ย ซง่ึ มกี ารเปลยี่ นแปลง ชื่อจตสุ ดมภ์ ดงั น้ี เวยี ง = นครบาล วงั = ธรรมาธกิ รณ์ คลงั = โกษาธิบดี นา = เกษตราธกิ าร “ การปกครองหัวเมือง มีการจัดระบบหัวเมืองแบบใหม่ เปลี่ยนชื่อจากหัวเมืองช้ันในเป็น หัวเมืองช้ัน จัตวา มผี ู้รัง้ จากสว่ นกลางไปปกครอง ส่วนหัวเมืองชัน้ นอก มีการแบง่ ระดับเปน็ หัวเมืองชนั้ เอก โท และตรี ตาม ล�ำดับความส�ำคัญ มีขุนนางจากส่วนกลางไปปกครอง ส่วนหัวเมืองประเทศราชยังคงให้ชาวพ้ืนเมืองปกครอง ตอ่ ไป แต่ตอ้ งสง่ บรรณาการเชน่ เดิม 80 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya
3. การปกครองสมัยอยุธยาตอนปลาย ในรชั สมัยพระเพทราชา ซึ่งปกครองกรุงศรีอยธุ ยาตอนปลาย มกี ารปรับปรงุ ก ารปกครองอีกคร้ัง โดยแบ่งพื้นท่ีการปกครองของอาณาจักรเป็น 3 ส่วน และมอบให้เสนาบดี 3 ต�ำแหน่งเป็น ผู้ดูแล ท้ังในดา้ นพลเรือนและดา้ นทหาร เพือ่ ดลุ อ�ำนาจ ไม่ใหต้ ำ� แหน่งใดมีกำ� ลังมากเกนิ ไปจนน�ำมาสกู่ ารกอ่ กบฏ น่นั เอง “ สมหุ กลาโหม ดูแลหัวเมอื งฝ่ายใต้ทงั้ หมด ทั้งทหารและพลเรือน รวมทง้ั ยังดูแลการทหารในราชธานีดว้ ย “ สมหุ นายก ดแู ลหวั เมอื งฝา่ ยเหนอื ทง้ั หมด ทงั้ ทหารและพลเรอื น รวมทง้ั ยงั คงดแู ลหนว่ ยงายจตสุ ดมภใ์ นราชธานี ด้วย “ พระยาโกษาธิบดีหรือพระคลัง ดูแลหัวเมืองชายฝั่งทะเลตะวันออก ทั้งกิจการทหารและพลเรือน รายได้ของ แผ่นดิน รวมท้งั การค้าขายกบั ต่างประเทศด้วย 3. พฒั นาการด้านเศรษฐกจิ สมยั อยุธยา เศรษฐกจิ สมยั อยธุ ยาขน้ึ อยกู่ ับ 3 อาชีพหลกั ไดแ้ ก่ การเกษตร หตั ถกรรม และการคา้ ซงึ่ ปจั จยั ทส่ี นบั สนนุ ไดแ้ ก่ ทำ� เลทต่ี ง้ั ทอ่ี ดุ มสมบรู ณเ์ หมาะแกก่ ารเกษตร ทงั้ ยงั อยใู่ กลอ้ า่ วไทย เออื้ ตอ่ การคา้ ตดิ ตอ่ กบั ชาวตา่ งชาติ รวมทงั้ อยธุ ยายังมนี โยบายส่งเสรมิ การค้า จงึ มพี อ่ ค้าชาวต่างชาติเข้ามาเป็นจำ� นวนมาก 1 . การเกษตรกรรม ผลผลิตทางการเกษตรที่ส�ำคัญ คือ ข้าว ผู้คนส่วนใหญ่ท�ำนาข้าว แหล่งเพาะปลูกส�ำคัญอยู่ ทร่ี าบลุม่ แมน่ �้ำเจา้ พระยาตอนล่าง โดยเปน็ การเพาะปลูกเพือ่ ยังชีพ หมายถึง เพาะปลูกเพ่ือบรโิ ภคเปน็ ส�ำคญั และ ท่ีเหลอื จึงสง่ ออก นอกจากการสง่ ออกขา้ วแลว้ สินค้าพวกของป่า เชน่ ไม้ฝาง งาช้าง หนังสตั ว์ เปน็ ตน้ ก็เป็นท่ี ต้องการจากตลาดตา่ งชาตมิ าก 2 . การหัตถกรรม มีลักษณะเป็นการผลิตในครัวเรือน สินค้าหัตถกรรมท่ีส่งออกส�ำคัญ คือ เคร่ืองปั้นดินเผาและ เคร่ืองสังคโลก นอกจากนี้ยังมีเคร่ืองทองเหลอื ง เครือ่ งเงนิ เครือ่ งเรอื น การทอผ้าอีกดว้ ย 3. การคา้ สามารถแบ่งเป็นการคา้ ภายในและการคา้ ภายนอกอาณาจกั ร ซง่ึ ถือได้วา่ กรุงศรอี ยุธยาเปน็ ชุมทางการค้า ทมี่ กี ารแลกเปลย่ี นสนิ คา้ ทส่ี ำ� คญั โดยเฉพาะการคา้ กบั ตา่ งประเทศถอื เปน็ รายไดห้ ลกั ของอาณาจกั ร โดยมพี ระคลงั สนิ คา้ เปน็ หนว่ ยงานของรฐั ทำ� หนา้ ทค่ี วบคมุ การคา้ ขายโดยตรงเรยี กวา่ “การผกู ขาดการคา้ ของพระคลงั สนิ คา้ ” ซงึ่ สามารถก�ำหนดราคาตา่ งๆ ได้ ส�ำหรับสินคา้ ทีส่ ง่ ออกมาก คือ ของป่า เช่น เป็นงาชา้ ง ไม้กฤษณา พริกไทย กานพลู เปน็ ตน้ นอกจากน้ียังมีการนำ� เข้าสินค้าประเภท นำ้� หอม พรม อาวธุ ปืน ผ้า เป็นตน้ 4 . รายได้จากการจัดเก็บภาษี อยุธยามีการจัดระบบการจัดเก็บภาษีประเภทต่างๆ คือ 1) จังกอบ = ภาษีผ่านด่าน เ ก็บจากยานพาหนะที่พ่อค้าน�ำสินค้ามา 2) ฤชา = ค่าธรรมเนียมในการติดต่อราชการของประชาชน 3) อากร = ภาษที เี่ ก็บจากประชาชนท่ปี ระกอบอาชพี ตา่ งๆ และ 4) ส่วย = ภาษีท่ีเก็บจากราษฎรชายเพื่อชดเชยการเกณฑ์ แรงงาน 4 . พัฒนาการด้านสังคมสมยั อยุธยา 1 . ระบบศักดินา คือ เครื่องก�ำหนดสถานะและบทบาทหน้าที่ของคนในสังคม จะมีตัวเลขก�ำกับและลดหล่ันกัน ลงไป ระบบศกั ดนิ าเรม่ิ ใชใ้ นสมยั พระบรมไตรโลกนาถเมอ่ื มกี ารตรา “พระไอยการตำ� แหนง่ นาพลเรอื นและพระไอยการ ตำ� แหนง่ นาทหารหวั เมอื ง” กำ� หนดใหท้ กุ คนตอ้ งมศี กั ดนิ า ยกเวน้ พระมหากษตั รยิ ์ เพราะถอื วา่ เปน็ เจา้ แผน่ ดนิ และ เปน็ ผพู้ ระราชทานศักดินาให้แก่คนทั้งปวง ระบบศักดินาเป็นเคร่ืองมือสำ� คัญในการควบคมุ ผู้คนตามล�ำดบั ขั้น มกี ารระบฐุ านะของบุคคลอย่างชดั เจน อกี ทัง้ ล�ำดบั ศักดนิ ายังเป็นการระบุหนา้ ทท่ี ี่ตอ้ งท�ำของคนด้วย 2 . โครงสร้างของสังคมไทยสมัยอยุธยา แม้ว่าจะมีระบบศักดินาเป็นเครื่องก�ำหนดล�ำดับขั้นของผู้คนในสังคม ห า กแต่ก็ไม่ใช่เร่ืองผูกขาดตายตัว อย่างเช่นระบบวรรณะของอินเดีย มีการเปล่ียนแปลง เลื่อนข้ันทางสังคมได้ โครงสรา้ งสังคมอยุธยาอาจแบ่งได้ ดังนี้ “ ชนช้นั ปกครอง ได้แก่ พระมหากษตั รยิ ์ เจ้านายเชื้อพระวงศ์ ขนุ นาง ข้าราชการ ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 81
“ ชนชนั้ ถกู ปกครอง ได้แก่ ไพร่ ทาส “ พระสงฆ์ เป็นชนชัน้ ท่ีอยู่ระหวา่ งสองชนช้ัน ได้รบั ความเคารพจากทุกชนชัน้ 3. ระบบไพร่ ไพร่ คอื ราษฎรสามัญ มีหนา้ ทหี่ ลกั คอื เป็นแรงงานใหก้ ับทางราชการโดยไมไ่ ด้คา่ จ้าง แตร่ าชการจะ ใหค้ วามคมุ้ ครอง ไพรท่ ีถ่ กู เกณฑแ์ รงงานจะเปน็ ชายอายุ 18 ปีข้นึ ไป ขน้ึ ทะเบียนกับมูลนายที่ท�ำหน้าทด่ี แู ลควบคมุ ไพรอ่ าจแบง่ เปน็ 2 กลมุ่ คอื 1) ไพร่หลวง = ไพรท่ ีข่ ้นึ ตรงกบั พระมหากษตั ริย์ อีกกลุ่มคอื 2) ไพร่สม = ไพร่ทีส่ งั กดั มูลนายทอี่ าจเปน็ เจ้านายหรอื ขุนนาง 4 . ระบบทาส มีฐานะเป็นแรงงานและทรัพย์สินของเจ้าของทาส น�ำไปซ้ือขายได้ มีฐานะต�่ำสุดในโครงสร้างสังคม อยธุ ยา อาจเกดิ จากการขายตัวเป็นทาส หรือเปน็ ตอ่ จากบดิ ามารดา ทาสเหล่าน้สี ามารถเปน็ ไทไดถ้ า้ มีเงินมาไถ่ตวั ออกไป 5. พฒั นาการด้านการต่างประเทศสมัยอยุธยา อาจแบง่ เปน็ กลมุ่ ดงั น้ี 1 . ความสัมพันธ์กับอาณาจักรเพ่ือนบ้าน ความสัมพันธ์จะเป็นไปในเชิงคู่สงครามเพื่อแข่งขันขยายอาณาเขต รองลงมาเปน็ การคา้ และเรอ่ื งพระพทุ ธศาสนา “ ความสมั พันธก์ บั พมา่ ถอื เป็นคู่สงครามทม่ี ีการรบกนั บอ่ ยคร้งั สาเหตเุ พ่อื แขง่ ขนั แยง่ ชิงความเป็นใหญใ่ นดินแดน แถบน้ี สงครามครงั้ ส�ำคญั ได้แก่ ศึกเชยี งกราน (2081) ถือเปน็ สงครามครัง้ แรกระหว่างสองอาณาจกั ร ในรัชสมัยพระไชย ราชาธริ าช สงครามเสยี กรงุ ศรคี รง้ั ท่ี 1 (2112) สมยั พระมหนิ ทราธริ าช สงครามยทุ ธหตั ถี (2135) ระหวา่ งพระนเรศวรมหาราช กบั พระมหาอปุ ราชของพมา่ และสงครามเสียกรุงศรคี รงั้ ท่ี 2 (2310) สมยั พระเจ้าเอกทัศน์ “ ความสมั พันธ์กับหัวเมืองมอญ ได้แก่ ทวาย มะรดิ ตะนาวศรี เมาะตะมะ และเชียงกราย ที่มคี วามสัมพนั ธใ์ นเชิง การค้า เพราะดินแดนเหลา่ นต้ี ิดกับทะเลฝ่งั อันดามันทร่ี ับสง่ สนิ ค้าสูภ่ ายนอก อีกทงั้ หวั เมอื งเหล่านีย้ ังเป็นพน้ื ทรี่ ะหวา่ งไทย กับพม่าท่ที งั้ คู่พยายามขยายอิทธิพลเหนอื ดินแดนนี้ด้วย “ ความสัมพันธ์กับล้านช้าง หรือประเทศลาวในปัจจุบัน มีความสัมพันธ์ฉันมิตรต่อกัน เพราะมีความใกล้ชิดและ ใกล้เคยี งกนั ในหลายดา้ น อีกทง้ั ยงั เคยรว่ มมอื กนั ต่อตา้ นอำ� นาจของพมา่ ในสมัยพระมหาจกั รพรรดอิ ีกด้วย และในรัชสมัย พระนเรศวร ลา้ นช้างเปน็ ประเทศราชของกรุงศรอี ยธุ ยา “ ความสมั พนั ธก์ บั เขมร เปน็ ไปในลกั ษณะคสู่ งคราม เพราะไทยตอ้ งการเขมรเปน็ ประเทศราช ขณะทญี่ วน (เวยี ดนาม) เองกต็ ้องการพ้นื ท่ีบริเวณนี้เชน่ กัน จึงเกิดการแยง่ ชงิ และตา่ งสลับกันเป็นเมืองขึน้ ไทยและญวน “ ความสัมพันธก์ ับญวน เป็นไปในเชิงการแข่งขนั การเปน็ ใหญ่เหนอื เขมร “ ความสมั พันธ์กับสุโขทัย อาณาจักรอยธุ ยาก่อตั้งในขณะที่สโุ ขทัยยงั เป็นอสิ ระ หากแตเ่ ม่อื อยธุ ยามีความม่ันคงจงึ มีนโยบายเข้าครอบครองสโุ ขทัย อยธุ ยาไดเ้ ข้าไปแทรกแซงการเมอื งภายในสุโขทัยและสามารถผนวกรวมเปน็ ส่วนหนึ่งได้ ส�ำเรจ็ สมัยพระบรมไตรโลกนาถ “ ความสัมพันธ์กับล้านนา เป็นไปในเชิงการสงครามเพ่ือยึดครองล้านนา เพื่อเป็นหน้าด่านป้องกันพม่า รชั สมยั พระบรมไตรโลกนาถเกดิ สงครามใหญร่ ะหวา่ งอยธุ ยากบั ลา้ นนา หากแตไ่ มช่ นะกนั เดด็ ขาด จงึ มกี ารปรบั เปลยี่ นนโยบาย เปน็ มติ รกนั แทน หากแตภ่ ายหลงั ชว่ งใดทอ่ี ยธุ ยาเขม้ แขง็ ลา้ นนากจ็ ะตกเปน็ ของอยธุ ยา บางชว่ งออ่ นแอกเ็ ปน็ ของพมา่ สลบั ไปมา “ ความสมั พนั ธ์กบั หัวเมอื งมลายู ไดแ้ ก่ มะละกา ปตั ตานี ไทรบุรี อยุธยาพยายามแผอ่ ิทธิพลไปในดินแดนแหง่ นี้เพือ่ ควบคมุ มะละกาที่เป็นศนู ย์กลางการคา้ ทางทะเลทส่ี ำ� คัญ อยธุ ยาส่งทพั ไปโจมตีหลายครงั้ แตอ่ ำ� นาจในบรเิ วณนี้ไมม่ ่นั คง เนื่องจากระยะทางทห่ี ่างไกลกนั มาก ก่อนทภ่ี ายหลังหัวเมอื งเหล่านีจ้ ะตกเป็นเมืองข้นึ ของโปรตุเกส 2 . ความสมั พนั ธ์กับอาณาจักรในเอเชยี “ ความสัมพันธ์กบั จีน มคี วามสัมพันธใ์ นฐานะรัฐบรรณาการ ฝา่ ยไทยจะแตง่ ตงั้ คณะทตู ไปถวายเครอ่ื งบรรณาการ แด่พระจกั รพรรดจิ นี เพื่อฝา่ ยจีนอำ� นวยความสะดวกทางการคา้ 82 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
“ ความสมั พนั ธก์ ับญีป่ ่นุ ส่วนใหญ่เก่ยี วขอ้ งกบั การคา้ โดยมชี าวญปี่ ุน่ มาต้ังชุมชนในอยุธยาเพือ่ ประกอบการค้าและ รับราชการดว้ ย 3 . ความสมั พันธก์ บั ชาตติ ะวนั ตก “ ความสัมพันธ์กับโปรตุเกส โปรตุเกสเปน็ ชาตติ ะวนั ตกชาติแรกท่ีเขา้ มาในอยุธยา เนอ่ื งจากเขา้ มาเจรจาเรื่องการ แบง่ ผลประโยชน์เหนอื ดนิ แดนหัวเมอื งมลายู นอกจากน้ียังมคี วามสมั พันธ์ทางการคา้ โดยเฉพาะการซือ้ อาวุธ และจ้างชาว โปรตุเกสเปน็ ทหารอาสา “ ความสมั พนั ธก์ บั ฮอลนั ดา เปน็ ไปในเชงิ การคา้ แตภ่ ายหลงั ฮอลนั ดาใชอ้ ำ� นาจทางการเมอื งและทหารคกุ คามอยธุ ยา ในรัชสมยั พระนารายณ์มหาราชจึงมกี ารเชือ่ มความสมั พันธ์กบั ฝร่งั เศสเพอ่ื ถว่ งดลุ อำ� นาจ “ ความสัมพันธ์กับฝรั่งเศส เป็นไปในเชิงการค้า การเมืองและศาสนา ในระยะแรกมีการเจริญสัมพันธ์เพื่อถ่วง ดุลอ�ำนาจทางการเมืองกับฮอลนั ดา ทำ� ให้ฝรั่งเศสเข้ามามีบทบาททางการเมอื งแทน ท่สี �ำคัญคอื สมยั พระนารายณ์ไดส้ ่ง คณะทตู ไปเจรญิ สมั พนั ธไมตรกี บั พระเจา้ หลยุ สท์ ่ี 14 แหง่ ฝรง่ั เศส ฝรงั่ เศสไดส้ ง่ คณะทตู มามจี ดุ ประสงคส์ ำ� คญั คอื การเผยแผ่ ศาสนาใหเ้ ขา้ รตี และการคา้ เปน็ สำ� คญั ในรชั สมยั พระนารายณช์ าวฝรง่ั เศสมบี ทบาทในราชสำ� นกั อยธุ ยามาก จนภายหลงั เมอื่ มกี ารเปล่ียนรชั กาลเปน็ พระเพทราชาได้มกี ารกวาดล้างอ�ำนาจของชาวฝรง่ั เศสและยุตคิ วามสัมพนั ธล์ ง สรุปภาพรวมและความส�ำคญั ของประวตั ิศาสตรส์ มยั อยธุ ยา ดา้ นเศรษฐกจิ - เกษตรกรรม เพาะปลูกมาเปน็ อันดับหนึ่ง ท�ำเลทต่ี ้งั เหมาะสม ดา้ นการเมืองการปกครอง - การค้า เป็นท�ำเลใกล้ทะเล อยู่ระหว่างจีนและอินเดีย ของป่า - กษตั รยิ เ์ ปน็ เทวราชาหรอื สมมตเิ ทพ เป็นสินคา้ ออกจ�ำนวนมาก มีการคา้ ผูกขาดกบั พระคลงั สินค้า จากความเช่ือฮินดู 33 พระองค์ - เกบ็ ภาษี 4 รูปแบบ คอื จกอบ ฤชา อากร และส่วย จาก 5 ราชวงศ์ - มีการจัดรูปแบบการปกครอง ประวัตศิ าสตร์ ดา้ นสังคมและวฒั นธรรม อาณาจกั รหลายชว่ ง ทเี่ ดน่ ๆ คอื ใน สมัยอยธุ ยา - ระบบศกั ดินาเป็นตัวกำ� หนดบทบาทและ เมืองหลวงมี “จตสุ ดมภ”์ ดแู ล หน้าที่ของคนในสังคม ทุกคนต้องมี - สมหุ กลาโหม VS สมหุ นายก ตอนแรก ศักดนิ า ยกเวน้ กษตั ริย์ กลาโหมดทู หารอยา่ งเดียว นายก - แบ่งเป็นชนชั้นปกครองและชนชั้นถูก ดพู ลเรอื นอยา่ งเดยี ว พอตอนหลงั ปกครอง มีพระสงฆ์เช่ือมทั้งสองช้ัน หน่ึงต�ำแหน่งดูท้ังสองอย่างแต่ เขา้ ดว้ ยกัน แบ่งพ้นื ท่ีเหนือ-ใต้แทน - ระบบไพร่= การเกณฑ์แรงงานโดย ด้านความสัมพันธ์ระหวา่ งประเทศ ไมเ่ สียเงนิ - พม่าเปน็ ค่สู งครามส�ำคญั เพื่อการขยายเขตอิทธพิ ล - ระบบทาส - พยายามยดึ ลา้ นนา แยง่ กบั พมา่ พยายามยดึ เขมร แยง่ กบั ญวณ - โปรตุเกสเป็นฝรั่งชาติแรกที่เข้ามา ฮอลันดาเข้ามาเอา ฝร่งั เศสถ่วงดุล - ยังรักษาระบบรฐั บรรณาการกับจีน ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 83
พัฒนาการของอาณาจกั รธนบุรี (พ.ศ. 2310 - 2325) 1. การสถาปนาอาณาจกั รธนบุรี ภายหลงั เสียกรุงครัง้ ที่ 2 ปี 2310 พระยาตาก (สิน) ไดน้ ำ� กำ� ลงั กอบก้บู า้ นเมืองไดส้ ำ� เรจ็ ภายในเวลา 7 เดือน หากแต่ อยุธยาไม่อาจเป็นราชธานีไดอ้ กี ตอ่ ไป เนื่องจากได้รบั ความเสยี หายอยา่ งหนัก ข้าศึกรูจ้ ักอยธุ ยาเปน็ อยา่ งดี หากจะยกทพั กลบั มาตีอีกคร้งั ประกอบกบั ก�ำลังคนในเวลาน้นั ไม่สามารถควบคมุ เมืองอยธุ ยาไดท้ ้ังหมด นำ� มาสู่การเลอื กทำ� เลใหม่ในการ ตง้ั ราชธานี คือ “ธนบุรี” เน่อื งจากเปน็ เมืองขนาดเลก็ มีป้อมปราการเดิมอยู่แลว้ ต้ังอยูใ่ กลป้ ากแม่น้�ำ ใกลท้ ะเลตดิ ต่อกับ ตา่ งชาตสิ ะดวกกวา่ อยธุ ยา อกี ทง้ั ยงั เปน็ พนื้ ทท่ี อ่ี ดุ มสมบรู ณ์ ดงั นน้ั พระยาตากจงึ ไดส้ ถาปนากรงุ ธนบรุ เี ปน็ ราชธานี มพี ระนาม ว่า สมเด็จพระบรมราชาที่ 4 หรอื พระเจ้ากรุงธนบรุ ี แม้เป็นระยะเวลาเพียง 15 ปี หากแต่ธนบุรีก็เป็นอาณาจักรท่ีเจริญรุ่งเรืองในหลายด้าน เน่ืองจากมีความเข้มแข็ง ทางการทหาร ผนู้ ำ� เปน็ นกั รบทกี่ ลา้ หาญ สามารถรวบรวมดนิ แดนตา่ งๆ ไดด้ งั เดมิ อกี ทง้ั ยงั มกี ารฟน้ื ฟเู ศรษฐกจิ อยา่ งรวดเรว็ แก้ปญั หาการอดอยาก พรอ้ มท้ังยังฟืน้ ฟูพระพุทธศาสนาด้วย 2. พฒั นาการด้านการเมืองและการปกครองสมัยธนบรุ ี ในช่วงตน้ รัชกาล การปกครองสว่ นใหญเ่ ป็นไปเพือ่ ปราบปรามชมุ นมุ คนไทยทต่ี ั้งตัวเป็นอสิ ระภายหลงั กรงุ แตก ซึ่ง ด้วยพระปรีชาสามารถของพระเจ้ากรุงธนบุรีจึงสามารถรวบรวมอาณาจักรเป็นปึกแผ่น ส่วนลักษณะการปกครองยังคง แบบแผนเดมิ สมัยอยธุ ยา มอี ัครมหาเสนาบดี 2 ฝ่าย คอื สมุหกลาโหม ดูแลหัวเมืองใต้ และสมุหนายก ดูแลหัวเมืองเหนอื ทงั้ ดา้ นพลเรอื นและทหาร 3. พฒั นาการด้านเศรษฐกิจ ในชว่ งแรกมนี โยบายแกไ้ ขปัญหาเศรษฐกจิ ฝืดเคอื งหลงั เสยี กรุง พระเจา้ กรุงธนบุรีจงึ แกไ้ ขปญั หาต่างๆ เพอ่ื บรรเทา ปัญหาเฉพาะหน้าเป็นหลกั เช่น พระราชทานทรพั ย์แกร่ าษฎร สง่ เสริมราษฎรทำ� นาปีละ 2 ครง้ั ปราบปรามโจรผูร้ ้ายอยา่ ง เข้มงวด เปน็ ตน้ 4. พัฒนาการด้านสงั คม ลักษณะสังคมเหมือนกับสมัยอยุธยา มีศักดินาแบ่งแยกฐานะของผู้คนอย่างชัดเจน หากแต่ในสมัยน้ีมีการควบคุม กำ� ลังคนอย่างเขม้ งวดเนอ่ื งจากบา้ นเมืองยงั อยใู่ นภาวะสงคราม 5. พฒั นาการด้านความสมั พันธก์ ับตา่ งประเทศ 1. ความสัมพนั ธ์กับพม่า เป็นไปในความขัดแย้งและการท�ำสงคราม ที่มกี ารทำ� สงครามแทบจะตลอดรชั สมัย 2. ความสัมพนั ธ์กับเขมร ธนบรุ ีพยายามจะแสดงความเป็นใหญ่เหนอื เขมร และแข่งขนั ทางอ�ำนาจกบั ญวน รวมทงั้ 84 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
พยายามแทรกแซงการเมอื งภายในเขมร โดยการยกทพั ไปควบคุมจลาจลที่เกดิ จากการแย่งชงิ อ�ำนาจในเขมร 3. ความสัมพันธ์กับลาว ไทยพยายามให้ลาวอ่อนน้อมถ่อมตน และเป็นเมืองประเทศราช หากเกิดกบฏก็จะยกทัพ ไปปราบ 4. ความสัมพันธ์กับจีน ยังคงสืบต่อการค้าในระบบรัฐบรรณาการ หากแต่ความสัมพันธ์กับจีนในสมัยน้ีมีความ ส�ำคัญในแง่การเมือง คือ การรับรองสถานะความเป็นกษัตริย์ของพระเจ้ากรุงธนบุรีท่ีมาจากการปราบดาภิเษก เพ่ือความมน่ั คงและชอบธรรมของอาณาจกั ร สมัยธนบรุ ีเปน็ ช่วงเวลาสร้างบา้ นเมอื งใหญ่ ยงั อยใู่ นชว่ งสงคราม พระราชกรณียกิจต่างๆ ของพระเจ้ากรุงธนฯ จงึ เปน็ ไปเพอื่ การสงคราม ความมน่ั คง และปากทอ้ งของประชาชนมากกวา่ สว่ นเรอ่ื งอน่ื ๆ ยงั คงใชร้ ปู แบบตามอยธุ ยาอยนู่ น่ั เอง พัฒนาการทางประวัตศิ าสตร์สมยั รตั นโกสนิ ทรต์ อนต้น (รัชกาลที่ 1 - 3) 1. การสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกผู้ปราบกบฏในเขมรได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระมหา กษัตริย์พระองค์ใหม่หลังส้ินแผ่นดินพระเจ้ากรุงธนบุรี ทรงเป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี พระนามว่าพระพุทธยอดฟ้า จฬุ าโลก และไดย้ ้ายราชธานีจากธนบุรมี าอีกฝั่งของแมน่ ำ้� เจา้ พระยา (ฝง่ั ตะวนั ออกของแมน่ ้�ำ) เน่อื งจากความคบั แคบของ พระราชวังเดิม ขยายออกไปได้ยาก ท้ังกรุงธนบุรีเป็นเมืองอกแตก คือ มีแม่น�้ำไหลผ่านกลางเมืองอันเกี่ยวข้องกับจุด ยทุ ธศาสตรใ์ นการสงครามทขี่ า้ ศกึ อาจบกุ เขา้ มากไ็ ด้ ในขณะทพี่ น้ื ทขี่ องราชธานใี หมเ่ ปน็ พน้ื ทรี่ าบลมุ่ ขนาดใหญส่ ามารถขยาย เมืองออกไปได้ในอนาคต และท�ำเลป้องกันขา้ ศกึ ไดด้ กี ว่าดว้ ย สำ� หรบั ปจั จยั ทเี่ กอ้ื หนนุ ใหก้ รงุ รตั นโกสนิ ทรเ์ จรญิ รงุ่ เรอื งตอ่ มา คอื ทำ� เลทตี่ งั้ อยใู่ กลท้ างออกทะเลมากกวา่ เดมิ ทด่ี นิ เหมาะกับการเพาะปลูก และเป็นศูนย์รวมของการเผยแพรท่ างวัฒนธรรมทค่ี นหลายเชอ้ื ชาติอาศัยอยู่ ทงั้ นี้ ในช่วงเวลารตั นโกสินทรต์ อนต้น รชั กาลท่ี 1 - 3 ราชธานีใหม่นยี้ งั คงสบื เนอ่ื งลกั ษณะหลายอยา่ งตอ่ จากธนบรุ ี และอยุธยาอยู่บ้าง และมีการสร้างสรรค์ใหม่ขึ้นด้วย หากแต่จะมีการเปล่ียนแปลงท่ีชัดเจนตั้งแต่รัชกาลท่ี 4 เป็นต้นไปท่ีมี การปรบั ปรงุ ประเทศให้ทันสมัย 2. พัฒนาการด้านการเมืองและการปกครอง มีการปกครองด้วยระบอบกษัตริย์เช่นเดิม ยังคงสถานะสมมติเทพ มพี ระราชอำ� นาจสงู สดุ หากแตม่ กี ารผอ่ นคลายไมเ่ ขม้ ขน้ เหมอื นเชน่ สมยั อยธุ ยา มปี ระมวลกฎหมายทเ่ี รยี กวา่ “กฎหมายตรา สามดวง” เป็นหลักในการปกครองประเทศมาจนถึงรัชกาลที่ 5 จึงมีการใช้ระบบกฎหมายแบบสมัยใหม่ ส่วนการปกครอง สามารถแบง่ เป็นการปกครองสว่ นกลางและส่วนหัวเมอื ง ดงั นี้ 1. การปกครองราชธานี คงมอี คั รมหาเสนาบดี 2 ตำ� แหน่ง คอื สมหุ นายก ทด่ี แู ลงานหัวเมอื งเหนือทั้งทหารและ พลเรือน ส่วนสมุหกลาโหมดูแลหัวเมืองทางใต้ท้ังทหารและพลเรือน นอกจากนี้ยังมีผู้รับผิดชอบงาน จตุสดมภ์ 4 ตำ� แหนง่ ไดแ้ ก่ 1) เจ้าพระยายมราช ดูแลกรมนครบาล = กจิ การตา่ งๆ ในราชธานี 2) เจ้าพระยา ธรรมาธกิ รณ์ ดแู ลกรมธรรมาธิกรณ์ (วัง) = กจิ การราชสำ� นกั และการยุติธรรม 3) เจา้ พระยาพระคลัง ดูแลกรม โกษาธิบดี (หรือเรียกว่า กรมท่า) = กิจการต่างประเทศและการคลัง และสุดท้าย 4) เจ้าพระยาพลเทพ ดูแล เกษตราธกิ าร 2 . การปกครองหวั เมอื ง แบ่งระดับความสำ� คญั ของหัวเมือง ทีใ่ กลช้ ิดสดุ คอื หัวเมอื งช้นั ใน มผี ู้รง้ั จากส่วนกลาง ไปปกครอง ถดั มาเปน็ หัวเมืองช้นั นอก แบง่ เปน็ หัวเมืองเอก โท ตรี และถัดไปเป็นประเทศราชท่ีเจ้าเมืองท้องถ่นิ ปกครองกันเอง แตต่ อ้ งสง่ บรรณาการมาถวาย 3 . พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ เศรษฐกิจในช่วงรัตนโกสินทร์ตอนต้นยังคงเป็นแบบยังชีพเช่นเดียวกับอยุธยา การ เพาะปลูกเปน็ อาชีพหลักของคนไทย พืชส�ำคญั คอื ข้าว นอกจากน้รี ะบบการผกู ขาดการคา้ โดยพระคลังสินค้ายงั คงมีอยู่ ราย ได้ของรัฐมาจากภาษอี ากรประเภทต่างๆ ในสมัยรชั กาลที่ 3 เศรษฐกิจรตั นโกสนิ ทรร์ ุ่งเรอื งมาก ที่มีความสมั พนั ธท์ างการค้า ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 85
กบั จนี อยา่ งมาก นอกจากนยี้ งั มกี ารจดั เกบ็ ระบบภาษแี บบใหมเ่ รยี กวา่ “ระบบเจา้ ภาษนี ายอากร” ใหเ้ อกชนเขา้ มาประมลู เกบ็ ภาษีอากรแทนรัฐ ซึง่ กค็ ือกลุ่มชาวจีน เพื่อให้เก็บภาษไี ดเ้ ตม็ เม็ดเต็มหนว่ ย 4. พฒั นาการดา้ นสงั คม สภาพสงั คมตน้ รตั นโกสนิ ทรย์ งั คงเปน็ สงั คมศกั ดนิ า เชน่ อยธุ ยา มกี ารแบง่ ฐานะและชนชน้ั ของผู้คนเปน็ 6 กลุ่ม คือ พระมหากษัตรยิ ์ เจ้านาย-เช้อื พระวงศ์ ขุนนาง-ขา้ ราชการ พระสงฆ์ ไพร่ และทาส ทง้ั น้ี โครงสร้าง ทางสงั คมยงั คงคลา้ ยกบั ในอดตี เพยี งแตก่ ารเกณฑแ์ รงงานไมไ่ ดจ้ ำ� เปน็ มากดงั แตก่ อ่ นเพราะมแี รงงานจีนอพยพมาจำ� นวน มาก นอกจากนใ้ี นชว่ งเวลาตน้ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ พระพทุ ธศาสนามคี วามรงุ่ เรอื ง มกี ารสรา้ งและปฏสิ งั ขรณว์ ดั วาอารามจำ� นวน มาก รวมทัง้ สมัยรัชกาลที่ 1 มีการสังคายนาพระไตรปฎิ กดว้ ย 5. พัฒนาการดา้ นความสมั พนั ธ์กับตา่ งประเทศ 1. ความสัมพนั ธก์ ับอาณาจักรเพ่อื นบา้ น “ ความสมั พนั ธ์กบั พมา่ ยงั เป็นคู่สงครามกนั เชน่ เดิม มีสงครามคร้ังใหญ่ คอื สงครามเก้าทัพสมยั รชั กาลท่ี 1 หากแต่ พม่าเป็นฝ่ายแพ้ไป ไทยกับพม่ารบพุ่งกันน้อยลงเน่ืองจากพม่ามีศึกติดพันกับอังกฤษ กระทั่งยุติลงเด็ดขาดเมื่อพม่าตกเป็น เมอื งข้ึนอังกฤษสมยั รัชกาลที่ 3 “ ความสมั พนั ธก์ บั ลา้ นนา เปน็ ไปในเชงิ การขยายอำ� นาจเหนอื ลา้ นนาเชน่ เดมิ และลา้ นนากช็ ว่ ยไทยในการเปน็ รฐั หนา้ ด่านป้องกนั พม่า และช่วยเหลอื ทางการทหารแกล่ า้ นนา “ ความสัมพนั ธก์ บั เขมร ชว่ งตน้ รตั นโกสนิ ทร์ ไทยยงั คงพยายามยดึ ครองเขมรเพอ่ื เป็นรฐั กนั ชนระหว่างไทยกับญวน สมัยรชั กาลท่ี 1 เขมรเปน็ เมืองขนึ้ ของไทย จนสมยั รชั กาลท่ี 3 เขมรพยายามตง้ั ตนเปน็ อสิ ระไปพงึ่ ญวน น�ำมาสสู่ งครามใหญ่ ระหว่างไทยกับญวน “ ความสมั พนั ธก์ ับญวน (เวยี ดนาม) รัชกาลที่ 1 ทรงโปรดชุบเลยี้ งองเชยี งสอื เจ้านายเชื้อพระวงศ์ของญวนหลังเกดิ กบฏ ภายหลงั องเชยี งสอื กลบั ไปเปน็ กษตั รยิ ต์ งั้ ราชวงศเ์ หงยี น เปน็ มติ รกบั ไทย จนสมยั รชั กาลท่ี 3 เกดิ สงครามใหญเ่ นอื่ งจาก ปัญหาในเขมรยาวกว่า 14 ปี เรียกว่า “สงครามสยามอันนมั ยทุ ธ” จนภายหลังจึงมกี ารเจรจาสงบศกึ “ ความสัมพันธ์กับหัวเมืองมลายู มีฐานะเป็นเมอื งประเทศราชตง้ั แตอ่ ยธุ ยา จนเมอื่ รชั กาลที่ 1 ตั้งราชธานีใหม่ได้ยก ทพั ไปปราบปตั ตานไี ดส้ ำ� เรจ็ ภายหลงั หวั เมอื งมลายพู ยายามจะแยกตนเปน็ อสิ ระอยเู่ สมอ ทำ� ใหส้ ว่ นกลางปรบั ปรงุ การบรหิ าร งานให้อยภู่ ายใตก้ ารดูแลของหวั เมืองใหญข่ องภาคใตโ้ ดยตรง “ ความสมั พันธ์กับลา้ นช้าง (ลาว) เป็นประเทศราชของไทยและเปน็ มติ รประเทศกบั ไทย สมัยรชั กาลที่ 3 เจา้ อนุวงศ์ แหง่ เวยี งจนั ทนพ์ ยายามจะแยกตนเปน็ เอกราชยกทพั มาตหี วั เมอื งภาคอสี าน แตถ่ กู ปราบในทส่ี ดุ เหตกุ ารณน์ ที้ ำ� ใหเ้ กดิ วรี สตรี คือ ท้าวสรุ นารี 2. ความสมั พันธ์กบั ชาตติ ะวนั ตก ท่ีส�ำคัญคือ ควา มสัมพันธ์กับอังกฤษ เป็นความสัมพันธ์ทางการทูตและการค้า และมีการเข้ามามีบทบาททางการ เมืองเนอ่ื งจากผลประโยชน์เกย่ี วกับหวั เมอื งมลายู อังกฤษได้ส่งทูตหลายชดุ เขา้ มาเจรญิ สมั พันธไมตรกี บั ไทย ทส่ี �ำคญั คือ ใน รชั กาลที่ 3 องั กฤษสง่ เฮนรี เบอรน์ ี (Henry Burney) มาเจรจาเพอ่ื ลงนามในสนธสิ ญั ญาทเี่ รยี กวา่ สญั ญาเบอรน์ ี ซง่ึ เปน็ สญั ญา กบั ตะวันตกฉบบั แรก และเปน็ สัญญาไทยไม่เสียเปรียบ โดยสรปุ แล้ว สมัยรัตนโกสนิ ทรต์ อนตน้ ยังมหี ลายอย่างคลา้ ยกับอยธุ ยา จดุ เด่นของสมัยน้ี ได้แก่ ด้านการปกครอง กษตั รยิ ์มไิ ดด้ �ำรง สถานะเทวราชาแบบเตม็ ทอ่ี ยา่ งอยุธยา ดา้ นเศรษฐกจิ เนน้ การคา้ ส�ำเภากบั จีน มรี ะบบเจา้ ภาษนี ายอากร ด้ านสังคมและวฒั นธร รม มีการท�ำนบุ �ำรงุ ศาสนา โดยเฉพาะการสร้างวัดวาอารามจ�ำนวนมากและสงั คายนาพระไตรปิฎก ดา้ นการตา่ งประเทศ ชาตติ ะวนั ตกเรม่ิ เขา้ มามอี ทิ ธพิ ล ทำ� สนธสิ ญั ญากบั ฝรงั่ การศกึ กบั เพอ่ื นบา้ นเรม่ิ นอ้ ยลงอยา่ งเหน็ ไดช้ ดั 86 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya
พฒั นาการทางประวัติศาสตร์สมัยปรับปรงุ และปฏริ ปู ประเทศให้ทนั สมยั การปรับปรุงประเทศให้ “ทนั สมยั ” คอื การทำ� ประเทศใหเ้ ปน็ ตะวนั ตกหรอื เปน็ ฝรั่ง เริ่มตง้ั แตส่ มัยรัชกาลที่ 4 เปน็ ต้น มา และโดดเด่นอย่างมากสมยั รชั กาลท่ี 5 โดยมปี ัจจยั ส�ำคญั ท่ีทำ� ใหไ้ ทยต้องเปลี่ยนแปลงตัวเองให้ทนั สมัย คอื ชว่ งเวลาดัง กลา่ วเป็นชว่ งเวลาของลัทธิจกั รวรรดินยิ ม ชาวตะวนั ตกต่างพยายามมาลา่ อาณานคิ มนอกยุโรป ชนชัน้ น�ำสยามจ�ำเป็นตอ้ ง ปรบั ปรงุ ประเทศเพอ่ื ใหต้ ัวเองศิวไิ ลซ์ป้องกนั การเขา้ มาของชาตติ ะวนั ตก พระมหากษัตริย์ พระราชวงศ์และชนชั้นนำ� ไทยให้ ความสนใจกบั วิทยาการสมยั ใหมแ่ บบตะวันตก ยอมรบั ความกา้ วหน้าต่างๆ ได้รับการศกึ ษาแบบตะวันตก มองเหน็ วา่ ภาษา องั กฤษจะเปน็ กุญแจส�ำคัญไปสู่ความรเู้ พ่ือใหส้ ยามศิวิไลซน์ นั่ เอง 1. การปรบั ปรุงและปฏริ ปู ดา้ นการเมืองการปกครอง การปรบั ปรุงในชว่ งรัชกาลท่ี 4 ยังไม่เด่นชัดมากนัก แต่จะ ปรากฏอย่างชัดเจนสมัยรัชกาลท่ี 5 เรียกว่าเป็นการปฏิรูปแบบพลิกแผ่นดินก็ว่าได้ การปฏิรูปประเทศในสมัยรัชกาลท่ี 5 สามารถแบ่งเป็น 2 ช่วง คือ ช่วงแรกเป็นช่วงต้นรัชกาล ที่พระองค์ยังไม่บรรลุนิติภาวะ และขุนนางรุ่นเก่ายังมีอิทธิพล อยู่มาก ส่วนชว่ งทสี่ องเปน็ ชว่ งท่ีพระองค์มีอ�ำนาจในการบรหิ ารประเทศไดอ้ ยา่ งเต็มที่ ไปในแนวทางของชาตติ ะวันตก ซ่งึ จุดประสงค์ส�ำคัญของการปฏิรูปแบบพลิกแผ่นดิน คือ การรวมอ�ำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง (กรุงเทพฯ และพระมหากษัตริย์) อยา่ งแท้จริง อีกทง้ั ยงั เปน็ การปฏิรูปเพือ่ ให้สยามทนั สมัยตามแบบตะวันตกดว้ ย ในช่วงแรกทพ่ี ระองค์ขึ้นครองราชย์ เปน็ การเนน้ การวางรากฐานอ�ำนาจใหแ้ กก่ ษัตริยเ์ จ้านายและขนุ นางแบง่ เปน็ 2 ความคดิ คือ หัวใหม่ กับ หัวเกา่ ซงึ่ พวกกลมุ่ หัวใหมพ่ ยายามจะพัฒนาประเทศไปแบบตะวนั ตก ขณะทอ่ี กี ฝา่ ยจะพยายาม รักษาสิ่งเดมิ ๆ รัชกาลท่ี 5 ทรงพยายามประนีประนอมโดยจดั ตง้ั สภา 2 สภา คือ สภาท่ปี รกึ ษาราชการแผ่นดนิ (Council of State) ให้อ�ำนาจกับขุนนางรุ่นเก่า ขณะท่ีขุนนางรุ่นใหม่ รุ่นราวคราวเดียวกับรัชกาลที่ 5 จะนั่งอยู่ใน สภาองคมนตรี (Privy Council) เปน็ ทป่ี รกึ ษาสว่ นพระองค์ และปฏบิ ตั งิ านตามพระราชประสงค์ อยา่ งไรกด็ ี การทำ� งานยงั ไมป่ ระสบผลสำ� เรจ็ เท่าท่คี วรนัก ในชว่ งทสี่ อง เป็นการปฏริ ูปการปกครองเพอื่ รวมอ�ำนาจเข้าสกู่ ษตั ริย์ในแทบทุกด้านและมรี ะบบการบรหิ ารราชการ แผ่นดินแบบใหม่แทนแบบเดิมทใี่ ช้กันมาตง้ั แต่อยธุ ยา ได้แก่ • ระบบบริหาร ราชการส่วนกลาง ยกเลิกจตุสดมภ์ และน�ำระบบ “กระทรวง” มาใช้แทน โดยแต่ละกระทรวงมี เสนาบดเี ปน็ ผบู้ รหิ ารสงู สดุ และจะมกี ารประชมุ เสนาบดสี ภารว่ มกนั เชน่ เดยี วกบั การประชมุ คณะรฐั มนตรใี นปจั จบุ นั โดยแรก เร่ิมมี 12 กระทรวง เชน่ มหาดไทย ดูแลหัวเมืองเหนอื และเมืองลาว กลาโหม ดแู ลหัวเมืองใต้ หัวเมืองตะวันออก และเมือง มลายา ธรรมการ ดแู ลเรอ่ื งการศกึ ษา สาธารณสขุ และสงฆ์ มรุ ธาธกิ าร ดแู ลการรกั ษาตราแผน่ ดนิ และงานระเบยี บสารบรรณ ฯลฯ ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 87
• ระบบบรหิ ารราชการส่วนภูมภิ าค ทรงยกเลกิ ระบบเมืองตามแบบเกา่ และจดั รปู แบบใหม่โดยรวมหวั เมอื งต่างๆ เป็น “มณฑล” มีข้าหลวงเทศาภิบาล/สมุหเทศาภิบาลเป็นผู้ปกครองมณฑลขึ้นตรงต่อส่วนกลาง แต่ข้าหลวงก็ส่งมาจาก ส่วนกลาง มิใช่เป็นเจา้ เมอื งทอ้ งถิ่นแบบเดิม เพอ่ื ใหร้ ฐั บาลสว่ นกลางสามารถดูแลและด�ำเนินนโยบายไดอ้ ย่างเต็มที่ ทำ� ให้ สว่ นกลางคือ กรงุ เทพฯ และกษตั ริย์มีอำ� นาจมาก และเจ้าเมืองเดมิ เสยี อำ� นาจ นำ� มาสูก่ ารกอ่ กบฏและตอ่ ต้านจากเจา้ เมือง ตา่ งๆ ดว้ ย • ระบบบริหารราชการส่วนท้องถน่ิ ทรงจดั รปู แบบการปกครองท่เี รียกวา่ “สุขาภิบาล” เพื่อใหป้ ระชาชนรจู้ ักพ่งึ พา และชว่ ยเหลอื ตนเอง ถอื ว่าเป็นการวางรากฐานประชาธิปไตยในระดับท้องถิ่น นอจากนยี้ งั มี การปฏริ ปู การศาลและกฎหมาย ทรงจดั ใหม้ กี ารปรบั ปรงุ ศาลไทยใหเ้ ปน็ ทยี่ อมรบั ในสายตาชาวตะวนั ตก เนื่องจากแต่เดมิ ตะวันตกไม่เช่ือถือในระบบศาลแบบเดิม ไมย่ อมขน้ึ ศาลไทย อกี ทง้ั ยังมีการออกกฎหมายตามลกั ษณะสากล ในสมัยรัชกาลที่ 6 - 7 นัน้ เป็นชว่ งเวลาท่ีมีการตอ่ ยอดจากสมยั รชั กาลท่ี 5 โดยทั้งสองพระองคท์ รงสำ� เร็จการศกึ ษา จากประเทศองั กฤษ ท้งั สองพระองค์ทรงมีพระบรมราโชบายในการปกครองตามแบบตะวนั ตก เพอ่ื พัฒนาสยามใหท้ ันสมัย เชน่ สมัยรัชกาลท่ี 6 ทรงยุบรวมกระทรวงท่ที ับซอ้ นกันต้ังกระทรวงใหม่ รวมท้งั ยุบระบบมณฑลและจดั ต้งั ‘ภาค’ ขึน้ มาใช้ บรหิ ารราชการแผน่ ดนิ แทน และสมยั รัชกาลที่ 7 ทรงจัดต้ัง อภริ ฐั มนตรสี ภา เปน็ ทีป่ รกึ ษาในพระองค์และราชการแผน่ ดนิ โดยเปน็ เจา้ นายชนั้ สงู ในพระราชวงศเ์ พมิ่ เตมิ จาก องคมนตรสี ภา ทจ่ี ะดแู ลเรอื่ งสว่ นพระองค์ และเสนาบดสี ภา ดแู ลกระทรวง ตา่ งๆ ทส่ี ำ� คญั พระองคท์ รงมพี ระราชดำ� รจิ ะพระราชทานรฐั ธรรมนญู ใหแ้ กป่ ระชาชนสยามในวนั ท่ี 6 เมษายน 2475 เพอ่ื เฉลมิ ฉลองครบรอบ 150 ปี กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ แตถ่ กู คัดคา้ นจากเจ้านายผู้ใหญ่ และอกี ไม่กี่เดือนต่อมากเ็ กิดการเปล่ยี นแปลงการ ปกครองโดยคณะราษฎร 2. การปรับปรุงและปฏิรูปด้านเศรษฐกิจ สนธิสัญญาเบาว์ร่ิงท่ีท�ำขึ้นสมัยรัชกาลที่ 4 ถือเป็นจุดเปล่ียนส�ำคัญต่อ เศรษฐกจิ ไทย เนือ่ งจากสนธสิ ญั ญานี้ได้ทำ� ลายระบบผกู ขาดการค้าโดยพระคลังสินคา้ เกดิ การคา้ เสรแี ละเศรษฐกิจแบบส่ง ออกเขา้ มาแทนท่รี ะบบเศรษฐกจิ แบบยังชพี เกดิ ระบบเศรษฐกจิ แบบเงินตรา มชี าวต่างชาตจิ �ำนวนมากเข้ามาติดต่อค้าขาย อยา่ งกวา้ งขวาง สมัยรัชกาลท่ี 5 มีการปฏิรูประบบการเงิน การคลัง คือ การจัดต้ังหอรัษฎากรพิพัฒน์ เก็บรวบรวมรายได้ของ แผน่ ดนิ ไวท้ แี่ หง่ เดยี ว ยกเลกิ ระบบเจา้ ภาษนี ายอากรอยา่ งเกา่ มกี ารจดั ทำ� งบประมาณแผน่ ดนิ เพอ่ื วางแผนรายจา่ ย ทรงแยก เงินส่วนพระองคอ์ อกจากเงินของแผน่ ดนิ มิให้ปะปนกนั มกี ารใช้ระบบเงินตราแบบใหม่ คอื บาทและสตางค์ จดั ตั้งธนาคาร พาณิชย์ ตลอดจนปรบั ปรุงการเกษตรและระบบชลประทาน ไปจนถงึ ระบบการคมนาคมขนสง่ ต่างๆ อย่างไรกด็ ี ในสมยั รชั กาลท่ี 6 ประสบปัญหาการคลงั อย่างหนักเนื่องจากรายไดแ้ ผ่นดินต�ำ่ ประกอบกบั ภยั น้ำ� ท่วม ฝนแลง้ ทำ� ใหไ้ มม่ ผี ลผลติ ทางการเกษตร ปญั หาเศรษฐกจิ นสี้ ง่ ผลสบื เนอื่ งตอ่ ไปในรชั กาลท่ี 7 ทเี่ ปน็ ชว่ งหลงั สงครามโลกครง้ั ที่ 1 เศรษฐกจิ ตกตำ่� ทว่ั โลก นำ� มาสกู่ ารปลดพนกั งานราชการออก ซงึ่ เปน็ สาเหตหุ นงึ่ ใหค้ นไมพ่ อใจและนำ� มาสกู่ ารเปลยี่ นแปลง การปกครอง 3. การปรับปรุงและปฏริ ูปด้านสังคม ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีเหตุการณส์ �ำคญั คอื 1. การยกเลิกระบบไพร่ เป็นการเปลี่ยนฐานะของราษฎรชาวไทยจากการเกณฑ์แรงงานมาเป็นแรงงานเสรี มีอิสระในการด�ำเนินชีวิต จุดประสงค์เพื่อให้เกิดแรงงานในสภาพสังคมท่ีเปลี่ยนแปลง และเปลี่ยนจาก การเกณฑ์ไพร่พลแบบเดิมเป็นกองทหารอาชีพ ซึ่งไพร่ถือเป็นฐานก�ำลังของมูลนาย การยกเลิกระบบไพร่ ได้มกี ารจดั ตั้งกรมทหารเพ่อื ฝกึ ทหาร ใหไ้ พรม่ าสมคั รเปน็ ทหาร สุดทา้ ยทถี่ ือเปน็ การสิน้ สุดระบบไพร่ คือ พ.ร.บ.ลักษณะการเกณฑ์ทหาร ร.ศ.124 ให้ชายไทยทุกคนตอ้ งเกณฑ์ทหาร 2. การเลิกทาส ถือเป็นยกเลิกสญั ลกั ษณข์ องความป่าเถอ่ื น กดข่แี ละไร้เมตตา รัชกาลที่ 5 ทรงโปรดให้มีการ เลิกทาสแบบคอ่ ยเป็นค่อยไป ใชเ้ วลากวา่ 30 ปี ทาสจึงจะหมดไปโดยสมบรู ณ์ เพ่ือป้องกนั การตอ่ ตา้ น 88 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
3 . การปฏิรูปการศึกษา ในสมัยรัชกาลท่ี 5 ทรงมีการจัดระบบการศึกษาแผนใหม่แบบตะวันตก มีการจัดตั้ง โรงเรยี นตา่ งๆ เพอื่ เพม่ิ กำ� ลงั คนมาพฒั นาบา้ นเมอื ง เรมิ่ จากโรงเรยี นพระตำ� หนกั สวนกหุ ลาบสำ� หรบั เจา้ นาย ก่อนจะขยายมาเป็นโรงเรียนส�ำหรับราษฎรท่ัวไป คือ โรงเรียนวัดมหรรณพาราม ก่อนจะขยายไปตาม หัวเมืองต่างๆ นอกจากน้ียังมีการจัดต้ังกระทรวงธรรมการดูแลการศึกษา ซ่ึงต่อมาในรัชกาลที่ 6 การศกึ ษาไดข้ ยายตัวไปจนถงึ ระดับอุดมศึกษา และมีการศกึ ษาภาคบงั คับส�ำหรับคนไทยด้วย 4. การตา่ งประเทศในชว่ งลทั ธอิ าณานคิ ม ในชว่ งรชั กาลท่ี 4 - 5 เปน็ ชว่ งเวลาทโี่ ลกตะวนั ตกตา่ งแสวงหาอาณานคิ ม กั นทั่วโลก และประเทศเพ่ือนบ้านหลายประเทศตกเป็นเมืองข้ึนของตะวันตกโดยเฉพาะอังกฤษกับฝร่ังเศส เป็นท่ีทราบดี ว่า สยามเป็นดนิ แดนเดยี วในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตท้ ี่เปน็ เอกราชในขณะทีป่ ระเทศอ่ืนตกเปน็ อาณานคิ ม นโยบายการตา่ ง ประเทศของไทยในชว่ งเวลาดงั กลา่ วจงึ เปน็ สง่ิ สำ� คญั เพอื่ การรกั ษาเอกราช ทส่ี ำ� คญั คอื การใชว้ ธิ ปี ระนปี ระนอม ยอมเสยี สละ บางสว่ นเพอ่ื รกั ษาสว่ นใหญ่ อกี ทง้ั ยงั ตอ้ งปฏริ ปู ประเทศเพอ่ื ไมใ่ หเ้ ปน็ ขอ้ อา้ งไดว้ า่ สยามไมศ่ วิ ไิ ลซ์ ซงึ่ จะอธบิ ายความสมั พนั ธ์ กบั ประเทศทส่ี �ำคญั คือ 1. ความสัมพันธ์กับอังกฤษ รัชกาลท่ี 4 ทรงลงนามในสนธิสญั ญาเบาว์รง่ิ เป็นสญั ญาทีฝ่ ่ายไทยเสียเปรียบ ไมว่ ่าจะ เปน็ การจ�ำตอ้ งยกเลิกการผกู ขาดการคา้ สญั ญาไมม่ ีก�ำหนดระยะเวลา และต้องเสยี สทิ ธิสภาพนอกอาณาเขต (เสยี เอกราช ทางการศาล) = ถา้ คนในบังคับองั กฤษทำ� ผดิ ไมต่ ้องขนึ้ ศาลไทย ใหข้ น้ึ ศาลอังกฤษ แต่อย่างไรกด็ ี สญั ญาฉบับนีก้ ็ส่งผลต่อ การเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจและสงั คมอยา่ งมากตามที่กลา่ วไปแลว้ สำ� หรับในสมัยรชั กาลท่ี 5 สยามเสยี ดนิ แดนให้แกอ่ งั กฤษ คอื หัวเมอื งมลายู ไดแ้ ก่ ไทรบรุ ี กลันตัน ตรงั กานู และ ปะลิส 2 . ความสัมพันธ์กับฝร่ังเศส สมัยรัชกาลที่ 4 สยามเสียกัมพูชาให้ฝรั่งเศส โดยยังมีอ�ำนาจเหนือพระตะบองและ เสี ย มราฐ ซึ่งต่อมาสมัยรัชกาลท่ี 5 ฝรง่ั เศสตอ้ งการขยายอำ� นาจเหนอื ลาวและกัมพชู าทง้ั หมด จึงใช้วธิ ีการบีบบงั คบั ไทย เหตกุ ารณ์สำ� คญั คอื วกิ ฤตการณ์ ร.ศ. 112 ทฝี่ รั่งเศสนำ� กองทัพเรอื มาปิดอา่ วไทย ทำ� ใหร้ ัชกาลท่ี 5 ยอมเสยี ดนิ แดน ได้แก่ สิบสองจุไทย ดินแดนฝา่ ยซา้ ยและขวาของแมน่ ้ำ� โขง รวมทั้งพระตะบอง เสียมราฐ และศรีโสภณแกฝ่ รง่ั เศส สรุปประเด็นสำ� คญั ในชว่ งปรับปรงุ ประเทศใหท้ ันสมยั สาเหตุสำ� คัญ ดา้ นการเมืองการปกครอง ดา้ นสงั คมและวัฒนธรรม การลา่ อาณานิคม ต้องการพสิ จู นว์ า่ - รัชกาลที่ 5 รวมอ�ำนาจเข้าสู่ศนู ย์กลาง - ยกเลิกระบบไพร่และทาส ไทยเปน็ อารยะ โดยการปฏิรปู ตาม ช่วงแรกต้ังสภาสองสภาแต่ไม่ประสบ - ปฏิรปู การศกึ ษาตามแบบตะวันตก แบบฝรงั่ ความส�ำเรจ็ เทา่ ทีค่ วร - ช่วงหลงั ทรงยกเลกิ ระบบเกา่ และตงั้ ด้านเศรษฐกิจ ด้านความสัมพันธก์ บั ตา่ งประเทศ ระบบใหม่ คือ - สนธสิ ญั ญาเบาว์ริ่ง—จดุ เริ่มตน้ ของ - เสยี ดินแดนหวั เมอื งมลายูใหอ้ ังกฤษ • สว่ นกลาง ยกเลกิ จตสุ ดมภ์ ตง้ั กระทรวง เศรษฐกจิ ทนุ นยิ มแทนทเี่ ศรษฐกจิ ยงั ชพี - เสยี ลาว เขมรให้แกฝ่ ร่งั เศส รวมทั้ง • ส่วนภมู ภิ าค ยกเลิกระบบหวั เมือง - รัชกาลที่ 5 ต้งั หอรัษฎากรพพิ ัฒน์ เกดิ วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 ดว้ ย รวมเป็นมณฑล • ส่วนท้องถิน่ จัดตง้ั สุขาภิบาล ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 89
พฒั นาการประวัตศิ าสตร์ไทยสมัยประชาธปิ ไตย 1. การเมอื งและการปกครองสมยั ประชาธิปไตย 1 . การเปลยี่ นแปลงการปกครอง 2475 ในเชา้ วนั ท่ี 24 มถิ นุ ายน 2475 คณะผกู้ อ่ การทช่ี อ่ื วา่ “คณะราษฎร” ทป่ี ระกอบ ดว้ ยฝา่ ยทหารและฝา่ ยพลเรอื นไดท้ ำ� การยดึ อำ� นาจเปลย่ี นแปลงการปกครองไดส้ ำ� เรจ็ และไดส้ ง่ คำ� กราบบงั คมทลู ไปถงึ รชั กาล ที่ 7 ให้ทรงยอมรบั การก่อการครง้ั น้ี ซึง่ ผลปรากฏว่า รชั กาลที่ 7 ทรงไมต่ อ้ งการใหเ้ กิดการตอ่ สู้กลางเมือง อีกทัง้ ทรงมีพระ ราชดำ� รจิ ะพระราชทานรฐั ธรรมนญู ใหป้ ระชาชนสยามอยแู่ ลว้ ดงั นนั้ การเปลยี่ นแปลงการปกครองครงั้ นจี้ งึ เปน็ ไปโดยไมเ่ สยี เลอื ดเน้อื รัชกาลที่ 7 ทรงลงพระปรมาภไิ ธยในรัฐธรรมฉบบั ชัว่ คราว วนั ที่ 27 มถิ ุนายน 2475 ถือเปน็ รัฐธรรมฉบับแรกของ ไทย บคุ คลทเ่ี ปน็ ผเู้ ขา้ รว่ มกอ่ การนนั้ สว่ นใหญเ่ ปน็ นกั เรยี นนอกทไ่ี ปศกึ ษาอยตู่ า่ งแดนและตา่ งตอ้ งการนำ� ความรทู้ ตี่ วั เอง ได้เรียนกลับมาพัฒนาสยามให้เป็นอารยะ ในคณะราษฎรประกอบด้วยฝ่ายทหาร มีพลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา เป็น หัวหนา้ และมนี ายทหารหนมุ่ เชน่ พระยาทรงสุรเดช พระยาฤทธิอคั เนย์ หลวงพบิ ลู สงคราม (แปลก ขตี ตะสังคะ) เป็นตน้ และด้านฝ่ายพลเรอื น มีหลวงประดษิ ฐม์ นูธรรม (ปรดี ี พนมยงค์) เป็นหัวหนา้ สาเหตุสำ� คัญทีน่ �ำมาสู่การเปล่ียนแปลงการปกครองมดี ้วยกนั หลายประการ ดังนี้ “ การศกึ ษาแบบสมยั ใหม่ ทไ่ี ดร้ บั การวางรากฐานมาตง้ั แตส่ มยั รชั กาลท่ี 5 เปน็ ตน้ มา ทำ� ใหเ้ กดิ ชนชนั้ นำ� ทมี่ กี ารศกึ ษา สูง และมีโอกาสไดไ้ ปเลา่ เรียนทต่ี ่างประเทศ โดยน่าสังเกตวา่ สมาชกิ ในคณะราษฎรตา่ งเปน็ นกั เรียนนอกเสียส่วนใหญ่ เช่น ปรดี ี พนมยงค์ หลวงพบิ ลู สงคราม เป็นต้น ซึง่ ผลกค็ ือ คนเหลา่ น้ตี ้องการนำ� ความรูแ้ บบใหม่มาพัฒนาชาตไิ ทยนน่ั เอง “ การแพรอ่ ารยธรรมแบบตะวนั ตกเขา้ สไู่ ทย ซงึ่ ความคดิ ดา้ นการเมอื งการปกครองแบบประชาธปิ ไตยกเ็ ปน็ สว่ นหนง่ึ ที่มากับวทิ ยาการตา่ งๆ ตัง้ แต่สมัยปฏิรูปประเทศ “ การปฏิวัติเปล่ียนแปลงการปกครองในต่างแดน ซ่ึงช่วงเวลาดังกล่าวในหลายประเทศมีการปฏิวัติเปล่ียน การปกครอง เชน่ ในจนี เกดิ การลม้ ราชวงศแ์ ละระบอบจกั รพรรดิ สถาปนาสาธารณรฐั แทน ในตรุ กมี กี ารโคน่ ลม้ ระบอบสลุ ตา่ น รัสเซยี ลม้ ระบอบกษัตริย์ ฯลฯ ซึง่ เปน็ แรงกระตนุ้ ให้นำ� มาสกู่ ารเปลยี่ นแปลงการปกครองของชาวไทยดว้ ย “ สภาวะเศรษฐกิจตกต่�ำอย่างรุนแรงท่ัวโลก หลังสงครามโลกครั้งท่ี 1 เหตุการณ์ดังกล่าวส่งผลต่อสยามด้วย แต่ รัฐบาลสมยั รัชกาลที่ 7 ไม่สามารถแกไ้ ขปัญหาได้ นำ� มาสกู่ าร “ดุล” ข้าราชการออกจากงานเพ่อื ลดรายจา่ ย นำ� มาส่คู วามไม่ พอใจในวงกว้าง “ ความบกพรอ่ งของระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย์ เนอื่ งจากในเวลาดงั กลา่ วระบอบการปกครองแบบเดมิ ไมเ่ หมาะสม กั บสถานการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลงไป สิทธิ เสรีภาพและความเสมอภาคกลายเป็นประเด็นใหญ่ในสังคม รวมทั้งระบอบ ดังกล่าวกไ็ ม่สามารถแก้ไขปัญหาความเดือดรอ้ นแกร่ าษฎรได้ทันทว่ งที ตัวอยา่ งท่ีส�ำคญั คอื การแกไ้ ขปญั หาเศรษฐกจิ ตกตำ�่ นนั่ เอง ภายหลงั เปลยี่ นแปลงการปกครองไดม้ กี ารสถาปนาระบอบรฐั ธรรมนญู และสภาผแู้ ทนราษฎรขน้ึ มพี ระยามโนปกรณ์ นติ ธิ าดา เปน็ ประธานคณะกรรมการราษฎรคนแรก ตอ่ มาเปลี่ยนชื่อต�ำแหนง่ เป็น นายกรัฐมนตรี ทใ่ี ช้มาจนถงึ ปัจจบุ นั โดยท่ี คณ ะราษฎรมีแนวทางในการบรหิ ารประเทศตาม “หลกั 6 ประการ” ของคณะราษฎร คือ 1) เอกราช 2) ความปลอดภัย 3) เศรษฐกจิ 4) สิทธิเสมอภาค 5) เสรภี าพ 6) การศกึ ษา 2. ความขดั แยง้ ภายหลงั เปลย่ี นแปลงการปกครอง ภายหลงั เปลย่ี นแปลงการปกครองไดไ้ มน่ าน กลมุ่ คณะผปู้ กครอง ให ม่ก็มีความขัดแย้งกันภายใน และมีความขัดแย้งกับกลุ่มอำ� นาจเก่าด้วย กล่าวคือ รัฐบาลของพระยามโนปกรณ์นิติธาดา นายกรฐั มนตรคี นแรก บรหิ ารประเทศไปเพยี งปเี ดยี วกเ็ กดิ การรฐั ประหารจากหวั หนา้ คณะราษฎร (2476) ความขดั แยง้ สำ� คญั มา จาก “เค้าโครงเศรษฐกิจ” ของนายปรีดี พนมยงค์ ซ่ึงกลุ่มผู้ไม่เห็นด้วยโจมตีว่าเป็นการกระท�ำท่ีเข้าข่ายคอมมิวนิสต์ ภายหลงั การเกดิ รฐั ประหาร กลมุ่ เจา้ นายไดพ้ ยายามกอ่ การยดึ อำ� นาจคนื แตแ่ พไ้ ป เรยี กวา่ “กบฏบวรเดช” (2477) เหตกุ ารณ์ นส้ี ่งผลต่อมาให้รชั กาลท่ี 7 ทรงตดั สนิ พระทยั สละราชสมบัติ หลงั จากเหตุการณ์สละราชสมบัติ ก็มรี ัฐบาลหลายชดุ มาจาก 90 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya
คณะราษฎรหลายคน เช่น จอมพล ป.พิบูลสงคราม, ปรีดี พนมยงค์ เป็นต้น หากแต่กรณีสวรรคตของรัชกาลที่ 8 สมัย นายปรีดี พนมยงคไ์ ดน้ �ำไปสูเ่ หตุผลสำ� คญั ของการรฐั ประหารจากฝ่ายทหาร ซง่ึ ทำ� ใหป้ ระเทศไทยตกอยู่ภายใต้อ�ำนาจทหาร เป็นเวลานาน 3. การเรียกร้องประชาธิปไตยของประชาชน “ เหตุการณ์ 14 ตลุ าคม 2516 เป็นการรวมพลังท่มี ีนิสติ นักศึกษาเปน็ แกนน�ำเพื่อโคน่ ล้มรัฐบาลเผด็จการทหาร เรียก รอ้ งประชาธปิ ไตยและรฐั ธรรมนญู เหตกุ ารณด์ งั กลา่ วไดท้ ำ� ใหเ้ กดิ ผลู้ ม้ ตายจำ� นวนมากเนอ่ื งจากการปราบปรามอยา่ งรนุ แรง ของรฐั บาล อย่างไรกต็ าม ผลของเหตกุ ารณน์ ้ที ำ� ให้บา้ นเมืองอยู่ในบรรยากาศ “ประชาธปิ ไตยเบ่งบาน” “ เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 เหตุการณ์นองเลือดที่รัฐบาลปราบปรามนักศึกษาและประชาชน เน่ืองจากเกรงภัย คอมมวิ นสิ ต์ ท�ำให้ฝา่ ยทหารเขา้ มายึดอำ� นาจอกี คร้งั และน�ำประเทศกลับเขา้ สู่เผดจ็ การอีกครง้ั หน่งึ “ เหตุการณพ์ ฤษภาทมฬิ 2535 ประชาชนได้ออกมาเรียกร้องการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ภายหลังคณะรกั ษา ความสงบแหง่ ชาติ (รสช.) เขา้ ยึดอำ� นาจในปี 2534 และพลเอกสจุ นิ ดา คราประยูร สญั ญาว่าจะไม่เปน็ นายกรัฐมนตรี แต่ สดุ ทา้ ยกก็ ลบั มาลงเอยเชน่ นนั้ สรา้ งความไมพ่ อใจใหแ้ กป่ ระชาชน มกี ารเรยี กรอ้ งและนำ� มาสเู่ หตกุ ารณน์ องเลอื ดอกี ครหั้ นงึ่ 2. เศรษฐกิจสมัยประชาธปิ ไตย ภายหลงั เปลย่ี นแปลงการปกครอง นายปรีดี พนมยงคไ์ ด้ เสนอเค้าโครงเศรษฐกจิ หรือสมุด ปกเหลอื ง ซงึ่ เปน็ หนง่ึ ในหลกั 6 ประการ หากแตเ่ คา้ โครงดงั กลา่ วไมเ่ ปน็ ทยี่ อมรบั และนำ� ไปสคู่ วามขดั แยง้ ตามทก่ี ลา่ วไปแลว้ สมยั จอมพล ป.พิบูลสงคราม ไดม้ นี โยบายส่งเสรมิ เศรษฐกิจแบบชาตินยิ ม “ไทยทำ� ไทยใช้ ไทยเจรญิ ” ท่ีมุ่งคนไทย เปน็ ศูนยก์ ลางและรัฐเข้ามามบี ทบาทในเศรษฐกิจ เกิดรฐั วิสาหกิจ และระบบทุนนิยมโดยรฐั สมยั จอมพลสฤษด์ิ ธนะรชั ต์ ไดว้ างแผนพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศผา่ น “แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาต”ิ โดยในแผนพฒั นาเศรษฐกจิ แหง่ ชาติ ฉบบั แรก มขี นึ้ เมอื่ ปี 2504-2509 เพอ่ื พฒั นาสาธารณปู โภคขน้ั พนื้ ฐาน รวมทงั้ การลงทนุ จากตา่ งประเทศ แผนพฒั นาฉบบั ตา่ งๆ ถดั จากนน้ั ไดม้ เี พมิ่ ประเดน็ ทางสงั คมเขา้ มาดว้ ย ปจั จบุ นั เปน็ แผนฯ ฉบบั ท่ี 11 (2555- 2559) แผนพฒั นาดังกลา่ วถือเปน็ กรอบในการพัฒนาเศรษฐกจิ ของชาตถิ ึงปจั จุบนั 3 . สังคมไทยสมัยประชาธิปไตย โครงสร้างสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงไปเนื่องจากมีรัฐธรรมนูญเป็นตัวก�ำหนดบทบาท ห น้าที่ของประชาชน ต้ังแต่สถานะของพระมหากษัตริย์ได้ถูกจ�ำกัดอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ ขณะที่ประชาชนมีสิทธิ หน้าที่ แ ล ะความเสมอภาคตามท่ีรัฐธรรมนูญก�ำหนด ต้ังแต่ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นต้นมา มีเหตุการณ์ท่ีท�ำให้เกิด การเปลยี่ นแปลงทางสังคมอย่างมาก ดงั น้ี 1 . สมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม มีการกระตุ้ นชาตินิยมอย่างสูง และมีการปฏิรูปวัฒนธรรมอย่างมาก เช่น เปลย่ี นประเทศจากสยามเปน็ ไทย เปลยี่ นแปลงวนั ขนึ้ ปใี หมจ่ าก 1 เมษายน เปน็ 1 มกราคม การเคารพธงชาติ การทักทายสวัสดี ฯลฯ 2 . สมัยจอมพลสฤษด์ิ ธนะรชั ต์ มกี ารฟ้ืนฟพู ระราชประเพณีเกี่ยวกบั สถาบนั กษตั รยิ ์กลบั มาอย่างมาก ตลอด จ นเกิดการขยายตัวของการศึกษาอย่างกว้างขวาง เกิดชนช้ันกลางจ�ำนวนมาก ตลอดจนเศรษฐกิจภาค อตุ สาหกรรมและทนุ นยิ มภายใตก้ ารสนับสนุนของสหรัฐฯ เติบโตอย่างมากอีกดว้ ย ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 91
แนวข้อสอบ 1. ถ้าปัจจุบนั ประเทศไทยยงั ใช้ระบบศักราชแบบรัตนโกสนิ ทร์ศก (ร.ศ.) ปพี ุทธศักราช 2555 จะตรงกบั รัตนโกสินทรศ์ กใด ก. ร.ศ. 224 ข. ร.ศ. 225 ค. ร.ศ. 227 ง. ร.ศ. 231 2. หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ในขอ้ ใดที่บง่ บอกพัฒนาการอาณาจกั รโบราณในดินแดนประเทศไทยกอ่ นสมัยสโุ ขทัย ก. ต�ำนาน ข. ศลิ าจารกึ ค. พงศาวดาร ง. โบราณสถาน 3. ข้อใดเป็นจดุ เรม่ิ ต้นยุคประวตั ิศาสตร์ ข. รจู้ กั ต้งั ถิน่ ฐาน ก. การรูจ้ ักใชไ้ ฟ ง. รจู้ กั บันทกึ ข้อความ ค. รู้จกั การเพาะปลกู 4. ข้อใดกลา่ วได้ถกู ต้องเกย่ี วกบั การเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ก. การมแี นวคิดเรือ่ งสทิ ธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของคณะราษฎร ข. ความรว่ มมอื ของราษฎรสว่ นใหญ่ทำ� ให้ไมเ่ กดิ เหตุการณร์ นุ แรง ค. การเรียกรอ้ งประชาธปิ ไตยและรัฐธรรมนูญของพลเมือง ง. ความพร้อมของประชาชนทมี่ ใี นการปกครองระบอบประชาธิปไตย 5. กฎหมายตราสามดวงเกิดจากการตรวจช�ำระและรวบรวมกฎหมายขึน้ ใหม่ในรชั กาลใด ก. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ข. สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ค. พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลก ง. พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอย่หู วั 6. การเปล่ยี นแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 กอ่ ให้เกดิ การเปลี่ยนแปลงหลายประการ ยกเวน้ ขอ้ ใด ก. รปู แบบของรฐั ข. ผูบ้ ริหารประเทศ ค. ระบอบการปกครอง ง. เจา้ ของอ�ำนาจอธิปไตย 7. สมัยประวตั ิศาสตรข์ องโลกตะวันตกเรมิ่ ทแ่ี หลง่ อารยธรรมใด ก. อารยธรรมกรกี ข. อารยธรรมโรมัน ค . อารยธรรมลมุ่ แม่นำ้� สินธุ ง. อารยธรรมลุ่มแม่น�ำ้ ไทกรสิ -ยเู ฟรทีส 92 ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
8. เพราะเหตใุ ดจึงถือว่าประมวลกฎหมายของพระเจ้าฮมั มูราบีเป็นมรดกทางอารยธรรมชน้ิ ส�ำคัญของโลก ก. เป็นประมวลกฎหมายฉบับแรกของโลก ข. มีบทลงโทษท่รี นุ แรงซง่ึ ช่วยลดจำ� นวนผู้เปน็ ภัยตอ่ สังคม ค. เปน็ เครื่องแสดงวา่ อำ� นาจรัฐเขม้ แขง็ พอทจ่ี ะบังคบั พลเมืองได้แล้ว ง. เป็นแบบอย่างของความพยายามทจ่ี ะใหเ้ กิดความยุตธิ รรมในการปกครอง 9. ขอ้ ความในศลิ าจารึกทีก่ ลา่ วว่า “เม่อื ช่ัวพ่อขุนรามคำ� แหง เมอื งสุโขทัยน้ดี ี ในน�ำ้ มีปลา ในนามีข้าว...” แสดงว่าสโุ ขทัยมี ความอุดมสมบรู ณ์ดี ขอ้ ความดงั กลา่ วนีจ้ ัดอย่ใู นข้นั ตอนใดของวธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์ ก. การรวบรวมหลกั ฐาน ข. การประเมินคณุ คา่ ของหลักฐาน ค . การวเิ คราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล ง. การเรียบเรยี งหรอื การนำ� เสนอ 10. การปฏริ ปู การปกครองในสมัยสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถมลี กั ษณะอย่างไร ก. กระจายอ�ำนาจและรวมหนา้ ที่ ข. กระจายอำ� นาจและแบ่งแยกหนา้ ท่ี ค. รวมอำ� นาจเขา้ ส่ศู ูนยก์ ลางและรวมหน้าที่ ง. รวมอำ� นาจเข้าสู่ศูนยก์ ลางและแบ่งแยกหน้าที่ 11. การสร้างสรรค์ศิลปวฒั นธรรมของชาวไทยสมัยอยุธยาได้รบั อิทธิพลจากข้อใดมากที่สุด ก. พระพทุ ธศาสนา ข. การประกอบอาชีพ ค. ธรรมชาตทิ ่ีงดงาม ง. อารยธรรมตะวนั ตก 12. เหตกุ ารณใ์ นข้อใดต่อไปนี้ที่แสดงถงึ พระปรชี าสามารถและความกล้าหาญของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชมากท่ีสุด ก. ปนี ค่ายข้าศกึ ข. โจมตเี มอื งแครง ค. กระทำ� ยทุ ธหัตถี ง. ประกาศอิสรภาพ 13. งานศลิ ปะของยโุ รปสมัยกลางสะท้อนใหเ้ ห็นถึงอะไรมากทีส่ ดุ ก. อิทธพิ ลครอบงำ� ของคริสตศ์ าสนา ข. ความสนใจในธรรมชาตแิ ละสังคม ค. ความงดงามของศลิ ปะสมัยคลาสสกิ ง. พระราชอ�ำนาจของพระมหากษตั ริย์ 14. มรดกทางการเมอื งที่ออสเตรเลยี ทงิ้ ไว้ใหแ้ ก่สงั คมโลกคอื ขอ้ ใด ก. ระบอบคอมมิวนสิ ต ์ ข. ระบอบประชาธิปไตย ค. แนวคดิ เร่อื งสิทธิมนุษยชน ง. การลงคะแนนเสยี งโดยวธิ ีลับ 15. ภายหลงั สงครามโลกครงั้ ที่ 2 ประเทศต่างๆ มกั ใชว้ ธิ กี ารใดในการเพ่มิ อ�ำนาจการต่อรองของตน ก. การตัง้ ก�ำแพงภาษสี งู ข. ใชน้ โยบายปิดประเทศ ค. รวมตัวเป็นกลุ่มประเทศ ง. คบแต่กับชาติมหาอำ� นาจ ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 93
เฉลยแนวขอ้ สอบ 1 . ตอบ ง. ร.ศ. หรือรัตนโกสินทร์ศก เป็นศักราชที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชด�ำริให้บัญญัติ ขึ้น โดยเรมิ่ นับปที ี่สถาปนากรุงรัตนโกสนิ ทร์เปน็ ราชธานี คือ พ.ศ. 2325 เป็น ร.ศ. 1 การเทยี บ พ.ศ. ให้เป็น ร.ศ. ให้น�ำ พ.ศ. ลบดว้ ย 2324 ดงั น้นั พ.ศ. 2555-2324 = 231 2 . ตอบ ข. ศิลาจารึกเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สามารถบ่งบอกพัฒนาการของอาณาจักรโบราณ ในดินแดน ประเทศไทยกอ่ นสมยั อยธุ ยา เชน่ จารึกปราสาทเขานอ้ ย จ. สระแกว้ เปน็ หลกั ฐานลายลกั ษณอ์ กั ษรทีเ่ กา่ แกท่ พี่ บ ในเมืองไทยทีม่ กี ารระบศุ กั ราชชัดเจน เปน็ ตน้ 3. ตอบ ง. ยุคประวัติศาสตร์เริ่มขึ้นเมื่อมนุษย์รู้จักประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นมาใช้ เพื่อบันทึกเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ลงบนวสั ดุหลากหลายชนิด เช่น แผน่ หนิ ไมไ้ ผ่ กระดาษ เปน็ ต้น 4. ตอบ ก. การมีแนวคิดเร่ืองสิทธิเสรีภาพ และความเสมอภาคของคณะราษฎรกลุ่มต่างๆ ท่ีได้รับการศึกษาหรือ รบั รจู้ ากชาตติ ะวนั ตกตา่ งๆ ทำ� ใหเ้ กดิ การรว่ มมอื กนั ในการวางแผนและดำ� เนนิ การเปลยี่ นแปลงการปกครองโดยท่ี ประชาชนสว่ นใหญไ่ มไ่ ดม้ สี ว่ นรว่ มหรอื เรยี กรอ้ งใหก้ อ่ การ เนอื่ งดว้ ยยงั ขาดความรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั การปกครอง ในระบอบใหม่ 5. ตอบ ค. กฎหมายตราสามดวงเป็นประมวลกฎหมายตามแบบแผนประเพณีของไทยที่ได้รับอิทธิพลจากกฎหมาย อินเดยี พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกลา้ ฯ ใหช้ ำ� ระใน พ.ศ. 2347 ทรงใหอ้ าลกั ษณ์ ประทบั ตรา 3 ดวง คือ ตราราชสีห์ คชสีห์ และบัวแกว้ กฎหมายตราสามดวงใชเ้ ป็นหลักสำ� คญั ในการปกครอง บา้ นเมอื ง จดั ระเบยี บสงั คมและตดั สนิ คดคี วามตา่ งๆ จนกระทงั่ รชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั จงึ มกี ารรา่ งกฎหมายตามแบบชาตติ ะวันตกข้ึนมาใชแ้ ทน 6. ตอบ ก. การเปลี่ยนแปลงการปกครองในพ.ศ. 2475 ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองจากระบอบ ส มบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีการเปลี่ยนแปลง ผู้บริหารประเทศ และอ�ำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชน แต่รูปแบบของรัฐของไทยยังคงเป็นรัฐเดียวคือรัฐ ที่มีศูนย์กลางทางการเมืองและการปกครองอันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันมีเอกภาพไม่ได้แยกออกจากกัน และ มีการใชอ้ �ำนาจสูงสดุ ทง้ั ภายในและภายนอก โดยองคก์ รเดียวกนั ทว่ั ดินแดนของรัฐ 7. ตอบ ง. อารยธรรมลมุ่ แมน่ ำ้� ไทกรสิ -ยเู ฟรทสี หรอื อารยธรรมเมโสโปเตเมยี เปน็ แหลง่ อารยธรรมแรกๆ ของโลกตะวนั ตก และการทชี่ าวซเู มเรยี ประดษิ ฐต์ วั อกั ษรได้ก็ท�ำให้เขา้ ส่สู มยั ประวัตศิ าสตรส์ ากล 8. ตอบ ง. หลักของประมวลกฎหมายฮัมมูราบีแสดงแนวคิดที่จะให้ความยุติธรรมแก่ผู้คนในสังคม หลักดังกล่าว คือ ตาตอ่ ตา ฟนั ตอ่ ฟนั ในการลงโทษผกู้ ระทำ� ความผดิ โดยผใู้ ดทำ� ความผดิ อยา่ งไร กจ็ ะไดร้ บั โทษอยา่ งนนั้ ซง่ึ แนวคดิ ท่ีจะให้ความยุติธรรมแก่ผู้คนในสังคมน้ีได้เป็นรากฐานของเจตนารมณ์ของกฎหมายในประเทศต่างๆ ในปัจจุบนั 94 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
9 . ตอบ ค. เพราะจากเนื้อความในศิลาจารึก สามารถผูกเร่ืองราวอธิบายเหตุการณ์ในอดีตผ่านการวิเคราะห์ตีความได้ วา่ กรงุ สโุ ขทัยในสมยั พอ่ ขุนรามค�ำแหงมหาราช บา้ นเมอื งมีความอุดมสมบรู ณ์ 1 0. ตอบ ง. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงรวมอ�ำนาจการปกครองเข้าสู่ศูนย์กลาง โดยพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้มี อ�ำนาจสูงสุดในพระราชอาณาจักร และทรงแบ่งแยกหน้าที่ของฝ่ายทหารและฝ่ายพลเรือนออกจากกัน โดยมี อัครมหาเสนาบดี 2 ต�ำแหนง่ เปน็ ผูด้ แู ล คือ สมุหกลาโหมเปน็ หัวหน้าฝา่ ยทหารและสมุหนายกเป็นหัวหน้าฝ่าย พลเรอื น รวมทง้ั ดูแลจตสุ ดมภ์ท้ัง 4 โดยทัง้ สองตำ� แหน่งจะปฏิบตั ิงานขน้ึ ตรงตอ่ พระมหากษัตริย์ แตถ่ า้ ในยาม สงครามขา้ ราชการทงั้ สองฝา่ ยกจ็ ะรวมพลงั กนั ปกปอ้ งบา้ นเมอื ง สำ� หรบั ในสว่ นหวั เมอื งนน้ั กจ็ ะใชห้ ลกั การปกครอง หวั เมอื งตา่ งๆ ใหเ้ ปน็ แบบเดยี วกนั กบั ราชธานี โดยโปรดใหย้ กเลกิ เมอื งลกู หลวง พรอ้ มทง้ั ขยายขอบเขตการปกครอง ของราชธานีให้กว้างขวางออกไปโดยรอบ 11. ตอบ ก. เน่ืองจากพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่คนไทยสมัยอยุธยาส่วนใหญ่นับถือ งานศิลปวัฒนธรรมต่างๆ จึงได้ รั บแรงบันดาลใจจากพระพุทธศาสนา อีกทั้งพระมหากษัตริย์ทรงให้การอุปถัมภ์ ดังจะเห็นได้จากการสร้าง วัดวาอาราม พระพทุ ธรปู งานจติ รกรรมเกยี่ วกบั พทุ ธประวตั ิ ชาดก ตพู้ ระธรรม ธรรมาสนส์ ำ� หรบั พระสงฆแ์ สดง ธรรมเทศนาหรอื ประเพณีทีส่ ืบทอดมาจากสุโขทยั อันเก่ยี วเน่อื งในพระพุทธศาสนา เชน่ ประเพณีการสรา้ งวัดใน เขตพระราชวงั ประเพณีการบวช ประเพณกี ารทอดกฐนิ เป็นต้น 12. ตอบ ค. เมอื่ ครัง้ พระมหาอุปราชาแห่งกรงุ หงสาวดีเป็นแมท่ พั มาตอี ยธุ ยาใน พ.ศ. 2135 โดยยกเข้ามาทางด่านเจดยี ์ สามองค์ พมา่ มาตงั้ ทพั อยทู่ เ่ี มอื งสพุ รรณบรุ ี ไทยสง่ กองทพั ไปสรู้ บแตพ่ า่ ยแพก้ ลบั มา สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช จึ งยกทัพหลวงไปตีสกัดทัพพม่า แต่เน่ืองจากการให้สัญญาณไม่ท่ัวถึง แม่ทัพบางคนตามไม่ทัน สมเด็จ พระนเรศวรมหาราช สมเดจ็ พระเอกาทศรถกบั ทหารรกั ษาพระองคไ์ ดถ้ ลำ� เขา้ ไปในทพั พมา่ สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช จึ งทรงใช้ไหวพริบท้าพระมหาอุปราชากระท�ำยุทธหัตถีกันตัวต่อตัว ซ่ึงแสดงให้เห็นถึงพระปรีชาสามารถและ ความกล้าหาญของพระองค์ หากไม่ท�ำเชน่ นั้นกค็ งถกู พมา่ รมุ รบจนอาจสง่ ผลเสยี ใหญห่ ลวงแก่ไทยตามมากไ็ ด้ 13. ตอบ ก. ยุโรปในสมัยกลาง ศาสนจักรมีอิทธิพลอย่างมากจนนักประวัติศาสตร์บางท่านเรียกว่า ยุคแห่งศรัทธา (Age o f Faith) ศาสนจักรท�ำหน้าท่ีเสมือนองค์การระหว่างประเทศ เป็นศูนย์กลางของสังคมศิลปะวิทยาการ มีการ สรา้ งมหาวหิ ารดว้ ยศิลปะโรมาเนสและศิลปะกอทกิ ไปท่ัวยโุ รป นอกจากนี้ ศาสนจักรยังใหค้ วามอปุ ถมั ภ์กวแี ละ ศลิ ปิน และเป็นทเี่ กบ็ เอกสารประวตั ิศาสตร์ทีส่ �ำคัญ 14. ตอบ ง. โดยรัฐวิกตอเรียเป็นผู้น�ำในการลงคะแนนโดยวิธีลับในการเลือกตั้งทั่วไป ค.ศ. 1856 นับว่าออสเตรเลียเป็น ช า ติแรกที่ใช้วิธีดังกล่าว จนท�ำให้เกิดค�ำศัพท์ทางการเมืองว่า การลงคะแนนแบบออสเตรเลีย (Australian ballot) 1 5. ตอบ ค. ภายหลังสงครามโลกครงั้ ท่ี 2 ประเทศต่างๆ เห็นความจ�ำเป็นทจี่ ะต้องรวมกลุ่มกันเพือ่ ส่งเสรมิ ความร่วมมือ ร ะ หว่างกันในด้านต่างๆ และเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่กลุ่มของตน ดังตัวอย่าง การรวมกลุ่มของ ประเทศในยโุ รปเปน็ สหภาพยโุ รปหรอื อยี ู การรวมกลมุ่ ของประเทศในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ (ยกเวน้ ตมิ อร-์ เลสเต) เป็นอาเซียน ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 95
นอ้ งๆ สามารถศกึ ษาเพ่มิ เติมได้ท่ี Tag : สอนศาสตร,์ สังคมศึกษา, ประวัตศิ าสตร์, ประวตั ศิ าสตรส์ ากล, ประวัติศาสตรไ์ ทย, ประวัติศาสตรอ์ เมริกา, กรงุ รัตนโกสินทร,์ กรงุ ศรีอยุธยา, อารยธรรม • 10 : เจาะเวลาหาอดีตไทย 1 http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch5-1 • 11 : เจาะเวลาหาอดตี ไทย 2 http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch5-2 • สอนศาสตร์ สงั คมศกึ ษา ม.3 : โมเดิรน์ รตั น โกสินทร์ http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch5-3 • 13 : ยา่ งก้าวประชาธิปไตยไทย http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch5-4 • 04 : ทอ่ งแดนตี๋หมวย http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch5-5 • 05 : เยอื นถนิ่ ยา่ นแขก http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch5-6 • 20 : นงั่ ทบทวน...กวนข้อสอบประวตั ิศาสตร์ 1 http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch5-7 • 21: นั่งทบทวน...กวนข้อสอบประวตั ิศาสตร์ 2 http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch5-8 • สงั คมศึกษา ม.ตน้ – ประวตั ศิ าสตร์ทว่ั ไป http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch5-9 96 ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
• สังคมศึกษา ม.ต้น – ประวัติศาสตร์สากล http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch5-10 • อารยธรรมเมโสโปเตเมยี http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch5-11 • ประวตั ิความเปน็ มาของประเทศสหรัฐอเมริกา http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch5-12 • การสถาปนากรุงศรอี ยธุ ยา http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch5-13 • การปฏริ ูปสมยั รชั กาลท่ี 5 http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch5-14 บันทกึ ชว่ ยจ�ำ ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 97
บทท่ี5 สาระ: ภูมิศาสตร์ ภมู ิศาสตร์ ส�ำหรับสาระภมู ศิ าสตร์ จะขอพาพวกเราทุกคนไปเทีย่ วรอบโลกเลย ไปดูว่าในโลกทเี่ ราอยูเ่ ปน็ อย่างไร มอี ะไรน่าสนใจบา้ ง แต่ ก่อนที่พวกเราจะออกเดินทางส�ำรวจรอบโลก เราทกุ คนตอ้ งเรียนรู้การใชเ้ ครอื่ งมือทางภูมิศาสตรก์ ันกอ่ นดีกว่า เริม่ จาก แผนที่ แ ผ น ท่ี คือ เคร่ืองมือทางภูมศิ าสตรท์ ถี่ า่ ยทอดข้อมลู ของโลก ลงบนพืน้ ราบด้วยการย่อส่วนใหเ้ ล็กลงตามขนาดท่ตี ้องการ และใช้สี เส้น สญั ลกั ษณ์ ทิศทาง และมาตราส่วนแทน แผนท่ที ่เี ราใชก้ นั อยูส่ ามารถแบง่ ได้เปน็ 2 กลุ่มคือ 1. แผนท่ภี ูมปิ ระเทศ : เป็นแผนทที่ มี่ ปี ระโยชน์มาก ใช้ศกึ ษาลักษณะภมู ปิ ระเทศทั่วโลก 2. แผนท่ีเฉพาะเรื่อง : เป็นแผนทที่ ี่แสดงรายละเอียดเฉพาะเปน็ เรอ่ื งๆ เช่น แผนท่ี ชนดิ ของป่าไม้ แผนทีช่ นิดของดนิ เป็นต้น แตถ่ า้ เราเอาแผนท่หี ลายๆ อนั มารวมๆ กันแล้วเยบ็ เลม่ เราจะเรยี กว่า “แผนท่ีเลม่ (ATLAS)” ตอ่ ไปเรามาดูกนั ดกี ว่าว่าภายใน แผนทมี่ ีสว่ นประกอบอะไรบ้าง ชอ่ื แผนท่ี มาตราส่วน ทศิ สัญลักษณ์ ละติจูด 98 ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya พกิ ดั ภูมศิ าสตร์ ลองจิจดู
แอบกระซบิ บอกว่าส่วนทีช่ อบออกขอ้ สอบมากทีส่ ุดกค็ อื เรอ่ื งมาตราสว่ น และพิกดั ภูมศิ าสตร์ ถ้าอย่างนน้ั พวกเราตอ้ งอา่ น ตรงนี้แบบเน้นๆ เลย เส้นละติจดู -เส้นลองจจิ ดู พิกดั ภมู ิศาสตร์ เปน็ การแสดงตำ� แหนง่ ท่ีตัง้ ตา่ งๆ บนผวิ โลก โดยเกิดจากการตดั กนั ของเส้นละติจดู และลองจิจูด ซึง่ เปน็ เส้น ที่เราสมมติขนึ้ • เสน้ ละตจิ ดู : เปน็ เสน้ สมมติทลี่ ากในแนวนอน มีทงั้ หมด 180 เส้น (ไมร่ วมเส้นศูนยส์ ูตร) เสน้ ท่สี ำ� คญั แบง่ โลกออกเปน็ ซีกโลกเหนอื และซีกโลกใต้ คอื เสน้ ศูนย์สูตร เสน้ ละตจิ ูดจะบอกถงึ เขตลักษณะภูมิอากาศแตล่ ะท้องท่ี (คือ พอพดู ถึงเส้น ละติจดู ปบุ๊ ต้องนกึ ถึงเร่ืองเขตอากาศป๊ับ) • เสน้ ลองจิจดู (เสน้ เมอริเดียน) : เป็นเส้นสมมตเิ หมอื นกนั แต่ลากในแนวตง้ั ใชแ้ บง่ เขตเวลา และยงั แบ่งโลกออกเปน็ ซกี โลกตะวันออกและซกี โลกตะวันตก โดยมีเส้นเมอริเดยี นแรกที่ลากผ่านต�ำบลกรนี ิช กรงุ ลอนดอน ประเทศอังกฤษ เป็น ตวั แบง่ แตย่ ังมอี กี เส้นทีส่ ำ� คัญเหมือนกันกค็ ือ เส้นวันที่ (International date line) ซ่งึ หลกั การพีข่ อสรปุ เป็นแผนภาพละ่ กนั เสน้ เขตวนั (180 ํ ) เพม่ิ ข้ึน 1 วนั ซกี โลกตะวนั ตก ซกี โลกตะวันออก ลดลง 1 วัน นอกจากน้เี ราสามารถใช้ความรู้เรอื่ งเส้นลองจจิ ดู ในการค�ำนวณหาเวลาของแต่ละประเทศไดด้ ้วย โดยเราตอ้ งจ�ำให้ ไดก้ อ่ นวา่ ถา้ หา่ งกนั 1 ํ เวลาต่างกัน 4 นาที ส่วนหลักการคำ� นวณก็ไมย่ ากใช้ การเทียบบัญญัตไิ ตรยางศ์ ตวั อยา่ งเชน่ Ex. ประเทศไทยใช้เสน้ ละติจูด 105 ํ ตะวันออกเป็นเส้นเวลามาตรฐานของไทย ดงั นั้นถา้ ขณะที่ประเทศไทยเวลา 11.00 น. ท่ปี ระเทศองั กฤษจะเปน็ เวลาเทา่ ไร วธิ กี ารทำ� เราต้องรู้ก่อนวา่ เสน้ ท่ี 105 ํ หา่ งจากเสน้ เมอรเิ ดียนแรก (เวลาปานกลางกรนี ิช G.M.T.) ก่ีชั่วโมง โดยเทยี บบญั ญตั ิไตรยางศเ์ ลย ถา้ หา่ งกนั 1 ํ เวลาจะตา่ งกัน 4 นาที ถา้ ห่างกนั 105 ํ เวลาจะตา่ งกนั 41 × 105 = 420 นาที หรือ 7 ช่ัวโมง ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 99
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122