กฎหมายมรดก มรดก คือ ทรัพย์สินทกุ ชนิดของผู้ตาย ตลอดจนสิทธแิ ละหนา้ ท่ีทตี่ อ้ งรบั ผิดชอบตา่ งๆ ท้งั หมด เพราะฉะน้ันมรดกไม่ ได้เป็นเพียงสง่ิ ของเงนิ ทองเทา่ น้นั แต่ยังรวมถงึ สทิ ธิและหนา้ ท่ขี องผตู้ ายด้วย เราจะเรียกบุคคลท่ีมีความสามารถจะรับมรดกต่อไปได้ว่า ทายาทท่ีมีสิทธิสืบทอดมรดก โดยมีการก�ำหนดไว้สอง ประการคือ 1. ทายาทตามพนิ ัยกรรม คอื ผตู้ ายไดก้ ำ� หนดไวว้ ่าใครจะเปน็ ทายาท อาจจะไมใ่ ชบ่ คุ คลในครอบครวั ก็ได้ 2. ทายาททเี่ ปน็ ญาติ มเี รยี งตามลำ� ดับ คอื ลกู หลาน เหลน ลื่อ บิดา มารดา พน่ี อ้ ง ปู่ ยา่ ตา ยาย และลงุ ป้า น้า อา ถ้าเปน็ ญาตทิ พี ้นจากสถานะเหลา่ นีจ้ ะไมส่ ามารถรบั มรดกไดเ้ ลยถ้าไม่มีพินยั กรรม เช่น พสี่ ะใภ้ พ่ีเขย เปน็ ตน้ น่นั หมายความวา่ ถ้าผูต้ ายไมไ่ ด้กำ� หนดทายาทไวใ้ นพนิ ยั กรรมแลว้ ทายาททจ่ี ะรับมรดกก็จะเรยี งลำ� ดับไปตามข้อ 2 ใน ทนั ที แต่ถา้ มที ายาทท่ีก�ำหนดไว้แล้วบคุ คลในครอบครวั ท่ีไมไ่ ดอ้ ยู่ในพินัยกรรมกจ็ ะไม่มสี ิทธิ์ในมรดกเลย กฎหมายแพ่งทีค่ วรรูเ้ ก่ียวกับบคุ คล การแจ้งเกดิ เม่ือมเี ดก็ เกิดใหม่จะตอ้ งแจง้ เกดิ ภายใน 15 วนั เท่านนั้ ไมอ่ ย่างนัน้ ล่ะกเ็ ราจะต้องเสยี ค่าปรับเป็น เงนิ 200 บาท ถา้ เราไมร่ วู้ ันเดือนปเี กดิ ของเดก็ ก็ให้เอาวันที่ 1 มกราคม ของปีทจี่ ดทะเบยี นเปน็ วัน การแจ้งตาย เกิด การตง้ั ช่ือ เม่ือมีใครเสียชีวิต จะต้องแจ้งท�ำมรณบัตรภายใน 24 ช่ัวโมง ไม่อย่างนั้นก็จะต้องเสียค่าปรับ 200 บาท เชน่ กัน เราสามารถตง้ั ชอื่ อะไรกไ็ ดท้ ไี่ มพ่ อ้ งจองหรอื ซำ้� กบั พระนามของพระมหากษตั รยิ ์ พระราชนิ ี และพระ ราชทินนามของพระราชวงศ์ ช่อื สกุล ชอ่ื สกลุ หรอื นามสกลุ นน้ั โดยสว่ นมากจะถอื เอาตามบดิ าหรอื พอ่ เปน็ หลกั แตใ่ นบางกรณกี จ็ ะใชข้ อง สัญชาติ มารดากไ็ ดเ้ ช่นกัน บรรลุนิตภิ าวะ ถ้าบดิ าหรือพอ่ ของเดก็ เป็นคนไทย หรอื เกิดในประเทศไทยก็จะตอ้ งถอื สญั ชาตไิ ทย ผหู้ ญิงชาวต่าง อสงั หารมิ ทรพั ย์ ชาตทิ ีแ่ ตง่ งานกบั ชายไทยกส็ ามารถขอเปลีย่ นสญั ชาตไิ ดเ้ ชน่ กัน สงั หาริมทรัพย์ เราจะบรรลุนิติภาวะเม่ืออายุ 20 ปีบริบูรณ์ และจะสามารถแต่งงานอย่างถูกต้องตามกฎหมายได้ เม่อื อายุ 17 ปขี นึ้ ไป แต่ถ้ายงั อายไุ ม่ถึง 20 ปี จะตอ้ งใหพ้ ่อแม่หรอื บดิ ามารดาแสดงความยนิ ยอม เสยี ก่อน คือ ทรพั ย์สนิ ทเ่ี คลือ่ นทีไ่ มไ่ ด้ เช่น บา้ นท่ดี ิน และส่ิงของทีป่ ระกอบเปน็ ท่ดี นิ เช่น ดิน กร้อนกรวด น�ำ้ เป็นต้น สงั หาริมทรพั ย ์ คือ ทรัพยส์ ินทเ่ี คลือ่ นท่ีได้ เช่น สรอ้ ย แหวน รถยนต์ 50 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya
การกู้ คือ การยมื เงินโดยมีดอกเบีย้ โดยจะคิดดอกเบีย้ ได้ไมเ่ กินรอ้ ยละ 15 บาท ตอ่ ปี ถา้ เกนิ จะถกู ปรบั 1,000 บาท หรอื จ�ำคกุ หนง่ึ ปี และจะถูกละเว้นดอกเบยี้ การเชา่ ซอื้ การเชา่ ทรัพย์ การตกลงทำ� สญั ญา โดยผเู้ ชา่ อาจเปลยี่ นเปน็ เจา้ ของไดเ้ มอ่ื ชำ� ระคา่ งวดสดุ ทา้ ยแลว้ และใหผ้ ใู้ หเ้ ชา่ การฝากขาย มีสทิ ธคิ ดิ ดอกเบย้ี พรอ้ มเงนิ ต้นได้ไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 15 ต่อปี การไถท่ รพั ย์ โมฆะกรรม คือ การเชา่ อสงั หาริมทรัพย์ หรอื บา้ นได้ไม่เกินคร้ังละ 30 ปี หากผเู้ ชา่ ทำ� สญั ญาตดิ ตอ่ กันสองครั้ง ก็จะถอื ว่าผิดข้อตกลง สามารถยกเลิกสัญญาทรพั ยไ์ ด้ คือ การทเ่ี ราเอาทรัพย์สินของเราไปขายโดยตกลงกบั ผ้ขู ายว่าอาจจะไถ่ทรัพย์คนื ได้ แต่ถ้าหลดุ ไปก็ ไมส่ ามารถฟอ้ งรอ้ งดำ� เนินคดใี ดๆ ได้ คือ การน�ำเงินไปไถ่คืนทรัพย์สินที่ฝากขายไป โดยส�ำหรับสังหาริมทรัพย์ห้ามเกินสามปี และ อสงั หาริมทรัพย์ไดไ้ มเ่ กนิ สิบปี ขยายเวลาไม่ไดโ้ ดยเดด็ ขาด คือ นติ ิกรรมทเ่ี สยี เปลา่ เหมือนกับวา่ การด�ำเนินการไม่มอี ะไรเกดิ ขนึ้ โมฆยี กรรม คือ นิติกรรมที่สมบรู ณ์จนกว่าจะถกู บอกลา้ งดว้ ยการขม่ ขู่ ฉ้อโกง บตั รประชาชน กฎหมายอาญาท่คี วรรู้ การเกณฑ์ทหาร เมอ่ื อายุ 7 ปี ทกุ ๆ คนจะตอ้ งไปทำ� บตั รประชาชนทอ่ี ำ� เภอ จนถงึ อายุ 70 ปี ยกเวน้ พระมหากษตั รยิ ์ พระราชนิ ี พระบรมวงศานุวงศ์ พระภิกษุสามเณร นกั บวช ผูพ้ ิการเป็นใบต้ าบอดทั้งสองขา้ ง จิต ไมส่ มประกอบ ถูกคมุ ขงั ดว้ ยกฎหมาย ชายไทยท่อี ายุ 17 ปบี รบิ รู ณ์ จะตอ้ งขึน้ บัญชที หารกองเกินในเดือนพฤศจกิ ายนของทกุ ปี และเมอื่ อายคุ รบ 20 ปบี รบิ ูรณ์ ก็จะต้องไปรบั ราชการทหารสองปีหากไมไ่ ปจะตอ้ งจ�ำคกุ สามปี ความผดิ ลหโุ ทษ จ�ำคุกไม่เกิน 1 เดือน ปรับไม่เกนิ 1000 บาท หรือท้ังจำ� ท้ังปรบั สนบั สนนุ การฆา่ คน ถ้าเจตนาจะมโี ทษประหารหรือจ�ำคุกตลอดชวี ติ หรอื 15-20 ปี ถ้าเป็นความผดิ รา้ ยแรงเชน่ ฆา่ บุพการพี ่อแม่ จะโทษประหาร ฆา่ เจ้าพนักงาน คือ ทำ� ใหเ้ จ้าหน้าทขี่ องรฐั ต้องถึงแกค่ วามตาย ถ้าโดยไม่เจตนาจะรับโทษ 3-15 ปี ถ้าประมาท จ�ำคุกไม่เกนิ 10 ปี หรอื ปรับ 20000 บาท ลกั ทรพั ย์ ตอ้ งรบั โทษไม่เกิน 3 ปี หรือ 6,000 บาท ถ้าท�ำให้ผอู้ น่ื เสยี ทรัพยต์ อ้ งโทษ 3 ปี หรือปรับ 6,000 บาท ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 51
แนวข้อสอบ 1. วฒั นธรรมยอ่ ยในสถาบนั เศรษฐกิจของสงั คมไทยเกดิ จากอะไร ก. สถานทีป่ ระกอบอาชพี ข. ระบบคา่ ตอบแทน ค. คา่ นิยมในแต่ละอาชพี ง. เคร่ืองหมายการคา้ 2. ขอ้ ใดไม่ใช่ลักษณะสังคมไทย ก. เป็นสังคมเกษตรกรรม ข. เป็นสังคมเจา้ ขุนมูลนาย ค. เปน็ สังคมเมือง ง. เปน็ สังคมพุทธศาสนา 3. ข้อใดเป็นโครงสร้างทีส่ มบูรณข์ องสถาบนั ก. สญั ลกั ษณ์ รปู แบบ วิธีปฏิบัติ คา่ นิยม ข. จดุ มงุ่ หมาย รูปแบบ ความเชื่อ คา่ นิยม ค. จุดมงุ่ หมาย วิธปี ฏบิ ัติ ความเช่อื ค่านิยม ง. รูปแบบ สญั ลักษณ์ ความเช่ือ วิธีปฏบิ ัติ 4. วฒั นธรรมใดไม่ถกู ตอ้ ง ก. วัฒนธรรมเป็นสมบัตเิ ฉพาะของคนชว่ั รนุ่ หนงึ่ ข. วัฒนธรรมทีม่ นษุ ย์สร้างขึ้นมที ้งั คุณและโทษ ค. วัฒนธรรมเป็นเครอื่ งมอื ชว่ ยในการปรับตวั ของมนษุ ย์ ง. วัฒนธรรมที่ไม่สามารถตอบสนองความต้องการจะหมดไป 5. ข้อใดไมใ่ ช่การเปล่ยี นแปลงทางวัฒนธรรม ก. สตรีไทยมบี ทบาททางการเมืองมากขน้ึ ข. เทคโนโลยีการสอื่ สารผ่านดาวเทยี มท�ำใหข้ ยาย การศกึ ษาไปยงั ท้องถ่นิ ห่างไกลได้ ค. สิง่ ประดษิ ฐ์จากภมู ิปัญญาพืน้ บา้ นในทุกชุมชนได้รบั การส่งเสรมิ มากขน้ึ ง. ความเชื่อทางไสยศาสตร์ในชมุ ชนเมืองมีน้อยลง 6. ข้อความใดถูกตอ้ ง ก. มนุษยม์ สี ญั ชาตญาณในการสรา้ งบ้านเรือนเป็นทอ่ี ย่อู าศัย ข. ค�ำว่า วฒั นธรรมและสังคม มคี วามหมายเกือบไม่แตกตา่ งกัน ค. การตอบสนองความต้องการของมนุษยแ์ ตกต่างกันไปในแตล่ ะกลุ่มสงั คม ง. มนุษยต์ ิดตอ่ สัมพันธก์ นั ดว้ ยพฤติกรรมท่ีเป็นลกั ษณะเฉพาะของแต่ละคน 7. ปัญหาสังคมไทยโดยรวมจะส่งผลกระทบถึงขอ้ ใดมากท่ีสดุ ก. คุณภาพของเยาวชนทางร่างกายและจติ ใจ ข. คุณภาพของสง่ิ แวดล้อมทางกายภาพและชีวภาพ ค. คุณภาพของระบบเศรษฐกจิ ที่เปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็ว ง. คณุ ภาพของประชากรโดยเฉพาะในวัยแรงงาน 52 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
8. ความเป็นประชาธิปไตย หมายถึงอะไร ก. ประชาชนมีส่วนรว่ มในทางการเมอื ง ข. อ�ำนาจอธิปไตยมีฐานะสงู สุด ค. ประชาชนเป็นใหญใ่ นแผน่ ดิน ง. อ�ำนาจอธิปไตยเปน็ อิสระ 9. องคก์ รใดมีอำ� นาจวนิ ิจฉัยข้อพพิ าทอนั เนือ่ งมาจากการกระท�ำหรือละเวน้ การกระทำ� ของหนว่ ยราชการตามรฐั ธรรมนญู ก. ผู้ตรวจการแผ่นดนิ ของรฐั สภา ข. ศาลปกครอง ค. ส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ง. ศาลรฐั ธรรมนญู 10. ขอ้ ใดไมถ่ กู ต้องเกี่ยวกบั ระบบกฎหมายคอมมอนลอว์ ก. ผูพ้ พิ ากษาเปน็ ผสู้ รา้ งกฎหมาย ข. เป็นระบบที่ไม่มีกฎหมายเป็นลายลักษณ์อกั ษร ค. ประเทศที่เป็นต้นกำ� เนิดของระบบนค้ี อื ประเทศองั กฤษ ง. จารีตประเพณี และคำ� พพิ ากษาของศาล เปน็ ทมี่ าของกฎหมาย 11. เปา้ หมายหลกั ของการแยกใช้อำ� นาจอธปิ ไตยเป็น 3 ทาง ตรงกับข้อใด ก. เปดิ โอกาสใหป้ ระชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองประเทศ ข. ด�ำเนินการบรหิ ารประเทศไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ ค. พฒั นาประเทศในทุกดา้ นไปพร้อมๆ กัน ง. ปกปอ้ งคุ้มครองสทิ ธิเสรภี าพของประชาชน 12. ขอ้ ใดตรงกับลักษณะการปกครองแบบรฐั สภา ก. รฐั สภาใช้อำ� นาจนิตบิ ัญญัติและบรหิ าร ข. สมาชกิ รฐั สภาตอ้ งไม่เปน็ ผบู้ รหิ าร ค. นายกรฐั มนตรมี าจากการเลอื กตงั้ โดยตรง ง. คณะรฐั มนตรตี ้องไดร้ ับความไวว้ างใจจากรัฐสภา 13. ผู้ใดมีสทิ ธเิ สนอรา่ งพระราชบญั ญตั เิ พื่อแกไ้ ขปรบั ปรงุ พระราชบญั ญัติเกี่ยวกับสงฆ์ ก. กรมการศาสนา ข. มหาเถรสมาคม ค. สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร ง. ฆราวาสและพระสงฆ์เสนอร่วมกนั ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 53
14. นาย ก. และนาง ข. เปน็ สามีภรรยากันโดยชอบดว้ ยกฎหมาย นาย ก. ได้ตายลง และมีสนิ สมรสทั้งหมด 2,000,000 บาท นาย ก. มมี ารดาทีม่ ีชวี ติ อยู่เพยี งคนเดียวตามกฎหมาย การแบ่งมรดกจะแบ่งกนั อย่างไร และเป็นจำ� นวนเงนิ เทา่ ไหร่ ก. นาง ข. ได้มรดกเป็นเงิน 2,000,000 บาท แตผ่ ้เู ดยี ว ข. นาง ข. ได้มรดกเปน็ เงิน 1,500,000 บาท มารดาของนาย ก. ไดเ้ งนิ 500,000 บาท ค. นาง ข. ได้มรดกเปน็ เงนิ 1,800,000 บาท มารดาของนาย ก. ได้เงนิ 200,000 บาท ง. นาง ข. ได้มรดกเป็นเงนิ 1,000,000 บาท มารดาของนาย ก. ได้เงนิ 1,000,000 บาท 15. ผ้มู สี ่วนไดเ้ สียจะรอ้ งขอใหศ้ าลสัง่ ให้ญาตขิ องตนเป็นบุคคลสาบสูญต้องไปศาลใด ก. ศาลแขวง ข. ศาลแพง่ ค. ศาลอาญา ง. ศาลเยาวชนและครอบครวั เฉลยแนวข้อสอบ 1. ตอบ ค. เพราะวัฒนธรรมย่อยในแตล่ ะสถาบันเศรษฐกจิ เกิดจากค่านยิ มในแต่ละอาชพี เช่น หมอและครู ตอ้ งมีจรรยา บรรณ เกษตรกรตอ้ งช่วยเหลอื กนั 2. ตอบ ค. เพราะมีคนเพียงร้อยละ 20 ทอี่ าศยั ในเขตเมือง 3. ตอบ ข. จุดมงุ่ หมาย รปู แบบ ความเช่อื คา่ นยิ ม 4. ตอบ ก. เพราะวฒั นธรรมเป็นมรดกของสังคม ไม่ใชเ่ ปน็ เพียงสมบัตเิ ฉพาะของคนชัว่ ร่นุ หนง่ึ เท่านนั้ 5. ตอบ ก. เนอ่ื งจาก ขอ้ ข. / ค. และ ง. นบั เปน็ การเปล่ยี นแปลงวฒั นธรรมหรอื วิถีชวี ติ ของสังคม ข้อ ก. เป็นการเปลี่ยนแปลงทางสงั คม คือ การเปลยี่ นแปลงด้านโครงสร้างสงั คม (สถานภาพ, บทบาท) 6. ตอบ ค. เนือ่ งจาก ขอ้ ก. ผิด เพราะการท่ีมนุษย์สร้างบา้ นเป็นไปเพราะการเรยี นรู้ ไม่ใช่เป็นไปตามสญั ชาตญาณ ข้อ ข. ผิด เพราะวัฒนธรรมกบั สงั คมมคี วามหมายแตกต่างกัน (สังคม หมายถงึ กลุ่มคนท่ีม ี ความสมั พนั ธก์ นั และวัฒนธรรม หมายถงึ วิถชี วี ติ ของสงั คม) ขอ้ ง. ผดิ เพราะมนุษย์ไมไ่ ด้ตดิ ตอ่ กันด้วยพฤตกิ รรมท่ีเปน็ ลักษณะเฉพาะของตนเทา่ นัน้ แต่มีการตดิ ต่อกนั ด้วย พฤติกรรมทเี่ ปน็ ลกั ษณะท่คี นท่ัวไปในสงั คมปฏบิ ตั ติ อ่ กนั ดว้ ย 7. ตอบ ง. เพราะโจทยถ์ ามถึงผลทก่ี ระทบมากท่ีสดุ คอื จะมผี ลที่กระทบต่อคณุ ภาพประชากรในวยั แรงงาน (ซึ่งจะเป็น ช่วงที่ยาวนานกวา่ วยั เดก็ และเปน็ ชว่ งที่จะสรา้ งประโยชนต์ อ่ สังคมมากทส่ี ุด) 8. ตอบ ก. เพราะความเป็นประชาธปิ ไตยสำ� คัญท่ีการใหป้ ระชาชนมีสว่ นรว่ มในทางการเมือง ส่วนขอ้ ข. และขอ้ ง. ยงั ไม ่ ไดบ้ ง่ ว่าเปน็ การปกครองแบบประชาธปิ ไตยหรือไม่ 9. ตอบ ข. เพราะโจทย์ถามถึงวา่ เราจะฟอ้ งหนว่ ยราชการทที่ ำ� หนา้ ที่ไมด่ ีได้ท่ีไหน ค�ำตอบคือ ศาลปกครอง ศาลนี้จะท�ำ หนา้ ท่ีตัดสนิ ขอ้ พิพาทที่เราฟ้องหน่วยราชการท่ีปฏบิ ัติงานไม่เป็นธรรมแก่ประชาชน 10. ตอบ ข. เพราะ “ระบบ” คอมมอนลอว์ คอื “ระบบ” กฎหมาย จารีตประเพณี แตไ่ มไ่ ดห้ มายความว่าจะไมม่ กี ฎหมายท่ี เป็นลายลักษณอ์ ักษรเลย 11. ตอบ ง. เพราะการแยกอ�ำนาจอธปิ ไตยเปน็ 3 ส่วน คอื นิตบิ ัญญัติ บริหาร และตุลาการ เพ่ือให้อำ� นาจไมร่ วมศูนย์อยูท่ ่ ี จดุ เดยี ว เพ่ือให้การปกครองเปน็ ไปเพือ่ ประชาชนมากที่สดุ 54 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya
12. ตอบ ง. เพราะ ข้อ ก. ผดิ เพราะรฐั สภาใชเ้ ฉพาะอำ� นาจนิตบิ ัญญตั เิ ทา่ นั้น ขอ้ ข. ผดิ เพราะสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ซึ่งเป็นสมาชกิ รฐั สภา) อาจเป็นฝา่ ยบริหารดว้ ยกไ็ ด้ เช่น ประเทศไทย กอ่ นใชร้ ัฐธรรมนูญปี 2540 ข้อ ค. ผดิ เพราะนายกรัฐมนตรีมาจากการเลือกโดยสภาผ้แู ทนราษฎรไมไ่ ดม้ าจากการเลอื กตง้ั โดยตรง 13. ตอบ ค. เพราะผเู้ สนอร่างพระราชบัญญัติตามรฐั ธรรมนูญปี 2540 มี 3 ประเภท คอื 1. คณะรฐั มนตรี (มาตรา 169) 2. สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร 20 คนเขา้ ชอื่ กนั โดยมีมตขิ องพรรคการเมอื งท ี่ ตนสงั กัดให้เสนอได้ (มาตรา 169) 3. ประชาชนผมู้ ีสทิ ธเิ ลือกตั้งไมน่ อ้ ยกวา่ 50,000 คน เขา้ ชือ่ เสนอกัน (มาตรา 170) 14. ตอบ ข. เพราะสนิ สมรสก่อนน�ำมาท�ำมรดก ต้องแบ่งครง่ึ หนง่ึ ให้ค่สู มรสกอ่ น ในท่ีน้ีคอื นาง ข. หลังจากนั้นจึงนำ� สว่ นท่ี เหลือมาแบง่ ทายาท ในท่นี ี้ทายาทเหลอื เพียงนาง ข. และมารดานาย ก. 15. ตอบ ข. เพราะคดเี ก่ียวกบั บคุ คลสาบสูญเป็นคดีทเี่ ก่ยี วขอ้ งกบั สทิ ธขิ องบุคคลตอ้ งฟ้องกันท่ีศาลแพง่ น้องๆ สามารถศกึ ษาเพิ่มเตมิ ได้ที่ Tag : สอนศาสตร์ สงั คมศึกษา กฎหมาย ความรู้เกี่ยวกบั กฎหมาย กฎหมายเพ่ง กฎหมายอาญา กฎหมายอนื่ ๆ ล�ำดบั กฏหมาย • 06 : เสยี งกระซบิ จากนายกฏหมาย http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch4-1 • สอนศาสตร์ สงั คมศึกษา ม.ปลาย : เสียงกระซิบจากนาย กฎหมาย http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch4-2 • สังคมศึกษา ม.ปลาย : กฎหมายเบ้ืองตน้ http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch4-3 • ความรูเ้ บื้องตน้ เกย่ี วกับกฎหมาย ตอนที่ 1 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch4-4 ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 55
• ความรเู้ บือ้ งต้นเกี่ยวกบั กฎหมาย ตอนที่ 2 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch4-5 • ความรเู้ บ้ืองต้นเกี่ยวกับกฎหมาย ตอนท่ี 3 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch4-6 • ความรเู้ บ้ืองตน้ เกยี่ วกบั กฎหมาย ตอนท่ี 4 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch4-7 • ความรเู้ บ้อื งตน้ เกีย่ วกับกฎหมาย ตอนท่ี 5 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch4-8 • โครงสร้างและความส�ำคัญของรฐั ธรรมนญู http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch4-9 • กฎหมายแพง่ http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch4-10 • กฎหมายอาญา http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch4-11 • กฎหมายอนื่ ทคี่ วรรู้ http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch4-12 56 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya
บทท่ี 3 สาระ: เศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ คำ� วา่ ‘เศรษฐศาสตร’์ เร่มิ เป็นทีร่ ู้จักอย่างแพรห่ ลายในชว่ งปลายคริสตศ์ ตวรรษท่ี 18 โดย อดัม สมธิ ทีเ่ ขยี นตำ� ราข้ึน มาเลม่ หนง่ึ ชือ่ วา่ “The Wealth of Nations” และจากผลงานดงั กลา่ วท�ำให้ตอ่ มาคนรนุ่ หลังได้ยกย่องใหเ้ ปน็ ‘บิดาแหง่ วิชา เศรษฐศาสตร์’ เศรษฐศาสตร์ คอื วิชาทว่ี า่ ดว้ ยการจัดสรรทรัพยากรท่ีมอี ยู่อย่างจ�ำกัด เพอื่ ตอบสนองความต้องการของมนษุ ย์ทไี่ ม่ ส้นิ สุด ให้เกดิ ประโยชน์สงู สุด ความต้องการของมนุษย์ > ทรพั ยากร เศรษฐศาสตร์ จุลภาค การขาดแคลนทรพั ยากร มหภาค ช่วยในการแก้ปัญหา การเลือก ปัญหาพนื้ ฐานทางเศรษฐกจิ จะผลติ อะไร (what) จะผลิตอย่างไร (How) จะผลิตเพอื่ ใคร (For Whom) และจากแผนภาพเราจะเหน็ ได้วา่ การทีค่ วามตอ้ งการของคนเราน้นั มมี ากกวา่ ทรพั ยากรนน้ั เปน็ สาเหตใุ หท้ รพั ยากรนน้ั ขาดแคลน เม่ือทรัพยากรมีจ�ำกัดการที่จะเอาทรัพยากรไปท�ำอะไรหรือใช้ประโยชน์อะไรก็ต้องให้คุ้มค่าด้วย จุดนี้จึงกลายเป็น ปัญหาขึ้นมาเสมอ ปัญหานีเ้ ราจงึ เรยี กว่า ‘ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ’ ซง่ึ ประกอบไปดว้ ย 1. จะผลติ อะไร (what) 2.จะผลิต อยา่ งไร (How) 3.จะผลติ เพอ่ื ใคร (For Whom) ถา้ บอกอยา่ งนห้ี ลายคนอาจจะงง อยา่ งนน้ั เรามาฟงั นทิ านสกั เรอ่ื งเพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจ มากข้ึนละ่ กัน ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 57
คนเจา้ ปญั หา ? กาลครั้งหนึ่งนานมาแลว้ นานแสนนาน นานมาก....มีชาวสวนคนหนง่ึ เพ่งิ ไดร้ บั มรดกทด่ี นิ จากคณุ ตาเปน็ จำ� นวน 5 ไร่ ชาวสวนผนู้ น้ั กค็ ดิ ทจ่ี ะนำ� ทด่ี นิ เหลา่ นน้ั มาขยายปลกู พชื ผลตา่ งๆ แตช่ าวสวนคนนน้ั ยงั ตดั สนิ ใจไมไ่ ดว้ า่ จะปลกู อะไรดี ใจหนง่ึ เขา ก็อยากปลกู ส้ม ใจหนง่ึ เขากอ็ ยากจะปลูกกลว้ ย แตอ่ ีกใจหนึง่ กอ็ ยากจะปลกู ฝ้าย ชาวสวนคนน้ันคิดๆ เท่าไหรก่ ็คดิ ไมอ่ อก แต่ อยู่มาวันหน่ึงขณะที่ชาวสวนเดินเล่นอยู่ในตลาดก็เหลือบไปเห็นกล้วยตากที่วางขายอยู่ เลยได้ไอเดียว่าจะน�ำที่ดินเหล่าน้ันไป ปลกู อะไร พอกลบั มาบ้านชาวสวนก็ตัดสินใจวางแผนการท�ำธุรกิจกล้วยตากเคลือบวานิลา พอคดิ ได้แล้ววา่ จะท�ำอะไรก็ดนั มา เจอปญั หาต่ออีก น่นั ก็คอื แล้วฉนั จะทำ� ไอเ้ จา้ กลว้ ยตากนี่อย่างไร ก็คิดไปแล้วลองไปสอบถามผู้รู้ ก็ไดไ้ อเดียว่า “อ๋อ! ฉันก็จะทำ� โรงตากกล้วยและก็จะใช้เครื่องจักรช่วยทุ่นแรงล่ะกัน” หลังจากที่รู้แล้วว่าจะผลิตอะไร ท�ำยังไงก็ดันมาเจอปัญหาสุดท้ายคือ แลว้ ฉนั จะเอาไปขายใครกนั ในขณะทน่ี งั่ คดิ อยกู่ ม็ แี มค่ า้ เดนิ ผา่ นมาเลยชวนคยุ แลว้ พดู ถงึ เรอ่ื งการเสนอขายกลว้ ยตาก ผลสรปุ แม่ค้าคนน้ันก็ตอบตกลงและสนใจเป็นตัวแทนการขายสินค้าให้ หลังจากน้ันชาวสวนคนน้ีก็ได้เริ่มด�ำเนินการผลิตกล้วยตาก เคลอื บวานลิ าจนได้กำ� ไรเป็นกอบเปน็ กำ� และกม็ คี วามสุขจนถงึ ปจั จุบนั .... จากนิทานเรอื่ งนี้ท�ำให้เราได้เข้าใจมากย่ิงขึน้ ว่า = จะผลิตอะไร (what) ปญั หาพน้ื ฐานทางเศรษฐกิจ = จะผลิตอยา่ งไร (How) = จะผลติ เพื่อใคร (For Whom) สงิ่ ท่อี ยากใหท้ ุกคนจำ� และท�ำความเข้าใจ คือ กรอบความหมายและแผนภาพดา้ นบน เพราะข้อสอบชอบถามและเรอื่ ง พวกนีก้ เ็ ป็นเรอ่ื งพืน้ ฐานในการตอ่ ยอดเรอ่ื งตอ่ ๆ ไปดว้ ย เม่ือเราทราบถงึ ความหมายแลว้ เราจะพอสงั เกตเหน็ วา่ เศรษฐศาสตร์ยังแตกแขนงออกเป็นสองสาขาใหญๆ่ คือ • เศรษฐศาสตร์จุลภาค : จะศกึ ษาเรอ่ื งราวในระดับยอ่ ยๆ เล็กๆ (เพราะค�ำวา่ ‘จุล’ กแ็ ปลว่า เล็ก) เช่น เรอื่ งราคาสินคา้ รายไดข้ องคนๆ เดยี ว เปน็ ต้น • เศรษฐศาสตรม์ หภาค : จะศกึ ษาในระดบั ภาพรวมทง้ั ระบบ ระดบั ประเทศ เชน่ เรอ่ื งคา่ แรง ภาวะเงนิ เฟอ้ ภาวะเงนิ ฝดื การวา่ งงาน เปน็ ต้น นอกจากนี้พวกเรารหู้ รือเปลา่ วา่ วชิ าเศรษฐศาสตรย์ ังมคี วามส�ำคัญในแงต่ า่ งๆ เช่น 1. ในแง่ของผู้บริโภค : ท�ำใหร้ ้จู กั เลือกใชส้ นิ คา้ อย่างคุ้มคา่ และเกดิ ความพอใจกับตนเองสงู สุด เพราะทรพั ยากรเรามี จ�ำกดั กเ็ หมอื นกบั เราไปซอ้ื ของกต็ ้องเลอื กของท่ดี ที ถ่ี กู ใจเพราะเราก็มเี งินไมม่ ากพอที่จะซื้อของทง้ั หมด 2. ในแงข่ องผผู้ ลติ : ทำ� ใหร้ จู้ กั ใชว้ ธิ กี ารทท่ี ำ� ใหไ้ ดก้ ำ� ไรสงู สดุ จากตน้ ทนุ การผลติ ทต่ี ำ�่ สดุ รวมถงึ วางแผนการผลติ ดว้ ย 3. ในแงร่ ัฐบาล : สามารถวางแผนหรือนโยบายในการแกไ้ ขปัญหาทางเศรษฐกิจได้ เพ่อื สรา้ งเสถยี รภาพและความกนิ ดีอยู่ดีของประชาชน 58 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
คำ� ศพั ทเ์ ศรษฐศาสตร์เบ้อื งตน้ 1. ตน้ ทนุ คา่ เสียโอกาส : มลู คา่ สงู สดุ ของสินค้าทีเ่ ราไมไ่ ดเ้ ลือก หรือจะเปรยี บประมาณวา่ ได้อย่างหนงึ่ ก็ตอ้ งเสยี อยา่ งหนง่ึ หลายคนอาจจะยงั งงอยู่ เด๋ียวลองดูตัวอยา่ งเพอื่ ประกอบการเขา้ ใจละ่ กัน ไดอ้ ยา่ ง....ก็ต้องเสียอย่าง.... สมมติว่าพวกเราได้รับเงนิ รางวลั จากการชงิ โชคเป็นจ�ำนวนเงิน 1,000,000 บาท แต่ยังไมร่ วู้ ่าจะเอาไปท�ำอะไรดี เพราะยังตัดสินใจไม่ได้ ระหว่างน�ำไปฝากธนาคารได้ดอกเบี้ยปีละ 50,000 บาท หรือจะไปลงทุนกับเพื่อนได้ก�ำไรปีละ 200,000 บาท หรอื สุดท้ายนำ� เงนิ ไปซ้อื อาคารพาณชิ ย์เพื่อปล่อยใหเ้ ชา่ ได้ปีละ 60,000 บาท ถ้าเราคิดตามหลักเศรษฐศาสตร์ก็คงต้องเลือกน�ำเงินไปลงทุนกับเพ่ือน เพราะได้รับผลตอบแทนท่ีดีที่สุด ส่วน ต้นทนุ ค่าเสียโอกาสท่ีน้องๆ จะตอ้ งเสียไปนัน่ กค็ ือ การทีเ่ ราไม่เลอื กไปลงทุนซื้ออาคารพาณชิ ย์ใหเ้ ช่าน้ัน (60,000 บาท) เพราะเป็นมูลค่าสูงสุดของสินค้าหรือทางเลือกท่ีเราไม่ได้เลือกนั่นเอง (อย่าเผลอเอาดอกเบี้ยที่ได้จากธนาคารมารวมกัน ด้วยเชยี ว ไม่ง้นั โดนต้มจนเปือ่ ยแนๆ่ ) 2. ทรพั ย์เสรี : ส่ิงทีม่ อี ยูท่ วั่ ไปตามธรรมชาติ เช่น ลม แสงแดด อากาศ ทสี่ ำ� คัญเราไม่ต้องใชเ้ งินซอ้ื จนบางคร้ังเราก็ เรยี กวา่ “สนิ คา้ ไร้ค่า” หรอื “สนิ ค้าได้เปล่า” 3. เศรษฐทรัพย์ : สินค้าที่ต้องซื้อขายกัน มีต้นทุนในการผลิต ต้องจ่ายเงินถึงจะได้ของสิ่งนั้นๆ แบ่งออกได ้ 2 ประเภทคอื สินค้าเอกชน : สินค้าที่เรามีสิทธิจะให้ใครใช้หรือไม่ก็ได้ เพราะเป็นของๆ เรา เป็นของส่วนตัว เช่น รถยนต์ทบ่ี ้าน จะให้เพือ่ นมาใชเ้ ลยกไ็ มไ่ ดต้ อ้ งขอกอ่ น สินค้าสาธารณะ : สินค้าส่วนรวมทีเ่ ราไมไ่ ด้มสี ิทธิคนเดียวคนอนื่ ก็มสี ิทธเิ ช่นกนั เช่น ถนน ไฟฟ้า หรอื นำ้� ประปา เป็นตน้ 4. ต้นทนุ ทางสังคม Vs. ทนุ ทางสังคม สองค�ำนดี้ ผู ิวเผนิ อาจจะเหมือนกันแตจ่ รงิ แล้วไมเ่ หมอื นกนั เลย เนื่องจากทั้ง 2 ค�ำนี้ มีวธิ ีการนำ� ไปใช้ที่แตกต่างกนั อย่างส้นิ เชิง ต้นทุนทางสังคม คือ ผลกระทบทเ่ี กดิ กบั สงั คมในเชิงลบ เชน่ มลพษิ ตา่ งๆ ทุนทางสงั คม คือ ปัจจยั โครงสร้างพ้นื ฐานต่างๆ จำ� พวกสาธารณูปโภค สาธารณูปการต่างๆ ซงึ่ กค็ อื พนื้ ฐานความเจรญิ ของสังคมนนั่ เอง 5. คา่ ครองชีพ Vs. มาตรฐานการครองชพี สองคำ� น้ดี ผู วิ เผินอาจจะเหมอื นกนั แต่จริงแลว้ ไมเ่ หมอื นกนั เลย เนื่องจาก ทง้ั 2 คำ� นี้ มีวธิ กี ารนำ� ไปใชท้ ่แี ตกตา่ งกนั อย่างสิน้ เชิง คา่ ครองชพี คือ คา่ ใชจ้ ่ายประจ�ำวันท่เี ราใช้จ่ายไปในแต่ละวนั ซงึ่ ราคาสนิ คา้ แต่ละที่ไมเ่ ทา่ กัน จงึ ทำ� ให ้ ค่าครองชีพแตล่ ะทต่ี ่างกันไป มาตรฐานคา่ ครองชีพ คือ ระดับการกินดีอยูด่ ีของประชาชน อันนจี้ ะมีตัววัดระดับ แลว้ จะวัดในภาพรวม ท้งั ประเทศ ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 59
กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ กิจกรรมทางเศรษฐกิจ การผลติ การแลกเปลย่ี น การบรโิ ภค 1. การผลิต : เป็นขั้นตอนแรกของกจิ กรรมทางเศรษฐกิจ และทำ� ให้เกิดสนิ คา้ และบริการประเภทของสินคา้ แบง่ เปน็ 2 ประเภท ใหญ่ๆ คอื ทรัพยเ์ สรี และเศรษฐทรัพย์ 1.1 ประเภทการผลติ การแปรรูป : เปลี่ยนหมสู ด --> หมกู ระเทยี มพรกิ ไทย การเล่อื นเวลาใช้สอย : เปล่ียนมะมว่ ง --> มะม่วงดอง การเปล่ียนสถานท่ี : สินค้านำ� เขา้ ตา่ งๆ การเปลี่ยนกรรมสิทธ์ิ : พวกนายหน้าขายที่ การใหบ้ ริการ : อาชีพใหบ้ รกิ ารต่างๆ เช่น แพทย์ ทนาย ครู เป็นตน้ 1.2 ล�ำดบั ขัน้ ตอนการผลิต ขน้ั ปฐมภมู ิ : เปน็ ขนั้ ตอนงา่ ยๆ ไม่ยงุ่ ยากมาก ยังไมม่ กี ารแปรรปู เช่น ท�ำไร่ออ้ ย สวนเงาะ เปน็ ตน้ ขัน้ ทุติยภูมิ : เริม่ มคี วามซบั ซ้อนมากขน้ึ มกี ารใชเ้ ครื่องจักรเข้ามาช่วยในการผลติ มีการแปรรปู สนิ คา้ เช่น เอา เงาะทีไ่ ด้มาแปรรูปเปน็ เงาะกระปอ๋ ง ขน้ั ตตยิ ภูมิ : เป็นขน้ั ตอนของการขนสง่ และการบรกิ าร เชน่ น�ำเงาะกระป๋องใส่กลอ่ งแล้วสง่ ไปขายตามรา้ นต่างๆ ท่วั โลก 1.3 ปจั จัยการผลติ : ทรัพยากรต่างๆ ท่ีน�ำมาใชใ้ นการผลติ แบ่งได้ 4 ประเภท (อันนอี้ อกข้อสอบมาก) ปัจจัยการผลติ ผลตอบแทน ค่าเชา่ ทด่ี นิ : ทด่ี ิน + ทรัพยากรตา่ งๆ ในดนิ ดอกเบยี้ ทนุ : สิง่ ทม่ี นุษย์สร้างขึ้นเพอื่ ใชใ้ นการผลติ เช่น เครื่องมือเครอื่ งจกั รหรืออุปกรณ์ต่างๆ คา่ จา้ ง (เงินเดอื น) ยกเว้นเงินที่ไม่ถือว่าเป็นทนุ ทีแ่ ท้จริงทางเศรษฐศาสตร์ หากแตเ่ ปน็ สื่อกลางในการจดั หา สินคา้ ทนุ เท่านน้ั แรงงาน : ทรัพยากรมนุษยท์ ีใ่ ชแ้ รงกายและความคดิ ในการท�ำงาน ผูป้ ระกอบการ : เปน็ คนท่นี �ำท่ีดิน + ทุน + แรงงาน มารวมกันใหก้ ลายเป็นสินค้าและบริการ กำ� ไร เพราะฉะนนั้ ผ้ปู ระกอบการจึงมคี วามส�ำคัญมาก เพราะสนิ ค้าจะดีมีคุณภาพมากนอ้ ยแค่ไหนก็ ข้ึนอยกู่ ับผ้ปู ระกอบการนนั่ เอง 60 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya
2. การแลกเปล่ียน : เป็นการเปลี่ยนความเป็นเจ้าของกัน โดยมีวิวัฒนาการมานานมากแล้วตั้งแต่สมัยโบราณ โดยแบ่ง ได้ 3 ระยะคือ • แบบสิง่ ของแลกกบั สงิ่ ของโดยตรง เชน่ ฉนั มขี า้ ว เธอมีไข่แล้วเราเอามาแลกกันเพราะฉนั ก็อยากไดไ้ ข่ไปกนิ กับข้าว เธอเองกอ็ ยากได้ข้าวมากินกบั ไขด่ ้วย การแลกเปลย่ี นแบบนีเ้ ราเรยี กอกี อย่างว่า “Barter system” • แบบใชเ้ งิน : เปน็ การใชเ้ งนิ เป็นส่ือกลางในการแลกเปล่ียนแทน • แบบใช้บัตรเครดิต : เปน็ การใช้บตั รเครดิตแทนเงนิ สดในการแลกเปล่ียน เมื่อพูดถึงการแลกเปลย่ี น นอกจากจะมีเรอ่ื งเงนิ แลว้ ยังมี “สถานที”่ ทใี่ ช้ในการแลกเปลย่ี นกนั เรยี กว่า “ตลาด” แต่ อย่าเพ่ิงนึกถึงภาพตลาดสดนะ เพราะคำ� ว่า “ตลาด” ในทางเศรษฐศาสตร์ คือ กิจกรรมการตกลงซ้ือขายสินค้าหรือบริการ ระหวา่ งผู้ซ้ือและผขู้ าย โดยไมค่ ำ� นงึ วา่ จะต้องใช้สถานทีใ่ ดๆ เพราะฉะน้นั การซือ้ ขายกันผ่านทาง Facebook หรือ IG ต่างๆ ก็ ถอื เป็นตลาดเหมือนกนั ดังน้ันจงึ สรปุ ไดว้ า่ ตลาด ผขู้ าย สินคา้ ผูซ้ ื้อ ความต้องการในการ ซือ้ -ขายแลกเปลีย่ นกัน นอกจากน้ีเรายงั สามารถแบง่ ตลาดเป็นประเภทได้ 2 ประเภทใหญ่ๆ ดงั น้ี ตลาด (Market) ตลาดแขง่ ขนั สมบูรณ์ กึ่งแขง่ ขนั กึ่งผูกขาด ตลาดแขง่ ขันไม่สมบรู ณ์ ผูกขาด มผี ู้ซอ้ื -ผขู้ ายมาก ผขู้ ายน้อยราย สนิ ค้าเหมือนกันทุก มผี ้ขู ายมาก มีผขู้ ายนอ้ ย มีผขู้ ายเพียงรายเดียว ประการ สินค้าคล้ายกนั แตไ่ ม่ เหมอื นกนั สินคา้ ต่างกนั แตใ่ ชแ้ ทน ผู้ขายกำ� หนดราคาเอง กลไกตลาดเป็นตวั กำ� หนดราคา กนั ได้ ได้ ผูซ้ อื้ ผู้ขายต้องร้รู าคาสินคา้ เปน็ มีการแข่งขันกันสงู ถ้าหากผูข้ ายคนหนึง่ มกั เปน็ ธรุ กิจขนาดใหญ่ อยา่ งดี มีการโฆษณา และยีห่ ้อ ปรบั ราคาก็จะกระทบต่อผู้ ใชเ้ งนิ ลงทุนสูง ของสนิ คา้ หลากหลาย ขายคนอืน่ ด้วย สามารถเขา้ -ออก / ซื้อ-ขาย ได้ ตวั อยา่ งทเี่ หน็ ได้ชดั ตวั อย่างเชน่ ไฟฟ้า สะดวกและเสรี เช่น บะหมกี่ ง่ึ สำ� เร็จรปู ผขู้ ายจะขายสนิ ค้าคร้ัง ประปา ถนน รถไฟฟ้า เสอ้ื ผา้ รองเท้า เปน็ ต้น ละจำ� นวนมาก เป็นตน้ เปน็ ตลาดในอุดมคติ แต่ ตวั อยา่ งทใ่ี กลเ้ คยี งกพ็ วกตลาด ท่เี ห็นไดช้ ดั คือ สินคา้ เกษตร เช่น ผกั ปลา เนอื้ ที่ หนงั สือพิมพ์ คอมพิวเตอร์ เราจะซือ้ รา้ นไหนกเ็ หมือนๆ กัน ไม่ สายการบิน ตา่ งกนั มาก ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 61
3. การบรโิ ภค : การใช้ประโยชนจ์ ากสนิ ค้าและบรกิ ารใดๆ ก็ตามเพื่อตอบสนองความต้องการของตนเอง ปจั จัยทที่ �ำให้เกิดการ บริโภค ได้แก่ รายได้ รสนิยม ราคาสินค้า การโฆษณา รายได้ในอนาคตของผู้บริโภค และปริมาณสินค้าที่มีในตลาด และ เน่ืองจากตลาดมีการแข่งขันไม่สมบูรณ์ท�ำให้รัฐต้องคุ้มครองผู้บริโภคเพ่ือไม่ให้เสียเปรียบ โดยมีการออก พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ บรโิ ภค พ.ศ. 2522 แกไ้ ขเพ่มิ เตมิ พ.ศ. 2541 ซึง่ กลา่ วถงึ สทิ ธผิ ูบ้ รโิ ภค ดงั นี้ สทิ ธทิ ีจ่ ะไดร้ บั ข่าวสารและค�ำพรรณนาทีถ่ กู ต้อง สทิ ธทิ ี่จะเลอื กซ้อื สินคา้ ดว้ ยความสมัครใจปราศจากการชักจงู สิทธิที่จะไดร้ ับความปลอดภยั จากการใชส้ นิ ค้าและบริการ สทิ ธทิ ่ีจะได้รบั ความเปน็ ธรรมในการทำ� สัญญา สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดเชยความเสยี หาย เมอ่ื มกี ารละเมดิ สิทธิ กลไกตลาด เมอ่ื พดู ถึง กลไกตลาด เราจะต้องเจออกี สองค�ำด้วย นั่นกค็ ือ อุปสงค์ และอุปทาน 1. อุปสงค์ (Demand) คือ ปรมิ าณความต้องการซอ้ื ทผ่ี ซู้ ือ้ น้ันมีอ�ำนาจในการซอ้ื ตัวอยา่ งเช่น ตอนพกั เท่ยี งเอหวิ ขา้ ว มากเลยเดนิ ไปซอ้ื ข้าวผดั ตรงนแี้ สดงวา่ เอมคี วามต้องการแล้ว และถา้ เอไปสง่ั แลว้ มเี งินจา่ ยคนขายแสดงวา่ เกิดอปุ สงค์ แต่ ถา้ ไม่มีเงินจ่ายก็ไม่เกิดอปุ สงค์ สรุปได้ง่ายๆ วา่ อ�ำนาจในการซ้ือนัน้ ก็คือ...มีเงินหรอื เปลา่ นน่ั เอง อุปสงค์ ความต้องการ อำ� นาจในการซอ้ื กฎของอุปสงค์ ถา้ ราคาสินคา้ และบรกิ าร อปุ สงคข์ องผู้บริโภค ถา้ ราคาสินค้าและบริการ อุปสงค์ของผบู้ รโิ ภค ปัจจยั ท่มี ีผลตอ่ อุปสงค์ รายได้ของผู้บริโภค : ถา้ มีรายได้มากกจ็ ะบรโิ ภคมาก อปุ สงคก์ ็จะมากตามไปด้วย ราคาสินคา้ ชนิดอ่ืน : เช่น ไขไ่ กร่ าคาสูงขน้ึ ----> อปุ สงค์ต่อไขเ่ ป็ดก็มากขน้ึ เพราะคนหนั มาซื้อไขเ่ ปด็ แทน หรือไมป้ งิ ปอง ราคาสูงขึ้น ----> อุปสงคต์ ่อลกู ปงิ ปองจะลดลง เพราะจะซอื้ ลูกปงิ ปองมาเล่นอยา่ งเดียวโดยไมม่ ไี มก้ ็ไม่ได้ อื่นๆ เชน่ รสนิยม การโฆษณา และการคาดการณร์ ายไดใ้ นอนาคต เปน็ ตน้ 2. อุปทาน (Supply) คือ ปรมิ าณความต้องการขาย หมายถงึ ปรมิ าณสนิ คา้ และบรกิ ารชนดิ ใดชนดิ หนงึ่ ทผี่ ผู้ ลติ เต็มใจน�ำออกเสนอขาย ในตลาดภายในระยะเวลาหนึง่ ณ ระดับราคาต่างๆ กันของสินค้าและบริการน้นั 62 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya
กฎของอปุ ทาน ถ้าราคาสนิ คา้ และบรกิ าร อปุ ทานของผ้บู รโิ ภค ถ้าราคาสนิ คา้ และบรกิ าร อปุ ทานของผบู้ รโิ ภค ปัจจัยท่มี ีผลต่ออปุ ทาน ต้นทนุ การผลติ : ถา้ ต้นทนุ สงู ๆ คนกไ็ มอ่ ยากขาย อุปทานเลยต�ำ่ เทคโนโลยีการผลติ : เมอ่ื ใช้เทคโนโลยเี ข้ามาช่วยจะท�ำใหผ้ ลิตไดม้ ากขึ้น ----> ตน้ ทนุ จะต�ำ่ ----> อุปทานกจ็ ะสูงข้ึน ภาษี : ถา้ สนิ คา้ โดนเกบ็ ภาษีมาก ราคาต้นทุนของสนิ คา้ จะสูง อุปทานจะลดลง การคาดคะเนในอนาคตของผ้ผู ลิต : เราคดิ ว่าในอนาคตขา้ งหนา้ จะขายสนิ คา้ ได้มากขึน้ ----> ปจั จุบันจะขายน้อยลง ----> ในอนาคตจะขายมากขน้ึ (อปุ ทานมากขึ้น) จ�ำนวนผู้ขาย : ถ้ามีคนขายสินค้าน้ันมาก ----> อุปทานจะเพิ่มขึ้นเพราะตลาดกำ� ลังขยายตัวและเป็นการช่วงชิงส่วนแบ่ง ทางการตลาดดว้ ย 3. ภาวะดุลยภาพ (Equilibrium) คือ ภาวะท่ปี รมิ าณอปุ สงคแ์ ละปรมิ าณอุปทานเทา่ กนั ณ ราคาดุลยภาพ ทำ� ให้สินค้า หมดพอดี และเมอ่ื พูดถงึ คำ� น้ีเราจะเจอค�ำว่า ราคาดลุ ยภาพและ ปรมิ าณดุลยภาพซง่ึ ท้งั สองค�ำนีม้ คี วามหมายต่างกัน โดยต่อ จากนี้ไปอยากให้เราทุกคนท่ีอา่ นมาถงึ ตรงนี้ตงั้ ใจและพยายามทำ� ความเข้าใจกับกราฟด้านล่างให้ดๆี เพราะมนั คอื หวั ใจส�ำคญั อนั หนึ่งของเรือ่ งน้เี ลยทีเดยี ว ราคาดลุ ยภาพ P ราคาลองกอง (บาท/กก.) อปุ ทาน อุปทานส่วนเกิน (สินค้าล้นตลาด) 50 จุดดลุ ยภาพ 45 (สนิ คา้ หมด) อุปสงคส์ ว่ นเกิน 40 (สนิ คา้ ขาดตลาด) 35 อปุ สงค์ 30 25 20 1 2 34 5 67 Q ปรมิ าณลองกอง (กก.) ปรมิ าณดุลยภาพ ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 63
สมมตวิ า่ กราฟน้เี ป็นการแสดงเหตุการณ์การซ้อื ลองกองของยายแหวว ยายดาวและหนูจ้อย - ยายแหววก�ำลงั เดนิ เลอื กซ้ือของอยู่ก็สะดดุ ตากบั แผงลองกองทตี่ ดิ ราคาไว้ 1 กโิ ลกรมั 35 บาท ยายแหววเลยเลอื ก ซอื้ ไป 4 กโิ ลกรัม โดยไม่มกี ารตอ่ รองใดๆ และก็มีลกู คา้ คนอนื่ มาซื้อต่อจากยายแหววจนลองกองหมดแผง ----> สถานการณ์ นคี้ ือภาวะดลุ ยภาพ ของหมดและพอใจกนั ทง้ั คู่ - ยายดาวก็มาจ่ายตลาดเหมือนกัน แต่เดินมาเห็นคนมุงแผงลองกองกันเต็มไปหมดเลยชะโงกหน้าเข้าไปดูปรากฏว่า ขายถกู มากกโิ ลกรมั ละ 20 บาท ยาวดาวไมร่ อชา้ รบี จว้ งมอื ซอ้ื ไป 7 กโิ ลกรมั หลงั จากนน้ั ไมก่ นี่ าทลี องกองกห็ มด ----> สถานการณ์ นค้ี อื ภาวะอปุ สงคส์ ว่ นเกนิ ของจะหมดลงอยา่ งรวดเรว็ และไมเ่ พยี งพอตอ่ ความตอ้ งการของลกู คา้ ทำ� ใหส้ นิ คา้ นนั้ ขาดตลาด แต่ สุดทา้ ยราคาจะปรับตวั สูงขนึ้ จนเข้าสูร่ าคาดลุ ยภาพ และทกุ อยา่ งก็จะปกติ - ส่วนหนูจอ้ ยก็ออกมาซ้ือลองกองให้แมเ่ หมอื นกนั แตด่ นั มาเจอแมค่ ้าหน้าเลอื ดขายกโิ ลกรัมละ 50 บาท หนูจอ้ ยเลย ซอ้ื เพียงกโิ ลกรมั เดยี ว พอกลับมาบา้ นขณะที่เอาลองกองมาใหแ้ ม่ แม่กห็ าว่าหนูจ้อยแอบเอาเงินไปซือ้ ขนม เพราะแม่หนจู ้อย บอกวา่ ยายดาวซื้อมากิโลกรมั ละ 20 บาทเอง ----> สถานการณ์นคี้ อื ภาวะอปุ ทานสว่ นเกนิ สนิ คา้ จะมีราคาแพงมาก จนคนไม่ ค่อยซ้ือมากนกั ท�ำใหส้ ินค้าเหลอื จนลน้ ตลาดแตส่ ดุ ท้ายผ้ขู ายกต็ ้องปรบั ราคาให้ถูกลงจนเขา้ ส่รู าคาดุลยภาพ จากเหตกุ ารณ์ทั้ง 3 กรณสี รปุ ไดว้ ่าไม่วา่ ราคาจะปรบั ตวั อยู่ในภาวะอปุ สงคส์ ่วนเกินหรืออปุ ทานสว่ นเกนิ กต็ าม แต่สดุ ทา้ ย แลว้ ราคาจะปรบั เขา้ สจู่ ดุ ดลุ ยภาพเสมอเพราะทจี่ ดุ ดลุ ยภาพเปน็ จดุ ทส่ี นิ คา้ ขายหมดพอดี ไมข่ าด ไมเ่ หลอื และเมอื่ ของขายหมด คนขายก็ happy มคี วามสุขสว่ นคนซอ้ื ก็ happy กบั ราคาที่ตนพอใจเชน่ กนั การแทรกแซงราคา ตลาดในความเปน็ จรงิ สว่ นใหญเ่ ปน็ ตลาดทม่ี กี ารแขง่ ขนั ไมส่ มบรู ณ์ ดงั นน้ั รฐั จงึ มหี นา้ ทเี่ ขา้ มาชว่ ยเหลอื และจดั การโดย ใชก้ ลไกการแทรกแซงราคาเพอ่ื ให้เกิดความเป็นธรรมในการกระจายรายไดร้ ะหว่างผผู้ ลติ กบั ผ้บู รโิ ภค ท่นี ิยมท�ำกนั จะมี 3 แบบ • การก�ำหนดราคาขนั้ ตำ่� รัฐบาลจะเขา้ มาช่วยเหลือผู้ผลติ โดยจะกำ� หนดราคาขน้ั ต�่ำในการรับซื้อสินค้านัน้ ไวซ้ ่ึงจะต้องสงู กวา่ ราคาดุลยภาพ แต่ สิง่ ท่ตี ามมาคือตลาดจะอยู่ในภาวะอุปทานส่วนเกิน คอื จะมขี องเหลือมากมาย ดงั นั้นในสว่ นท่ีเหลอื นรี้ ัฐบาลจะมารบั ซ้ือไป แต่ มาตรการน้ีจะท�ำเพียงชั่วคราวเท่านั้นเพราะใช้เงินเยอะพอสมควร แล้วใช้การแก้ไขในระยะยาว คือ ลดปริมาณการผลิต สินค้าลง • การจา่ ยเงนิ อุดหนุน มาตรการน้ีจะคล้ายๆ กับการก�ำหนดราคาขั้นต�่ำ แต่ต่างกันตรงที่รัฐจะให้เกษตรกรขายสินค้าในราคาตลาด (ราคา ดุลยภาพ) ก่อน แลว้ สว่ นทเ่ี หลือรัฐจะจา่ ยสมทบ เช่น ราคาตลาดขา้ วเกวยี นละ 10,000 บาท แตร่ ัฐก�ำหนดราคาข้นั สงู (ราคา ประกัน) ไวท้ ี่ 15,000 บาท ดงั น้นั รฐั ตอ้ งจ่ายเงนิ สมทบเกษตรกรอีก 5,000 บาท เพ่ือให้ไดเ้ งินเทา่ กับราคาประกนั • การกำ� หนดราคาขน้ั สูง เมอื่ ผบู้ รโิ ภคเดอื ดรอ้ นรฐั จะเขา้ มาแทรกแซงราคาโดยกำ� หนดราคาเพดาน (ราคาขน้ั สงู ) โดยจะเปน็ ราคาทต่ี ำ�่ กวา่ ระดบั ดุลยภาพ ดังน้ันจะท�ำให้สินค้าในตลาดอยู่ในภาวะอุปสงค์ส่วนเกิน สินค้าจะขาดตลาดจนน�ำไปสู่การเกิดลักลอบขายสินค้าใน ราคาท่ีสงู เกนิ กวา่ รฐั กำ� หนดหรือท่เี ราเรยี กกนั วา่ “ตลาดมืด” (แตก่ ็จะต�่ำกวา่ ราคาดุลยภาพ) เพราะฉะนัน้ รัฐจะมีมาตรการปนั สว่ นสนิ ค้า เพื่อกระจายสนิ คา้ ให้ไดท้ ่ัวถึงตามมาด้วย 64 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya
• การก�ำหนดราคาขน้ั ต�ำ่ ----> ราคาประกนั สงู กว่าราคาดุลยภาพ ----> ช่วยเหลือผ้ผู ลติ • การกำ� หนดราคาขนั้ สงู ----> ราคาเพดานต่�ำกวา่ ราคาดลุ ยภาพ ----> ช่วยเหลือผูบ้ ริโภค หนว่ ยเศรษฐกจิ กิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ จ�ำเป็นต้องมีผู้ประกอบกิจกรรมเสมอ คนท่ีจะมาท�ำกิจกรรมเหล่าน้ีเขาเรียกว่า หน่วย เศรษฐกิจ ซึง่ มที ้ังหมด 3 หน่วย คอื 1. หนว่ ยครวั เรอื น : กค็ อื คนที่อยู่ในครอบครัวน่นั แหละ ท�ำหน้าที่เปน็ เจ้าของปัจจัยการผลิตและผ้บู รโิ ภค 2. หน่วยธรุ กิจ : กลุ่มคนทนี่ ำ� ปจั จยั การผลิตท่ีได้จากหนว่ ยครวั เรอื นมาผลติ สินค้าและบริการแล้วขายให้กบั ผบู้ รโิ ภค 3. หน่วยรัฐบาล : หน่วยงานราชการต่างๆ ที่ท�ำหนา้ ท่ีคอยควบคมุ ดแู ลกิจกรรมทางเศรษฐกิจใหส้ อดคลอ้ งกบั นโยบาย ที่วางไว้ ความสัมพนั ธข์ องหน่วยเศรษฐกิจ ค่าใชจ้ า่ ย ตลาดสินค้า หรอื สนิ คา้ และบรกิ าร ตลาดผลผลิต รายได้ ผ้บู ริโภค หรือ ผูผ้ ลติ หรอื ครัวเรือน หรอื ธรุ กิจ เจา้ ของปจั จัยการผลติ รายได้ ค่าใชจ้ า่ ย ปจั จยั การผลติ ตลาดปัจจยั การผลติ ปัจจัยการผลิต จากแผนภาพเราจะเห็นว่าหน่วยครัวเรือนขายปัจจัยการผลิตให้กับหน่วยธุรกิจและหน่วยธุรกิจก็ขายสินค้าและบริการ กลับไปให้หน่วยครัวเรือน ตัวอย่างง่ายๆ คือ สมมติว่าพ่อท�ำงานเป็นผู้จัดการโรงงานปลากระป๋อง แสดงว่าพ่ออยู่หน่วย ครัวเรือน และขายปัจจัยการผลิตนั่นก็คือแรงงานให้กับโรงงาน โรงงานก็ให้ผลตอบแทนเป็นเงินเดือนกลับมา ส่วนพ่ออยาก กนิ ปลากระปอ๋ งกซ็ อื้ ปลากระปอ๋ งทโ่ี รงงานขายนกี่ แ็ สดงวา่ โรงงานเปน็ หนว่ ยธรุ กจิ ขายสนิ คา้ ใหก้ บั พอ่ ซง่ึ ทำ� หนา้ ทผ่ี บู้ รโิ ภคดว้ ย ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 65
ระบบเศรษฐกจิ ...(เน้น!!! อนั น้ีออกทกุ ป)ี ระบบเศรษฐกิจ ลกั ษณะ ขอ้ ดี ขอ้ เสยี ทนุ นยิ ม เอกชนเปน็ เจา้ ของ ประชาชนมีเสรีภาพ มแี รง ความไม่เทา่ เทยี มในการ สังคมนยิ ม ทรพั ยส์ ินและการผลิต จงู ใจในการทำ� งาน กระจายรายได้ มีการแข่งขนั โดยมีกำ� ไรเป็น ของราคาถกู และคณุ ภาพดี ธรุ กจิ ใหญ่ไดเ้ ปรียบธรุ กิจเลก็ แรงจูงใจ รฐั ไมแ่ ทรกแซงการผลติ ใชท้ รพั ยากรสนิ้ เปลือง เกดิ ลทั ธวิ ตั ถุนยิ มและบริโภค กิจกรรมทางเศรษฐกิจ นยิ ม ดำ� เนนิ ไปโดยผา่ นกลไกราคา รฐั บาลมีหน้าทเ่ี ฉพาะดา้ น การออกกฎหมาย และบริการสงั คม ระบบสหกรณม์ คี วามสำ� คญั ลดความไม่เทา่ เทยี มทาง ประชาชนขาดเสรภี าพ มกี ารจดั สวสั ดกิ าร รายไดก้ ระจายรายได้เปน็ การผลติ ทล่ี า้ หลงั เกดิ ความ รฐั บาลเขา้ ควบคมุ กจิ กรรม ธรรมมากข้นึ ลา่ ชา้ ในการทำ� งาน ทางเศรษฐกจิ ทง้ั หมด ขาดแรงจงู ใจในการทำ� งาน มกี ลไกราคานอ้ ยมากๆ รฐั นำ� รายไดม้ าจดั สวสั ดกิ ารให้ มกี ารวางแผนจากสว่ นกลาง ประชาชนกนิ ดี อยดู่ ี ผสม เอกชนมสี ทิ ธใิ นทรพั ยส์ นิ และ รฐั แทรกแซงเฉพาะทจ่ี ำ� เปน็ นายทนุ ยงั มอี ทิ ธพิ ลอยู่ ปจั จยั การผลติ ประชาชนมเี สรภี าพทางการเมอื ง มปี ญั หาความเหลอ่ื มลำ้� มกี ลไกราคา มกี ารแขง่ ขนั แต่ รฐั จะรกั ษาผลประโยชนข์ อง ทางการกระจายรายไดแ้ ละ รฐั แทรกแซงบา้ ง ประชาชนไมใ่ หถ้ กู เอารดั เอา ปญั หาชอ่ งวา่ งระหวา่ งชนชน้ั รฐั ดำ� เนนิ การพวกสาธารณปู โภค เปรยี บ รฐั วสิ าหกจิ บางแหง่ ยงั ขาด และสาธารณปู การ ประชาชนมแี รงจงู ใจในการ ประสทิ ธภิ าพและขาดทนุ มกี ารวางแผนพฒั นา ทำ� งาน อาจมกี ารคอรปั ชน่ั เกดิ ขนึ้ เศรษฐกจิ และสังคม มกี ารแขง่ ขนั กนั ทำ� ใหส้ นิ คา้ มี รฐั และเอกชนทำ� งานรว่ มกนั คณุ ภาพขน้ึ (รฐั วสิ าหกจิ ) 66 ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
การเงิน เงิน = ส่ิงทท่ี ุกคนยอมรับให้ใชเ้ ปน็ สือ่ กลางในการซ้ือขายแลกเปลยี่ นสินค้าและบรกิ าร 1. เงนิ มีหนา้ ที่ คอื เป็นสือ่ กลางในการแลกเปล่ียน ใช้วดั มูลค่า : ใช้บอกวา่ สินค้าชนิ้ นีร้ าคาเท่าไหร่ (ก�ำหนดราคา) เปน็ เครือ่ งรักษามลู คา่ : เหมอื นกับการเกบ็ เงนิ หยอดไว้ในกระปุก เงนิ 20,000 บาท ผา่ นไป 5 ปี ก็มคี ่า 20,000 บาท แต่ถ้าเอาไปซอ้ื ทอง 5 ปีผา่ นไปอาจจะเหลอื 5,000 บาท เป็นมาตรฐานในการชำ� ระหน้ใี นอนาคต 2. ปริมาณเงิน : เงนิ ทห่ี มุนเวยี นอยใู่ นระบบเศรษฐกิจ แบง่ ไดด้ งั น้ี ความหมายอยา่ งแคบ (M1) = ธนบัตร เหรยี ญ และเงินฝากกระแสรายวัน ความหมายอย่างกวา้ ง (M2) = M1 + เงนิ ทฝี่ ากในธนาคาร 3. มลู ค่าของเงนิ : ความสามารถในการใช้เงนิ ซอื้ สนิ ค้าและบรกิ าร ซึง่ วดั จากดชั นีราคา (ราคาสินคา้ ) โดย ราคาสนิ ค้า ----> มลู ค่าของเงนิ ราคาสนิ ค้า ----> มูลค่าของเงิน 4. สถาบันทางการเงนิ : เมอื่ มเี งินเราก็ตอ้ งร้จู กั เกบ็ ออมโดยนำ� ไปฝากสถาบนั ทางการเงนิ ซ่งึ มีหลายประเภทมาก แต่ที่ ขอ้ สอบชอบถามก็จะมี 4.1 ธนาคารแห่งประเทศไทย (ชื่อเล่น : ธนาคารกลาง หรอื แบงคช์ าต)ิ มีหน้าท่ี คือ เป็นนายธนาคารพาณิชย์ เปน็ นายธนาคารของรฐั บาลและเป็นทีป่ รึกษาดา้ นเศรษฐกิจใหก้ ับรัฐบาล (จะรบั ฝากเงนิ จากรฐั บาลเท่านน้ั ) ออกธนบัตรและดแู ลการแลกเปลย่ี นเงินตราระหวา่ งประเทศ รักษาทนุ ส�ำรองระหว่างประเทศ ควบคมุ ปรมิ าณเงินในระบบและกำ� หนดนโยบายการเงิน รกั ษาเสถยี รภาพทางการเงนิ อย่าลมื !!! แบงค์ชาตไิ ม่รบั ฝากเงนิ หรอื ปล่อยกูใ้ ห้กับประชาชน และผลิตธนบัตรอยา่ งเดียวสว่ นเหรยี ญเป็นหน้าท่ีของ โรงกษาปณ์ 4.2 ธนาคารพาณชิ ย์ : หน้าที่คอื รับฝากเงินและให้กูย้ มื แกป่ ระชาชนทั่วไป ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 67
นา่ รู้ ธนาคารพาณิชย์แหง่ แรกท่จี ัดตั้งขึน้ ในประเทศไทย คอื ธนาคารฮ่องกงและเซ่ียงไฮ้ ของชาวอังกฤษ ธนาคารพาณชิ ย์แหง่ แรกของไทย คือ แบงค์สยามกัมมาจล ตอ่ มาเปลยี่ นเปน็ ธนาคารไทยพาณิชย์ 5. เงนิ เฟ้อ-เงนิ ฝดื 5.1. เงินเฟ้อ : ระดับราคาสนิ ค้าราคาสงู ขน้ึ (ของแพง) อย่างต่อเนอ่ื ง อำ� นาจการซือ้ เลยน้อยลง (ซอ้ื ของไดน้ อ้ ยลง) สาเหตทุ เ่ี กิด คอื ในด้านผผู้ ลติ (แงอ่ ุปทาน) ตน้ ทุนเพม่ิ ขึ้น ---> ผลติ น้อยลง ---> เกิดการตุนของ ---> ของขาดตลาด ราคาสินค้าเลยสูงขน้ึ อย่างตอ่ เนอ่ื ง ในดา้ นผู้บริโภค (แง่อุปสงค์) ประชาชนต้องการซื้อของมากแต่ของมนี อ้ ยกว่า ---> ของขาดตลาด เงนิ เฟอ้ มี 3 ระดับ คอื อ่อน (ก�ำลังดี กระต้นุ เศรษฐกิจ) ปานกลาง และรนุ แรง เม่ือเกดิ ภาวะเงนิ เฟ้อย่อมมที งั้ คนทไี่ ด้ ประโยชนแ์ ละเสยี ประโยชน์ โดย คนทีไ่ ดป้ ระโยชน์ ไดแ้ ก ่ นกั ธรุ กิจ พอ่ ค้า (ของราคาแพงทำ� ใหข้ ายได้ก�ำไรมากข้นึ ) ลูกหน้ี (หนท้ี จี่ ่ายเท่าเดมิ แต่คา่ ของ เงินนอ้ ยลง เจ้าหนเ้ี อาไปซื้อของได้นอ้ ยลง) คนทเ่ี สียผลประโยชน์ ได้แก่ ข้าราชการหรอื ผู้มีรายไดป้ ระจ�ำ ลูกจา้ ง เจา้ หน้ี เพราะไดร้ ายไดเ้ ท่าเดมิ แตค่ ่าของเงนิ ลดลง ซอ้ื ของไดน้ อ้ ยลง 5.2. เงินฝืด : เป็นภาวะทต่ี รงข้ามกบั เงนิ เฟอ้ คอื ราคาสนิ ค้าจะถกู ลงอย่างตอ่ เน่อื ง ค่าของเงนิ สงู ขน้ึ เพราะซื้อของได้ มากขึน้ แต!่ !! ไมซ่ อ้ื ---> ร้านค้าขายของได้นอ้ ย ---> ร้านค้าต้องปดิ กิจการ ---> คนตกงาน ---> เกดิ ปญั หาวา่ งงาน คนท่ีไดป้ ระโยชน์ ไดแ้ ก ่ ข้าราชการหรือผ้มู ีรายได้ประจำ� ลูกจ้าง เจ้าหนี้ (เงนิ เท่าเดมิ ซื้อของได้มากขน้ึ ) คนทีเ่ สยี ผลประโยชน์ ไดแ้ ก่ นกั ธุรกจิ พอ่ คา้ (ราคาสนิ คา้ มันถูก ขาดทนุ ) ลูกหน้ี 6. นโยบายการเงนิ : นโยบายการเงนิ เป็นนโยบายที่ธนาคารกลางใช้ดูแลแกป้ ญั หาเศรษฐกิจมี 2 รูปแบบ คอื 6.1. นโยบายการเงนิ แบบเขม้ งวด : ใช้เยยี วยาตอนเกดิ ปัญหาเงนิ เฟ้อ 6.2. นโยบายการเงนิ แบบผอ่ นคลาย : ใช้เยียวยาตอนเกิดปัญหาเงนิ ฝืด เคร่ืองมอื ทใี่ ช้ได้แก่ (ตรงนี้ต้องจ�ำให้ไดเ้ ลย เพราะออกจุดนี้บ่อยเหมอื นกัน) กำ� หนดอตั ราดอกเบีย้ ก�ำหนดอตั รารบั ช่วงซื้อลด ซอื้ -ขายพนั ธบัตรรัฐบาล ก�ำหนดอตั ราเงนิ สดสำ� รองตามกฎหมาย 68 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya
การคลงั เรารเู้ รอ่ื งเงินไปแลว้ เรามาดกู นั ดกี วา่ วา่ รัฐบาลเขามรี ายได้ รายจ่ายอะไร กันบา้ ง วนั /เดือน/ปี บนั ทึกเกีย่ วกับการคลงั ของภาครัฐ รายรบั รายจา่ ย วันนี้ รายการ เดือนน้ี ปีน้ี 1. รายไดข้ องรฐั บาล 1.1. ภาษี ภาษีทางตรง : เก็บจากผู้มีรายได้โดยตรงในอัตรา กา้ วหน้า เชน่ ภาษเี งินได้บคุ คลธรรมดา ภาษมี รดก ภาษี ทรพั ยส์ ิน เป็นตน้ ภาษีทางอ้อม : ผลักภาระให้คนอื่นชว่ ยจา่ ยแทน เชน่ ภาษีมลู คา่ เพ่ิม (VAT) ภาษศี ุลการกร ภาษสี รรพสามติ เปน็ ต้น 1.2. การใหส้ มั ปทาน 1.3. รฐั พาณชิ ย์หรือรัฐวิสาหกจิ ได้จากก�ำไรหรือเงนิ ปันผล จากหน่วยงานทีร่ ัฐถือหุน้ อยู่ เชน่ โรงงานยาสูบ สลากกนิ แบง่ รฐั บาล ธนาคารออมสิน เปน็ ตน้ 2. เงินกูห้ รือหนีส้ าธารณะ กู้ระยะส้นั : ขายตั๋วเงนิ คลัง กรู้ ะยะยาว : ขายพนั ธบัตร 3. เงนิ คงคลงั (เงนิ ออมในกระปกุ ของรัฐบาล) 4. รายจา่ ยตา่ งๆ เช่น ดา้ นเศรษฐกิจ ดา้ นการศกึ ษา ดา้ นการ ชำ� ระเงนิ กู้ ด้านบริการสงั คม ฯลฯ สรุป รายได้ เงินกู้ เงินคงคลงั รายรับของรัฐบาล หลงั จากนนั้ เราจะตอ้ งเอาข้อมูลท้ังหมดมาทำ� งบประมาณแผน่ ดิน (เปน็ การประมาณการใช้เงินในปถี ัดไป) จะเริ่มตน้ ใช้ในวนั ท่ี 1 ตลุ าคม – 30 กันยายน ของปถี ัดไป และต้องท�ำเป็น พระราชบัญญัติให้รฐั สภาอนมุ ตั ดิ ้วย แบ่งได้เป็น 3 กรณี ดงั น้ี - ถา้ รายได้ > รายจ่าย ------> งบประมาณเกนิ ดุล - ถ้ารายได้ = รายจา่ ย ------> งบประมาณสมดุล - ถา้ รายได้ < รายจ่าย ------> งบประมาณขาดดุล ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 69
การแก้ไขปญั หาเศรษฐกจิ แต่ละคร้งั รฐั จะใช้เคร่อื งมือชนิดหนงึ่ ในการจดั การนั่นกค็ อื นโยบายการคลงั โดยแบง่ ได้ ออกเป็น 2 รูปแบบ คือ นโยบายการคลงั แบบเขม้ งวด : ใช้ตอนเกดิ ปญั หาเงินเฟอ้ นโยบายการคลงั แบบขยายตวั : ใช้ตอนเกดิ ปญั หาเงนิ ฝืด เครือ่ งมือท่ีใชไ้ ด้แก่ การจัดเก็บภาษี การกอ่ หน้ีสาธารณะ การทำ� งบประมาณแผ่นดิน ตารางตอ่ ไปน้ี เป็นการสรปุ การใช้นโยบายทางการเงิน - การคลงั ในการแก้ปญั หาเรือ่ งเงินเฟ้อ และเงินฝืด เลย อยากใหท้ กุ คนพยายามทำ� ความเขา้ ใจกบั ตารางนี้ใหด้ ี การแกป้ ัญหา Concept ส�ำคัญ วธิ ีการแกไ้ ข นโยบาย เงนิ เฟอ้ เงินในระบบมีมาก ต้อง เพิม่ อตั ราดอกเบีย้ นโยบายการเงิน ทำ� ใหเ้ งินในระบบมีนอ้ ย เพม่ิ การขายพันธบัตรรฐั บาล แบบเข้มงวด ลง (ดึงเงินออกจาก ลดการปล่อยสนิ เชือ่ ระบบ) นโยบายการคลัง เพิ่มอตั ราภาษี แบบเข้มงวด เงนิ ฝืด เงนิ ในระบบมีน้อยตอ้ ง ทำ� งบประมาณเกินดุล เพ่ิมเงินเขา้ ไปใหม้ าก นโยบายการเงิน ขึน้ (อดั ฉดี เงนิ เข้าไปใน ลดอตั ราดอกเบีย้ แบบผ่อนคลาย ระบบ) ลดการขายพนั ธบัตรรัฐบาล เพมิ่ การปล่อยสินเชื่อ นโยบายการคลัง แบบขยายตัว ลดอตั ราภาษี ทำ� งบประมาณขาดดุล การค้าระหว่างประเทศ รายไดส้ ่วนหนงึ่ ของประเทศกม็ าจากการค้าขายกนั ระหว่างประเทศ เพราะฉะน้นั เรามาดกู ันดกี ว่าในการคา้ ขายกนั ใน ระดบั ประเทศมันมีอะไรบา้ ง การค้าระหวา่ งประเทศจะมีทัง้ สินค้าน�ำเข้า (Import) และสินคา้ ส่งออก (Export) เมอ่ื เอามลู คา่ ท้ังสองอยา่ งมาหกั ลบ กันก็จะไดเ้ ป็นดลุ การค้า ซ่งึ มีทัง้ หมด 3 กรณี (คล้ายๆ การทำ� งบประมาณแผน่ ดนิ ) - ถา้ มลู คา่ การสง่ ออก > มูลคา่ การนำ� เขา้ ------> การค้าเกนิ ดุล - ถ้ามูลคา่ การส่งออก = มลู คา่ การนำ� เข้า ------> การค้าสมดุล - ถ้ามลู คา่ การส่งออก < มูลค่าการนำ� เข้า ------> การค้าขาดดลุ 70 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya
การคา้ ขายกันระหวา่ งประเทศมกี ารแขง่ ขันกันจงึ ตอ้ งมีนโยบายการค้าเขา้ มาช่วยเหลือ โดยแบง่ ได้เป็น 2 นโยบาย ใหญๆ่ คือ นโยบายการคา้ เสรี นโยบายการคา้ ค้มุ กัน ไม่มีการต้งั กำ� แพงภาษี มีการต้งั ก�ำแพงภาษี เกบ็ ภาษขี าเข้าในอัตราที่ต่�ำมาก มกี ารกำ� หนดโควตา เกบ็ ภาษหี ลายอตั รา ไมม่ กี ารกำ� หนดโควตาการน�ำเข้า ก�ำหนดคณุ ภาพสินคา้ นำ� เขา้ มีการจ่ายเงนิ อดุ หนุนเพ่อื ชว่ ยผู้ผลิต ไม่สง่ เสริมการน�ำเข้า และปอ้ งกัน ภายในประเทศ อตุ สาหกรรมในประเทศจากการทุม่ ตลาด ของผผู้ ลติ ตา่ งประเทศ การเงินระหว่างประเทศ การค้าขายกันระหว่างประเทศจะใช้เงินบาทอย่างเดียวไม่ได้ ต้องมีการแลกเปลี่ยนเป็นเงินสกุลอ่ืนตามแต่ละประเทศ ด้วย ดังนั้นการแลกเปลี่ยนเงินจะต้องมีอัตราในการแลกเปล่ียนเพื่อความถูกต้อง โดยประเทศไทยของเราใช้อัตราการ แลกเปลย่ี นแบบระบบลอยตวั ภายใตก้ ารจดั การ โดยธนาคารกลางจะเปน็ คนคอยดแู ลคา่ เงนิ มที งั้ เพม่ิ – ลดอยตู่ ลอด ดงั นนั้ เรา มาดูกนั ดีกวา่ ถ้าค่าเงนิ เพ่ิมข้ึนดีอยา่ งไร และถา้ ถา้ คา่ เงนิ ลดลงจะมีผลอย่างไร 40 บาท = 1 $ ลด/อ่อน 20 บาท = 1 $ เพิม่ /แข็ง 35 บาท = 1 $ ถา้ คา่ เงินลดลง / อ่อนตัว สินค้าน�ำเข้าจะราคาแพงข้ึน เราจะน�ำเข้าน้อยลงแต่จะส่งออกมากขึ้นเพราะสินค้าของเราจะถูกลงในสายตาคนต่าง ชาติ ตัวอยา่ งกระเปา๋ ใบหนง่ึ ราคา 40 บาท ถา้ ใชอ้ ัตรา 20 บาท = 1 $ เวลาสง่ ออกกระเป๋าใบนจ้ี ะราคา 2 $ แตถ่ ้าคา่ เงินออ่ น ตัวลงกระเป๋าใบน้ีจะราคา 1 $ (ถูกกว่าเห็นๆ) และท่ีส�ำคัญนักท่องเท่ียวจะเข้ามาเที่ยวในบ้านเรามากขึ้นเพราะเงินต่างชาติ สามารถแลกเปน็ เงินไทยไดม้ ากขนึ้ ถา้ ค่าเงนิ เพิ่มขน้ึ / แข็งตัว ทุกอย่างจะตรงข้ามกับตอนที่ค่าเงินอ่อนตัวหมดเลย เราจะน�ำเข้ามากข้ึนโดยเฉพาะเครื่องจักรเป็นการลดต้นทุนการ ผลิต แตก่ ารสง่ ออกจะนอ้ ยลงและทส่ี ำ� คัญนกั ทอ่ งเทย่ี วก็มาเทยี่ วบา้ นเรานอ้ ยลงด้วย ดลุ การช�ำระเงิน ดุลการชำ� ระเงนิ : บันทกึ ทแ่ี สดงรายรบั และรายจา่ ยของเงินตราระหวา่ งประเทศภายใน 1 ปี โดยแบ่งออกได้เป็น 3 กรณี ดงั นี้ ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 71
- ถา้ รายรบั รวม (เงินไหลเขา้ ) > รายจา่ ยรวม (เงินไหลออก) ------> ดลุ การชำ� ระเงินเกนิ ดลุ - ถา้ รายรับรวม (เงนิ ไหลเขา้ ) = รายจา่ ยรวม (เงนิ ไหลออก) ------> ดุลการชำ� ระเงนิ สมดลุ - ถ้ารายรบั รวม (เงนิ ไหลเข้า) < รายจ่ายรวม (เงนิ ไหลออก) ------> ดุลการช�ำระเงนิ ขาดดุล ดุลการชำ� ระเงิน = บญั ชีเดนิ สะพดั + บัญชที นุ และการเงิน คอยปรบั ให้บัญชีสมดลุ ทุนสำ� รองระหว่างประเทศ 1. บัญชีเดนิ สะพดั ประกอบด้วย บัญชีดลุ การคา้ : แสดงผลต่างสทุ ธริ ะหวา่ งมลู ค่าสนิ คา้ น�ำเข้าและส่งออก บญั ชีดลุ บรกิ าร : แสดงผลตา่ งสทุ ธดิ ้านการคา้ / บรกิ ารระหวา่ งประเทศ เช่น คา่ ท่องเที่ยว ค่าขนสง่ เป็นตน้ ดุลรายได้ : ผลตอบแทนการจ้างงานและรายไดจ้ ากการลงทุน บญั ชีเงนิ โอน / บรจิ าค : เงินชว่ ยเหลอื ท่ตี า่ งประเทศโอนมาให้ 2. บญั ชีทุนและการเงนิ : บันทึกรายรบั - รายจา่ ยของเงินตราตา่ งประเทศ 3. บญั ชที นุ สำ� รองระหวา่ งประเทศ : บันทึกความเคลือ่ นไหวของทนุ ส�ำรองระหว่างประเทศ และเป็นการแสดงฐานะทางการ เงินและความม่ันคงของประเทศ แต่!!! ทุนส�ำรองฯ กับ บัญชีทุนส�ำรองฯ ความหมายต่างกันอย่าเข้าใจผิด เพราะบัญชีทุน สำ� รองฯ เป็นเหมอื นสมุดบญั ชีบันทกึ ตวั เลข แต่ทุนส�ำรองฯ จะหมายถงึ ทองค�ำ เงนิ ตราต่างประเทศ หลกั ทรัพยต์ ่างๆ ทคี่ อย เปน็ ตวั ปรับให้ดลุ การช�ำระเงนิ สมดลุ ตัวอย่างเช่น ปี 55 เงินไหลออก (รายจ่าย) ปี 56 เงินไหลออก (รายจา่ ย) เงนิ ไหลเขา้ (รายรบั ) 4,000 ล้านบาท เงินไหลเข้า (รายรบั ) 5,000 ลา้ นบาท 5,000 ลา้ นบาท เปน็ หนี้ 6,000 ล้านบาท รวม +1,000 ล้านบาท รวม -1,000 ลา้ นบาท หักเป็นทนุ ส�ำรองฯ -1,000 ลา้ นบาท ยืมเงนิ ทนุ สำ� รองฯ +1,000 ล้านบาท คงเหลือ 0 บาท คงเหลอื 0 บาท สรปุ !!!! o ทนุ ส�ำรองฯ เปรยี บเสมือนเงินออมไว้ใชใ้ นเวลาที่ดลุ การชำ� ระเงินขาดดลุ (แคเ่ หมอื นเท่านั้นนะ) o ดลุ การช�ำระเงินเกนิ ดลุ ----> เงนิ เหลือ ----> ทุนส�ำรองฯ เพิม่ ขน้ึ (เพราะเอาเงนิ มาเกบ็ ไว)้ o ดลุ การชำ� ระเงินขาดดุล ----> เงินขาด ----> ทุนส�ำรองฯ ลดลง (เพราะเอาเงนิ ออกไปใช้หน้ี) 72 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya
การรวมกลมุ่ กันทางเศรษฐกจิ การรวมกลุ่มมที ้งั หมด 5 ระดบั โดยเรียงล�ำดับดงั นี้ ยกเลิกมาตรการกีดกนั ทางการคา้ ภายในประเทศสมาชกิ ตวั อย่างเชน่ NAFTA, EFTA, AFTA เป็นต้น (FTA = Free Trade Area) พัฒนาเปน็ สหภาพศุลกากร ยกเลิกมาตรการต่างๆ ที่เปน็ อุปสรรคระหว่างกันและ เก็บภาษีน�ำเขา้ จากประเทศนอกกลุม่ อตั ราเดยี วกนั พฒั นาเป็น ตลาดร่วม เหมือนสหภาพศลุ กากรแต่เพ่ิมการเคล่ือนย้ายปจั จัยการผลติ ได้อยา่ งเสรีในประเทศสมาชิกดว้ ยกัน ตวั อย่าง ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน (AEC) พัฒนาเป็น สหภาพเศรษฐกจิ เหมือนตลาดร่วม แต่มีการใช้นโยบายเศรษฐกิจและเงิน สกลุ เดียวกนั ตวั อย่าง สหภาพยโุ รป (EU) พฒั นาเป็น สหภาพเหนอื ชาติ อันนเ้ี ป็นการแปลงรา่ งข้นั สุดยอด (ขน้ั สูงสุด) มกี ารใช้นโยบาย เศรษฐกจิ และนโยบายการเมืองร่วมกัน คล้ายๆ กับการรวมเป็นชาตเิ ดียวกนั ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 73
องค์กรทางเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ การรวมกลุม่ ทางเศรษฐกจิ ในปจั จุบันมเี ยอะมาก แตท่ ี่สำ� คัญและคดิ ว่าคนออกขอ้ สอบนา่ จะออก มีดังน้ี 1. สหภาพยโุ รป (EU) 1.1. มีพัฒนาการมาจาก ประชาคมยโุ รป (EC) 1.2. วัตถปุ ระสงค์ คือ สร้างความร่วมมอื ระหวา่ งประเทศสมาชกิ ทัง้ ดา้ นเศรษฐกจิ และการเมอื ง เนน้ นโยบายการคา้ แบบเสรีภายในกลมุ่ ยกเลกิ การเกบ็ ภาษีศุลกากรหรอื เกบ็ ในอัตราทีต่ ำ่� ภายในกลุม่ ยกเลกิ ข้อกีดกนั ทางการค้าระหว่างกนั แรงงานเคลื่อนยา้ ยได้อย่างเสรรี ะหว่างประเทศสมาชิก สรา้ งอำ� นาจตอ่ รองทางการคา้ กบั ประเทศนอกกลุม่ 2. ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชยี - แปซฟิ ิก (APEC) หลักการของ APEC คอื เวทีส�ำหรับการปรึกษาหรือแลกเปล่ียน ข้อคิดเหน็ เก่ียวกับประเดน็ ทางเศรษฐกิจทปี่ ระเทศสมาชิก APEC สนใจ โดยยดึ หลักฉนั ทามตคิ วามเทา่ เทียมกนั และผลประโยชน์รว่ มกนั ของ ประเทศสมาชิก และในการด�ำเนินการใดๆ ต้องค�ำนงึ ถงึ ความแตกต่าง ของระบบเศรษฐกจิ และสงั คม และระดับการพัฒนาของประเทศสมาชิก โดยมีวัตถุประสงค์ท่สี �ำคัญ คอื พฒั นาและสง่ เสริมระบบการค้าหลายฝ่าย สนับสนนุ การขยายตวั ทางเศรษฐกิจของภูมภิ าคและของโลก ลดอุปสรรคและอ�ำนวยความสะดวกให้การคา้ การลงทนุ ระหว่างประเทศสมาชิก 3. สมาคมประชาชาติแหง่ เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ (ASEAN) เกดิ ขนึ้ หลงั จากมีการลงนามในปฏญิ ญากรุงเทพ โดยมีวตั ถปุ ระสงค์ คอื สง่ เสรมิ ความร่วมมอื และช่วยเหลือกันทางเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เพือ่ ใหเ้ กดิ สันตภิ าพและความมั่นคงภายในภมู ภิ าค และหลังจากท่มี กี ารลงนามใน ‘กฎบัตรอาเซยี น’ เปรียบเสมือนธรรมนญู ของ อาเซยี น ท�ำใหใ้ นปี พ.ศ. 2558 ASEAN จะพฒั นากลายเป็นประชาคมอาเซียน โดย มีองค์ประกอบสำ� คญั 3 เสาหลกั คือ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมความมนั่ คงอาเซียน ประชาคมสังคมวฒั นธรรมอาเซียน นอกจากนยี้ ังมีความรว่ มมอื กบั ประเทศนอกกล่มุ เชน่ ASEAN + 3 (จีน เกาหลใี ต้ และญปี่ ่นุ ) ASEAN + 6 (จีน เกาหลีใต้ ญป่ี ุ่น อนิ เดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด)์ 74 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya
เศรษฐกิจพอเพียง... ค�ำวา่ ‘เศรษฐกจิ พอเพยี ง’ เปน็ ค�ำที่เราคงได้ยนิ กันบอ่ ยอยู่แลว้ แตจ่ ะมีสกั กคี่ นท่ีจะปฏิบตั ไิ ด้จรงิ ส�ำหรบั เรื่องนี้ ขอ้ สอบออกเหมอื นกนั แต่ไมเ่ ยอะมากและขอ้ สอบสว่ นใหญ่จะถามในลกั ษณะการวิเคราะห์จากสถานการณ์ที่ให้มามากกวา่ ดงั น้ันเราสามารถสรปุ ไดต้ ามแผนภาพด้านลา่ งนเี้ ลย เปา้ หมายของเศรษฐกจิ พอเพียง คอื ให้ประชาชนกนิ ดี อยู่ดี มีความสขุ ใชท้ รัพยากรแคท่ เ่ี ราต้องการ (ใชอ้ ย่างพอ เพียง) รูจ้ กั มภี ูมิค้มุ กนั (ส่งเสริมการออม) ในยามฉุกเฉนิ ทางสายกลาง พอประมาณ มีเหตุผล มภี มู ิคุ้มกันทดี่ ี ความรู้ คณุ ธรรม รอบรู้ รอบคอบ ระมดั ระวัง ซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ ขยนั อดทน สติปัญญา แบง่ ปัน น�ำไปสู่ เศรษกิจ/สงั คม/สิง่ แวดลอ้ ม/วฒั นธรรม สมดลุ /พรอ้ มรับต่อการเปล่ียนแปลง นอกจากนั้นเศรษฐกิจพอเพียงยังเน้นให้เราเรียนรู้ที่จะช่วยเหลือตนเองก่อน เม่ือเราสามารถยืนได้อย่างม่ันคงไม่ล้ม แล้วเราค่อยไปชว่ ยกัน คือ การร่วมด้วยชว่ ยเหลอื กนั แบบนี้ ก็เปน็ หลักหน่งึ ของการรวมกลุ่มทเ่ี รียกวา่ “สหกรณ”์ ในด้านการเกษตรเรากส็ ามารถนำ� เศรษฐกิจพอเพยี งมาประยุกต์ใชไ้ ด้ คือ “เกษตรทฤษฎใี หม”่ ทีแ่ บ่งพน้ื ทใ่ี ช้สอยออก เปน็ 4 ส่วน คอื แหลง่ น้�ำ นาขา้ ว พชื สวนผสม และท่อี ยอู่ าศัย ทั้งหมดกเ็ ปน็ การเนน้ ให้พงึ่ ตนเอง ใหร้ ้จู กั พอประมาณ แลว้ ค่อย ไปชว่ ยเหลือคนอนื่ ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 75
ส่วนส�ำคัญที่สุด คือ ในระดับภาครัฐได้น�ำหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงไปเป็นแนวทางการปฏิบัติในแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติต้งั แต่ฉบบั ท่ี 9 เป็นต้นมาจนถงึ ฉบบั ที่ 11 (ฉบับปจั จบุ นั ) นี่จึงเป็นเครื่องมอื ที่แสดงให้เหน็ แล้ววา่ เศรษฐกิจพอเพียงนัน้ เป็นเรือ่ งทดี่ ี มีประโยชน์และเราทกุ คนควรปฏิบัตติ าม สรุป แนวคดิ ของเศรษฐกิจพอเพยี ง... 1) ใช้ชีวติ บนพ้ืนฐานของการรูจ้ ักตนเอง 2) สามารถพงึ่ พาตนเองและพงึ่ พาซง่ึ กันและกัน 3) ใช้ชีวิตอย่างพอเพยี ง ยดึ หลักพออยู่ พอกิน พอใช้ (ประหยัด) 4) ประกอบอาชีพด้วยความสจุ รติ 5) ไม่แก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันกันอยา่ งรนุ แรง 76 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
แนวข้อสอบ 1. สถาบันการเงนิ ในขอ้ ใด ที่รัฐใหก้ ารสนบั สนุนทางด้านการเงินตามนโยบายเพ่ือการขยายตวั ทางเศรษฐกิจของประเทศ ก. บรษิ ัทประกันภัย ข. ธนาคารพาณิชยเ์ อกชน ค. บริษัทหลกั ทรพั ย์ ง. บริษัทเงนิ ทุนอตุ สาหกรรมแห่งประเทศไทย 2. ธนาคารพาณิชยใ์ นขอ้ ใด มใิ ช่ของเอกชนแต่กระทรวงการคลงั เปน็ เจา้ ของ ก. ธนาคารกรงุ เทพ ข. ธนาคารกรงุ ไทย ค. ธนาคารแหง่ ประเทศไทย ง. ธนาคารกรงุ ศรีอยุธยา 3. ทเ่ี รียกวา่ “ภาษีทางอ้อม” มคี วามสำ� คัญอยา่ งไร ก. เปน็ ภาษีทรี่ ฐั บาลเรยี กเกบ็ ย้อนหลงั จากบรษิ ทั หา้ งร้านท่ีหลกี เลย่ี งภาษี ข. เปน็ ภาษที ีผ่ เู้ สยี สามารถผลักภาระใหแ้ ก่ผู้อ่นื ได้ เช่น ภาษีมลู ค่าเพม่ิ ค. เป็นภาษีท่ผี ้รู ับสัมปทานจะตอ้ งเสียใหร้ ัฐบาล ง. เปน็ ภาษีทีเ่ รยี กเกบ็ จากดอกเบี้ยเงนิ ฝากในธนาคารและสถาบนั การเงนิ ต่างๆ 4. ข้อใดเป็นรายจา่ ยดา้ นเศรษฐกจิ ของงบประมาณรายจา่ ยปี 2552 ทั้งหมด ก. การคมนาคม-การเกษตร-การพลังงานและเชอ้ื เพลิง ข. การอุตสาหกรรม-การบริการชมุ ชน-การสงั คมสงเคราะห์ ค. การช�ำระหน้เี งนิ ก-ู้ การบริการอนามยั สาธารณสุข-การต�ำรวจ ง. การศาสนา-การบริการสาธารณปู โภค-การสุขาภิบาล 5. ในกรณที ่ีประเทศไทยเกิดภาวะเงนิ เฟอ้ ระดับปานกลาง คือระดับสินคา้ สูงขนึ้ กวา่ ปกติ 5-20 เปอร์เซ็นต์ อยากทราบว่าจะ ส่งผลกระทบกระเทอื นตอ่ ประชาชนกลมุ่ ใดบา้ ง ก. ข้าราชการที่มรี ายไดต้ ำ่� กวา่ 2500 บาทตอ่ เดือน ข. กรรมกรผใู้ ชแ้ รงงานเพราะนายทุนจะเลกิ จา้ ง ค. ผผู้ ลติ สินค้าจะลำ� บากมากเพราะประชาชนไม่มกี ำ� ลังซ้อื ท�ำให้สินคา้ ขายไม่ออก ง. ผมู้ รี ายได้ประจำ� จะเดือดร้อนมากท่สี ดุ เพราะสินค้าราคาแพงข้นึ แตร่ ายไดเ้ ท่าเดิม 6. หน้าที่ทีส่ �ำคญั ของธนาคารพาณชิ ย์ คืออะไร ก. รับฝากเงนิ และใหก้ ้เู งิน ข. รับชำ� ระเงินค่าไฟฟา้ โทรศพั ท์ และค่าทะเบียนรถยนต์ ค. ให้เช่าต้นู ิรภยั เพื่อเกบ็ ของมคี า่ ของลกู คา้ ง. ซ้ือ-ขาย เงนิ ตราต่างประเทศ ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 77
7. ผู้มีเงินได้ต้องเสยี ภาษเี งนิ ได้ให้กับรฐั บาล ภาษีเงินไดเ้ ปน็ ภาษีประเภทใด และเพราะเหตไุ ร ก. ภาษที างตรง เพราะผมู้ ีเงินได้ตอ้ งรับภาระในการเสยี ภาษีนี้ ข. ภาษีทางตรง เพราะผ้มู ีเงนิ ไดต้ อ้ งไปย่ืนแบบฟอรม์ ในการเสยี ภาษีทก่ี รมสรรพากร ค. ภาษที างอ้อม เพราะผู้มเี งนิ ได้มไิ ด้จัดส่งเงนิ ภาษใี ห้กับรัฐบาลโดยตรง แตน่ ายจา้ งซึ่งมีหนา้ ที่หักภาษี ณ ทจ่ี า่ ย เปน็ ผสู้ ง่ เงนิ ภาษใี หก้ ับกรมสรรพากร ง. ภาษที างออ้ ม เพราะนายจ้างเป็นผ้อู อกคา่ ภาษใี หโ้ ดยมิไดห้ ักออกจากเงนิ ได้ของผมู้ ีเงนิ ได้ 8. ผลกระทบของภาวะเงนิ ฝดื คอื อะไร ข. ราคาสนิ คา้ โดยทว่ั ไปเพิ่มข้ึน ก. ค่าของเงนิ เพิ่มสูงข้ึน ง. ผมู้ รี ายได้ประจ�ำเสยี เปรยี บ ค. ลูกหนต้ี ้องชำ� ระหน้เี พิม่ ขึ้น 9. ภาษีต่อไปนี้ช่วยลดปญั หาความไมเ่ ทา่ เทียมกนั ในการกระจายรายไดข้ องประชาชนในประเทศ ก. ภาษกี ารคา้ ข. ภาษีมรดก ค. ภาษีสรรพสามติ ง. ภาษโี รงเรอื น 10. ข้อใด ไมน่ บั เปน็ ปรมิ าณเงินในระบบเศรษฐกจิ (MONEY SUPPLY) ก. เงนิ คงคลงั ของรับบาล ข. เชค็ ของธนาคารพาณิชย์ ค. เครดิตการ์ด ง. เงนิ ฝากประเภทเผอ่ื เรียก ออมทรพั ย์ และประจ�ำของธนาคาร 11. ข้อใดไม่ใช่หนา้ ทข่ี องธนาคารแห่งประเทศไทย ข. รบั ฝากเงนิ จากประชาชน ก. ออกธนบตั ร ง. ควบคุมตรวจสอบสถาบนั การเงนิ ค. รักษาทุนส�ำรองระหวา่ งประเทศ 12. ข้อความต่อไปนขี้ อ้ ใด ไม่ถกู ตอ้ ง ก. เม่ือเกดิ ภาวะเงนิ เฟ้อ ค่าของเงนิ ลดต่�ำลง ข. เม่ือเกิดภาวะเงนิ เฟ้อ เจา้ หนี้ไดเ้ ปรยี บในการช�ำระหน้ี ค. ภาวะเงินเฟ้อเปน็ ภาวะทร่ี ะดับราคาสินค้าสงู ขน้ึ อันเนอื่ งจากตน้ ทนุ ในการผลิตสินค้าสูงขึ้น ง. ภาวะเงนิ เฟอ้ เป็นภาวะทีร่ ะดบั สินคา้ สูงขึ้น อันเนอื่ งมาจากความตอ้ งการในการบรโิ ภคสินค้าและบริการมากกวา่ ปริมาณทผ่ี ลติ ได้ หลังจากมีการจ้างงานเต็มท่ี 13. ข้อใดไมเ่ กี่ยวกบั ปัญหาพืน้ ฐานทางเศรษฐกจิ ก. นายสขุ ก�ำลงั ตดั สนิ ใจว่าจะปลกู ขา้ วโพดดหี รือปลกู ถ่ัวลสิ งดีในดินของตน ข. นายดตี ดั สนิ ใจไปซ้ือสนิ คา้ ทีห่ า้ งสรรพสินค้าแทนการซือ้ ท่ีรา้ นขายปลีกข้างบ้าน ค. นายทองรับตัดเยบ็ เสอื้ ผ้าอยูก่ ับบา้ นแทนการเปดิ รา้ นตัดเสื้อ ง. นายแย้มตกลงขายส้มโอให้นายจอมเพราะไม่ตอ่ ราคา 78 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya
14. ขอ้ ใดไม่ถือว่าเป็นการผลิต ก. การขายของในร้านช�ำขา้ งบา้ น ข. การส่งน้�ำอดั ลมไปจำ� หน่ายในต่างจงั หวัด ค. การวาดลายดอกไมบ้ นจานกระเบ้อื ง ง. การเข้าอบรมวธิ ีใชเ้ ครื่องคอมพวิ เตอร์ 15. ขอ้ ใดเปน็ ปญั หาทางด้านเศรษฐศาสตรจ์ ุลภาค ก. จำ� นวนคนว่างงานในประเทศเพิ่มขึ้น ข. ราคายางพาราในประเทศในปนี ต้ี กตำ�่ กว่าปที แี่ ลว้ ค. แรงงานขาดทักษะที่จะรบั เทคโนโลยใี หม ่ ง. เกษตรกรมีรายไดต้ ำ�่ กว่าผผู้ ลิตในภาคอุตสาหกรรม เฉลยแนวข้อสอบ 1. ตอบ ง. เพราะในปี พ.ศ. 2534 รัฐบาลได้ตราพระราชบัญญตั บิ ริษทั เงนิ ทนุ อุตสาหกรรมขนาดย่อมและปรบั สถานะ ของ สธอ.เปน็ บรรษทั เงนิ ทนุ อุตสาหกรรมขนาดยอ่ ม (บอย.) มีฐานะเป็นนิตบิ คุ คล มที นุ จดทะเบยี นเร่มิ แรก 300 ล้านบาท และให้ บอย. สามารถระดมทนุ และเงนิ กูไ้ ด้ทั้งจากภายในและภายนอกประเทศตามนโยบาย เพ่ือการขยายตวั ทางเศรษฐกิจของประเทศ 2. ตอบ ค. เพราะธนาคารแหง่ ประเทศไทย มกี ระทรวงการคลงั เป็นหน่วยงานกำ� กับดูแลตามพระราชบญั ญัต ิ ธนาคารแหง่ ประเทศไทย พ.ศ. 2485 และที่แกไ้ ขเพ่มิ เตมิ 3. ตอบ ข. เพราะภาษที างออ้ ม (indirect tax) เป็นภาษอี ากรที่เรยี กเกบ็ จากผูบ้ ริโภคหรือเป็นภาษีท่เี ปน็ การผลัก ภาระให้กับผู้ซ้ือหรือผู้บริโภคเป็นผู้รับช�ำระภาษีอากรแทนผู้ขาย ซ่ึงจะแบ่งออกเป็นด้วยกัน 3 ชนิด คือ 1. ภาษีมูลคา่ เพิม่ (Value Added Tax) 2. ภาษธี รุ กิจเฉพาะ (Specification Business Tax) 3. อากรแสตมป์ (Stamp Duty) 4. ตอบ ก. เพราะ (1) การเช้อื เพลิงและพลังงาน (2) การเกษตร (3) การเหมอื งแร่ ทรัพยากรธรณี การอตุ สาหกรรม และการโยธา (4) การคมนาคม ขนส่ง และสอื่ สาร (5) การบรกิ ารเศรษฐกิจอน่ื 5. ตอบ ง. เพราะภาวะเงินเฟ้อปานกลาง คือ ภาวะท่ีระดบั ราคาเพ่มิ ขน้ึ ในอตั ราทสี่ งู จนเร่ิมเกิดปัญหาทางเศรษฐกจิ เนื่องจากประชาชนเดอื ดรอ้ นดา้ นคา่ ครองชีพ โดยท่วั ไปมอี ัตราเงนิ เฟ้อประมาณรอ้ ยละ 5-10 เปน็ การเกิด เงินเฟ้อทร่ี ฐั บาลต้องหาแนวทางแก้ไข เพือ่ ควบคมุ มใิ หเ้ กดิ ผลเสียทรี่ นุ แรงตอ่ ระบบเศรษฐกจิ 6. ตอบ ก. เพราะธนาคารพาณชิ ย์ มหี นา้ ทส่ี ำ� คญั คือ รับฝากเงินและใหก้ ยู้ มื 7. ตอบ ก. เพราะภาษีทางตรง คือ ภาษีที่เก็บจากผู้มีรายได้โดยตรง เช่น ภาษีรายได้บุคคลธรรมดา ภาษีรายได้ นติ ิบุคคล เป็นตน้ ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 79
8. ตอบ ค. เพราะเงินฝืด คอื ภาวะทีข่ องถกู ลงอยา่ งต่อเนือ่ ง คา่ ของเงินใหญข่ นึ้ ใครทไ่ี ดเ้ ปรียบในช่วงเงินฝดื ได้แก่ คน ทมี่ รี ายได้ประจำ� เจา้ หนี้ และผ้อู อม 9. ตอบ ข. เพราะภาษมี รดกเปน็ ภาษเี กา่ แกป่ ระเภทหนง่ึ ซึ่งจดั เกบ็ มาตัง้ แต่สมัยโบราณโดยจัดเก็บมรดกจากกอง ทรัพย์มรดกของตาย และถงึ แม้จะน�ำเงนิ รายได้มาสูร่ ฐั เป็นจ�ำนวนน้อยก็ตามแต่ก็เปน็ ทีน่ ิยมจัดเก็บโดยทั่วไป ในประเทศพฒั นาแลว้ เพราะเปน็ ภาษที ยี่ ตุ ธิ รรมเนอ่ื งจากจดั เกบ็ เปน็ ไปตามหลกั ความสามารถในการเสยี ภาษี (Ability to Pay) และไม่กระทบกระเทือนประชาชนส่วนใหญ่เพราะเกบ็ จากกองมรดกหรือการรับมรดกเมื่อมี การตายเกิดขน้ึ 10. ตอบ ก. เพราะปริมาณเงิน (Money supply หรือ Supply of money) แบ่งได้ 2 ความหมาย • ความหมายของ ปรมิ าณเงินอย่างแคบ (Narrow money) หรือทีเ่ รยี กว่า M1 จะหมายถึง M1 = ธนบัตร + เหรียญกษาปณ์ + เงินฝากกระแสรายวัน (Demand deposit) ปริมาณเงินคือเงินที่หมุนเวียน อยู่ในมือประชาชน ประกอบด้วยธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ที่อยู่ในมือประชาชน และรวมถึงเงิน ฝากกระแสรายวัน ซ่ึงเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ท่ีระบบธนาคาร อาทิ ธนาคารพาณิชย์ ต่างๆ • ความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง (Broad money) ความครอบคลุมตามนิยามนี้ก็เป็นเช่น เ ดี ย ว กั บ ช่ื อ ที่ ใ ช ้ คื อ ค ่ อ น ข ้ า ง ค ร อ บ ค ลุ ม ไ ป ถึ ง เ งิ น ใ น ห ล า ย รู ป แ บ บ โ ด ย ใ น ช ่ ว ง ก ่ อ น หน้านี้ เราอาจจะเคยได้ยนิ คำ� วา่ M2 M2a M3 ในไทย หรอื M4 รวมทงั้ M5 ในต่างประเทศ ข้ึนอยู ่ กับว่าในแต่ละประเทศเลือกที่จะรวบรวมปริมาณเงินในแต่ละนิยาม (ซึ่งเป็นไปตามหลักสากล) ไว้เพ่ือ ตดิ ตามและวเิ คราะหอ์ ยา่ งไรแต่ทัง้ หมดทก่ี ลา่ วนกี้ ็คอื ความหมายของปริมาณเงินอยา่ งกวา้ ง อาทิ 1. M2 จะหมายถงึ M1 + เงนิ ฝากออมทรพั ยแ์ ละเงนิ ฝากประจำ� ของประชาชน M2a จะหมายถงึ M2 + เงินฝากของประชาชนท่อี ยใู่ นรูปตวั๋ สญั ญาใชเ้ งินที่บรษิ ัทเงนิ ทุน 2. M3 จะหมายถึง M2a + เงนิ ฝากของประชาชนท่ีธนาคารเฉพาะกิจ แต่ ปจั จุบัน ธนาคารแห่ง ประเทศไทยไดเ้ ผยแพร่นยิ ามใหมข่ องปรมิ าณเงิน โดยนิยามของปรมิ าณเงนิ ท่ีใช้กนั อยูล่ า่ สดุ จะเหลือเพียง ปรมิ าณเงนิ ใน 2 นิยามเท่านน้ั คอื ปริมาณเงินตามความหมายอย่างแคบ องค์ประกอบยังเหมือนเดิมที่ได้กล่าวแล้วข้างต้น แต่ ในสว่ นของเงนิ ฝาก กระแสรายวนั ซง่ึ เปน็ เงนิ ฝากเผอื่ เรยี กทป่ี ระชาชนฝากไวท้ ร่ี ะบบธนาคารนน้ั เปลย่ี นเปน็ เงินฝากกระแสรายวนั ท่ี สถาบันรบั ฝากเงิน (Demand deposits at depository corporations) ไม่ว่าจะเป็น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทนุ ธนาคารเฉพาะกิจ เชน่ ธนาคารออมสิน ธนาคาร อาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณก์ ารเกษตร เปน็ ตน้ รวมถึงสหกรณอ์ อมทรพั ย์และ กองทุนรวมตลาดเงิน (Money market mutual fund) ปริมาณเงินตามความหมายอย่างกว้าง จะประกอบไปด้วยเงินฝากของประชาชนท้ังหมด ไมว่ ่าจะอยู่ในรูปของ เงนิ ฝากออมทรัพย์ เงนิ ฝากประจำ� เงนิ ฝากในรูปต๋วั สญั ญาใช้เงนิ ท่ีบรษิ ทั เงนิ ทนุ เงิน ฝากของประชาชนท่ธี นาคารเฉพาะกจิ รวมไปถงึ ท่เี พิ่มเติมเขา้ มาใหม่ใหอ้ ย่ใู นนิยามนี้ด้วยได้แก่ เงินรบั ฝาก ของธนาคารพาณิชย์ที่อยู่ในรูปของตัว๋ แลกเงิน เงนิ รับฝากของสหกรณ์ออมทรพั ย์ และมูลค่าสนิ ทรพั ย์สทุ ธ ิ ของกองทนุ รวมตลาดเงิน เพ่ือใหม้ ีความครอบคลุมถงึ ปรมิ าณเงิน ในระบบเศรษฐกจิ มากข้ึน 80 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
11. ตอบ ข. เพราะธนาคารกลาง หนา้ ท่ีสำ� คญั คือ 1) ออกธนบตั ร 2) ควบคุมปริมาณเงินที่หมนุ เวยี นในระบบ เศรษฐกิจ โดยก�ำหนดนโยบายการเงนิ 3) เปน็ นายธนาคารและทป่ี รึกษาด้านนโยบายเศรษฐกจิ ของรฐั บาล 4) เป็นนายธนาคารของธนาคารไทยพาณิชย์ 5) ควบคุมสถาบันการเงินต่างๆ 6) ดูแลการแลกเปล่ียน เงินตรา ระหวา่ งประเทศ 7) รักษาทุนส�ำรองระหวา่ งประเทศ 12. ตอบ ง. เพราะสนิ ค้าและ บริการมากกวา่ ปรมิ าณทผ่ี ลิตได้ หลังจากมกี ารจ้างงานเตม็ ที่ เงินเฟ้อ คือ ภาวะทีข่ อง ถกู ลงอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง คา่ ของเงนิ เลก็ ลง สาเหตขุ องเงนิ เฟอ้ เนอ่ื งจากตน้ ทนุ การผลติ ทส่ี งู ขน้ึ และปรมิ าณความ ตอ้ งการซอ้ื มมี ากกวา่ ปรมิ าณความตอ้ งการขาย จงึ ตอ้ งมกี ารผลติ สนิ คา้ ใหม้ ากขนึ้ ใครไดเ้ ปรยี บชว่ งเงนิ เฟอ้ ได้แก่ คนมีรายไดป้ ระจ�ำ เจ้าหน้ี และผูอ้ อมเงิน 13. ตอบ ง. เพราะปญั หาพื้นฐานเศรษฐกจิ คือ ทรพั ยากรมีจ�ำกดั ซ่งึ ขอ้ ก. / ข. และ ค. เปน็ ทรัพยากรทีม่ จี ำ� กัด 14. ตอบ ง. เพราะการผลติ คือ การทำ� งาน การประกอบอาชพี ซ่งึ ข้อ ก. / ข. และ ค. เปน็ การประกอบอาชีพจงึ เป็นการผลิต แตข่ อ้ ง. เป็นการบริโภค (การใช้บริการ) 15. ตอบ ข. เพราะเศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นเศรษฐกจิ เฉพาะของหนว่ ยยอ่ ยไม่ใช่ภาคเศรษฐกิจรวมของทั้งประเทศ ข้อ ก. ปญั หาการวา่ งงานของคนในประเทศ ข้อ ค. ปัญหาแรงงานขาดทักษะ (ซ่งึ เป็นปญั หารวมของทงั้ ระบบเมอื งไทย) ขอ้ ง. เกษตรกร (ซึ่งเปน็ คนส่วนใหญข่ องประเทศ) มรี ายไดต้ ำ�่ กว่านายทุน ทง้ั 3 ข้อจดั เป็นเรอ่ื งของภาพรวมของประเทศจึงจัดเปน็ เศรษฐศาสตรม์ หภาค น้องๆ สามารถศกึ ษาเพิ่มเตมิ ไดท้ ่ี Tag : สอนศาสตร์ สงั คมศกึ ษา เศรษฐศาสตร์ เศรษฐกิจ การเงิน การคลงั • สอนศาสตร์ สังคมศึกษา ม.ปลาย : เมื่อเรากบั เศรษฐศาสตร์เดิน ทางมาพบกัน http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch5-1 • 02 : ราคามาจากไหนกันเหรอ? http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch5-2 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 81
• 03 : เงินกับคลัง ตา่ งกนั ไงอ่ะ? http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch5-3 • 16 : คยุ้ ขอ้ สอบเศรษฐศาสตร์ http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch5-4 • ความรู้ทว่ั ไปทางเศรษฐศาสตร์ 1 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch5-5 • ความรทู้ ั่วไปทางเศรษฐศาสตร์ 2 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch5-6 • ความรทู้ ั่วไปทางเศรษฐศาสตร์ 3 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch5-7 • ความร้ทู ว่ั ไปทางเศรษฐศาสตร์ 4 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch5-8 82 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
บทท่ี 4 สาระ: ประวตั ิศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ ประวตั ิศาสตร์ (History) คอื การศกึ ษาเรือ่ งราวหรือเหตุการณ์ในอดตี ของมนุษย์ รวมไปถงึ ความเปน็ มาของมนษุ ย์ จากหลักฐานท่ีมีอยโู่ ดยใชว้ ิธีการทีเ่ รียกว่า วิธีการทางประวัตศิ าสตร์ ศกั ราชและการแบง่ ยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร์ ศกั ราช คือ อายุ หรือเวลาที่มนุษย์กำ� หนดข้นึ โดยถือเอาเหตุการณ์ส�ำคญั เปน็ จดุ เริ่มตน้ ในการนบั ศกั ราช ที่ต้องมกี าร ใช้ศกั ราชในการแบง่ เวลาก็เพราะมนุษย์เรามปี ระวตั คิ วามเปน็ มาท่ยี าวนานมาก คงเปน็ เรอ่ื งยากท่ีจะเรียนรู้เร่อื งราวในอดตี ท่ี ยาวนานมากโดยไม่มีการแบ่งเวลาเป็นช่วงๆ นักประวตั ศิ าสตรจ์ งึ ได้ทำ� การแบง่ ช่วงเวลาโดยใชศ้ กั ราชเปน็ ตวั นบั เวลานน่ั เอง ศกั ราช วิธีเทยี บเปน็ พ.ศ. รายละเอยี ด พ.ศ. - 621 มหาศักราช พ.ศ. - 1181 เรม่ิ นบั หลงั ปี พ.ศ. 621 โดยกษตั รยิ อ์ นิ เดยี นาม พระเจา้ กนษิ กะ (ม.ศ.) พ.ศ. - 2324 พบมากในศลิ าจารึกสุโขทยั - เร่ิมนบั หลงั พ.ศ. 1181 โดยพระเจ้าโปปะสอระหัน กษัตริย์ จลุ ศักราช พม่า เป็น จ.ศ. 1 (จ.ศ.) พ.ศ. - 543 เริ่มนับปี พ.ศ. 2325 ซึ่งเปน็ ปกี ่อตั้งกรงุ รตั นโกสินทร์ เปน็ รตั นโกสินทร์ พ.ศ. - 1122 ร.ศ. 1 ศก (ร.ศ.) เร่มิ นับปีที่พระพุทธเจา้ ปรนิ ิพพานเปน็ พ.ศ. 1 เปน็ ศักราชที่ พุทธศกั ราช ใชใ้ นศาสนาพุทธ (พ.ศ.) นับปีท่พี ระเยซปู ระสตู ิเปน็ ค.ศ. 1 หรอื A.D. 1 เปน็ ศักราชที่ คริสตศ์ กั ราช ใช้กันสากลมากที่สดุ (ค.ศ.) แปลว่า การอพยพ เปน็ ศกั ราชทางศาสนาอิสลาม เริม่ นับ ฮิจเราะห์ เมื่อนบมี ูฮมั หมัดอพยพจากเมกกะไปเมดินะเปน็ ฮ.ศ. 1 ศกั ราช (ฮ.ศ.) ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 83
การแบง่ ยคุ สมัยทางประวัติศาสตร์ มนษุ ยเ์ รามปี ระวตั คิ วามเปน็ มาเป็นเวลายาวนาน คนสว่ นใหญ่ในทุกวันนี้เขาเชอ่ื กันวา่ มนุษย์คนแรกๆ ถอื ก�ำเนดิ ขน้ึ เมอื่ สองล้านปีก่อน แต่เพราะพวกเขาเขยี นหนงั สอื ไมไ่ ด้ จงึ ไมม่ ี “ประวตั ศิ าสตร์” เกิดขน้ึ เราจงึ เรยี กพวกเขาว่าเปน็ คนยคุ “ก่อน ประวัติศาสตร”์ พวกเขาเป็นมนษุ ยท์ ่ีมีความฉลาดลำ�้ และคอยคิดประดษิ ฐ์และสรา้ งสง่ิ ต่างๆมากมาย เร่ิมจากการพยายามจุด ไฟ สร้างอาวุธไว้ล่าสัตว์และป้องกันตัว และเริ่มใส่เสื้อผ้าต่างๆ ยุคสมัยของพวกเขาเป็นยุคสมัยท่ีโหดร้ายและน่ากลัว และ เนือ่ งจากชว่ งเวลาของพวกเขามันช่างยาวนาน นักประวตั ศิ าสตร์จงึ ไดแ้ บ่งช่วงเวลาของพวกเขาไวเ้ ปน็ ยุคตา่ งๆ ดังตอ่ ไปน้ี สมยั กอ่ นประวัตศิ าสตร์ ยุคหิน 1. ยุคหินเก่า – พวกเขาเร่ิมคิดประดิษฐ์อาวุธ เช่น ขวานท่ีทำ� จากหิน และค้อน พวกเขาเอาชนะการไม่มีไฟด้วยการ คิดค้นวิธีจุดมันได้ส�ำเร็จ อีกท้ังยังได้มีการเริ่มท�ำเสื้อผ้าขึ้น พวกเขาใช้ชีวิตด้วยการล่าสัตว์หาของป่า และย้ายที่อยู่ไปเรื่อยๆ ตามถ�้ำตา่ งๆ ยงั ไมม่ ีความคดิ ท่จี ะอยูเ่ ป็นหลกั แหล่ง 2. ยคุ หินกลาง – พวกเขาเร่ิมสร้างบา้ นด้วยไมแ้ ทนการอยใู่ นถ้ำ� มีการท�ำมีดและอาวุธจากหินท่ีดขี นึ้ เริม่ หันมานับถอื ศาสนากัน และเริ่มวาดรูปภาพเร่ืองราวต่างๆ ลงบนผนังถ้�ำ แต่น่าเสียดายที่เราไม่นับว่าภาพวาดต่างๆ เหล่าน้ีเป็นบันทึก ทีเ่ ป็นลายลักษณ์อักษร พวกเขาจงึ ตอ้ งอยู่ในยคุ ก่อนประวตั ิศาสตร์ตอ่ ไปอกี 3. ยคุ หินใหม่ – มนษุ ยย์ คุ หินผู้เกง่ กาจเรมิ่ คดิ ได้วา่ มนั ไม่เขา้ ทา่ เสยี เลยท่จี ะตอ้ งย้ายถน่ิ ฐานไปเรอื่ ยๆ ตามถ�ำ้ หรือสร้าง บา้ นใหม่เร่อื ยๆ พวกเขาจงึ ไปตง้ั ถน่ิ ฐานกนั ตามแมน่ �ำ้ ในตอนนีพ้ วกเขาไม่ตอ้ งตามฝูงสตั ว์ไปรอบโลกเพือ่ ล่าและฆา่ พวกมันอกี แล้ว ตอนน้พี วกเขาอยเู่ ป็นทเ่ี ป็นทางไดแ้ ล้ว พวกเขายังไดเ้ รียนร้ทู ี่จะท�ำการเพาะปลกู เลีย้ งสัตว์ หมดยคุ สมยั แห่งการเรร่ อ่ น เสียที! ยุคโลหะ 1. ยุคส�ำริด – หลังจากใช้เคร่ืองมือเครื่องใช้ท่ีท�ำจากหินมาเป็นเวลายาวนาน มนุษย์ก็ได้คิดค้นสิ่งใหม่ขึ้นด้วยการน�ำ ทองแดงผสมกับดีบุก เปน็ วัสดุทแี่ ข็งแรงขึ้น พวกเขาเรยี กมนั ว่า สำ� ริด เครื่องมอื เครอ่ื งใชต้ า่ งๆ รวมไปถึงอาวุธในยคุ นจ้ี ึงถกู สร้างจากส�ำรดิ 2. ยุคเหล็ก – พวกเขาได้ค้นพบสง่ิ ใหม่อีกครงั้ ด้วยการถลุงเหลก็ จึงไดเ้ ปน็ เหลก็ ซงึ่ แขง็ แรงกวา่ สำ� รดิ มาใชท้ ำ� เคร่อื ง มอื เคร่อื งใชต้ า่ งๆ ทำ� ใหย้ คุ นถ้ี ูกเรียกวา่ ยุคเหลก็ ในทส่ี ดุ หลงั จากทคี่ วามเปน็ อยขู่ องมนษุ ยเ์ รม่ิ พฒั นาขนึ้ พวกเขาไดต้ ดั สนิ ใจวา่ จะอาศยั อยรู่ ว่ มกนั เปน็ กลมุ่ และตงั้ รกราก เปน็ ที่ทางมากขน้ึ พวกเขาเริ่มรวมตวั กนั อยอู่ ยา่ งหนาแน่นจนเกดิ เป็นสงิ่ ท่เี รยี กวา่ เมอื ง และ นคร ในเวลาตอ่ มา โดยเริ่มตน้ ใน แถบตะวนั ออกกลางเกดิ เปน็ อาณาจกั รโบราณตา่ งๆ เชน่ เมโสโปเตเมยี บาบโิ ลเนยี เปน็ ตน้ ในเวลาตอ่ มามนษุ ยก์ ไ็ ดร้ เิ รมิ่ กระทำ� สิ่งใหม่อกี ครั้ง ชาวสเุ มเรียนในดินแดนเมโสโปเตเมยี ได้เรมิ่ ประดษิ ฐ์ตวั อักษรขน้ึ ! พวกเขาไดป้ ระดษิ ฐอ์ ักษรท่เี รยี กวา่ คนู ิฟอร์ม (Cuneiform) ขนึ้ ในชว่ งเวลาประมาณ 3000 ปี ก่อนครสิ ตกาล กลายเปน็ ตวั อักษรแรกของมนษุ ย์ ทำ� ให้มกี ารจดบนั ทกึ ต่างๆ ด้วยตวั อกั ษร และนีเ่ ปน็ จุดเรมิ่ ต้นของยคุ ทเ่ี รยี กว่า ยคุ ประวัตศิ าสตร์ 84 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
ประวตั ิศาสตรส์ ากล เราแบ่งยคุ ประวัติศาสตร์ออกเปน็ ช่วงเวลาตา่ งๆ ดังนี้ 1. สมัยโบราณ (3,500 ปี กอ่ นคริสตกาล – ค.ศ. 476) มนษุ ยต์ งั้ ถนิ่ ฐานกนั เปน็ กลมุ่ จนเกดิ เปน็ อาณาจกั รขนึ้ มาโดยแหลง่ อารยธรรมทเี่ กา่ แกท่ ส่ี ดุ นนั้ คอื เมโสโปเตเมยี ในลมุ่ แมน่ ้ำ� ไทกรสิ -ยเู ฟรตสิ หรอื ทเี่ รยี กกนั ว่า “ดินแดนพระจันทรเ์ ส้ียว” ซง่ึ อย่ใู นประเทศอริ กั และซเี รียในปจั จุบัน อย่างทีก่ ล่าวไป แล้วว่าพวกเขาเป็นมนุษยก์ ลมุ่ แรกที่จดบันทกึ เร่อื งราวตา่ งๆ ดว้ ยตวั อกั ษร หลงั จากนัน้ ผคู้ นในส่วนอืน่ ๆ ของโลกกเ็ รม่ิ จะเลียน แบบตาม ผคู้ นในลมุ่ แม่น้�ำไนลใ์ นประเทศอียปิ ต์ปจั จุบนั ได้ประดิษฐอ์ ักษรคลา้ ยคลงึ กันขนึ้ มา เรยี กว่า ไฮโรกลฟิ ิก (Hiroglyphic) และเกิดเปน็ อารยธรรมอยี ปิ ต์ สว่ นชาวจนี ในลมุ่ แมน่ ำ้� หวางเหอ ชาวอนิ เดยี ในลมุ่ แมน่ ำ�้ สนิ ธุ ก็ไดท้ �ำเชน่ เดยี วกนั ในชว่ งเวลาตอ่ มา อารยธรรมทส่ี �ำคญั ที่เกดิ ข้นึ ตามมา คอื อารยธรรมกรกี และอารยธรรมโรมันตามลำ� ดบั ซงึ่ เปน็ จกั รวรรดทิ ย่ี ่ิงใหญท่ ี่สดุ แหง่ หนึ่งของโลกเท่าท่ีเคยมีมา พวกเขามีอาณาเขตขนาดใหญ่ครอบคลุมทะเลเมดิเตอเรเนียน และเป็นรากฐานของอารยธรรม ตะวนั ตกในเวลาต่อมา ชาวโรมันมอี ารยธรรมท่รี งุ่ เรอื งต้งั แค่ 1,000 ปี ก่อนครสิ ตกาลไปจนถึง ค.ศ. 476 เป็นเวลากวา่ พันปี จน กระทงั่ ไดถ้ กู รกุ รานโดยพวกอนารยชนเยอรมนั สง่ ผลใหเ้ กดิ การลม่ สลายของจกั รวรรดโิ รมนั และนบั เปน็ จดุ สน้ิ สดุ ของยคุ โบราณ ศูนยก์ ลางความเจริญถกู ย้ายไปอยูท่ เี่ มอื งหลวงใหม่ของโรมัน คือ กรงุ คอนสแตนตินโนเปลิ ในประเทศตรุ กปี ัจจบุ ัน ซ่งึ เรียกกนั ว่า อาณาจกั รไบแซนไทน์หรือโรมันตะวันออกแทน 2. สมัยกลาง (ค.ศ. 476 - 1453) หลงั จากทจี่ กั รวรรดโิ รมนั ลม่ สลายเหลา่ อนารยชนเยอรมนั ไดร้ กุ รานดนิ แดนตา่ งๆ ในยโุ รปประชาชนในยโุ รปเดอื ด ร้อนและไร้ท่ีพึ่ง พวกเขาจึงได้หันมาให้ความส�ำคัญกับศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก โดยเชื่อว่าพระผู้เป็นเจ้าจะคุ้มครอง พวกเขาจากพวกคนเถ่ือนเยอรมนั ได้ สง่ ผลใหศ้ าสนาครสิ ต์มีอทิ ธพิ ลอยา่ งมากในยุโรป ผู้คนศรทั ธาในพระผ้เู ป็นเจ้ามาก ไม่มี การคิดค้นพัฒนาส่ิงใดใหม่ๆ เลยเพราะถูกค�ำสอนของศาสนจักรครอบง�ำจนเรียกกันว่าเป็น ยุคมืด สังคมมีลักษณะเป็นแบบ ฟวิ ดลั หรอื ศกั ดนิ าสวามภิ กั ด์ิ ขนุ นางเปน็ เจา้ ของทดี่ นิ และมชี าวไรช่ าวนาเปน็ ทาสคอยทำ� งานรบั ใช ้ และในสมยั นเี้ องกเ็ กดิ โรค ระบาด คอื กาฬโรค เรียกกนั ว่า Black Death ซง่ึ ผคู้ นในยุโรปเสยี ชวี ิตไปกวา่ สามล้านคน ซ่งึ ส่งผลกระทบตอ่ สังคมในยโุ รปเป็น อย่างมาก ผู้คนศรัทธาในพระเจ้าจนสามารถยอมสละชีพเดินทางไปรบท่ีตะวันออกกลางเม่ือเกิดความขัดแย้งระหว่างศาสนา ครสิ ตแ์ ละอสิ ลาม จนเกดิ เป็นสงครามครูเสดขึน้ เปน็ เวลากวา่ 300 ปี ชาวมสุ ลิมไดแ้ ข็งแกร่งข้นึ จนเขา้ ยึดกรงุ คอนสแตนตใิ น เปลิ ไดใ้ นปี ค.ศ. 1453 ซง่ึ เปน็ จดุ สิ้นสุดของยุคสมัยกลาง 3. สมัยใหม่ (ค.ศ. 1453 - 1945) หลังจากพ้นจากยุคมืด โลกได้เขา้ สู่ยุคแหง่ แสงสว่างทเี่ รียกกนั วา่ ยุค Enlightenment ซง่ึ เกิดการพัฒนาด้าน อารยธรรมและเทคโนโลยอี กี ครง้ั มีการรื้อฟ้ืนอารยธรรมกรกี โรมนั ในอดีตกลับมาอีกครั้งโดยเร่ิมตน้ ในอิตาลี เราเรียกว่า การ ฟื้นฟูศิลปวิทยาการ หรือ เรเนอซอง (Renaissance) เป็นยุคท่ีความศรัทธาในศาสนาคริสต์ ในพระผู้เป็นเจ้า และใน พระสันตะปาปาซง่ึ เปน็ ประมขุ ของครสิ ตจกั รคาทอลิก ถูกทา้ ทาย มกี ารปฏริ ปู ศาสนาโดยมารต์ นิ ลูเธอร์ ในเยอรมัน ซง่ึ เขามอง ว่านิกายโรมันคาทอลิกนั้นได้เบี่ยงเบนจากค�ำสอนท่ีแท้จริงของพระผู้เป็นเจ้า มีการขายบัตรไถ่บาปที่เช่ือกันว่าซื้อแล้วจะได้ไป สวรรค์ ซง่ึ ตรงกนั ขา้ มกบั คำ� สอนในศาสนาครสิ ต์ ลเู ธอรไ์ ดท้ ำ� การแปลพระคมั ภรี ไ์ บเบลิ เปน็ ภาษา ทอ้ งถน่ิ ตา่ งๆ เพอื่ ใหป้ ระชาชน ทวั่ ไปสามารถอา่ นและทำ� ความเขา้ ใจพระคมั ภรี ไ์ ด้ ซง่ึ กอ่ นหนา้ นน้ั คมั ภรี ท์ ง้ั หมดเปน็ ภาษาละตนิ จงึ ตอ้ งถกู ถา่ ยทอดและตคี วาม โดยนกั บวชเท่าน้ัน ต่อมากลมุ่ ปฏิรปู ศาสนาไดก้ ่อกำ� เนดิ เปน็ นิกายโปรเตสแตนต์ (Protestant) ทีแ่ ปลวา่ การต่อตา้ นนั่นเอง หลงั จากนน้ั ไดม้ กี ารปฏวิ ตั วิ ทิ ยาศาสตร์ ตามมาดว้ ยปฏวิ ตั อิ ตุ สาหกรรม ในสมยั ใหมน่ เี้ กดิ ระบอบการปกครองทเ่ี รยี กวา่ ประชาธปิ ไตย ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 85
ขึ้น โดยเริ่มจากการปฏิวัติฝรั่งเศสในปี ค.ศ. 1789 และจึงเริ่มแพร่ไปทั่วโลก ชาวตะวันตกเร่ิมออกเดินทางล่าอาณานิคมใน แอฟรกิ า เอเชยี และอเมรกิ า จนทา้ ยทสี่ ดุ กป็ ดิ ทา้ ยดว้ ยการทำ� สงครามกนั เราเรยี กสงครามครง้ั ใหญน่ ว้ี า่ สงครามโลก หลงั จาก เสร็จสนิ้ สงครามโลกครัง้ ที่ 2 โลกกเ็ ข้าสสู่ มยั ทีเ่ รียกว่า สมยั ปัจจุบนั หรือ ยคุ รว่ มสมยั 4. สมยั ปัจจุบัน/รว่ มสมยั (ค.ศ. 1945 – ปัจจบุ นั ) เริ่มตั้งแต่การส้ินสุดสงครามโลกคร้ังที่ 2 เหตุการณ์ท่ีสำ� คัญ คือ สงครามเย็น ซึ่งเป็นสงครามทางจิตวิทยาระหว่าง สหรฐั อเมริกาซึ่งเปน็ ผูน้ �ำลทั ธิทนุ นยิ ม และ สหภาพโซเวยี ตผนู้ ำ� ลทั ธิคอมมิวนสิ ต์ มีการก่อการร้ายตา่ งๆ มากมายเกดิ ขึ้น เป็น ยคุ สมัยทีโ่ ลกกำ� ลังด�ำเนินเข้าสู่การเป็นโลกาภวิ ตั น์ พฒั นาการและการสร้างสรรคท์ างอารยธรรม อย่างท่เี ราได้พูดถึงไปแลว้ ว่า มนษุ ย์เราไดพ้ ฒั นาสิง่ ต่างๆ ตลอดมาตง้ั แตย่ ุคหนิ เม่ือเข้าสู่ยคุ ประวตั ศิ าสตร์ตง้ั แต่พวก เขาเร่ิมจดบนั ทึกสงิ่ ต่างๆ เปน็ ตัวอักษรแล้วนัน้ พวกเขาก็ยังไดส้ รา้ งส่ิงตา่ งๆ ขน้ึ มามากมายต่อเนอ่ื ง จนเกดิ เปน็ ส่ิงทเี่ รยี กวา่ อารยธรรม ซงึ่ สง่ิ นไี้ ดต้ กทอดมาสคู่ นรนุ่ หลงั มาจนถงึ ปจั จบุ นั เราสามารถแบง่ อารยธรรมของมนษุ ยอ์ อกเปน็ สองประเภทใหญๆ่ คือ อารยธรรมตะวันตก และอารยธรรมตะวันออก แนน่ อนล่ะว่า อารยธรรมตะวนั ตก อยู่ทางซกี โลกตะวนั ตก และอารยธรรม ตะวนั ออกอยใู่ นซีกโลกฝง่ั ตะวนั ออก อารยธรรมส�ำคัญของโลกตะวันตก เราเรยี กมนษุ ยท์ อ่ี าศยั อยใู่ นโลกฝง่ั ตะวนั ตกวา่ ชาวตะวนั ตก พวกเขาเหลา่ นไี้ ดส้ รา้ งสรรคผ์ ลงานทางอารยธรรมขน้ึ มา มากมาย เราอาจจะจดั ประเภทของอารยะธรรมเหล่านไี้ ด้ดังนี้ อารยธรรมอยี ปิ ตโ์ บราณทีล่ ุ่มแม่นำ�้ ไนล์ ชาวอยี ปิ ตน์ น้ั กเ็ หมอื นกบั มนษุ ยท์ ว่ั ไปในสว่ นตา่ งๆ ของโลกทไ่ี ดเ้ รมิ่ ตน้ สรา้ งเมอื งและถนิ่ ฐานรมิ แมน่ ำ้� เพราะนำ้� เปน็ สงิ่ สำ� คญั ในการด�ำรงชวี ิตของมนษุ ย์ พวกเขาจึงต้งั ถิน่ ฐานกนั รมิ แม่นำ้� เพ่อื ทจี่ ะได้ไมข่ าดแคลน สำ� หรับชาวอยี ปิ ต์แลว้ พวกเขาต้ัง ถน่ิ ฐานในบริเวณท่เี รียกวา่ ลุ่มแม่น�ำ้ ไนล์ หรือ ริมแมน่ ำ้� ไนล์ น่นั เอง ชาวอียปิ ต์มผี ปู้ กครองท่ีเรียกว่า “ฟาโรห์” ซ่งึ ตามต�ำนานความเชือ่ ของชาวอยี ิปต์นนั้ ฟาโรห์ของพวกเขา คือ เทพเจา้ เพราะฉะน้ันจึงต้องมีความเป็นอยู่ท่ีแตกต่างจากมนุษย์ท่ัวไปคนอ่ืนๆ เม่ือเสียชีวิตลงจึงต้องสร้างสุสานท่ีมีขนาดใหญ่ เพราะ เชอ่ื ว่าหลงั จากทีต่ ายไปแล้วจะสามารถฟนื้ คนื ชพี มาไดอ้ ีกครั้งและจะมาปกครองโลกมนษุ ย์อกี ครง้ั หน่งึ สุสานมหมึ าท่สี ร้างให้ กับฟาโรหเ์ รยี กกันวา่ ปรี ามิด ทมี่ า: http://wallpaperpassion.comป/รี dาoมwดิ nแlหoa่งdก-ซิ w่าallpaper/39345/pyramids-of-giza-wallpaper.html 86 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya
เราจะพบปรี ามิดได้มากมายกระจายตามทต่ี า่ งๆ ในอยี ปิ ต์ และปรี ามิดที่มีขนาดใหญ่ทสี่ ุด คือ ปรี ามดิ แห่งกิซา่ หรอื ปิ รามดิ คฟู ู ซงึ่ สรา้ งใหก้ บั กษตั รยิ ค์ ฟู ู ของชาวอยี ปิ ต์ ซงึ่ จดั เปน็ สถาปตั ยกรรมทส่ี ำ� คญั ของอยี ปิ ต์ หากเราสงั เกตกจ็ ะพบวา่ บรเิ วณ ใกลๆ้ กับปีรามิดน้นั จะมรี ปู ปัน้ ของสงิ โตทีม่ ีใบหนา้ เหมือนคนต้งั อยู่ เราเรียกเจา้ สิงโตน้ีว่า สฟงิ ค์ ซึ่งใบหน้าจะตา่ งกันไป เชอื่ กนั วา่ เปน็ ใบหนา้ ของกษตั รยิ อ์ ยี ปิ ต์ ซงึ่ เชอ่ื กนั วา่ เมอื่ จากโลกนไี้ ปแลว้ จะคนื ชพี เปน็ เทพเจา้ ทม่ี ที รพั ยด์ งั่ สงิ โต ชาวอยี ปิ ตจ์ งึ สรา้ ง สฟงิ คเ์ ปน็ ครึง่ สิงโตคร่งึ มนุษย์ดังทเ่ี ราเห็นกนั ชาวอียิปต์นับถือศาสนาที่เชื่อในเรื่องเทพเจ้าหลายองค์ หรือที่เราเรียกกันว่า พหุเทวนิยม เทพเจ้าท่ีสูงสุดของอียิปต์ หรอื เทพเร หรอื รา ชาวอยี ปิ ตม์ เี ทพเจา้ หลายองค์ และเชอ่ื ในเรอื่ งโลกหลงั ความตาย สงิ่ กอ่ สรา้ งและศลิ ปะตา่ งๆ จงึ เกย่ี วขอ้ ง กับเทพเจ้าเป็นสว่ นใหญ่ พวกเขาไดป้ ระดษิ ฐต์ วั อักษรภาพท่เี รียกวา่ ไฮโรกลฟิ ิก (Hiroglyphic) เพ่อื ใช้ในการจดบันทกึ ซ่ึงโดย ส่วนมากเปน็ เรอื่ งราวบนั ทกึ เกี่ยวกบั เทพเจ้าและฟาโรห์ ชาวอียปิ ตม์ ีพฒั นาการทางดา้ นการแพทย์ทดี่ ีเยีย่ ม พวกเขาเรยี นรวู้ ิธี การดองศพหรอื ทำ� เปน็ มัมม่ี เพ่อื รอวนั ทีผ่ ้ตู ายจะกลบั มามีชีวติ อกี คร้งั อกี ท้ังยงั ผลติ กระดาษทเ่ี รยี กว่า กระดาษปาปริ สุ ไว้ใช้ใน การจดบนั ทกึ ส่ิงต่างๆ หน่ึงในผลงานสำ� คญั ของชาวอยี ปิ ตค์ ือการคิดค้นและประดิษฐ์ ปฏิทนิ แบบสุริยคติ ขึ้นมา อารยธรรมเมโสโปเตเมยี (ลุ่มแมน่ ำ้� ไทกริส-ยูเฟรติส) ถดั มาทางตะวนั ออกของอยี ปิ ต์ มดี นิ แดนทเ่ี รยี กวา่ เมโสโปเตเมยี ซง่ึ อยบู่ รเิ วณลมุ่ แมน่ ำ้� ไทกรสิ -ยเู ฟรตสิ ทน่ี เ่ี ปน็ แหลง่ รวมของผู้คนหลายชนชาติ จงึ กลายเปน็ แหง่ อารยธรรมที่สำ� คัญของโลกตะวนั ตกในเวลาตอ่ มา หนงึ่ ในชนชาตทิ มี่ ชี อ่ื เสยี งและมกั เปน็ ทก่ี ลา่ วถงึ คอื ชาวสเุ มเรยี น ซง่ึ เปน็ คนกลมุ่ แรกทป่ี ระดษิ ฐต์ วั อกั ษรลม่ิ หรอื อกั ษร คูนิฟอร์ม เป็นตัวอักษรแรกของโลก ซ่ึงท�ำให้บริเวณอ่ืนๆ ในโลกเลียนแบบตามในภายหลัง ชาวสุเมเรียนก็เช่นเดียวกับชาว อยี ปิ ตพ์ วกเขาเชอื่ ในเรอ่ื งของเทพเจา้ และไดส้ รา้ งสงิ่ กอ่ สรา้ งทยี่ งิ่ ใหญไ่ มแ่ พก้ นั คอื ซกิ กแู รต ขน้ึ เพอ่ื บชู าพระเจา้ แตพ่ วกเขา ไดก้ ้าวไปไกลกวา่ นัน้ มาก ชาวสเุ มเรียนได้แบ่งชว่ งเวลาในแตล่ ะวันเป็น 24 ช่ัวโมง และแบง่ ชัว่ โมงออกเปน็ 60 นาที ซ่งึ เป็นรปู แบบเวลาทีเ่ รายังใชอ้ ยูจ่ นถึงปัจจุบัน เพราะฉะนนั้ จงอย่าลืมล่ะวา่ คุณใชน้ าฬิกาแบบสเุ มเรยี นอยู่ ที่มา: http://dc191.4shared.com/d“oซcกิ /กfZูแ9รRตD”e1a/preview_html_m66ec14d4.jpg ชนชาตทิ สี่ ำ� คญั อกี ชาติ คอื ชาวบาบโิ ลเนยี พวกเขาสรา้ งอาณาจกั รใหญช่ อ่ื วา่ บาบโิ ลน มสี งั คมขนาดใหญท่ มี่ ผี คู้ นอาศยั อยมู่ ากมาย จงึ ตอ้ งมีการตัง้ กฎเกณฑข์ องสงั คมข้นึ กษตั รยิ บ์ าบิโลนที่ฉลาดมากพระองคห์ น่งึ ชือ่ ว่า พระเจา้ ฮมั มูราบี ได้เขียน กฎหมายทสี่ ำ� คญั ขน้ึ คอื กฎหมายฮมั มรู าบี หรอื กฎหมายทเ่ี ราเรยี กวา่ กฎแบบตาตอ่ ตา ฟนั ตอ่ ฟนั หรอื ทำ� ผดิ อะไรกจ็ ะไดอ้ ยา่ ง นัน้ เช่น ถา้ คณุ เกิดไปทำ� คนตาบอดเข้า คุณก็จะตอ้ งถกู ควกั ตาท้งิ อย่างไรก็ตามกฎหมายฮมั มรู าบถี ือว่าเป็นประมวลกฎหมาย ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 87
ทเี่ ก่าแกท่ ี่สุดของมนุษยก์ ว็ ่าได้ นอกจากนี้ยังมีชาวอัสซีเรีย ซ่ึงได้สร้างห้องสมุดข้ึนเป็นแห่งแรกของโลกในสมัยพระเจ้าอัสซูบานิปาล กษัตริย์ของ อัสซีเรีย และยงั มชี าวคาลเดียทไ่ี ด้แบ่งสปั ดาห์ออกเป็น 7 วัน ทำ� ใหเ้ รามีปฏทิ ินไดใ้ ช้แบบทุกวนั นี้ อารยธรรมกรกี ชาวกรีก เปน็ ชนชาตทิ ี่มคี วามส�ำคญั ชาติหนง่ึ ในยุโรป พวกเขาเร่มิ ตัง้ ถนิ่ ฐานในเกาะชื่อวา่ เกาะครีต ซึ่งอารยธรรมกรกี นเ้ี ปน็ รากฐานของอารยธรรมตะวนั ตก พวกเขาไดส้ รา้ งอารยธรรมทมี่ คี วามเจรญิ อยา่ งมาก ซง่ึ ตอ่ มาไดพ้ ฒั นาเปน็ รากฐานของ อารยธรรมตะวันตก เราสามารถแบ่งยคุ สมยั ของอารยธรรมกรกี ได้เปน็ สองยคุ ใหญ่ๆ คือ 1. ยคุ เฮเลนคิ กรกี มศี นู ยก์ ลางอยทู่ นี่ ครเอเธนส์ ชาวกรกี กเ็ ปน็ เหมอื นมนษุ ยใ์ นสมยั โบราณอน่ื ๆ คอื มกี ารเชอ่ื ในเทพเจา้ จึงมงี านเขยี น ศลิ ปะ และสงิ่ กอ่ สรา้ งทเี่ กย่ี วขอ้ งกับเทพเจา้ มากมาย หนง่ึ ในงานกอ่ สรา้ งที่สำ� คญั คอื วหิ ารพารธ์ ีนอน ซงึ่ สรา้ ง ขน้ึ เพอ่ื บชู าเทพเจา้ เอเธนา ซง่ึ เปน็ เทพเจา้ แหง่ ปญั ญาและความรอบรู้ กรกี ยงั เปน็ ศนู ยร์ วมของนกั ปราชญม์ ากมาย มนี กั ปรชั ญา ทเี่ ก่งกาจอยา่ ง โซเครติส เพลโต และอริสโตเตลิ ซงึ่ เป็นแมแ่ บบของปรชั ญาตะวันตก อกี ท้งั ยังมงี านด้านวรรณกรรมทส่ี �ำคัญ อยา่ งมหากาพย์อีเลียต และโอดสี ซีของโฮเมอร์ ส่งิ หน่ึงทต่ี กทอดจากกรีกมาสปู่ จั จบุ นั คอื งานดา้ นศิลปะ ซึ่งศิลปะกรกี จะเน้น รูปร่างสรีระของมนษุ ยท์ ส่ี มบูรณ์แบบ ตัวอยา่ งเชน่ รปู ปั้นไมรอน หรอื คนขว้างจักร ซึ่งเปน็ งานศิลปะท่ีมชี อื่ เสียง 2. ยุคเฮเลนนสิ ตกิ เป็นยุคท่อี ารยธรรมกรีกไดผ้ สมสานกับอารยธรรมตะวันออก ศูนยก์ ลางของกรีกในตอนนี้อยทู่ เี่ มอื ง อะเลก็ ซานเดอร์ สงั คมกรกี นยิ มความหรหู ราฟมุ่ เฟอื ย กรกี ขยายอทิ ธพิ ลไปถงึ เอเชยี ในสมยั ของพระเจา้ อเลก็ ซานเดอรม์ หาราช ซึ่งทรงยกทัพโจมตีดินแดนต่างๆ ไปจนถึงอินเดียในเอเชียซ่ึงเป็นโลกตะวันออก จึงท�ำให้เกิดการผสมผสานของอารยธรรม ตะวันตกและตะวันออก อารยธรรมโรมนั หลังจากอารยธรรมกรกี ไดเ้ บง่ บานในเกาะครตี ผคู้ นในดนิ แดนอิตาลีในปจั จบุ ันไดเ้ ริ่มสรา้ งอารยธรรมท่ยี ่งิ ใหญข่ ้นึ โดย มแี มแ่ บบจากอารยธรรมกรกี พวกเขาเรยี กตวั เองวา่ ชาวโรมนั ซง่ึ ตอ่ มาคนกลมุ่ นไ้ี ดข้ ยายอทิ ธพิ ลไปอยา่ งกวา้ งขวาง มศี นู ยก์ ลาง อย่ทู ีก่ รุงโรม ชาวโรมนั ไดพ้ ัฒนาก้าวไปไกลกวา่ ชาวกรีกมาก พวกเขาได้สรา้ งสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่เรียกว่า สนามกีฬาโคลอส เซยี ม เพอ่ื ใชแ้ ข่งกฬี าอนั เหี้ยมโหดที่เรียกว่า “แกลดเิ อเตอร์” คอื การใหท้ าสมาตอ่ สกู้ นั จนฝ่ายใดฝ่ายหนงึ่ ตายไปขา้ งหนง่ึ หรอื อาจใหท้ าสตอ่ สกู้ บั สตั ว์ ซง่ึ เปน็ ความบนั เทงิ อยา่ งหนงึ่ ของชาวโรมนั ในขณะเดยี วกนั ชาวโรมนั ไดพ้ ฒั นาระบบกฎหมายใหก้ า้ วหนา้ ขนึ้ เรยี กวา่ กฎหมายสบิ สองโตะ๊ ซง่ึ ใหส้ ทิ ธกิ บั พลเมอื งชาวโรมนั มากขน้ึ ในเวลาตอ่ มาเมอ่ื อทิ ธพิ ลของจกั รวรรดโิ รมนั แผก่ ระจาย ไปทั่ว อารยธรรมของกรีกที่ผสมผสานกบั โรมนั จึงกลายเป็นรากฐานของอารยธรรมตะวันตก ท่มี า: http://wallpaperpassiสoนn.าcมoกmฬี /dาoโคwลnอloสaเdซ-ยี wมallpaper/26401/colosseum-wallpaper.html 88 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
อารยธรรมสำ� คัญของโลกตะวันออก อกี ฟากหน่ึงของโลกทางตะวนั ออก ชาวตะวันออกไดพ้ ฒั นาอารยธรรมมาเป็นเวลายาวนาน อารยธรรมตะวันออกท่ี สำ� คัญท่ีมกั จะพูดถงึ กันคอื อารยธรรมจีน และอินเดีย อารยธรรมจีน เมอ่ื พูดถึงเอเชีย เราคงหนไี มพ่ ้นทจี่ ะตอ้ งพดู ถึงจนี แผ่นดนิ ใหญ่ ซึง่ เปน็ ประเทศท่ีมขี นาดใหญแ่ ละมอี ารยธรรมเกา่ แก่ มาตงั้ แต่โบราณ เพ่อื ใหง้ ่ายตอ่ การทำ� ความเขา้ ใจ นกั ประวัติศาสตร์จงึ ไดแ้ บ่งช่วงเวลาในประวตั ศิ าสตรจ์ นี ออกเปน็ ราชวงศ์ ต่างๆ ดังนี้ ศกั ราช พฒั นาการดา้ นอารยธรรม ชาง ในยคุ แรกนจ้ี ีนปกครองแบบนครรัฐ มีการประดษิ ฐอ์ ักษรจีนโดยการบนั ทึกลงบนกระดูกสัตว์ และมี การสร้างปฏทิ นิ แบบจีนข้นึ มาใช้ในอาณาจักร มีการพัฒนาความเชื่อเร่ืองกษัตริย์จีนเป็นโอรสของสวรรค์ พวกเขาเชื่อว่าการท่ีได้กษัตริย์ท่ีดีมา ปกครองประเทศนัน้ เพราะถกู สง่ มาจากสวรรค์ แต่ลขิ ิตของสวรรค์นน้ั เปลยี่ นแปลงไดเ้ สมอ เพราะ โจว ฉะนั้นเมื่อกษัตริย์ไร้ความสามารถในการปกครอง ก็จึงเป็นเร่ืองธรรมดาท่ีจะมีการส่งโอรสองค์ใหม่ มาปกครองบ้านเมือง ความเชื่อนี้ท�ำให้สังคมจีนมีการปฏิวัติราชวงศ์บ่อยคร้ัง ในสมัยของราชวงศ์ โจวยงั มนี กั ปราชญต์ ะวันออกคนส�ำคัญ คอื ขงจอ๊ื ซ่ึงเป็นแมแ่ บบของปรชั ญาตะวันออก ในยคุ นี้มีจักรพรรดิทีย่ ิง่ ใหญ่ คอื จ๋นิ ซฮี ่องเต้ ซงึ่ เป็นผู้รวมแผ่นดนิ จีนเป็นจกั รวรรดใิ หญ่ มีการ จนิ๋ ใชภ้ าษาเขียนท่ีเป็นตัวอกั ษรจนี และยังไดส้ ร้างกำ� แพงเมอื งจีนขึน้ เพอ่ื ปอ้ งกนั การรุกรานจาก ภายนอก ซ่งึ เปน็ หนงึ่ ในสิ่งมหศั จรรยข์ องโลก มกี ารพัฒนาสรา้ งระบบราชการข้นึ เปน็ ยคุ ทองทางการคา้ ของจนี มกี ารใชเ้ สน้ ทางการค้าทม่ี ี ฮัน่ ชอ่ื เสียงเรียกวา่ เสน้ ทางสายไหม ซึง่ ต่อมา มาร์โค โปโล นักส�ำรวจชาวอิตาลกี ไ็ ด้ใชเ้ สน้ ทางเสน้ นี้ เดินทางมายงั จีนในสมัยราชวงศห์ ยวน ถัง กลา่ วกนั วา่ เป็นยคุ ทองของวรรณกรรมจีน และยังเป็นยุคทองของพทุ ธศาสนาด้วย ซ้อง ชาวจนี ได้พัฒนาไปไกลกวา่ ชาวตะวนั ตกมาก ในสมัยนช้ี าวจนี สามารถผลติ แท่นพมิ พ์ไดก้ ่อนชาว หงวน/หยวน ยุโรปถึง 400 ปี นอกจากนพ้ี วกเขายังผลติ ถ้วยชามตา่ งๆ ดว้ ยกระเบ้อื งสีขาวและ สเี ขยี วไขก่ าอกี หมงิ ด้วย แมนจ/ู ชงิ เชอื้ สายจักรพรรดริ าชวงศน์ ้ีเปน็ ชาวต่างชาติ คอื เป็นชาวมองโกล ซึง่ เข้ามายึดครองจนี มงี าน เขยี นทสี่ ำ� คัญ คือ สามก๊ก และมีความก้าวหน้าดา้ นศิลปวฒั นธรรมมากโดยเฉพาะการแสดงงวิ้ มีการสรา้ งพระราชวงั ปักกงิ่ หรือพระราชวังต้องหา้ มทีม่ ีช่ือเสียง เปน็ ราชวงศ์ตา่ งชาตอิ ีกเช่นกนั โดยมีเชือ้ สายชาวแมนจูเรยี เป็นยคุ ท่ีชาวตา่ งชาตเิ ข้ามาโดยหวงั จะ ยดึ จนี เป็นอาณานคิ ม เกดิ สงครามกับองั กฤษ และลงท้ายด้วยความพ่ายแพ้ของจีน ซงึ่ ต่อมาน�ำไปสู่ การล่มสลายของระบบจกั รพรรดใิ นจีน จีนเปลย่ี นกลายเปน็ สาธารณรัฐ ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 89
อารยธรรมอินเดีย อนิ เดยี ถอื เปน็ ดนิ แดนทมี่ คี วามเจรญิ มาตงั้ แตโ่ บราณ ชาวอนิ เดยี กเ็ หมอื นกบั ชาตอิ น่ื ๆ ทวั่ โลกทไี่ ดต้ ง้ั ถน่ิ ฐานรมิ นำ�้ โดย ชาวอนิ เดยี ไดต้ ัง้ ถ่ินฐานทีร่ มิ แม่น�ำ้ สินธุ มกี ารสร้างนครทส่ี �ำคญั ซงึ่ เปน็ ศูนย์กลาง คือ โมเฮนโจ-ดาโร และฮารปั ปา ซงึ่ มีความ เจรญิ รงุ่ เรืองดา้ นการวางผังเมอื ง และสาธารณูปโภค อินเดียมีวรรณกรรมที่ส�ำคัญมากมาย หน่ึงในวรรณกรรมท่ีส�ำคัญ คือ คัมภีร์พระเวท ซึ่งกล่าวถึงเทพเจ้าในศาสนา พราหมณ์ ฮนิ ดู อนิ เดยี ยงั เปน็ ดนิ แดนซงึ่ เปน็ แหลง่ กำ� เนดิ ของพทุ ธศาสนา ซง่ึ ตอ่ มาไดเ้ ผยแผไ่ ปนอกอนิ เดยี ในสมยั ของกษตั รยิ ์ ที่ยิ่งใหญ่ คือ พระเจ้าอโศกมหาราช งานด้านสถาปัตยกรรมที่ส�ำคัญของอินเดีย คือ ทัชมาฮาล ซ่ึงจักรพรรดิอินเดียในสมัย ราชวงศ์โมกุลได้สรา้ งขึ้นเพอ่ื ร�ำลึกถงึ พระมเหสขี องพระองค์ที่สิ้นพระชนม์ ซง่ึ เป็นอนสุ รณแ์ ห่งความรักท่ีมีชื่อเสียงระดับโลก มาจนถึงปจั จุบัน พัฒนาการยุโรปสมยั ใหมก่ ารปกครองสมยั กลาง หลงั จากทก่ี รงุ โรมถกู ชนเผา่ เยอรมนั ยดึ ครอง ยโุ รปกเ็ ขา้ สยู่ คุ การปกครองแบบฟวิ ดลั (Feudal System) อำ� นาจปกครอง อยู่ที่ขุนนางท้องที่ ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกข้ึนมามีบทบาททางการเมืองและสังคมเหนือกษัตริย์ เพราะบุคคลที่สวม มงกฎุ ให้กบั กษตั ริย์แต่ละประเทศในยโุ รปก็คือพระสันตะปาปานน่ั เอง กษัตรยิ ์ในยุโรปไมม่ ีอำ� นาจไมส่ ามารถปกครองขุนนางได้ โดยตรง การปกครองสมยั ใหม่ หลงั จากผา่ นพน้ ยุคกลางมาแลว้ โลกกเ็ ปล่ยี นแปลงและไมเ่ หมือนเดิมอีกตอ่ ไป เกิดแนวคิดเรื่องความเปน็ ชาติขึน้ เกดิ การพฒั นาแนวคดิ ประชาธปิ ไตยขน้ึ ในยโุ รปเพอ่ื เปลย่ี นแปลงการปกครองจากระบอบเกา่ เปน็ ระบอบประชาธปิ ไตย ประเทศแรก ที่เป็นแม่บทของระบอบประชาธิปไตยคือ อังกฤษ โดยมกี ระบวรการประชาธิปไตยดังน้ี 1. กฎบัตรแมกนาคารต์ า กฎหมายที่ขนุ นางองั กฤษใชค้ วบคุมอ�ำนาจของกษตั ริย์ เป็นท่มี าของรัฐธรรมนญู อังกฤษ และรัฐสภาอังกฤษ 2. การปฏวิ ัติอันรงุ่ โรจน์ เปน็ การปฏวิ ตั ทิ ท่ี ำ� ใหร้ ะบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชยใ์ นองั กฤษสนิ้ สดุ ลง เปน็ การปฏวิ ตั โิ ดยไมม่ กี ารเสยี เลอื ดเนอ้ื หรอื ทำ� สงครามการเมอื งกนั เลย กษตั รยิ ย์ อมอยใู่ ตร้ ฐั ธรรมนญู รฐั สภาออกกฎหมายใหก้ ษตั รยิ ย์ อมรบั สทิ ธเิ สรภี าพของประชาชนเรยี ก วา่ “พระราชบัญญัตวิ ่าด้วยสทิ ธิ” 3. พระราชบญั ญัตปิ ฏิรูปรัฐสภา รัฐสภาองั กฤษออกพระราชบญั ญัตใิ ห้ชนชนั้ กลาง ประชาชนธรรมดา และ กรรมกร มสี ทิ ธิทางการเมอื งเป็นคร้งั แรก 90 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
พฒั นาการของแนวคดิ ประชาธปิ ไตย นกั ปรัชญาทางการเมอื งท่สี ำ� คัญได้แก่ • โทมัส ฮอบส์ เขาไดเ้ สนอแนวคดิ วา่ โดยธรรมชาตนิ ั้นมนุษยเ์ รามแี ตค่ วามวุ่นวายท้งั ส้นิ ดงั นั้นต้องมอบอ�ำนาจการตัดสินใจให้กบั ผู้มี อำ� นาจเพยี งคนเดยี ว ซงึ่ แนวคดิ ของเขาไมจ่ ดั เปน็ ประชาธปิ ไตยอยา่ งแทจ้ รงิ แตถ่ อื วา่ เปน็ การเรมิ่ ตน้ ของสญั ญาประชาคม คอื อำ� นาจผูป้ กครองมาจากการยินยอมของประชาชน น่นั หมายความวา่ ผู้นำ� ที่ไม่ได้รับการยอมรับจากประชาชนไมส่ มควรไดเ้ ป็น ผู้น�ำประเทศ • จอหน์ ล็อค เขามแี นวคิดวา่ มนษุ ยค์ วรมอี ิสระและเสรภี าพเปน็ สทิ ธิพื้นฐานของทกุ คน อำ� นาจทางการเมืองตอ้ งมาจากประชาชน ผูเ้ ป็นเจา้ ของอำ� นาจ ไม่ใชข่ องกษัตรยิ ์ ความคดิ ของจอหน์ ลอ็ ค เปน็ พ้นื ฐานของประชาธปิ ไตยในเวลาตอ่ มา • มองเตสกเิ ออ เขาไดแ้ บ่งอำ� นาจทางการเมอื งออกเป็น 3 สว่ น คือ นิตบิ ญั ญัติ บรหิ าร และตลุ าการ ซง่ึ เปน็ หลักการพ้ืนฐานในวชิ า รฐั ศาสตร์ • รุสโซ เขาไดเ้ สนอวา่ ทกุ คนมเี สรภี าพในการแสดงความคดิ เหน็ และเจตจำ� นงตา่ งๆ และรฐั บาลตอ้ งยอมรบั ฟงั แสดงวา่ รฐั บาล จะทำ� สง่ิ ตา่ งๆ โดยขดั กบั ความตอ้ งการหรอื ไมฟ่ งั เสยี งของประชาชนแบบในยคุ โบราณไมไ่ ดอ้ กี แลว้ เขาเสนอถงึ ความเทา่ เทยี ม กนั ของมนษุ ย์ไม่วา่ จะเปน็ ชนชน้ั สงู หรอื สามญั ชน ซึง่ ความหมายคือไม่ว่าเราจะเกิดในครอบครวั ชนชน้ั สงู หรือชนชัน้ ลา่ ง กเ็ ป็น คนทีม่ คี วามเสมอภาคเทา่ เทียมกัน ซึ่งความคดิ น้นี �ำไปสู่การปฏิวตั ิฝรง่ั เศสในปี ค.ศ. 1789 • วอลแตร์ – เขาไดเ้ ขยี นหนังสอื ท่เี น้นเสรีภาพของมนษุ ยเ์ ป็นสำ� คัญข้นึ มากมาย การปฏวิ ัตฝิ ร่ังเศส ในฝร่ังเศสเกิดการปฏิวัติข้ึนในปี ค.ศ. 1789 เพื่อล้มอ�ำนาจของพระเจ้าหลุยส์ท่ี 16 เป็นการล้มล้างระบอบ สมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย์ หรอื ระบอบการเมอื งทกี่ ษตั รยิ ม์ อี ำ� นาจเดด็ ขาดอยเู่ พยี งพระองคเ์ ดยี ว เปลยี่ นการปกครองเปน็ ระบอบ ประชาธิปไตย เน่ืองจากระบอบการปกครองเดิมไม่มีประสิทธิภาพ การเงินประเทศตกต่�ำแทบล้มละลาย สังคมไม่มีความ เสมอภาคระหว่างชนช้ันสูงและประชาชน การปฏิวัติฝร่ังเศสเป็นก้าวแรกของการยึดหลักการ เสรีภาพ เสมอภาค และ ภราดรภาพ ซ่งึ ได้แพรก่ ระจายไปท่ัวยุโรปในเวลาตอ่ มา ความขัดแย้งระหวา่ งประเทศ นับตัง้ แตย่ ุคหิน เม่อื มนุษย์อยู่กันเป็นกล่มุ และทำ� การเพาะปลกู ก็เกิดปญั หาต่างๆ ตามมา เชน่ แยง่ แหล่งนำ�้ แย่งทดี่ นิ เป็นต้น และหน่ึงในทางเลือกที่มนุษย์ได้กระท�ำมาและยังคงท�ำอยู่ในปัจจุบันแม้จะผ่านยุคหินมานานแล้วก็ตาม นั่นก็คือ การ ตอ่ สู้หรอื การท�ำสงคราม เมื่อสงั คมมนษุ ยพ์ ัฒนาไปไกลเกินกว่าหมู่บา้ น เผ่า และไปเป็นประเทศ ความขดั แยง้ ระหวา่ งประเทศ ก็คล้ายคลึงกันคือ เป็นการที่ประเทศหน่ึงใช้วิธีการเพื่อให้อีกประเทศหนึ่งสูญเสียผลประโยชน์ของประเทศ เช่น ท�ำให้เสีย ทรพั ยากร ผู้คน หรอื ทรพั ยส์ ิน เราสามารถแบง่ ประเภทของความขัดแย้งระหว่างประเทศได้ ดังน้ี ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 91
1. ดา้ นการเมือง – มีความขดั แย้งกนั ในอุดมการณ์ความเช่อื ทางการเมอื งหรือชาตนิ ิยม 2. ดา้ นสังคมวัฒนธรรม – เกดิ ความแตกตา่ งด้านเชอ้ื ชาติ เผ่าพนั ธุ์ ภาษา และความเช่ือทางศาสนา 3. ด้านเศรษฐกิจ – แยง่ ชงิ ทรัพยากรกนั อย่างท่ีท�ำมาตั้งแต่ยคุ หิน และก็ยงั คงกระทำ� อยูใ่ นหลายๆ ประเทศ เพอื่ สร้างความ มนั่ คงสงู สุดให้กับประเทศตนเอง เหตุการณค์ วามขัดแย้งที่ส�ำคญั 1. สงครามโลกครง้ั ที่ 1 (ค.ศ. 1714 - 1918) สงครามโลกครงั้ ที่ 1 เกดิ ขนึ้ หลงั จากทชี่ าตติ า่ งๆ ในยโุ รปลา่ ชาตอิ น่ื มาเปน็ อาณานคิ ม ในยโุ รปเกดิ การแบง่ ฝา่ ยเปน็ สอง กลุ่มใหญ่ คือ กลุ่มสัมพันธมิตรอันประกอบด้วย อังกฤษ ฝรั่งเศส รัสเซีย เป็นหลัก และมหาอ�ำนาจกลาง ซ่ึงประกอบด้วย เยอรมนี ออสเตรยี และตรุ กี คลา้ ยๆ กบั กลมุ่ อนั ธพาลตามทอ้ งถนน ทงั้ สองฝา่ ยดา่ ทอและมคี วามขดั แยง้ กนั มาตลอด จนกระทง่ั เกิดไฟปะทขุ ึน้ เมอื่ มกุฎราชกุมารฟรานซ์ เฟอร์ดินันด์ (เจา้ ชาย) ของออสเตรยี – ฮงั การี เสด็จเยือนประเทศเซอร์เบีย และได้ ถูกปลงพระชนมร์ ะหว่างชมเมอื งซาราเยโว ออสเตรยี - ฮังการีกล่าวโทษว่าเป็นความผิดของเซอรเ์ บยี เพราะฆาตกรเป็นชาว เซอร์เบีย เซอร์เบียได้ออกมาแสดงความขอโทษแต่ถูกออสเตรีย - ฮังการีปฏิเสธ แสดงว่าต้องเกิดสงครามขึ้น ออสเตรีย - ฮงั การีเข้าโจมตเี ซอรเ์ บยี รสั เซียไดอ้ อกมาปกป้องเซอรเ์ บยี ในขณะเดียวกนั เยอรมนีซงึ่ เป็นพันธมติ รกับออสเตรีย - ฮงั การีก็ เขา้ โจมตเี บลเยยี มและฝรงั่ เศส ทำ� ใหอ้ งั กฤษซงึ่ เปน็ พนั ธมติ รกบั ฝรง่ั เศสออกมาปกปอ้ ง และญปี่ นุ่ ซง่ึ เปน็ พนั ธมติ รกบั ทงั้ ฝรงั่ เศส และอังกฤษก็ออกมาประกาศสงครามกบั เยอรมนี จงึ เกิดกลายเปน็ สงครามโลกในที่สดุ ตอ่ มาสหรัฐอเมริกาไดเ้ ขา้ รว่ มสงคราม ในปี ค.ศ. 1917 โดยร่วมมอื กับสมั พนั ธมติ ร ผลของสงครามโลกคร้งั ท่ี 1 ในวนั ที่ 11 พฤศจกิ ายน ค.ศ. 1918 ฝา่ ยมหาอ�ำนาจกลางแพ้สงคราม เยอรมนี ออสเตรยี - ฮังการี ถกู ลม้ ล้างระบอบ กษตั รยิ ก์ ลายเปน็ สาธารณรฐั รสั เซยี ไดเ้ กดิ การปฏวิ ตั ขิ นึ้ เพอ่ื ลม้ ลา้ งราชวงศ์ สหรฐั อเมรกิ ากา้ วขน้ึ มาเปน็ ประเทศมหาอำ� นาจ มี การทำ� สนธสิ ญั ญาสงบศกึ ทพ่ี ระราชวงั แวรซ์ ายส์ ในประเทศฝรงั่ เศส หลงั จากสงครามสน้ิ สดุ มกี ารกอ่ ตงั้ องคก์ ารสนั นบิ าตชาติ ข้ึนเพ่ือยับยั้งสงครามไม่ให้เกิดขึ้นอีก โดยได้มีการสัญญากันว่าประเทศต่างๆ จะไม่ท�ำสงครามกันอีก แต่หลังจากนั้นเพียง 21 ปี ต่อมา กไ็ ด้เกดิ สงครามท่ียงิ่ ใหญ่กวา่ สงครามโลกครัง้ ท่ี 1 และได้คร่าชวี ติ คนไปมากกว่าสงครามนี้อกี หลายเท่านกั 2. สงครามโลกคร้งั ท่ี 2 (ค.ศ. 1939 - 1945) หลงั จากสิ้นสุดสงครามโลกครงั้ ท่ี 1 ประเทศผู้แพส้ งครามอยา่ งเยอรมนี มองวา่ สนธสิ ญั ญาแวร์ซายส์น้นั เป็นสิ่งทไี่ ม่ เป็นธรรมต่อเยอรมนี เช่น จ�ำกัดจ�ำนวนกองทหารในเยอรมนี ว่าเยอรมนีจะมีทหารเกินกว่าที่ก�ำหนดไม่ได้ และต้องจ่ายค่า ปฏิกรรมสงคราม (คา่ ชดใช้ค่าเสยี หายในสงคราม) มหาศาลให้กบั สัมพนั ธมติ รอีกท้ังในยโุ รปและทั่วโลกก็มีความแตกตา่ งทาง อดุ มการณ์ทางการเมอื ง มีทัง้ ฝ่ายสนับสนนุ ลทั ธคิ อมมิวนสิ ต์ ลัทธิเผด็จการทหารหรือฟาสซสิ และระบอบประชาธปิ ไตย ยิง่ ไป กว่านัน้ ยงั เกดิ วิกฤตเศรษฐกิจขน้ึ ท่วั โลก ประเทศตา่ งๆ เศรษฐกจิ ตกต�ำ่ ในเยอรมนมี ีเงินเฟ้อทร่ี ุนแรงจนถงึ ขั้นผูค้ นต้องเอาเงิน ใสร่ ถเขน็ ออกไปจา่ ยตลาด อกี ทง้ั องคก์ ารสนั นบิ าตชาตกิ ป็ ฏบิ ตั งิ านลม้ เหลว อนั นำ� ไปสสู่ งครามครงั้ ใหมข่ องโลก คอื สงครามโลก ครง้ั ที่ 2 โดยแบ่งเปน็ สองฝา่ ยคอื สมั พนั ธมิตร น�ำโดย องั กฤษ ฝรั่งเศส สหรฐั อเมริกา และฝา่ ยอกั ษะ นำ� โดย เยอรมนี อติ าลี และญีป่ ่นุ สงครามเริม่ ต้นขนึ้ ในวนั ที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1939 ในช่วงแรกฝ่ายอักษะไดเ้ ปรียบในการท�ำสงครามและได้ชัยชนะ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง จนกระทงั่ สหรฐั อเมรกิ าเขา้ รว่ มกบั ฝา่ ยสมั พนั ธมติ ร จนนำ� ไปสกู่ ารพา่ ยแพใ้ นปี ค.ศ. 1945 เมอื่ กองทพั สมั พนั ธมติ ร เขา้ ยดึ เยอรมนี และมีการทงิ้ ระเบดิ ปรมาณทู เ่ี มืองฮโิ รชมิ า และเมืองนางาซากิ สง่ ผลใหญ้ ่ปี ุ่นแพส้ งครามในเวลาตอ่ มา 92 ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
3. สงครามเยน็ (Cold War) เปน็ ความขดั แยง้ กนั ระหวา่ งมหาอำ� นาจสองฝา่ ย คอื สหรฐั อเมรกิ า และสหภาพโซเวยี ต โลกแบง่ เปน็ สองฝา่ ย คอื ฝา่ ย ทนุ นิยม และคอมมวิ นิสต์ ในสงครามเย็นไม่มกี ารท�ำสงครามโดยตรงของสองมหาอ�ำนาจ แต่ก็ทำ� ใหโ้ ลกอยใู่ นภาวะตึงเครยี ด มีการทำ� สงครามตัวแทนในประเทศต่างๆ เช่น เวยี ดนาม เกาหลี เปน็ ต้น ในสงครามเย็นเม่ือสหรฐั อเมรกิ าผลิตอาวธุ ทีร่ า้ ยแรง ขนึ้ ได้ โซเวยี ตกจ็ ะคดิ คน้ ระเบดิ ทร่ี า้ ยแรงขน้ึ กวา่ และจะเปน็ เชน่ นอี้ ยเู่ สมอ จนโลกเราเตม็ ไปดว้ ยอาวธุ ทท่ี ำ� ลายลา้ งโลกไดห้ ลาย คร้งั ทำ� ใหโ้ ลกอยใู่ นสภาวะตึงเครียด สงครามเยน็ ด�ำเนินไปจนถงึ การล่มสลายของสหภาพโซเวียต อันเป็นจดุ ส้ินสดุ ของลทั ธิ คอมมิวนสิ ต์ การแก้ไขปัญหาความขดั แย้ง เม่อื เกิดความขดั แยง้ ขึ้น วิธกี ารแก้ไขความขดั แย้งสามารถทำ� ได้ 3 วธิ ี คอื 1. สนั ตวิ ิธี การพูดคยุ กันดีๆ ด้วยการทูต หรือใชค้ นกลาง หรอื วิธีการทางกฎหมายในการแกไ้ ขปัญหาความขัดแยง้ 2. วิธกี ารบังคับและตอบโต้ ไมใ่ ช่การใชค้ วามรุนแรง และจะใชเ้ มอ่ื สันตวิ ิธีใชไ้ ม่ได้ผล เช่น ยกเลิกสัมพันธ์ทางการทูต ยกเลิกสทิ ธิพิเศษต่างๆ ยดึ ทรพั ย์สนิ บอยคอต หรือควำ่� บาตรประเทศคู่ตรงข้าม เปน็ ตน้ 3. การใช้กำ� ลัง การใช้ก�ำลังทหารเขา้ จัดการ หรือการทำ� สงครามนั่นเอง องคก์ ารสหประชาชาติ หลังจากสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ส้ินสุดลง มีการจัดตั้งองค์การเพ่ือสันติภาพที่ชื่อว่า องค์การสหประชาชาติ (United Nations หรือ UN) ขึ้น ในวันท่ี 24 ตุลาคม ค.ศ. 1945 โดยมีส�ำนักงานอยู่ท่ีแมนฮัตตัน ในนิวยอร์ค ประเทศสหรัฐอเมริกา มสี มาชิกประกอบดว้ ยประเทศต่างๆ ของโลก จงึ ถือว่าวันท่ี 24 ตลุ าคม ของทกุ ปี เป็นวันสหประชาชาติ องคก์ ารสหประชาชาติ น้ันคอยท�ำหน้าท่ีจัดการเรื่องความม่ันคง ตัดสินวินิจฉัยข้อขัดแย้งปัญหาต่างๆ ของแต่ละประเทศในระดับโลก อีกท้ังปกป้อง ค้มุ ครองดแู ลสิทธมิ นุษยชน พยายามชว่ ยเหลือ และหา้ มปรามการทำ� สงครามกนั ในแตล่ ะประเทศ องคก์ ารระหว่างประเทศ องค์การระหว่างประเทศ คือกลุ่มองค์กรท่ีสร้างข้ึนด้วยความร่วมมือของหลายๆ ประเทศเข้าด้วยกัน โดยในสมัยใหม่ กลุ่ม องคก์ ารระหวา่ งประเทศทสี่ �ำคัญ ได้แก่ 1. EU – สหภาพยโุ รป มสี ำ� นักงานใหญ่อยทู่ กี่ รุงบรสั เซลส์ ประเทศเบลเยียม 2. NAFTA – เขตการคา้ เสรีอเมรกิ าเหนอื มีสหรัฐอเมรกิ า แคนาดา เม็กซโิ กเปน็ สมาชิก 3. G7 – กลุ่มประเทศอุตสาหกรรมช้ันน�ำ 7 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ฝร่ังเศส เยอรมัน อิตาลี แคนาดา อังกฤษ ญป่ี นุ่ 4. OPEC – กล่มุ ประเทศผู้สง่ ออกน�้ำมนั มสี มาชิก 13 ประเทศ โดยเฉพาะในตะวันออกกลาง 5. ASEAN – กล่มุ ประเทศอาเซยี น หรอื ภูมิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 93
นอ้ งๆ สามารถศึกษาเพมิ่ เตมิ ไดท้ ่ี Tag : สอนศาสตร์ สังคมศึกษา ประวัติศาสตร์ โลก ความร้ทู างประวตั ศิ าสตร์ เจาะเวลาโลก ย้อนรอยประวตั ิศาสตร์ • สอนศาสตร์ สังคมศกึ ษา ม.ปลาย : เครื่องปั่นประวตั ศิ าสตร์ http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch6-1 • สอนศาสตร์ สังคมศึกษา ม.ปลาย : ยามศกึ เรารบยามสงบเรารัก http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch6-2 • สอนศาสตร์ สงั คมศึกษา ม.ปลาย : ไทมแ์ มชชนี ย้อนเวลาโลก http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch6-3 • สงั คมศกึ ษา ม.ปลาย : ประวตั ศิ าสตรเ์ บอ้ื งตน้ ตอนที่ 1 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch6-4 • สังคมศึกษา ม.ปลาย : ประวัติศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ ตอนที่ 2 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch6-5 • สงั คมศึกษา ม.ปลาย : ประวตั ศิ าสตรเ์ บอ้ื งต้น ตอนที่ 3 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch6-6 94 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya
ประวตั ศิ าสตร์ไทย 1. วชิ าประวตั ศิ าสตร์คอื อะไร 1.1 ความหมายและความส�ำคญั ของวชิ าประวตั ศิ าสตร์ กอ่ นอ่นื เรามาท�ำความรู้จกั ค�ำวา่ “ประวตั ศิ าสตร์” เสยี กอ่ นวา่ วิชานเี้ รียนเกย่ี วกบั อะไร สำ� คัญอย่างไร ทำ� ไมเราต้องมา เรียนกัน เพราะเมื่อเราท�ำความเข้าใจเรื่องราวต่างๆ แล้ว จะได้ย้อนกลับมาตอบค�ำถามว่าวิชาประวัติศาสตร์ได้ช่วยอะไรเรา มากน้อยเพยี งใด ก่อนอ่ืนเราต้องเข้าใจก่อนว่าวิชาใดๆ ก็ตามที่ลงท้ายด้วย “ศาสตร์” ย่อมต้องมีระบบระเบียบวิธีการ เป็นเหตุเป็นผล พิสูจนไ์ ดต้ ามหลักวทิ ยาศาสตร์ แน่นอนวา่ ประวตั ศิ าสตร์ ก็เป็นสว่ นหน่ึงของหลักข้อน้ี ทีเ่ กีย่ วพนั กับองค์ประกอบ 4 สว่ น คอื 1) สงั คมมนษุ ย์ = ศึกษาเรอ่ื งราวของมนษุ ยเ์ ทา่ นั้น 2) ช่วงเวลาทผ่ี ่านไปแลว้ = ศกึ ษาเหตุการณ์ของมนุษยท์ ีเ่ กิดข้ึนในอดตี 3) ผลกระทบตอ่ สงั คม = เหตกุ ารณใ์ นอดีตทม่ี ผี ลตอ่ สงั คมโดยรวม ไม่ใชเ่ ร่ืองราวทุกเรอื่ ง 4) หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ = ศึกษาเรื่องราวที่มีหลกั ฐานเพียงพอจะวิเคราะหแ์ ละตคี วามไดเ้ พื่อนำ� มาเรียบเรยี งเพอื่ อธิบายอดีต สรปุ อยา่ งง่ายๆ ว่าวชิ า ประวตั ิศาสตร์ ต้องเป็นเรอ่ื งราว / เหตุการณ์ของมนษุ ยเ์ ท่าน้ัน ที่เกดิ ขน้ึ ในชว่ งเวลาใดเวลา หนงึ่ ในอดตี โดยเรอื่ งราวหรอื เหตกุ ารณใ์ นอดตี เหลา่ นนั้ ตอ้ งมผี ลตอ่ สว่ นรวม อดตี ทกุ เรอ่ื งอาจไมไ่ ดเ้ ปน็ ประวตั ศิ าสตร์ โดยเรอ่ื ง ราวต่างๆ ตอ้ งมีหลักฐานและวธิ ีการศึกษาท่ีมากพอจะเรียบเรยี งขึน้ มานน่ั เอง เม่ือเราเขา้ ใจความหมายของวิชาประวตั ศิ าสตร์แล้ว คำ� ถามท่นี ่าสนใจอกี ข้อหนงึ่ คือ แล้วประวตั ศิ าสตร์สำ� คญั อยา่ งไร ท�ำไมเราต้องเรียนวิชานี้กัน ส�ำหรับค�ำถามข้อน้ีมีนักประวัติศาสตร์พยายามเสนอคุณค่าของประวัติศาสตร์ไว้หลายข้อด้วยกัน ตวั อย่างเช่น 1. ประวัติศาสตรส์ อนให้มนุษยร์ ู้จกั ตนเอง รู้จกั ผ้อู ื่นและรจู้ กั สังคม ท่ีจะทำ� ใหเ้ ขา้ ใจปัจจบุ ันไดอ้ ยา่ งลึกซ้งึ มาก ย่งิ ข้นึ หรอื “รเู้ ขา ร้เู รา” อย่างกว้างขวางน่นั เอง 2. ประวัตศิ าสตร์สอนให้มนุษยม์ องเหน็ ทง้ั ความเจรญิ และความเสือ่ ม เห็นความรว่ มมอื และขดั แย้ง ซึง่ ความ ส�ำเรจ็ ล้มเหลวให้เราเอาอดีตมาเปน็ บทเรยี นได้ 3. ประวตั ศิ าสตรช์ ว่ ยเสรมิ ระบบความคดิ อยา่ งเปน็ เหตเุ ปน็ ผล มกี ารวเิ คราะห์ ตง้ั คำ� ถาม และพยายามแสวงหา คำ� ตอบ ถอื เป็นการฝึกฝนผ้เู รยี นใหพ้ ัฒนาสติปัญญาความคดิ ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 95
1.2 วิธกี ารทางประวัติศาสตร์ เมื่อเราเข้าใจความหมายของประวัติศาสตร์แล้วในหัวข้อนี้จะมาพูดถึงการเรียนหรือการศึกษาประวัติศาสตร์ว่า มีข้ัน ตอนและวธิ ีการอยา่ งไรเพอ่ื ให้ได้เรือ่ งราวในอดีตมาชดุ หนงึ่ ๆ นักประวัติศาสตร์ต้องอาศัยส่ิงใดบา้ ง วิธกี ารทางประวัติศาสตร์ (Historical Method) คือ กระบวนการในการแสวงหาขอ้ เทจ็ จริงในอดีตของสังคมมนษุ ย์ โดย อาศยั การวิเคราะห์ วจิ ัยหลักฐาน เพ่อื ให้ไดข้ อ้ เท็จจรงิ ในอดีตข้นึ มาพูดอยา่ งง่ายๆ คอื การคน้ หาอดีตอยา่ งมหี ลักเกณฑน์ นั่ เอง และหลกั ดงั กล่าวแบง่ ไดเ้ ป็น 5 ขั้นตอน ตอ่ ไปน้ี 1. ตัง้ คำ� ถาม/ก�ำหนดประเด็น คือ เลือกเรอื่ งที่จะศึกษาใหช้ ดั เจนว่าตอ้ งการศึกษาเรอ่ื งอะไร ท่ไี หน เมอ่ื ไร 2. รวบรวมข้อมูลหลักฐาน คือ การค้นหาข้อมูลต่างๆ ที่มีคนเคยศึกษาไว้แล้วบ้าง หรือเอกสารต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง กับประเดน็ หรอื ค�ำถามท่ตี ั้งไว้ 3. ตรวจสอบและตีความหลักฐาน คือ เมื่อได้หลักฐานมาแลว้ ตอ้ งไมเ่ ช่ือหลกั ฐานทัง้ หมด แตต่ ้องน�ำมา ตรวจสอบกอ่ น ซึ่งการตรวจสอบแบ่งเปน็ 2 ทาง คือ - การตรวจสอบภายนอก = ประเมนิ ว่าหลักฐานจรงิ หรือปลอม - การตรวจสอบภายใน = ประเมินวา่ หลักฐานน่าเช่ือถือแค่ไหน 4. หาข้อสรุป/ตอบค�ำถามท่ีต้ังไว้ คือ การน�ำส่ิงท่ีได้จากหลักฐานที่วิเคราะห์และตรวจสอบ และตีความหา ขอ้ สรุปเพื่อตอบคำ� ถามทีต่ ั้งไว้ 5. น�ำเสนอ คอื การนำ� ข้อสรุปทงั้ หมดมาเรียบเรยี งเปน็ เรอ่ื งราวอย่างสมเหตุสมผล ทีส่ �ำคัญ คือ จากวธิ กี ารข้างต้น เราจะมองเห็นวา่ จรงิ ๆ แล้วการไดเ้ รือ่ งราวในอดีตมาน้นั ตอ้ งเกดิ จากหลกั ฐานทาง ประวัติศาสตร์และการตีความจากหลักฐานของผู้ศึกษา ตามท่ีมีผู้กล่าวไว้ว่า “ผลงานทางประวัติศาสตร์เป็นเรื่องราวท่ีผสม ผสานระหวา่ งขอ้ มลู จากหลกั ฐานและการตคี วาม และจนิ ตนาการของนกั ประวตั ศิ าสตรเ์ ขา้ ดว้ ยกนั ” แนน่ อนวา่ เมอ่ื คน้ พบหลกั ฐานใหม่ หรือน�ำหลักฐานมาตีความหรือคิดในมุมองใหม่ เรื่องราวในอดีตท่ีเคยเชื่ออาจเปลี่ยนแปลงไป ดังน้ัน ข้อสรุปทาง ประวตั ศิ าสตรย์ อ่ มเปลี่ยนแปลงไดม้ ใิ ชข่ อ้ ยุตติ ายตวั 1.3 หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ จากหวั ขอ้ ท่แี ลว้ เราจะเห็นความส�ำคญั ของหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ ซ่ึงถือไดว้ า่ มี ความสำ� คญั เปรยี บเหมอื นเครอ่ื งมอื หลกั ในการศกึ ษาอดตี เลยทเี ดยี วโดยหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรส์ ามารถจดั แบง่ ใหง้ า่ ยตอ่ การหยบิ มาศึกษา เป็น 2 วธิ ดี ้วยกนั คือ 1) การแบง่ ประเภทตามความสำ� คัญ โดยจะจดั แบ่งออกเป็น หลกั ฐานช้ันตน้ /ปฐมภูมิ (Primary source) และ หลกั ฐานช้ันรอง/ทตุ ิยภูมิ (Secondary source) • หลักฐานช้ันต้นหรือหลักฐานปฐมภูมิ เป็นหลักฐานที่น่าเช่ือถือและมีความถูกต้องสูง เพราะเป็น หลักฐานทีเ่ กดิ ข้นึ ในชว่ งเวลาของแตล่ ะเหตุการณ์นัน้ ๆ • หลักฐานชั้นรองหรือหลักฐานทุติยภูมิ เป็นหลักฐานที่ให้ความส�ำคัญน้อยกว่า เป็นหลักฐานที่ เกิดข้นึ ในภายหลงั ไม่เกิดพรอ้ มกบั เหตุการณน์ ั้นๆ 2) การแบ่งตามลักษณะของหลักฐาน โดยแบ่งเป็น หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร (written source) และหลกั ฐานที่ไม่เปน็ ลายลักษณ์อักษร (unwritten source) • หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร ถือเป็นหลักฐานในยุคประวัติศาสตร์ท่ีมนุษย์มีตัวอักษรบันทึก เร่อื งราวต่างๆ แล้ว สามารถแบง่ แยกย่อยๆ ดังน้ี จารึก = การเขียนลงบนแผน่ หนิ มกั เป็นเรอื่ งของกษัตริย์ ศาสนา และทางการ เชน่ ศลิ าจารึกหลกั ท่ี ๑ ของพ่อขนุ รามคำ� แหง เป็นต้น ตำ� นาน = เรื่องเลา่ ถงึ เหตกุ ารณ์ในอดีตต่างๆ ซึ่งเลา่ ต่อๆ กนั มาก่อนจะมาบันทกึ เปน็ เรอื่ งราว มักมเี รือ่ ง อิทธิฤทธ์ิปาฏหิ ารยิ ม์ าเกีย่ วข้องดว้ ย เชน่ ตำ� นานพระแก้วมรกต ตำ� นานเมืองนครศรีธรรมราช เป็นตน้ 96 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
พระราชพงศาวดาร = เอกสารส�ำคัญท่ีบันทึกเรื่องราวของกษัตริย์ ราชวงศ์และราชส�ำนัก เร่ิมมีการ บนั ทึกตัง้ แตส่ มัยอยธุ ยาสืบมาจนถึงสมยั รชั กาลที่ ๕ จดหมายเหตุ = การจดบนั ทึกเร่อื งราวตา่ งๆ อาจแบง่ เปน็ จดหมายเหตหุ ลวงท่เี กย่ี วกบั กษัตรยิ ์ บันทกึ ชาว ต่างชาติ ทร่ี จู้ กั กันดี คือ จดหมายเหตขุ องลาลูแบร์ เอกสารค�ำใหก้ าร เช่น ค�ำให้การชาวกรุงเกา่ ในคราวเสีย กรุงทพ่ี ม่าจดบนั ทกึ ค�ำใหก้ ารของคนไทยไว้ หนังสือราชการ = เอกสารการตดิ ต่อระหว่างหน่วยงานราชการต่างๆ เอกสารสว่ นบุคคล เชน่ บนั ทกึ สว่ นตวั จดหมายส่วนตัว บนั ทึกเหตุการณ์ หนังสือพมิ พ์ วารสาร นิตยสาร งานเขียนทางประวัติศาสตร์ เป็นงานค้นคว้าทางวิชาการ เช่น งานวิจัย วิทยานิพนธ์ บทความต่างๆ ทีผ่ า่ นกระบวนการวเิ คราะห์ตามขั้นตอนทางประวัตศิ าสตรม์ าแล้ว หลกั ฐานทไี่ ม่เปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษร : เป็นหลักฐานท้ังสมยั กอ่ นและสมัยประวัตศิ าสตร์ หลักฐานทางโบราณคดี คือ หลักฐานจากส่ิงของที่มนุษย์สร้างข้ึนและสถานที่ตามธรรมชาติท่ีเก่ียวกับ มนุษย์ เช่น ภาชนะเครอื่ งปัน้ ดนิ เผา ภาพเขียนตามผนังถำ้� โบราณสถาน โบราณวัตถุ เปน็ ต้น หลักฐานทาง โบราณคดีมคี วามสำ� คัญมากตอ่ การศกึ ษามนษุ ย์ยคุ ก่อนทจ่ี ะมีตวั อกั ษรบนั ทกึ ข้อความต่างๆ หลักฐานทางศลิ ปกรรม ได้แก่ สถาปัตยกรรม ประติมากรรม จติ รกรรม หลกั ฐานประเภทโสตทัศนวสั ดุ เช่น ภาพถ่าย แผนที่ ข้อมลู อนิ เทอร์เนต็ ฯลฯ นาฏศลิ ป์ ดนตรี เพลงพนื้ บา้ น เช่น เพลงพื้นบ้าน เพลงกล่อมเดก็ การร่ายรำ� ของแตล่ ะทอ้ งถิ่นท่ีบอกให้ เรารเู้ กีย่ วกบั ชวี ติ และความเป็นอยขู่ องสังคมหรือทอ้ งถนิ่ นนั้ ๆ หลักฐานประเภทบอกเลา่ แบง่ เป็น ประเพณีจากการบอกเลา่ (Oral tradition) คอื ความเช่อื ค่านยิ มและ ธรรมเนียมปฏิบัติที่ถ่ายทอดเป็นนิทาน สุภาษิตต่อๆ กันมา อีกส่วนหนึ่งคือ ประวัติศาสตร์จากการบอกเล่า (Oral history) คอื การบอกเลา่ จากผทู้ มี่ สี ว่ นรว่ ม/เกย่ี วขอ้ งกบั เหตกุ ารณน์ น้ั ๆ โดยตรงหรอื รบั ฟงั มาอกี ตอ่ หนง่ึ 1.4 เวลาในประวัติศาสตร์และการนบั ศักราช “เวลา” ในประวัติศาสตร์ถือเป็นส่วนส�ำคัญ เพราะเวลาถือเป็นสิ่งท่ีจับต้องไม่ได้แต่สัมพันธ์กับสังคมของมนุษย์ การ ระบ/ุ บอกชว่ งเวลาจะชว่ ยใหเ้ ราลำ� ดบั เหตกุ ารณ์ และเชอ่ื มโยงความสมั พนั ธข์ องเหตกุ ารณต์ า่ งๆ ได้ หรอื กลา่ วอยา่ งงา่ ยๆ เวลา จะบอกใหเ้ รารวู้ า่ เหตกุ ารณน์ เ้ี กดิ ขน้ึ ตอนไหนในอดตี อะไรเกดิ ขนึ้ กอ่ น เกดิ หลงั และแตล่ ะเรอื่ งมนั เกยี่ วขอ้ งกนั อยา่ งไร ซง่ึ การ จะบอกว่าเวลาในอดีตเปน็ ช่วงใดนน้ั ท�ำได้โดยการแบ่งชว่ งเวลาและแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตรเ์ พื่อใหง้ า่ ยตอ่ การเขา้ ใจ การระบุชว่ งเวลาในอดีตพบไดห้ ลายวิธีดว้ ยกนั ทีเ่ ราเรยี กกันว่า “ศักราช” การนบั ศกั ราช จะนบั จากการเกดิ เหตกุ ารณ์ สำ� คัญ ท่อี าจเกยี่ วกับศาสนา พระมหากษัตริย์หรือบา้ นเมือง สำ� หรบั การนบั ศักราชท่ีแพร่หลายในไทย ไดแ้ ก่ 1. พทุ ธศักราช (พ.ศ.) เป็นศักราชทนี่ ับตั้งแต่พระพทุ ธเจ้าปรินิพพานเป็น พ.ศ. 1 แต่ สำ� หรบั ในประเทศไทย จะถือวา่ ปี ทพ่ี ระพุทธเจ้าปรนิ ิพพานเป็น พ.ศ. 0 และนับ พ.ศ.1 เมอื่ ครบรอบไปแล้วหนึ่งปี ซึง่ การนับเช่นนีท้ ำ� ให้ พ.ศ. ของไทยชา้ กว่าของ บางประเทศ ปจั จบุ ันประเทศไทยนับ ศกั ราชเช่นนีต้ ั้งแตร่ ชั กาลที่ 6 เป็นตน้ มา 2. คริสต์ศักราช (ค.ศ.) นับตง้ั แตป่ ที พี่ ระเยซปู ระสตู ิเป็น ค.ศ. 1 ก่อนหนา้ น้ันจะถอื เปน็ ชว่ งเวลากอ่ นครสิ ต์ศกั ราช ถือ เป็นศกั ราชทแ่ี พร่หลายทว่ั ไปในโลกตะวนั ตก สามารถเทยี บเปน็ พ.ศ. ได้โดย พ.ศ. = ค.ศ. + 534 3. ฮิจเราะหศ์ ักราช (ฮ.ศ.) นับต้งั แต่ปที ่พี ระนบมี ูฮมั หมัดได้อพยพออกจากเมืองเมกกะเพื่อไปเมืองเมดนิ า เปน็ ฮ.ศ.1 สามารถเทียบเป็น พ.ศ. = ฮ.ศ. + 1122 4. มหาศักราช (ม.ศ.) นบั จากรชั สมยั ของพระเจา้ กนิษกะ กษัตริย์ของอนิ เดีย การนบั ศกั ราชแบบนีแ้ พร่หลายเขา้ มาใน ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 97
ดนิ แดนตา่ งๆ เอกสารไทยช่วงสโุ ขทยั เรื่อยมาจนถงึ อยธุ ยาจะใช้ ม.ศ. ในการบนั ทึกเหตุการณ์ สามารถเทียบเป็น พ.ศ. ได้โดย พ.ศ. = ม.ศ. + 621 5. จุลศกั ราช (จ.ศ.) นบั จากรัชสมัยของพระเจ้าสรู ิยวกิ รม กษตั รยิ พ์ ม่าสมัยพุกาม และแพร่หลายเข้ามาในไทย หลักฐาน ของไทยชว่ งสโุ ขทยั จนถงึ รัชกาลท่ี 5 บนั ทกึ เป็นจุลศักราชจำ� นวนมาก โดยสามารถเทียบเปน็ พ.ศ. โดย พ.ศ. = จ.ศ. + 1181 6. รัตนโกสนิ ทรศ์ ก (ร.ศ.) เปน็ ศกั ราชทนี่ บั ตั้งแต่การตงั้ กรงุ รัตนโกสินทร์ในปี พ.ศ. 2325 ประกาศใชใ้ นสมัยรชั กาลท่ี 5 กอ่ นจะเปลย่ี นมาใช้ พ.ศ. ในรชั กาลท่ี 6 วธิ ีการเทียบเคยี งเป็น พ.ศ. ท�ำได้โดย พ.ศ. = ร.ศ. + 2324 ***จ�ำ ค.ศ. ฮ.ศ. ม.ศ. จ.ศ. ร.ศ. พ.ศ. = +534 +1122 +621 +1181 +2324 1.5 ยคุ สมยั ทางประวัตศิ าสตร์ การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ท�ำให้การบอกช่วงเวลาชัดเจนและง่ายต่อการศึกษา โดยอาจแบ่งเป็น ยุคก่อน ประวตั ศิ าสตร์ และ ยคุ ประวตั ศิ าสตร์ โดยอาศยั “ตวั อกั ษร” ทบี่ นั ทกึ เรอื่ งราวตา่ งๆ เปน็ ตวั แบง่ หากสงั คมทมี่ ตี วั อกั ษรใชบ้ นั ทกึ เร่ืองราวตา่ งๆ กถ็ อื ว่าเข้าสู่ยคุ ประวัติศาสตร์ก่อน และแต่ละมุมโลกเข้าสยู่ คุ ประวัติศาสตร์ไม่พรอ้ มกัน ยุคก่อนประวตั ศิ าสตร์ VS ยคุ ประวตั ศิ าสตร์ ตัวอักษรแบง่ 98 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya
1. ยคุ กอ่ นประวัติศาสตร์ สามารถแบ่งยุคย่อยโดยอาศัย “เครอื่ งมอื เคร่อื งใช”้ เป็นตัวจัดแบ่ง ตามตารางต่อไปนี้ ยุค ลักษณะส�ำคญั ตวั อย่างหลักฐานทพ่ี บ 1. ยุคหนิ = ใช้หนิ เป็นเครื่องมือเครอ่ื งใชห้ ลกั - อ.ไทรโยค จ.กาญจบุรี - อ.เชียงแสน จ.เชยี งราย 1.1 ยุคหนิ เกา่ มนษุ ย์น�ำหนิ หยาบๆ มาใช้ ล่าสตั ว์ เก็บอาหารธรรมชาติ - ถ�ำ้ ผแี มน จ.แมฮ่ อ่ งสอน เร่ร่อนไปเร่อื ยอย่ตู ามถำ้� และเพิงผา 1.2 ยคุ หนิ ใหม่ มนษุ ยท์ ำ� เคร่ืองมือจากหนิ ประณีตข้นึ และทส่ี �ำคัญ คอื - ภาพเขียนท่บี ้านดอนตาเพชร มนุษย์รู้จักการท�ำการเกษตรกรรม โดยเฉพาะการ อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี เพาะปลูก น�ำมาสู่การต้ังถ่ินฐานอยู่กับที่ ต้ังเป็นชุมชน - ถ�้ำคน อ.บ้านผือ จ.อดุ รธานี สร้างวัฒนธรรมใหมๆ่ - ผาแตม้ อ.โขงเจยี ม จ.อบุ ลราชธานี 2. ยคุ โลหะ = ใชโ้ ลหะแทนหิน รวมตวั เปน็ ชุมชนขนาดใหญข่ ึ้น ทำ� เกษตรกรรมดำ� รงชีพ 2.1 ยุคสำ� รดิ สำ� รดิ คอื ดีบุกผสมทองแดง มนษุ ยน์ ำ� สำ� ริดมาหลอม - โครงกระดกู มนษุ ย์และเคร่ืองมอื เคร่ือง 2.2 ยคุ เหลก็ รวมเป็นเครื่องมือเครื่องใช้ รวมทงั้ อาวุธ ใช้ที่บา้ นเชียง อ.หนองหาน จ.อุดรธานี (UNESCO ประกาศให้เปน็ มรดกโลกทาง มนษุ ย์น�ำแร่เหลก็ ทีท่ นทานกว่าส�ำรดิ มาใช้ มีการติดต่อ วัฒนธรรม) คา้ ขายกบั ต่างแดน มีประเพณีวฒั นธรรมทีซ่ บั ซอ้ นมาก ขนึ้ ภาพเขียนสบี นผนงั ถำ้� ทผี่ าแต้ม อ.โขงเจียม จ.อบุ ลราชธานี 2. ยุคประวัติศาสตร์ มนุษย์จะเข้าสู่ยุคประวัติศาสตร์ก็ต่อเมื่อสามารถประดิษฐ์ตัวอักษรบันทึกเร่ืองราวต่างๆ ได้ส�ำเร็จ ยคุ ประวตั ศิ าสตรข์ องแต่ละสังคมจงึ ไม่พร้อมกัน ซึ่งการแบง่ ช่วงเวลายคุ ประวตั ิศาสตรท์ �ำไดห้ ลายวธิ ดี ว้ ยกัน ตัวอยา่ งเชน่ - การแบ่งตามราชธานี เชน่ สมัยสโุ ขทยั สมัยอยธุ ยา สมยั รัตนโกสินทร์ เป็นต้น - การแบ่งตามรชั สมัยของกษตั ริย์หรือผู้นำ� ในการปกครองดนิ แดน เชน่ สมัยรัชกาลท่ี 1 สมยั พระเจา้ ตากสินมหาราช สมยั จอมพล ป.พิบลู สงคราม เปน็ ตน้ - การแบง่ ตามเหตุการณส์ ำ� คัญทม่ี ีผลกระทบอย่างกว้างขวาง เช่น สมยั สงครามโลกคร้ังท่ี 2 สมยั สงครามเยน็ เป็นต้น นอกจากน้ี ยงั มผี กู้ ำ� หนด “ยคุ กงึ่ กอ่ นประวตั ศิ าสตร”์ หมายถงึ ชว่ งเวลาทสี่ งั คมมนษุ ยย์ งั ไมร่ จู้ กั ประดษิ ฐต์ วั อกั ษรบนั ทกึ เร่ืองราวของตัวเอง แต่มีคนกลมุ่ อ่ืน/คนต่างชาตไิ ดบ้ นั ทึกเร่อื งราวเกยี่ วกบั คนกลมุ่ นน้ั ให้คนยุคหลังได้รับทราบ ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 99
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146