- 48 - 6. บนั ทึกหลังสอน ............................................................................................................................. ................................... ........................................................................................................................................ ...................................... ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................. .................................................................... ......................... ....................................................................................................................................... ....................................... ลงชือ่ ................................................ ครูผสู้ อน (.................................................)
- 49 - ใบความรู้ เรอ่ื ง ระบบคดิ ฐานสิบ (Analog) ระบบคดิ “ฐานสิบ (Analog)” เปนระบบการคิดวิเคราะหขอมูล ท่ีมีตัวเลข หลายตัว และอาจหมายถึงโอกาสที่จะเลือกไดหลาย ทาง เกิดความคิดท่ีหลากหลาย ซับซอน หากนามา เปรียบเทียบกับการปฏิบัติงานของเจ าหน าท่ีของรัฐ จะทาใหเจาหนาท่ี ของรัฐตองคิดเยอะตองใชดุลย พินิจเยอะ อาจจะนา ประโยชนสวนบุคคลและ ประโยชนสวนรวม มาปะปนกันได แยกประโยชนสวน บคุ คลและประโยชนสวนรวมออกจากกนั ไม่ได้ “การปฏิบัติงานแบบใช ระบบคิดฐานสิบ (Analog)” คือ การที่เจาหนาท่ีของรัฐ ยังมีระบบ การคิดท่ียังแยกเร่ืองตาแหนงหนาท่ีกับเร่ืองสวนตน ออกจากกันไมได นาประโยชน สวนบุคคลและประโย ชนสวนรวมมาปะปนกันไปหมด แยกแยะไมออกวาส่ิง ไหนคือประโยชน สวนบุคคลส่ิงไหนคือประโยชนสวน รวม นาบคุ ลากรหรอื ทรพั ยสินของราชการมาใชเพื่อ ประโยชนสวนบุคคล เบียดบังราชการ เห็นแกประโยชนส วนบุคคล เครือญาติ หรอื พวกพอง เหนือกวาประโยชนของสวนรวมหรือของหนวยงาน จะคอยแสวงหาประโย ชนจากตาแหนงหนาที่ ราชการ กรณีเกิดการขัดกันระหวางประโยชนสวนบุคคลและประโยชนสวนรวม จะยึด ประโยชน สวนบุคคลเปนหลกั
- 50 -
- 51 -
- 52 - ใบงานที่ 1 เร่อื ง ระบบคดิ ฐานสิบ (Analog) คาส่ัง ใหผ้ ู้เรียนอธบิ ายขอ้ ดี ขอ้ เสีย และการนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นรปู แบบท่ีถกู ต้องเหมาะสม ในเรอ่ื งท่ี กาหนดดงั ตอ่ ไปน้ี o การใช้นา้ ประปาหลวงล้างรถสว่ นตัว o การนารถยนต์หลวงมาใชใ้ นธุระส่วนตวั o การนาอุปกรณ์ไฟฟา้ ส่วนตวั มาชาร์ตทท่ี างาน o การนาวสั ดุครุภณั ฑ์หลวงไปใชส้ ว่ นตวั o การใชโ้ ทรศัพท์หลวงในเรือ่ งส่วนตัว o การรับของขวญั จากผูม้ าตดิ ต่อราชการ o การใช้น้าประปาหลวงมาลา้ งจาน o การนารถยนต์หลวงมาใชใ้ นงานธรุ ะส่วนตวั ข้อดี ข้อเสยี การนาไปประยุกตใ์ ช้ในรูปแบบทถ่ี ูกต้องเหมาะสม
- 53 - ใบงานท่ี 2 เขยี นแผนผังความคิด คาส่งั ๑. ใหผ้ ู้เรยี นจดั ทาแผนผงั ความคิดเกีย่ วระบบคิดฐานสิบ Analog Thinking ใหถ้ ูกตอ้ งสมบูรณ์ Analog Thinking
- 54 - แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน เรือ่ ง ระบบคิดฐานสิบ คาช้แี จง ใหผ้ สู้ อน ประเมินการนาเสนอผลงานของนักเรยี นตามรายการท่กี าหนด แลว้ ขีด √ ลงในชอ่ ง ที่ ตรงกบั คะแนน ลาดบั ที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน ๔๓๒๑ ๑ ๒ เน้อื หาละเอยี ดชดั เจน ๓ ๔ ความถูกต้องของเนอื้ หา ๕ ภาษาที่ใช้เขา้ ใจง่าย ประโยชน์ทไี่ ด้จากการนาเสนอ วิธกี ารนาเสนอผลงาน รวม ลงชอ่ื ..................................................................... ผู้ประเมิน .........../............................./..................... เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชัดเจน ให้ ๔ คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมมีข้อบกพรอ่ งบางส่วน ให้ ๓ คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมมขี ้อบกพร่องเปน็ ส่วนใหญ่ ให้ ๒ คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมมีข้อบกพรอ่ งมาก ให้ ๑ คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ ๑๘ – ๒๐ ดมี าก ๑๔ – ๑๗ ดี ๑๐ – ๑๓ พอใช้ ตา่ กว่า ๑๐ ปรบั ปรงุ
- 55 - แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานของผเู้ รยี นเป็นรายบคุ คล กลุ่มท…่ี …................................ คาชี้แจง ผสู้ อนสังเกตการทางานของผเู้ รยี น โดยทาเคร่ืองหมายถกู ลงในช่องทตี่ รงกบั ความเป็นจรงิ พฤตกิ รรม ความสนใจ การมสี ่วน การรับฟงั การตอบ ความรบั ผิด รวม ชื่อ-สกลุ ในการเรยี น รว่ มแสดง ความคิดเหน็ คาถาม ชอบตอ่ งาน คะแนน ความคดิ ทไ่ี ดร้ บั มอบ ๒๑๐ เห็นในการ ของผู้อ่ืน ๒๑๐ ๑๐ อภิปราย หมาย ๒๑๐ ๒๑๐ ๒๑๐ ลงชอื่ ..................................................................... ผู้ประเมนิ .........../............................./..................... เกณฑก์ ารให้คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสมบรู ณ์ชัดเจน ให้ ๒ คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมมีข้อบกพร่องบางส่วน ให้ ๑ คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมมขี ้อบกพรอ่ งมาก ให้ ๐ คะแนน เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ ๙ – ๑๐ ดีมาก ๗ – ๘ ดี ๕ - ๖ พอใช้ ๐ – ๔ ปรับปรงุ
- 56 - แบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ “ระบบการคดิ ฐานสบิ ” คาช้แี จง ใหน้ ักเรียนระบวุ ิธีคิดระบบฐานสิบจานวน ๖ ขอ้ (๑๒ คะแนน) เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๑ – ๑๒ ดีมาก ๙ – ๑๐ ดี ๗–๘ พอใช้ ตา่ กวา่ ๗ ปรบั ปรุง
- 57 - เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๑ “ระบบการคิดฐานสบิ ”
- 58 - แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยท่ี1ชอื่ หน่วยการคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่๒ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๔ เรือ่ ง ความแตกตา่ งระหว่างจริยธรรมและการทจุ รติ (ชุมชน สังคม) เวลา 1 ชว่ั โมง 1. ผลการเรียนรู้ 1.10มคี วามรูค้ วามเข้าใจเกยี่ วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชนส์ ว่ นรวม 1.11สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์สว่ นรวมได้ 1.12ตระหนักและเหน็ ความสาคญั ของการตอ่ ตา้ นและป้องกันการทุจริต 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ นักเรียนสามารถ 2.1 มีความรู้ ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนกบั ผลประโยชน์ส่วนรวม 2.2 สามารถคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวมได้ 2.3 เห็นความสาคัญของการต่อตา้ นและปอ้ งกนั การทจุ รติ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 ความรู้ ๒.๑ สาเหตขุ องการทจุ รติ และทิศทางการป้องกันการทุจริตในประเทศไทย ๒.๒ ทฤษฎี ความหมาย และรูปแบบของการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนกับประโยชน์ ส่วนรวม (Conflict of interest) ๒.๓ แก้ “ทจุ รติ ” ตอ้ งคิดแยกแยะปรบั วิธคี ิด พฤติกรรมเปล่ยี น สงั คมเปลี่ยนประเทศชาติ เปลย่ี น โลกเปลี่ยน 3.2 ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทเี่ กดิ ) ๓.๑ ความสามารถในการสือ่ สาร ๓.๒ ความสามารถในการคิด - ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ - ทกั ษะการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ ๓.๓. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต - กระบวนการทางานกลุม่ 3.3 คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ / ค่านยิ ม 1) ซือ่ สัตย์ เสียสละ อดทน มีอดุ มการณ์ในส่งิ ท่ดี งี ามเพื่อสว่ นรวม 2) อยู่อยา่ งพอเพยี ง 3) ใฝ่หาความรู้ หม่ันศึกษาเล่าเรยี นทั้งทางตรง และทางอ้อม 4) มีความเข้มแข่งทัง้ รา่ งกายและจติ ใจไม่ยอมแพต้ อ่ อานาจฝา่ ยตา่ หรือกเิ ลส มีความ ละอายเกรงกลัวต่อบาปตามหลักของศาสนา 4..กจิ กรรมการเรยี นรู้ 4.1 ข้ันตอนการเรียนรู้ 1. นกั เรียนดวู ิดโี อเร่ืองการ์ตูนเสริมสร้างคณุ ธรรมจริยธรรม ตอนความซอื่ สตั ย์ ช่วยกนั วิเคราะห์ปลดปี ลเสียของตัวละคร แลว้ ครูถามนกั เรียกว่า คนขายของทอนเงนิ ใหล้ กู คา้ แล้วลูกค้ากลับ นาเงินมาคืนทเ่ี กินฯ นักเรยี นคิดว่าการ์ตูนสอนใหค้ ดิ เรื่องอะไร แลว้ ลูกค้ามพี ฤติกรรมอะไรท่บี ่งบอก
- 59 - เห็นไดอ้ ยา่ งชดั เจน นักเรยี นยกตวั อย่างเหตุการณ์ประเทศไทยของเรามีลกั ษณะอย่างไร แลว้ ให้ นกั เรยี นออกมาอภิปราย แยกแยะว่าอะไรเป็นจรยิ ธรรม อะไรเป็นการทจุ ริต 2. ครแู จกกระดาษขนาด A4 ใหน้ ักเรยี นคนละ 1 แผ่น ใหน้ ักเรยี นเขยี นสรุป เรื่อง ความ แตกต่างระหวา่ งจรยิ ธรรมและการทุจริต Mind Map ตามท่ี ครูกาหนดลงบนกระดาษให้ถูกตอ้ ง ไวน้ าเสนอนิทรรศการ 3. ให้นักเรยี นนาเสนอผลงาน 4. ครแู บง่ กลมุ่ ละๆ ๕ คนแตล่ ะกลุ่มไปศกึ ษาความรู้ เรือ่ ง ความแตกตา่ งระหวา่ งจริยธรรม และการทุจรติ แตกต่างกันอย่างไร จากนั้นนาความรู้ที่ได้นามาเสนอหนา้ ชั้น 5. ใหน้ ักเรียนกล่มุ อนื่ ๆ ตั้งประเดน็ คาถามหลังจากทีต่ ัวแทนกล่มุ นาเสนอความรจู้ บแล้วกลุ่ม ละ ๑ คาถาม แลว้ ให้กล่มุ ทีเ่ ป็นเจ้าของเร่ืองชว่ ยกนั ตอบคาถามให้ถูกต้อง 6. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สรุปประเด็นความรู้ทไ่ี ด้รับจดลงในสมุด แล้วครูต้ังประเด็นคาถามให้ นักเรยี นช่วยกันตอบ หรอื สุ่มเรียกนกั เรียนใหต้ อบเปน็ รายบุคคล 7. นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาใบความรู้สถานการณ์จาลองและช่วยกันคิด แสดงบาบาทสมมุติ ประกวดแต่ละกลมุ่ 8.นกั เรียนแต่ละกลุ่มหาข้อความการกระทา พฤติกรรม หรือเรื่องราวที่เปน็ ข้อความ สถานการณ์เพิม่ เตมิ มาเขียนใสใ่ นกระดาษฟลิปชารท์ ทีค่ รแู จกให้ แล้วใหส้ มาชิกในกลมุ่ ทาแผ่นพับชว่ ยกนั เผยแพร่ใหน้ ักเรยี น ครู ชุมชน หรือนามาจัดป้ายนิเทศเพ่ือปลกุ จติ สานึกกระต้นุ จรยิ ธรรมต้านทุจรติ 9.นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ สง่ ตวั แทนออกมานาเสนอผลงานท่ีหน้าช้นั เรียน โดยครแู ละเพ่ือน นักเรียนร่วมกันแสดงความคดิ เหน็ และใหข้ อ้ เสนอแนะเพ่ือนาไปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน 4.2 สอื่ การเรยี นรู้ / แหล่งการเรียนรู้ 1) วิดโี อ เร่อื งการ์ตูนเสรมิ สร้างคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ตอนความซอ่ื สตั ย์ ฯลฯ/ youtube.com/watch?v=gr2gtPGSGcg. ๒) หนังสือเรียน/หนงั สอื พมิ พ์ ฯลฯ ๓) ภาพข่าว ฯลฯ ๔) ภาพยนตรส์ ั้นๆ /คลิปวดิ ีโอ ฯลฯ 5) ใบความร้/ู สถานการณ์จาลองท่ี ๑-๓ - การทางานพิเศษ - การรูข้ อ้ มลู ภายใน - การใช้ทรัพย์สินของราชการเพือ่ ประโยชนส์ ว่ นตน
- 60 - ๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 5.1 วิธกี ารประเมิน รายการประเมนิ คาอธบิ ายระดับคุณภาพ / ระดบั คะแนน 1. ความเข้าใจเก่ียวกบั ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรุง (1) ความแตกตา่ งระหวา่ ง จริยธรรมและการทจุ รติ ความเข้าใจเก่ยี วกบั ความ ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั ความ ความเข้าใจเกีย่ วกบั ความ (ชมุ ชน สังคม) แตกต่างระหว่าง แตกตา่ งระหวา่ ง แตกต่างระหวา่ ง จริยธรรมและการทุจรติ จริยธรรมและการทจุ รติ จรยิ ธรรมและการทจุ รติ (ชมุ ชน สงั คม)ได้ถูกต้อง (ชมุ ชน สังคม)ได้ถกู ต้อง (ชมุ ชน สงั คม) ไดถ้ ูกต้อง 2. สามารถคดิ แยกแยะ 2. สามารถคดิ แยกแยะ 2. สามารถคดิ แยกแยะ 2. สามารถคดิ แยกแยะ ความแตกตา่ งระหวา่ ง ความแตกต่างระหว่าง ความแตกตา่ งระหวา่ ง ความแตกต่างระหว่าง จริยธรรมและการทุจริต จริยธรรมและการทุจริต จรยิ ธรรมและการทจุ รติ จริยธรรมและการทุจริต (ชมุ ชน สังคม)สว่ นรวมได้ (ชมุ ชน สงั คม)ส่วนรวมได้ (ชุมชน สงั คม)สว่ นรวมได้ (ชุมชน สังคม)ส่วนรวมได้ ในรปู แบบต่างๆได้ ในรูปแบบต่างๆได้ ในรูปแบบตา่ งๆได้ ในรูปแบบตา่ งๆได้ 3. ตระหนกั และเหน็ 3. ตระหนกั และเห็น 3. ตระหนักและเห็น 3. ตระหนกั และเห็น ความสาคญั ของจริยธรรม ความสาคัญของจรยิ ธรรม ความสาคัญของจรยิ ธรรม ความสาคญั ของจรยิ ธรรม และร่วมต้านทุจริตใน และร่วมตา้ นทจุ รติ ใน และรว่ มต้านทุจริตใน และรว่ มตา้ นทจุ ริตใน รูปแบบตา่ งๆได้ รูปแบบตา่ งๆได้ รปู แบบต่างๆได้ รปู แบบต่างๆได้ 5.2 เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการประเมนิ 1.แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานของผเู้ รยี นเปน็ รายบุคคล ๒.ผลงานนกั เรียน ๓.บอร์ดป้ายนิเทศ 5.3 เกณฑ์การตัดสนิ เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ (ขอ้ ๑) ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 7-9 ดี 4-6 พอใช้ 1-3 ปรับปรุง
- 61 - 6. บันทกึ หลังสอน ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................... ............................................................................... ................................................................................................................................... ........................................... ................................................................................................................................ .............................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอื่ ................................................ ครูผู้สอน (.................................................) 7. ภาคผนวก - ใบความรบู้ ตั รคาระบบคิดฐานสบิ & ระบบคิดฐานสอง - แบบสังเกต
- 62 - แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานของผเู้ รยี นเป็นรายบุคคล กลมุ่ ท่ี…….......... คาชแ้ี จง ผู้สอนสงั เกตการทางานของผเู้ รียน โดยทาเครอ่ื งหมายถูกลงในชอ่ งทตี่ รงกับความเป็นจริง พฤตกิ รรม ความสนใจ การมีสว่ นร่วมแสดง การรบั ฟัง การตอบ ความรับผิด รวม ในการเรยี น ความคดิ เหน็ ในการ ความคิดเหน็ คาถาม ชอบต่องาน คะแนน อภิปราย ของผู้อนื่ ทีไ่ ดร้ บั มอบ หมาย ชือ่ -สกุล 2 1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0 10 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 เกณฑ์การประเมิน ใหค้ ะแนน 0-4 ถา้ การทางานนน้ั อยใู่ นระดบั ตอ้ งปรบั ปรงุ ใหค้ ะแนน 5-7 ถ้าการทางานน้ันอยูใ่ นระดบั พอใช้ ใหค้ ะแนน 8-10 ถา้ การทางานน้นั อยู่ในระดับดี ลงชอ่ื ……………………………………………………ผปู้ ระเมนิ (…………………………………………………..)
- 63 - ตวั อยา่ ง ระบบคดิ ฐานสบิ & ระบบคิดฐานสอง
- 64 - ใบความรู้ สถานการณจ์ าลอง สถานการณท์ ่ี ๑ ๑. การทางานพิเศษ ๑ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภาษี 6 สานักงานสรรพากรจังหวัดในส่วนภูมิภาค ได้จัดต้ังบริษัทรับจ้างทา บัญชีและใหค้ าปรกึ ษาเก่ียวกับภาษแี ละมีผลประโยชนเ์ กย่ี วขอ้ งกับบริษทั โดยรับจ้างทาบญั ชแี ละยื่นแบบแสดง รายการใหผ้ เู้ สียภาษีในเขตจงั หวดั ที่รับราชการอย่แู ละจงั หวดั ใกลเ้ คยี ง กลับมีพฤตกิ ารณ์ช่วยเหลือผู้เสียภาษีให้ เสียภาษีน้อยกว่าความเป็นจริง และรับเงินค่าภาษีอากรจากผู้เสียภาษีบางรายแล้ว มิได้นาไปย่ืนแบบแสดง รายการชาระภาษีให้ พฤติการณ์ของเจ้าหน้าท่ีดังกล่าว เป็นการไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับกรมสรรพากรว่าด้วย จรรยาข้าราชการ กรมสรรพากร พ.ศ. 2559 ข้อ 9 (7) (8) และอาศัยตาแหน่งหน้าท่ีราชการของตน หา ประโยชน์ให้แก่ตนเอง เป็นความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรงตามมาตรา 83 (3) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ ข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 อีกทั้งเป็นการปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยมิชอบ เพ่ือให้เกิดความเสียหายแก่ ทางราชการโดยร้ายแรง และปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยทุจริต และยังกระทาการอันได้ช่ือว่าเป็นผู้ประพฤติชั่ว อย่างร้ายแรงเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง ตามมาตรา 85 (1) และ (4) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ ขา้ ราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ๒ การท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐอาศัยตาแหน่งหน้าท่ีทางราชการรับจ้างเป็นที่ปรึกษาโครงการ เพื่อให้ บริษทั เอกชนท่วี ่าจา้ งนั้นมีความนา่ เช่อื ถอื มากกว่าบริษัทคูแ่ ข่ง ๓ การท่เี จ้าหน้าทขี่ องรัฐไมท่ างานท่ีไดร้ ับมอบหมายจากหน่วยงานอย่างเต็มท่ี แต่เอาเวลาไปรับงาน พเิ ศษอน่ื ๆ ทอ่ี ยนู่ อกเหนืออานาจหนา้ ที่ทไ่ี ด้รับมอบหมายจากหน่วยงานตามกฎหมาย สถานการณ์ที่ ๒ ๒. การรขู้ ้อมูลภายใน ๑ นายช่าง 5 แผนกชุมสายโทรศัพท์เคลื่อนท่ี องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ได้นาข้อมูลเลข หมายโทรศัพท์เคลอื่ นท่ีระบบ 470 MHZ และระบบปลดลอ็ คไปขายใหแ้ กผ่ ู้อ่ืน จานวน 40 หมายเลข เพ่ือนาไป ปรบั จูนเขา้ กับโทรศพั ท์ เคล่อื นท่ีที่นาไปใช้รับจ้างให้บริการโทรศัพท์แก่บุคคลทั่วไป คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติ ชี้มูลความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 151 มาตรา 157 และ มาตรา 164 และมีความผิดวินัย ขอ้ บังคบั องค์การโทรศัพทแ์ หง่ ประเทศไทยว่าดว้ ยการพนักงาน พ.ศ. 2536 ขอ้ 44 และ 46 ๒ การท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐทราบข้อมูลโครงการตัดถนนเข้าหมู่บ้าน จึงบอกให้ญาติพ่ีน้องไปซื้อที่ดิน บริเวณโครงการดังกล่าว เพอ่ื ขายใหก้ ับราชการในราคาทีส่ ูงขึ้น ๓ การที่เจ้าหนา้ ที่หนว่ ยงานผรู้ บั ผิดชอบโครงขา่ ยโทรคมนาคมทราบมาตรฐาน (Spec) วัสดุอุปกรณ์ ที่จะใช้ในการวางโครงข่ายโทรคมนาคม แล้วแจ้งข้อมูลให้กับบริษัทเอกชนที่ตนรู้จัก เพื่อให้ได้เปรียบในการ ประมลู
- 65 - สถานการณท์ ี่ ๓ ๓. การใชท้ รพั ยส์ นิ ของราชการเพือ่ ประโยชนส์ ่วนตน ๑ คณบดคี ณะแพทย์ศาสตร์ ใชอ้ านาจหนา้ ทีโ่ ดยทุจริต ด้วยการส่ังให้เจ้าหน้าที่นาเก้าอี้พร้อมผ้าปลอก คลมุ เก้าอ้ี เคร่ืองถ่ายวิดีโอ เครื่องเล่นวิดีโอ กล้องถ่ายรูป และผ้าเต็นท์ นาไปใช้ในงานมงคลสมรสของบุตรสาว รวมท้ังรถยนต์ รถตสู้ ่วนกลาง เพื่อใชร้ ับสง่ เจ้าหน้าทเ่ี ขา้ รว่ มพิธี และขนยา้ ยอุปกรณ์ทั้งที่บ้านพักและ งานฉลอง มงคลสมรสทโี่ รงแรม ซงึ่ ล้วนเป็นทรัพย์สินของทางราชการการกระทาของจาเลยนับเป็นการใช้อานาจโดยทุจริต เพื่อประโยชน์ส่วนตนอันเป็นการเสียหายแก่รัฐ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้ช้ีมูลความผิดวินัยและอาญา ต่อมา เร่ืองเข้าสู่กระบวนการในช้ันศาล ศาลพิเคราะห์พยานหลักฐานโจทก์แล้วเห็นว่าการกระทาของจาเลย เป็น การทุจรติ ต่อตาแหนง่ หนา้ ที่ฐานเป็นเจ้าพนกั งานมีหนา้ ทซี่ ้ือทาจดั การหรือรกั ษาทรัพย์ใด ๆ ใช้อานาจในตาแหน่ง โดยทุจริตอันเป็นการเสียหายแก่รัฐและเป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติหน้าท่ีโดยมิชอบ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 151 และ 157 จึงพิพากษาให้จาคุก 5 ปี และปรับ 20,000 บาท คาให้การรับสารภาพ เป็น ประโยชน์แก่การพิจารณาคดี ลดโทษใหก้ งึ่ หน่ึง คงจาคุกจาเลยไว้ 2 ปี 6 เดอื นและปรบั 10,000 บาท ๒ การท่ีเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ผู้มีหน้าท่ีขับรถยนต์ของส่วนราชการ นาน้ามัน ในรถยนต์ไปขาย และนา เงินมาไว้ใช้จ่ายส่วนตัวทาให้ส่วนราชการต้องเสียงบประมาณ เพื่อซื้อน้ามันรถมากกว่าที่ควรจะเป็นพฤติกรรม ดังกล่าวถือเป็นการทุจริต เบียดบังผลประโยชน์ของส่วนรวมเพื่อประโยชน์ของตนเอง และมีความผิดฐานลัก ทรัพย์ ๓ การท่ีเจ้าหน้าท่ีรัฐ ผู้มีอานาจอนุมัติให้ใช้รถราชการหรือการเบิกจ่าย ค่าน้ามันเชื้อเพลิง นารถยนตข์ องสว่ นราชการไปใชใ้ นกิจธุระส่วนตัว
- 66 - แบบสังเกตแบบสังเกตพฤติกรรม “ซอ่ื สัตยส์ ุจริต” คาช้ีแจง ทาเคร่อื งหมาย ในช่องทีต่ รงกบั ความเป็นจรงิ ตามเกณฑ์การประเมิน 2.ปฏิบัติตาม 1.ให้ข้อมูลท่ี โดยคานงึ ถึง 3.ปฏิบตั ติ น 4.ไมห่ า รวม ผลการประเมนิ ถกู ต้องและ ความถกู ต้อง ต่อผูอ้ ่นื ด้วย ผลประโยชน์ คะแนน เลขท่ี ชอื่ - สกลุ เปน็ จริง ละอาย เกรง ในทางท่ีไม่ กลวั ต่อการ ความ กระทาผิด ซื่อสัตย์ ถูกต้อง ผา่ น ไมผ่ ่าน ๓๒๑๐๓๒๑๐๓๒๑๐๓๒๑๐ (ลงชอ่ื )...................................ครูผปู้ ระเมนิ (…………………………………………………) ............../................./.............
- 67 - แบบสังเกตพฤตกิ รรม “อยู่อย่างพอเพียง” คาช้แี จง ทาเคร่ืองหมาย √ ลงในช่องที่ตรงกับความเปน็ จริงตามเกณฑ์การประเมิน เลขท่ี ช่ือ-สกลุ ใชท้ รพั ย์สิน ไม่เอาเปรียบ วางแผนการ รู้เท่าทัน รวม ผลการ ของตนเอง ผ้อู ืน่ และไม่ เรียน การ การ คะแ ประเมนิ อย่าง ทาให้ผ้อู น่ื ทางานและ เปลีย่ นแปล นน ประหยัด เดือดรอ้ น การใช้ชวี ิต งของสังคม คมุ้ ค่าและ พร้อมใหอ้ ภัย บนพ้นื ฐาน และ เกบ็ รกั ษา เมือ่ ผู้อื่นทา ของความรู้ สภาพแวด ดแู ลอย่างดี ผิดพลาด ขอ้ มูล ล้อมยอมรบั รวมทั้งการ ขา่ วสาร และรับตัว ใชเ้ วลาอย่าง อยูร่ ว่ มกบั เหมาะสม ผู้อน่ื ได้ อย่างมี ความสุข 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 12 ผา่ ไม่ น ผ่า น (ลงชอื่ )...................................ครผู ปู้ ระเมิน ............../................./.............
- 68 - แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยที่ ๑ ชื่อหน่วยการคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๒ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 5 เรือ่ ง ประโยชน์สว่ นตนและประโยชน์ส่วนรวม(ชมุ ชน สังคม) เวลา 2 ช่วั โมง 1. ผลการเรยี นรู้ 1.13มคี วามรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกบั การแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวม 1.14สามารถคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชน์สว่ นรวมได้ 1.15ตระหนกั และเห็นความสาคญั ของการตอ่ ต้านและปอ้ งกันการทุจรติ 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 2.1 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชนส์ ว่ นรวม 2.2 สามารถคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชน์สว่ นรวมได้ 2.3 ตระหนกั และเห็นความสาคัญของการตอ่ ต้านและป้องกนั การทุจรติ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 ความรู้ 1) บทบาทและหน้าทข่ี องเยาวชนท่ีมตี ่อสังคมและประเทศชาติ โดยเนน้ จิตสาธารณะ เชน่ เคารพกตกิ าสังคม ปฏิบัติตนตามกฎหมาย มีส่วนรว่ มและรับผดิ ชอบในกิจกรรมทางสังคม อนรุ ักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติ รักษาสาธารณประโยชน์และรจู้ กั การอยูร่ ่วมกบั ผู้อื่นอยา่ งสันติดว้ ยพื้นฐานของ ความถูกตอ้ งและเปน็ ธรรม 2) วิธีปฏิบตั ิตนในการเคารพสทิ ธเิ สรภี าพของตนเองและผู้อ่ืนเพื่อใหผ้ ้เู รยี นมีจิตสานึกมี คณุ ธรรมไมเ่ หน็ แกต่ วั ไม่เอาเปรยี บผู้อืน่ รจู้ กั จาแนกช่วั ดี สามารถแยกแยะความผิดและความถูกต้อง เพือ่ เปน็ ภูมิคมุ้ กันต่อปัญหาทุจรติ คอรร์ ปั ชนั 3) ผลทไ่ี ดจ้ ากการเคารพในสิทธเิ สรีภาพของตนเองและผู้อื่นไดแ้ ก่ ความซื่อสตั ยส์ ุจรติ การมี จติ สาธารณะ การรู้รบั ผดิ ชอบและมวี นิ ัย และรักความพอเพียง ๔) บทบาทและหนา้ ที่ของเยาวชนทีม่ ีต่อสังคมและประเทศชาติ โดยเนน้ จิตสาธารณะ เช่น เคารพ กตกิ าสังคม ปฏบิ ตั ติ นตามกฎหมาย มีส่วนร่วมและรบั ผดิ ชอบในกิจกรรมทางสงั คม อนรุ ักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ รักษาสาธารณประโยชน์มสี มรรถนะในการคิดและมวี จิ ารณญาณในการแก้ไข ปญั หาของผู้เรยี น ใหค้ ดิ เปน็ และปฏบิ ัติอยา่ งถกู ต้อง กล้าหาญ และมีคุณธรรม 3.2 ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทเี่ กดิ ) 1) ความสามารถในการส่ือสาร 1) ทกั ษะการวิเคราะห์ 2) ทักษะกระบวนการคิดตัดสนิ ใจ 3) ทกั ษะการนาความร้ไู ป ใช้ 2) ความสามารถในการคดิ (วิเคราะห์ จัดกลุ่ม สรุป) 3) ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต 3.3 คณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ / คา่ นยิ ม 1) มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์
- 69 - 2) ซือ่ สตั ย์ เสยี สละ อดทน มีจติ สาธารณะ มีอดุ มการณ์ในสิ่งที่ดงี ามเพ่อื สว่ นรวม 3) ใฝ่หาความรู้ หม่นั ศึกษาเล่าเรียนท้ังทางตรง และทางอ้อม 4) มีศลี ธรรม รกั ษาความสตั ย์ หวังดีต่อผู้อืน่ เผ่ือแผ่และแบ่งปนั 5) เข้าใจเรียนรูก้ ารเป็นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุขท่ีถกู ต้อง 6) มีระเบียบวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผนู้ อ้ ยรูจ้ ักการเคารพผใู้ หญ่ 7) มสี ติรู้ตวั รคู้ ิด รทู้ า ปฏิบัตติ ามพระราชดารสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู ัว 8) รจู้ ักดารงตนอยู่โดยใช้หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงตามพระราชดารสั ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รจู้ กั อดออมไวใ้ ชเ้ มื่อยามจาเป็น มีไว้พอกนิ พอใช้ถา้ เหลือก็แจกจา่ ย จาหน่าย และพร้อมที่จะขยายกจิ การเมื่อมีความพร้อม เมื่อมภี ูมิคุ้มกนั ที่ดี 9) มีความเข้มแข็งท้งั รา่ งกายและจติ ใจไม่ยอมแพ้ต่ออานาจฝา่ ยต่า หรือกิเลส มคี วามละอาย เกรงกลวั ต่อบาปตามหลกั ของศาสนา 10) กระทาอยา่ งรับผดิ ชอบ 11) มคี วามเปน็ ธรรมในสงั คม 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 ข้นั ตอนการเรียนรู้ วธิ สี อนแบบ สืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) ข้นั ท่ี ๑ กระต้นุ ความสนใจ 1. ครนู าข่าวมาใหน้ ักเรยี นช่วยกันวเิ คราะหห์ ัวข้อขา่ วต่อไปน้ีวา่ เหมาะสมหรอื ไม่ เพราะเหตุใดและ การกระทาใดเปน็ การกระทาทเี่ ปน็ ผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนต์ อ่ สว่ นรวม เชน่ ขา่ ว 1) นางพยาบาลรวมกลุ่มกนั จานวนมากประทว้ งหัวหน้าพยาบาลในการบรหิ ารงานใน โรงพยาบาลโดยหา้ มไม่ใหแ้ ลกเวรเกนิ ๓ คร้ัง 2) หนงั สือพิมพล์ งข่าวการตัดสนิ โทษนักการเมืองทีท่ ุจริต 3) วยั รนุ่ ใชโ้ ทรศัพท์มือถือแอบถา่ ยภาพผู้หญงิ เปล่ียนเสือ้ ผ้า 4) รองนายกรฐั มนตรีคนดงั กลา่ วขอโทษครอบครัวนักเรียนเตรียมทหารที่เสียชีวิตหลังจาก ให้ข่าวที่กระทบกระเทอื นใจ 5) นักข่าวกลมุ่ หน่ึงขออนญุ าตเจ้าหน้าทส่ี านักพระราชวังเพื่อบันทกึ ภาพการจดั และตกแต่ง พระเมรุมาศ แล้วนาไปพิมพ์เผยแพร่ต่อประชาชนทั่วไป ๖) นกั ร้องคนดงั จดั ทาโครงการก้าวคนละก้าวโดยการว่ิงจากเบตงถึงแม่สายเพ่ือหาเงนิ บริจาค ใหโ้ รงพยาบาล ๗) นักการเมืองคนดงั โดยฟ้องขอ้ หาทุจริตโครงการรบั จานาขา้ ว 2. นกั เรยี นแต่ละคนวเิ คราะห์บทบาทหน้าท้ังและการกระทาของบุคคลภายในขา่ วพร้อมอธิบาย เหตุผลแตกต่างกนั ไป ครูอธิบายความรู้เพ่ิมเติมใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจวา่ การกระทาของบุคคลในข่าวท่ี 1-4 เป็นการกระทาท่ีไมเ่ หมาะสมและเปน็ การกระทาเพอ่ื ประโยชนส์ ่วนตวั และเป็นการแสดงถงึ การไม่ เคารพสทิ ธแิ ละเสรีภาพของผู้อ่นื สว่ นการกระทาของบุคคลในขา่ วท่ี 5 เป็นการกระทาที่แสดงถงึ การ เคารพสทิ ธิและเสรีภาพของผู้อ่นื และกระทาเพ่ือประโยชนส์ ว่ นรวม การกระทาของบุคคลในขา่ วท่ี๖ เปน็ การกระทาเพอ่ื สว่ นรวมโดยเสยี สละตัวเองเพือ่ นาเงนิ มามอบใหโ้ รงพยาบาล คนท่ี๗ กระทาเพ่ือหา ประโยชนส์ ่วนตวั ในโครงการรบั จานาข้าว 3. ครอู ธบิ ายให้นักเรียนเหน็ ถึงความสาคัญของการเคารพสทิ ธแิ ละเสรีภาพของตนเองและผูอ้ น่ื ผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม พรอ้ มทั้งเช่ือมโยงใหน้ กั เรยี นเข้าใจถึงผลดีของการ
- 70 - เคารพสทิ ธิเสรีภาพของผู้อ่นื และผลดีของการเห็น ผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม และ ผลเสยี อนั เกิดจากการกระทาท่แี สดงถึงการไม่เคารพสิทธเิ สรภี าพของผอู้ ่ืนและผลเสยี ของการเห็น ผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม - ผลดีของการเคารพสิทธิเสรีภาพของผู้อนื่ ได้แก่ ทาใหเ้ กิดความเขา้ ใจอนั ดีต่อกนั ลดความขัดแย้ง ขอ้ พิพาทระหว่างกนั สงั คมสงบสุข - ผลเสียของการไม่เคารพสิทธิเสรภี าพของผู้อนื่ ไดแ้ ก่ ทาให้ผู้อ่นื ไดร้ บั ความเดือดร้อน ผู้ท่ีถกู ละเมดิ สทิ ธิเสรีภาพมีความไม่พอใจนาไปสูก่ ารทะเลาะวิวาทกัน ขน้ั ที่ ๒ สารวจค้นหา 1. นกั เรียนแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ 5-7 คน ตามความสมคั รใจให้นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันศึกษาความรู้ เร่อื ง สทิ ธแิ ละเสรภี าพของประชาชนชาวไทย ตามบทบัญญัติในรฐั ธรรมนูญและความหมาย ผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม จากใบความรู้ หนงั สอื ค้นควา้ เพิ่มเติมจากห้องสมุด และแหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ อินเตอร์เน็ต แล้วนาความรทู้ ่ีได้จากการศึกษามาอภปิ รายรว่ มกนั ในกลุ่ม 2. นักเรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคดิ ขั้นท่ี 3 อธิบายความรู้ 1. สมาชิกแต่ละกลุ่มนาความรูท้ ี่ได้จากการศึกษาเรื่อง สิทธิและเสรีภาพของประชาชนชาวไทย ตาม บทบญั ญตั ใิ นรฐั ธรรมนูญและความหมายของผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์ส่วนรวม มา อภิปรายให้กลมุ่ อน่ื ๆ ฟัง ในประเดน็ ต่อไปนี้ 1) สิทธขิ องประชาชนชาวไทยตามกฎหมาย 2) เสรีภาพของประชาชนชาวไทย 3) ผลดีของการเคารพสิทธแิ ละเสรีภาพของผู้อ่ืน 4) ผลเสียของการไม่เคารพสิทธแิ ละเสรีภาพของผู้อื่น ๕) การกระทาที่เป็นประโยชน์ส่วนตน ๖) การกระทาที่เป็นประโยชนส์ ่วนรวม 2. นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ สรุปความร้ทู ่ไี ด้ฟัง โดยจัดทาเป็นแผนผังมโนทศั น์ ข้ันที่ 4 ขยายความเข้าใจ 1. สมาชิกในกล่มุ ร่วมกนั ทาใบงานที่ 1เร่อื ง สทิ ธแิ ละเสรีภาพและการกระทาที่เป็นประโยชน์สว่ นตน การกระทาทเ่ี ป็นประโยชน์ส่วนรวม 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มรว่ มกันทากิจกรรมตามตัวชี้วัด ขน้ั ที่ 5 ตรวจสอบผล 1. ครูและนกั เรยี นช่วยกันเฉลยคาตอบในใบงานท่ี 1.1 โดยใหส้ มาชกิ แตล่ ะคนในกลุ่มเป็นผู้ตรวจสอบ ความถูกตอ้ ง 2. ครมู อบหมายให้นักเรียนแต่ละกลุม่ หาข่าวเกีย่ วกบั บุคคลทมี่ ีการกระทาที่สอดคลอ้ งกับการปฏบิ ัติ ตนตามสิทธิและเสรีภาพของประชาชนในด้านผลประโยชนส์ ว่ นรวมและผลประโยชน์ส่วนตน 4.2 สือ่ การเรียนรู้ / แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องสมดุ 2) อินเตอร์เน็ต
- 71 - 5. การประเมินผลการเรียนรู้ 5.1 วธิ กี ารประเมนิ ๑. ตรวจใบงานที่ 1 ๒. สงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล ๓. สังเกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ ๔. สังเกตความมวี นิ ยั ใฝ่เรยี นรู้ และมงุ่ มนั่ ในการทางาน ๕.๒ เครอ่ื งมือท่ีใชใ้ นการประเมิน ๑. ตรวจใบงานที่ 1 ๒. แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล ๓. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ ๔. แบบประเมนิ คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ 5.3 เกณฑ์การตดั สนิ ๑. ตรวจใบงานที่ 1 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ๒. สังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ๓. สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ๔. สังเกตความมีวนิ ัย ใฝเ่ รยี นรู้ และมุ่งมั่นในการทางาน ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ 6. บนั ทึกหลงั สอน ............................................................................................................................. ............................ ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................. .................................................................... ......................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงช่อื ................................................ ครูผู้สอน (.................................................) 7. ภาคผนวก - ใบความรู้ - ใบงาน - แบบสงั เกต
- 72 - ใบงานที่ ๑ สิทธิและเสรภี าพและผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นวิเคราะห์ขอ้ ความต่อไปนี้วา่ ข้อใดเป็นสทิ ธิ เสรีภาพ ผลประโยชนส์ ่วนตนและ ผลประโยชน์ส่วรวม 1. ปจั จบุ นั นท้ี ุกคนสามารถเข้าใช้งานโซเชียลเน็ตเวริ ์ค ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ตารวจเขา้ ตรวจค้นบ้านโดยไมม่ ีหมายค้น ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. วภิ าภูมิใจมากทีส่ ามารถซ้ือสมาร์ทโฟนดว้ ยเงินของตนเอง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. สรยุทธนารถยนต์ส่วนตัวไปล้างที่ทางานในวนั หยุด ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. ตนู บอดสี้ แลมทาโครงการก้าวคนละกา้ วโดยการวง่ิ จากเบตงถึงแม่สาย ระยะทาง ๒,๑๙๑ กโิ ลเมตรเพ่ือ ๑๑ โรงพยาบาลทั่วประเทศ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6. นักเรยี นรวมตวั กันในวันหยุดไปทาความสะอาดศาลากลางหมูบ่ ้าน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 7. บุญมาเปิดร้านอาหารตามสัง่ บนฟุตบาทหน้าบ้านตวั เอง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 8. เด่นถมที่ทบั ท่ีคนอืน่ เพราะที่ขา้ งๆไมม่ ีคนทาประโยชน์ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 9.หมู่บ้านเวยี งทองมีทั้งชาวบ้านทนี่ บั ถือพระพุทธศาสนา และศาสนาอิสลาม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 10. ทุกคนสามารถเดนิ ทางไปท่วั ประเทศไทย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
- 73 - แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานของผู้เรียนเปน็ รายบุคคล กลมุ่ ท่ี…….......... คาช้แี จง ผู้สอนสงั เกตการทางานของผ้เู รียน โดยทาเครื่องหมายถูกลงในชอ่ งท่ีตรงกับความเปน็ จรงิ พฤติกรรม ความสนใจ การมีสว่ น การรับฟัง การตอบ ความรับผดิ รวม ในการเรียน รว่ มแสดง ความคิด คาถาม ชอบต่องาน คะแน ช่ือ-สกลุ ความคดิ เหน็ ของผู้ ทไ่ี ดร้ ับมอบ 1 210 เห็นในการ 210 น 2 อภิปราย อ่ืน หมาย 3 10 4 210 210 210 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 เกณฑ์การประเมนิ ใหค้ ะแนน 0-4 ถา้ การทางานนั้นอยูใ่ นระดบั ตอ้ งปรับปรงุ ใหค้ ะแนน 5-7 ถา้ การทางานน้ันอยู่ในระดับพอใช้ ให้คะแนน 8-10 ถา้ การทางานนน้ั อย่ใู นระดบั ดี ลงชอื่ …………………………………………………… (…………………………………………………..) ผ้ปู ระเมิน
- 74 - ใบความรู้ที่ 2 เรอ่ื ง สิทธิและเสรีภาพและผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม ความหมายของสิทธิ สทิ ธิ หมายถงึ ส่ิงทไ่ี มม่ ีรูปรา่ งซ่งึ มอี ยู่ในตัวมนุษย์มาตัง้ แต่เกิดหรอื เกิดขนึ้ โดยกฎหมาย เพ่ือ ใหม้ นุษยไ์ ด้รับประโยชน์ และมนษุ ย์จะเปน็ ผ้เู ลือกใช้สง่ิ นั้นเองโดยไม่มผี ู้ใดบงั คบั ได้ เชน่ สิทธิในการกิน การนอน แต่สทิ ธิบางอยา่ งมนุษยไ์ ด้รบั โดยกฎหมายกาหนดให้มี เช่น สทิ ธใิ นการมี การใชท้ รพั ย์สิน สทิ ธิ ในการร้องทกุ ขเ์ ม่ือตนถูกกระทาละเมดิ กฎหมาย เปน็ ตน้ แนวทางการปฏิบัตติ นตามบทบัญญัตใิ นรัฐธรรมนญู 1. เคารพสิทธิของกันและกัน โดยไม่ละเมิดสทิ ธเิ สรภี าพของผอู้ น่ื เช่น สิทธิ เสรภี าพ ในชีวิตและรา่ งกาย สิทธิในครอบครวั เกียรติยศ ชอื่ เสียง และความเปน็ ส่วนตวั เปน็ ตน้ 2. รูจ้ กั ใช้สทิ ธิของตนเองและแนะนาใหผ้ ู้อ่นื ร้จู กั ใช้และรกั ษาสิทธิของตนเอง เชน่ การรักษาสิทธใิ นการเลือกตงั้ เพื่อแสดงเจตจานงทางการเมืองและปอ้ งกนั ไมใ่ หม้ ีการซ้ือสทิ ธขิ ายเสยี ง 3. รณรงค์ เผยแพรค่ วามรู้เก่ียวกับสิทธมิ นษุ ยชน และปลูกฝังแนวความคิดเร่ืองสทิ ธิ มนษุ ยชนให้แกช่ มุ ชนหรือสงั คมตามสถานภาพและบทบาทที่ตนพงึ กระทาได้ เช่น ให้ความรู้กับสมาชิก ครอบครัว จากนั้นจงึ ค่อย ๆ ขยายไปยงั สถาบันอน่ื ๆ ในสงั คม เชน่ สถานศึกษา เป็นตน้ 4. ร่วมมอื กบั หน่วยงานของภาครัฐและเอกชนเพื่อการคุ้มครองสิทธิมนษุ ยชน เช่น การให้ข้อมูลข่าวสารเกย่ี วกับการละเมดิ สิทธมิ นษุ ยชนแก่เจา้ หน้าทข่ี องรัฐ หรือเป็นอาสาสมคั ร ชว่ ยเหลอื งานขององค์กรที่ปฏิบตั ิงานในการคุ้มครองสทิ ธิมนุษยชน เปน็ ต้น 5. การปฏิบัติตามหน้าท่ขี องชาวไทยตามทีไ่ ด้บัญญตั ิไวใ้ นรัฐธรรมนูญ เชน่ การเสยี ภาษีให้รฐั เพอื่ นาเงนิ นั้นมา ใชพ้ ัฒนาประเทศ การเข้ารับราชการทหารเพื่อเป็นกาลงั สาคญั ในการป้องกนั ประเทศ หรือการออกไปใชส้ ทิ ธิ เลอื กตงั้ เพ่ือใหไ้ ด้คนดเี ข้าไปบริหารบ้านเมืองใหม้ คี วามเจริญกา้ วหน้าเป็นตน้ 6. ส่งเสรมิ และสนับสนุนการดาเนินงานขององค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ สามารถทาไดโ้ ดยการให้ความ ชว่ ยเหลือดา้ นข้อมูลขา่ วสารการทจุ รติ ของขา้ ราชการและเจ้าหน้าทข่ี องรฐั แก่คณะกรรมการปอ้ งกันและ ปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติ หรือให้ความรว่ มมือในการดาเนินงานของคณะกรรมการการเลือกตง้ั ไม่ว่าจะ เป็นการให้ข้อมลู ข่าวสารเก่ียวกับการทุจริตการเลือกต้งั ประจาเขตเปน็ ต้น
- 75 - ใบความรู้ท่ี 3 เรือ่ ง หน้าท่ี และเสรีภาพ ความหมายของหนา้ ท่ี หนา้ ที่ หมายถึง การกระทาหรือการละเว้นการกระทาเพื่อประโยชน์โดยตรงของการมีสิทธหิ น้าทเ่ี ป็น สงิ่ ทบี่ ังคบั ให้มนษุ ย์ในสังคมต้องปฏบิ ตั ติ ามกฎเกณฑ์ทางสังคมหรือตามท่ีกฎหมายบญั ญตั ิไว้จะไมป่ ฏบิ ตั ิตาม ไม่ได้ สว่ นสทิ ธิและเสรีภาพเป็นส่ิงท่มี นุษยม์ ีอยูแ่ ต่จะใชห้ รือไม่ใชก้ ็ได้ แนวทางการปฏิบตั ติ นตามบทบัญญัตใิ นรฐั ธรรมนญู 1. เคารพสิทธิของกันและกัน โดยไม่ละเมิดสทิ ธเิ สรภี าพของผ้อู น่ื เชน่ สทิ ธิ เสรภี าพ ในชีวิตและร่างกาย สิทธิ ในครอบครัว เกยี รตยิ ศ ชอื่ เสียง และความเป็นสว่ นตัว เปน็ ต้น 2. ร้จู กั ใช้สิทธขิ องตนเองและแนะนาใหผ้ ู้อ่นื รูจ้ ักใช้และรักษาสิทธขิ องตนเอง เชน่ การรักษาสิทธใิ นการ เลือกตัง้ เพื่อแสดงเจตจานงทางการเมืองและปอ้ งกนั ไมใ่ หม้ ีการซ้ือสทิ ธิขายเสียง 3. รณรงค์ เผยแพร่ความรู้เก่ียวกับสิทธมิ นุษยชน และปลกู ฝงั แนวความคิดเร่ืองสทิ ธิ มนุษยชนใหแ้ ก่ชมุ ชนหรอื สงั คมตามสถานภาพและบทบาทที่ตนพึงกระทาได้ เช่น ให้ความรู้กับสมาชกิ ครอบครัว จากนั้นจงึ ค่อย ๆ ขยาย ไปยงั สถาบนั อนื่ ๆ ในสงั คม เช่น สถานศึกษา เป็นตน้ 4. รว่ มมือกบั หนว่ ยงานของภาครัฐและเอกชนเพ่ือการคมุ้ ครองสิทธมิ นษุ ยชน เช่น การให้ขอ้ มูลข่าวสาร เกย่ี วกบั การละเมดิ สิทธมิ นุษยชนแกเ่ จา้ หนา้ ทขี่ องรฐั หรือเปน็ อาสาสมคั ร ช่วยเหลอื งานขององค์กรท่ี ปฏิบตั ิงานในการคุม้ ครองสิทธมิ นุษยชน เปน็ ตน้ 5. การปฏบิ ัตติ ามหนา้ ทข่ี องชาวไทยตามท่ีได้บัญญตั ิไวใ้ นรฐั ธรรมนญู เชน่ การเสยี ภาษใี หร้ ฐั เพือ่ นาเงนิ น้ันมา ใชพ้ ัฒนาประเทศ การเข้ารบั ราชการทหารเพ่ือเป็นกาลงั สาคญั ในการป้องกัน ประเทศ หรอื การออกไปใช้สิทธิ เลือกต้งั เพื่อให้ได้คนดเี ข้าไปบริหารบ้านเมืองให้มคี วามเจรญิ ก้าวหน้า เปน็ ต้น 6. สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การดาเนนิ งานขององค์กรอิสระตามรัฐธรรมนญู สามารถ ทาได้โดยการให้ความ ชว่ ยเหลือดา้ นขอ้ มลู ข่าวสารการทุจริตของข้าราชการและเจ้าหนา้ ท่ขี องรฐั แก่คณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทจุ รติ แห่งชาติ หรือใหค้ วามร่วมมือในการดาเนนิ งานของ คณะกรรมการการเลือกต้ัง ไม่วา่ จะ เปน็ การใหข้ ้อมูลข่าวสารเก่ียวกบั การทุจรติ การเลอื กตั้งประจาเขตเป็นตน้ ความหมายของเสรภี าพ เสรภี าพ หมายถึง การใชส้ ทิ ธอิ ยา่ งใดอยา่ งหนึ่ง หรอื กระทาการอย่างใดอย่างหนง่ึ ได้อย่าง อิสระ แตท่ ง้ั น้จี ะต้องไม่กระทบต่อสทิ ธขิ องผูอ้ ่ืน ซึง่ หากผใู้ ดใช้สทิ ธเิ สรีภาพเกนิ ขอบเขตจนก่อความ เดอื ดรอ้ นต่อผู้อืน่ ถอื เปน็ การกระทาเกินเสรีภาพของตนกย็ ่อมถูกดาเนินคดตี ามกฎหมาย
- 76 - ใบความรูท้ ่ี 4 เรอื่ งหน้าที่ 1. ความหมายของหน้าที่ หน้าที่ หมายถึง การกระทาหรือการละเว้นการกระทาเพ่ือประโยชน์โดยตรงของการมีสิทธิ หน้าท่เี ป็น ส่งิ ทบี่ งั คับให้มนษุ ยใ์ นสงั คมต้องปฏบิ ัติตามกฎเกณฑ์ทางสังคมหรอื ตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ จะไม่ปฏบิ ตั ติ าม ไม่ได้ ส่วนสทิ ธแิ ละเสรีภาพเป็นส่ิงทีม่ นุษย์มีอยู่แต่จะใชห้ รอื ไมใ่ ชก้ ็ได้ 2. หน้าทพ่ี ลเมืองดีตามรฐั ธรรมนูญ รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทยได้กาหนดหน้าที่ของประชาชนชาวไทยไวด้ งั น้ี 2.1 บคุ คลมีหนา้ ทร่ี ักษาไวซ้ ่ึงชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์และการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข 2.2 บคุ คลมีหนา้ ที่ปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย 2.3 บุคคลมีหนา้ ท่ไี ปใชส้ ิทธเิ ลือกต้ัง บุคคลซึ่งไม่ไปเลอื กต้ังโดยไม่แจ้งเหตผุ ลอนั สมควรยอ่ มเสยี สทิ ธิ ตามที่กฎหมายบญั ญตั ิไว้ 2.4 บุคคลมหี น้าท่ปี ้องกันประเทศ รับราชการทหาร 2.5 บุคคลมหี น้าทเี่ สยี ภาษใี ห้รัฐ 2.6. บุคคลมีหน้าท่ีช่วยเหลอื ราชการ รบั การศึกษาอบรม ปกปอ้ งและสืบสานวัฒนธรรม ของชาติ ภูมิ ปญั ญาท้องถ่ิน รวมถงึ การอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม 2.7. บคุ คลผเู้ ป็นข้าราชการ พนกั งาน หรือลกู จ้างหน่วยงานราชการ รฐั วิสาหกิจ ราชการ สว่ น ท้องถ่ิน มหี น้าท่ดี าเนนิ การให้เป็นไปตามกฎหมายเพอ่ื รักษาประโยชนส์ ว่ นรวมอานวยความสะดวก และ ใหบ้ รกิ ารแก่ประชาชน 3. แนวทางการปฏบิ ัตติ นตามบทบญั ญัตใิ นรฐั ธรรมนญู 3.1 เคารพสทิ ธิของกันและกัน โดยไม่ละเมดิ สิทธิเสรีภาพของผอู้ น่ื เช่น สทิ ธิ เสรีภาพ ในชีวติ และรา่ งกาย สิทธใิ นครอบครวั เกยี รติยศ ช่ือเสียง และความเป็นสว่ นตัว เป็นต้น 3.2 รูจ้ กั ใช้สทิ ธขิ องตนเองและแนะนาให้ผูอ้ น่ื รู้จักใช้และรักษาสทิ ธิของตนเอง เชน่ การรักษาสิทธใิ น การเลือกต้งั เพื่อแสดงเจตจานงทางการเมอื งและป้องกนั ไมใ่ ห้มีการซื้อสิทธิขายเสียง 3.3 รณรงค์ เผยแพร่ความรเู้ กีย่ วกบั สทิ ธมิ นษุ ยชน และปลกู ฝังแนวความคิดเร่อื งสิทธิ มนุษยชนใหแ้ ก่ ชุมชนหรอื สังคมตามสถานภาพและบทบาทที่ตนพึงกระทาได้ เช่น ให้ความรู้กบั สมาชิก ครอบครวั จากน้ันจงึ คอ่ ย ๆ ขยายไปยังสถาบันอนื่ ๆ ในสังคม เช่น สถานศกึ ษา เป็นตน้ 3.4 รว่ มมอื กับหนว่ ยงานของภาครัฐและเอกชนเพื่อการคมุ้ ครองสทิ ธิมนุษยชน เช่น การให้ข้อมูล ขา่ วสารเกย่ี วกับการละเมดิ สิทธมิ นุษยชนแก่เจ้าหน้าท่ีของรัฐ หรอื เป็นอาสาสมคั ร ช่วยเหลืองานขององค์กรท่ี ปฏิบัติงานในการค้มุ ครองสิทธมิ นษุ ยชน เป็นตน้ 3.5 การปฏบิ ตั ิตามหนา้ ทีข่ องชาวไทยตามที่ไดบ้ ญั ญตั ไิ วใ้ นรัฐธรรมนูญ เช่น การเสีย ภาษใี ห้รฐั เพื่อ นาเงนิ นัน้ มาใช้พฒั นาประเทศ การเข้ารบั ราชการทหารเพ่ือเป็นกาลังสาคญั ในการปอ้ งกันประเทศ หรือการ ออกไปใช้สิทธิเลอื กต้ังเพ่ือให้ไดค้ นดีเขา้ ไปบริหารบ้านเมืองใหม้ คี วามเจรญิ ก้าวหนา้ เปน็ ต้น 3.6 สง่ เสริม และสนับสนุนการดาเนินงานขององค์กรอสิ ระตามรัฐธรรมนญู สามารถ ทาได้โดยการให้ ความชว่ ยเหลือดา้ นข้อมูลข่าวสารการทุจริตของข้าราชการและเจ้าหนา้ ที่ของรฐั แก่คณะกรรมการป้องกนั และ ปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติ หรอื ให้ความรว่ มมือในการดาเนนิ งานของ คณะกรรมการการเลอื กตง้ั ไมว่ ่าจะ เป็นการให้ข้อมลู ข่าวสารเกี่ยวกบั การทจุ ริตการเลอื กตัง้ ประจาเขต เป็นต้น
- 77 - ใบความรู้ท่ี 5 เรอ่ื งเสรีภาพ 1. ความหมายของเสรีภาพ เสรภี าพ หมายถงึ การใชส้ ทิ ธอิ ย่างใดอย่างหนึง่ หรอื กระทาการอยา่ งใดอยา่ งหนึ่งได้อย่าง อิสระ แต่ ทงั้ นี้จะต้องไมก่ ระทบต่อสทิ ธิของผู้อ่ืน ซ่ึงหากผู้ใดใชส้ ิทธิเสรีภาพเกินขอบเขตจนก่อความเดือดร้อนต่อผู้อน่ื ถือ เปน็ การกระทาเกนิ เสรภี าพของตนก็ย่อมถูกดาเนนิ คดตี ามกฎหมาย 2. เสรีภาพพลเมอื งดีตามรฐั ธรรมนูญ รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย ได้กาหนด เสรีภาพของประชาชนชาวไทยไว้ดังนี้ 2.1 เสรภี าพในเคหสถาน ชาวไทยทกุ คนยอ่ มไดร้ บั ความคุ้ม ครองในการอาศัยและครอบครอง เคหสถานโดยปกติสุข การเข้าไปในเคหสถานของผอู้ ื่นโดยปราศจากการยนิ ยอมของผคู้ รอบครอง หรือ การเข้า ไปตรวจค้นเคหสถานโดยไมม่ ีหมายคน้ จากศาลยอ่ มทาไม่ได้ 2.2 เสรภี าพในการเดินทางและการเลือกถิน่ ที่อยู่ การเนรเทศบคุ คลผูม้ ีสัญชาติไทยออก นอก ราชอาณาจกั รหรือหา้ มมใิ หบ้ ุคคลผู้มสี ญั ชาตไิ ทยเขา้ มาในราชอาณาจกั รจะกระทามไิ ด้ 2.3 เสรภี าพในการแสดงความคดิ เห็นผ่านการพูด การเขียน การพมิ พ์ การโฆษณาและ การสือ่ ความหมายโดยวธิ อี ืน่ จะจากัดแกบ่ ุคคลชาวไทยมิได้ เวน้ แตโ่ ดยอาศยั อานาจตามบทบัญญัติแหง่ รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย 2.4 เสรภี าพในการส่ือสารถึงกันโดยทางทช่ี อบด้วยกฎหมาย การตรวจ การกัก หรือการ เปดิ เผย ขอ้ มลู ส่วนบคุ คล รวมทง้ั การกระทาตา่ ง ๆ เพือ่ เผยแพรข่ ้อมลู น้ันจะกระทามิได้ 2.5 เสรภี าพในการนบั ถอื ศาสนา นกิ าย ลัทธิ ความเชอื่ ทางศาสนา และเสรภี าพในการ ประกอบ พิธีกรรมตามความเชอ่ื ของตน โดยไมเ่ ปน็ ปฏปิ กั ษ์ต่อหน้าที่ของพลเมือง และไม่ขดั ต่อความสงบ เรียบรอ้ ยหรือ ศีลธรรมอนั ดีของประชาชน ยอ่ มเป็นเสรีภาพของประชาชน 2.6 เสรภี าพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวธุ การจากัดเสรภี าพดงั กลา่ ว จะกระทาไม่ได้ เว้น แตโ่ ดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติของกฎหมายเพ่ือค้มุ ครองประชาชนท่ีจะใช้ ทสี่ าธารณะหรือเพื่อรักษาความ สงบเรียบร้อยเมื่อประเทศอยู่ในภาวะสงคราม หรอื ระหว่างประกาศ สถานการณฉ์ กุ เฉิน หรอื ประกาศใชก้ ฎ อัยการศกึ 2.7 เสรีภาพในการรวมตวั กนั เป็นสมาคม สหพันธ์ องคก์ ร องคเ์ อกชน หรือหมูค่ ณะอน่ื การจากัด เสรีภาพต่าง ๆ เหล่าน้จี ะกระทามิได้ เวน้ แตอ่ าศยั อานาจกฎหมายเฉพาะเพื่อคุ้มครอง ประโยชนส์ ่วนรวมของ ประชาชน การรกั ษาความสงบเรยี บร้อยหรอื ป้องกนั การผูกขาดในทางเศรษฐกิจ 2.8 เสรีภาพในการรวมตัวจัดตง้ั พรรคการเมือง เพ่อื ดาเนินกิจกรรมทางการเมอื งตามวถิ ีทาง การ ปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ 2.9 เสรีภาพในการประกอบอาชีพและการแข่งขันโดยเสรีอย่างเปน็ ธรรม การจากัด เสรภี าพดังกล่าว จะทาไดโ้ ดยอาศัยกฎหมายเพ่ือประโยชน์ในการรักษาความมน่ั คงของรฐั หรือเศรษฐกิจ ของประเทศ และเพ่ือ ปอ้ งกนั การผกู ขาดหรือขจัดความไม่เป็นธรรมในการแข่งขนั ทางการค้า
- 78 - ใบความรทู้ ่ี 6 เร่ืองประโยชนส์ ่วนตนกบั ประโยชน์สว่ นรวม ผลประโยชน์มี ๒ อยา่ ง คอื ประโยชนส์ ่วนตนกับประโยชนส์ ว่ นรวม ถ้าเราจะคิดถึงประโยชน์เพยี งแง่ เดยี ว คอื ประโยชนข์ องเราสว่ นตัว ตา่ งคนต่างก็ต้องการประโยชนส์ ว่ นตัว แลว้ จะเปน็ ประโยชน์ส่วนรวมได้ อย่างไร เพราะฉะนน้ั ประโยชนข์ องสว่ นตัวกบั ประโยชนข์ องส่วนรวมกจ็ ะต้องสอดคล้องกนั คอื ประโยชน์ ของเราก็จะต้องเกย่ี วข้องกับประโยชน์ของคนอ่นื ดว้ ย ไม่ใชว่ ่าเราไดป้ ระโยชน์แลว้ คนอื่นเสียประโยชน์ แลว้ ประโยชน์ส่วนรวมเสียไป แลว้ จะทาให้เรานน้ั ได้ประโยชน์อยู่คนเดียวนน้ั เป็นสง่ิ ท่เี ปน็ ไปไม่ได้ เพราะฉะน้ันประโยชนท์ แ่ี ท้จริง คือ ประโยชนส์ ว่ นรวมก็ต้องมาจากประโยชนส์ ว่ นตวั ของแตล่ ะคน ดว้ ย ถา้ แต่ละคนไดร้ ับประโยชนส์ ่วนตวั หมดทกุ คน กท็ าให้สว่ นรวมไดร้ ับประโยชน์นน้ั ดว้ ย ถา้ ประโยชน์ สว่ นตัวนั้นเปน็ ไปเพือ่ ประโยชนส์ ว่ นรวม เพราะฉะนนั้ ก่อนอื่นตอ้ งเข้าใจวา่ ประโยชนข์ องเราสว่ นตัวทาให้สว่ นรวมได้ประโยชน์หรอื เปล่า หรือ ถ้าประโยชนส์ ว่ นตวั ของเราน้ัน ไม่ทาใหเ้ กิดประโยชนแ์ กส่ ่วนรวมเลย อันน้ันกไ็ ม่มที างสาเร็จได้ แต่ถ้า ประโยชนข์ องเราซึ่งเป็นส่วนตวั เปน็ ประโยชน์ของสว่ นรวมดว้ ย ต่างคนตา่ งช่วยกัน ทาให้ได้ทัง้ ประโยชน์ ส่วนรวมและประโยชน์สว่ นตัวด้วย อนั น้นั ก็จะไดป้ ระโยชนท์ ง้ั ๒ ฝา่ ย แต่ก่อนที่จะถึงขัน้ น้ีได้ กจ็ ะต้องมคี วามขดั แยง้ หรือมปี ญั หา เพราะว่าคนเราคดิ ไมเ่ หมอื นกัน เพราะฉะนนั้ ก่อนอ่นื ก็จะต้องเรม่ิ ดว้ ย มคี วามจรงิ ใจต่อประโยชน์สว่ นรวม เมือ่ มคี วามจรงิ ใจต่อประโยชน์ ส่วนรวม ก็รับฟังความเห็นของคนอื่น ไม่ใชค่ วามเห็นของตนเองเท่าน้นั เพ่อื ประโยชน์ส่วนรวมจรงิ ๆ
- 79 - แบบสงั เกตพฤติกรรม “รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ “ซือ่ สัตยส์ ุจรติ ” คาชแ้ี จง ทาเครอ่ื งหมาย ในชอ่ งทต่ี รงกับความเป็นจรงิ ตามเกณฑก์ ารประเมิน ยนื่ ตรงเคารพธง ปฏิบตั ติ ามสิทธิ รวม ผลการประเมนิ ชาติ ร้องเพลง และหนา้ ที่ คะแนน เลขท่ี ช่ือ - สกลุ ชาติและอธบิ าย ความหมายของ พลเมอื งดขี องชาติ เพลงชาติได้ ผ่าน ไม่ผา่ น ๓๒๑๐๓๒๑๐ 6 (ลงชอ่ื )...................................ครูผู้ประเมิน (…………………………………………………) ............../................./.............
- 80 - แบบสังเกตพฤตกิ รรม “ซ่อื สตั ยส์ จุ ริต” “ซื่อสัตย์สุจรติ ” คาชแ้ี จง ทาเครอ่ื งหมาย ในชอ่ งทต่ี รงกบั ความเปน็ จรงิ ตามเกณฑ์การประเมิน ไม่ถอื เอาส่ิงของ รวม ผลการประเมิน คะแนน ชอ่ื - สกลุ ให้ขอ้ มูลทถ่ี ูกต้อง หรือผลงานคนอืน่ เลขท่ี และเป็นจรงิ มาเปน็ ของตนเอง ผา่ น ไมผ่ า่ น ๓๒๑๐๓๒๑๐ (ลงช่อื )...................................ครผู ู้ประเมิน (…………………………………………………) ............../................./.............
- ๘๑ - แบบสงั เกตพฤติกรรม “ใฝเ่ รยี นรู้” คาช้ีแจง ทาเคร่ืองหมาย √ ลงในชอ่ งท่ตี รงกบั ความเปน็ จรงิ ตามเกณฑก์ ารประเมิน ผลการ เลขท่ี ช่ือ-สกลุ ตั้งใจเรยี น เอาใจใส่และ สนใจเขา้ รว่ ม รวม ประเมนิ มคี วามเพียร กิจกรรม คะแ พยามในการ เรียนรู้ต่างๆ นน เรยี นรู้ 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 9 ผ่า ไม่ น ผ่า น (ลงชอ่ื )...................................ครผู ู้ประเมิน (…………………………………………………) ............../................./.............
- ๘๒ - แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี ๑ ชอ่ื หน่วย การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 2 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 6 เรื่องการขัดกันระหวา่ งประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์สว่ นรวม (ชุมชน สงั คม) เวลา ๑ ชวั่ โมง 1. ผลการเรียนรู้ 1.16มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเก่ยี วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกบั ผลประโยชน์ สว่ นรวม 1.17สามารถคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวมได้ 1.18ตระหนักและเหน็ ความสาคญั ของการต่อต้านและป้องกันการทจุ ริต 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ นกั เรียนสามารถ 2.1 มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนกับผลประโยชน์สว่ นรวม 2.2 สามารถคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชน์สว่ นรวมได้ 2.3 ตระหนักและเห็นความสาคัญของการต่อต้านและป้องกนั การทุจรติ 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 ความรู้ นกั เรยี นสามารถใชค้ วามร้เู บ้อื งต้นเก่ียวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ในการ อธบิ ายรปู แบบและวธิ ีการปฏิบตั ิงานในลักษณะการจัดป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริต ตระหนัก ถึงความรา้ ยแรงของการทจุ ริต และมีจิตสานกึ ความเปน็ พลเมืองดปี ้องกนั และต่อตา้ นการทุจรติ เป็น ผมู้ คี วามซือ่ สัตย์ สจุ ริต การมีจิตสาธารณะ มีความเปน็ ธรรมทางสังคม แสดงออกทางการกระทา อยา่ งรับผดิ ชอบ และการเปน็ อย่อู ย่างพอเพียง 1) ทฤษฎี ความหมาย และรูปแบบของการขัดกนั ระหว่างประโยชน์สว่ นตนกบั ประโยชน์ ส่วนรวม (Conflict of interest) 2) ความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง “การขดั กันระหว่างประโยชนส์ ่วนตนกับประโยชน์ส่วนรวม” “จริยธรรม” และ “การทุจรติ 3) รปู แบบของการขดั กันระหว่างประโยชนส์ ่วนตนและประโยชน์สว่ นรวม 3.2 ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทเ่ี กดิ ) 1) ความสามารถในการสื่อสาร 1)ทกั ษะการวเิ คราะห์ 2) ทกั ษะกระบวนการคดิ ตัดสินใจ 3) ทักษะการนาความรู้ ไปใช้ 2) ความสามารถในการคิด (วิเคราะห์ จดั กลมุ่ สรปุ ) 3) ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ 3.3 คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ / คา่ นยิ ม 1) มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ 2) ซ่อื สตั ย์ เสียสละ อดทน มีจติ สาธารณะ มีอดุ มการณ์ในส่งิ ที่ดงี ามเพือ่ สว่ นรวม 3) กตญั ญตู ่อพ่อแม่ ผูป้ กครอง ครูบาอาจารย์ 4) ใฝ่หาความรู้ หม่ันศึกษาเล่าเรียนทง้ั ทางตรง และทางอ้อม
- ๘๓ - 5) รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอนั งดงาม 6) มีศลี ธรรม รกั ษาความสตั ย์ หวงั ดีตอ่ ผอู้ ื่น เผอื่ แผ่และแบ่งปัน 7) เขา้ ใจเรยี นรกู้ ารเป็นประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขท่ีถูกต้อง 8) มีระเบียบวินยั เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จกั การเคารพผ้ใู หญ่ 9) มีสติรู้ตัว รูค้ ิด รู้ทา ปฏิบตั ติ ามพระราชดารัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว 10) รู้จักดารงตนอยโู่ ดยใชห้ ลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งตามพระราชดารสั ของ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ร้จู กั อดออมไวใ้ ชเ้ ม่ือยามจาเป็น มีไวพ้ อกินพอใช้ถ้าเหลอื ก็แจกจ่าย จาหนา่ ย และพร้อมทจ่ี ะขยายกิจการเมื่อมีความพร้อม เมื่อมีภมู คิ ุ้มกันท่ีดี 11) มคี วามเข้มแขง็ ทงั้ รา่ งกายและจิตใจไมย่ อมแพต้ อ่ อานาจฝา่ ยตา่ หรือกเิ ลส มคี วาม ละอายเกรงกลวั ต่อบาปตามหลกั ของศาสนา ๑๒) กระทาอย่างรบั ผดิ ชอบ ๑๓) มคี วามเป็นธรรมในสังคม 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 ข้นั ตอนการเรยี นรู้ วิธีสอนแบบ สบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) ขั้นที่ ๑ กระตนุ้ ความสนใจ 1. ครูนาวดี ีโอข่าวและสอื่ การสอนประกอบคาบรรยาย(ppt)ทีเ่ ก่ยี วกบั การขดั กันระหวา่ งประโยชน์ สว่ นตนและประโยชนส์ ่วนรวมมาให้นกั เรยี นดแู ละช่วยกันวิเคราะห์หัวข้อขา่ ววา่ การกระทาใดเปน็ การกระทาท่ีเปน็ ผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์ตอ่ สว่ นรวมและขดั กันอยา่ งไร โดยการ จดั การเรยี นการสอนโดยการบรรยาย ฉายภาพยนตร์เกีย่ วกับความรู้เกีย่ วกับการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริต และศึกษากรณตี วั อยา่ งของปัญหาที่เกดิ ขึ้น 1) ข่าวคณบดีคณะแพทยศ์ าสตร์ วชิรพยาบาลโดยฟอ้ งฐานเปน็ เจ้าพนกั งานปฎบิ ตั ิหน้าท่ี โดยทุจริต นาทรพั ย์สนิ ของหลวงไปใช้ส่วนตัว 2. นักเรยี นแตล่ ะคนจะแสดงความคดิ เห็นพร้อมอธิบายเหตผุ ลแตกต่างกันไป ครรู ่วมอภิปรายวา่ เป็น การใช้อานาจหนา้ ท่ีท่ีผิด ๒. ใหน้ ักเรยี นศึกษาใบความรู้เรอ่ื งการขดั กนั ระหวา่ งประโยชน์สว่ นตนและประโยชนส์ ว่ นรวม(ชมุ ชน สงั คม) 3. ครอู ธบิ ายใหน้ กั เรียนรู้ ทฤษฎี ความหมาย และรูปแบบของการขัดกันระหว่างประโยชน์สว่ นตน กับประโยชนส์ ่วนรวม (Conflict of interest) พร้อมทงั้ เช่อื มโยงให้นกั เรียนเข้าใจถึงรูปแบบและ ความสมั พันธร์ ะหว่าง “การขัดกนั ระหวา่ งประโยชนส์ ่วนตนกบั ประโยชนส์ ว่ นรวม” “จริยธรรม” และ “การทจุ ริตของการขัดกันระหวา่ งประโยชน์สว่ นตนกับประโยชนส์ ่วนรวม ขน้ั ท่ี ๒ สารวจค้นหา 1. นักเรยี นแบ่งกลุม่ กล่มุ ละ 5-7 คน ตามความสมคั รใจใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้ เรอื่ ง รูปแบบและความสัมพันธ์ระหวา่ ง “การขดั กันระหวา่ งประโยชนส์ ่วนตนกับประโยชน์ สว่ นรวม” “จรยิ ธรรม” และ “การทจุ รติ ของการขัดกนั ระหว่างประโยชนส์ ่วนตนกับประโยชน์ สว่ นรวม จากใบความรู้และหนงั สือค้นควา้ เพิม่ เติมจากห้องสมุด และแหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ อินเตอรเ์ น็ต แลว้ นาความรทู้ ไ่ี ด้จากการศึกษามาอภิปรายในช้นั เรียนร่วมกนั
- ๘๔ - 2. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิด ขน้ั ท่ี 3 อธบิ ายความรู้ 1. สมาชิกแตล่ ะกลมุ่ นาความรทู้ ไ่ี ด้จากการศึกษาเรื่อง การขดั กันระหว่างประโยชนส์ ่วนตนและ ประโยชนส์ ่วนรวม(ชุมชน สงั คม) มาอธิบายให้สมาชกิ คนอื่นๆ ภายในกลมุ่ ฟัง ในประเด็นตอ่ ไปนี้ ๑) ทฤษฎี ความหมาย และรูปแบบของการขดั กนั ระหว่างประโยชนส์ ว่ นตนกบั ประโยชน์ สว่ นรวม (Conflict of interest) 2) ความสมั พนั ธร์ ะหว่าง “การขดั กันระหว่างประโยชนส์ ่วนตนกบั ประโยชนส์ ว่ นรวม” “จรยิ ธรรม” และ “การทจุ ริต 3) รปู แบบของการขดั กนั ระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชนส์ ่วนรวม ๔) การกระทาท่เี ป็นประโยชนส์ ่วนตน ๕) การกระทาท่เี ป็นประโยชน์ส่วนรวม 2. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคดิ ขั้นท่ี 4 ขยายความเข้าใจ 1. สมาชิกในกลุ่มร่วมกันทาใบงานที่ ๑ เรอื่ ง ทฤษฎี ความหมาย และรปู แบบของการขัดกนั ระหว่าง ประโยชนส์ ว่ นตนกบั ประโยชนส์ ว่ นรวม (Conflict of interest) 2) สมาชิกในกล่มุ รว่ มกันทาใบงานที่ ๒ เร่อื งความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง “การขัดกันระหวา่ งประโยชน์ สว่ นตนกบั ประโยชนส์ ่วนรวม” “จริยธรรม” และ “การทจุ ริต 3) สมาชกิ ในกลุม่ ร่วมกันทาใบงานที่ ๓ เรอ่ื งรปู แบบของการขดั กันระหวา่ งประโยชน์ส่วนตนและ ประโยชนส์ ว่ นรวม 2. สมาชิกในกลุม่ รว่ มกันตรวจสอบความถูกต้อง พร้อมทั้งปรับปรงุ แก้ไขคาตอบในใบงานที่ 1-๓ 3. นักเรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคดิ ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล 1. ครูและนกั เรยี นช่วยกันเฉลยคาตอบในใบงานท่ี ท่ี 1-๓โดยให้สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มเปน็ ผู้ ตรวจสอบความถูกต้อง 2. ครมู อบหมายให้นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ หาข่าวเกี่ยวกับบุคคลที่มกี ารกระทาทส่ี อดคล้องกับการปฏบิ ตั ิ ตนตามสทิ ธแิ ละเสรีภาพของประชาชนชาวไทยผลประโยชน์สว่ นรวมและผลประโยชน์สว่ นตน 4.2 ส่อื การเรยี นรู้ / แหล่งการเรยี นรู้ 1) เอกสารประกอบคาบรรยาย(ppt) ๒) วดี ีโอ เรือ่ งMOST –The Bridge v.2 ไทย ๓) Paoboonjin (รบั ทรัพย์สิน+เป็นคสู่ ัญญา) ๔) ขา่ วตะลึงเบญจมฯเมือนคอนข้นึ ป้ายยกเลกิ เด็กฝากเข้าเรยี น/ข่าวจากเว็บ DMCTODAY ๕) วดี ีโอร้ทู นั การโกง ตอนผลประโยชนท์ บั ซ้อน ภยั เงียบทาลายชาติ/สถาบนั พระปกเกลา้ 5. การประเมินผลการเรยี นรู้ 5.1 วิธีการประเมิน ๑. ตรวจใบงาน ที่ 1-๓ ๒. สงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล
- ๘๕ - ๓. สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๔. สงั เกตความมีวนิ ัย ใฝ่เรียนรู้ และมงุ่ มน่ั ในการทางาน ๕.๒ เคร่อื งมอื ท่ีใชใ้ นการประเมิน ๑.ตรวจใบงานที่ 1-๓ ๒. แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล ๓. แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ ๔. แบบประเมินคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ 5.3 เกณฑก์ ารตัดสนิ ๑. ตรวจใบงานท่ี 1-๓ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ๒. ตรวจแบบบนั ทกึ การอ่าน ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ๓. สงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ๔. สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุม่ ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ๕. สังเกตความมีวนิ ัย ใฝ่เรียนรู้ และมุง่ มัน่ ในการทางาน ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ 6. บันทกึ หลงั สอน ......................................................................................................................................................... .... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. ................................................. .................................................................................................... ...................... ..................................................................................................................................... ...................................... ลงชอ่ื ................................................ ครูผู้สอน (.................................................)
- ๘๖ - ใบงานที่ ๑ เร่ือง ทฤษฎี ความหมาย และรปู แบบของการขัดกนั ระหว่างประโยชน์สว่ นตนกับประโยชน์สว่ นรวม (Conflict of interest) คาช้ีแจง ให้นักเรยี นวิเคราะห์ข้อความตอ่ ไปนแ้ี ลว้ ตอบคาถามโดยศกึ ษาหาคาตอบจากใบความร้แู ลว้ ให้ นักเรยี นนามาเขียนเป็นแผนผังความคิด(Mind Mapping) 1. ความหมาย และรูปแบบของการขดั กนั ระหว่างประโยชน์ส่วนตนกบั ประโยชน์สว่ นรวม (Mind Mapping)
- ๘๗ - ใบงานที่ ๒ เรอ่ื งความสัมพันธ์ระหว่าง “การขัดกันระหวา่ งประโยชน์สว่ นตนกับประโยชนส์ ่วนรวม” “จรยิ ธรรม” และ “การทุจรติ คาชแ้ี จง ให้นกั เรียนวิเคราะห์ข้อความตอ่ ไปนแ้ี ล้วตอบคาถามโดยศึกษาหาคาตอบจากใบความรแู้ ลว้ ให้ นกั เรยี นนามาเขยี นเป็นแผนผังความคิด(Mind Mapping) ๑. ความหมายของความสมั พันธร์ ะหวา่ ง “การขดั กันระหว่างประโยชนส์ ว่ นตนกับประโยชน์ สว่ นรวม”คอื อะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ความสมั พนั ธร์ ะหว่าง “การขดั กนั ระหว่างประโยชนส์ ว่ นตนกบั ประโยชนส์ ่วนรวม” “จรยิ ธรรม” และ “การทุจรติ สัมพนั ธ์กนั อย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
- ๘๘ - (Mind Mapping)
- ๘๙ - ใบงานที่ ๓ เรอ่ื งรปู แบบของการขัดกันระหวา่ งประโยชนส์ ่วนตนและประโยชนส์ ่วนรวม คาช้ีแจง ให้นกั เรยี นวิเคราะห์ข้อความตอ่ ไปนี้แลว้ ตอบคาถามโดยศึกษาหาคาตอบจากใบความร้แู ล้วให้ นกั เรียนนามาเขียนเปน็ แผนผังความคิด(Mind Mapping) ๑. รปู แบบของการขัดกนั ระหว่างประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชน์สว่ นรวมมีก่ีรูปแบบ ๒. การแกท้ ุจรติ มีวิธกี ารคดิ แยกแยะและปรับวธิ ีคดิ อย่างไร
- ๙๐ - (Mind Mapping)
- ๙๑ - แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานของผูเ้ รยี นเปน็ รายบุคคล กลุม่ ท…่ี ….......... คาชแ้ี จง ผ้สู อนสังเกตการทางานของผู้เรยี น โดยทาเคร่ืองหมายถูกลงในชอ่ งท่ีตรงกับความเป็นจริง พฤติกรรม ความสนใจ การมสี ว่ น การรับฟงั การตอบ ความรบั ผิด รวม ในการเรียน ร่วมแสดง ความคดิ คาถาม ชอบต่องาน คะแน ช่ือ-สกุล ความคดิ เหน็ ของผู้ ท่ีได้รบั มอบ 1 210 เห็นในการ 210 น 2 อภิปราย อ่นื หมาย 3 10 4 210 210 210 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 เกณฑ์การประเมนิ ใหค้ ะแนน 0-4 ถ้าการทางานน้นั อย่ใู นระดบั ต้องปรบั ปรุง ให้คะแนน 5-7 ถา้ การทางานนน้ั อยู่ในระดับพอใช้ ให้คะแนน 8-10 ถ้าการทางานน้ันอยู่ในระดบั ดี ลงช่ือ…………………………………………………… (…………………………………………………..) ผปู้ ระเมนิ
- ๙๒ - ใบความรทู้ ่ี ๑ เรอ่ื งการคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวม สาเหตุของการทจุ ริตและทศิ ทางการปอ้ งกันการทุจรติ ในประเทศไทย การทจุ รติ เป็นหนึง่ ในประเด็นทีท่ ั่วโลกแสดงความกงั วล อันเน่อื งมาจากเป็นปญั หาท่ีมคี วามซับซ้อน ยากตอ่ การจดั การและเกย่ี วข้องกับทกุ ภาคส่วน เปน็ ท่ียอมรบั กนั วา่ การทจุ รติ นนั้ มคี วามเป็นสากล เพราะมี การทุจริตเกิดขึน้ ในทุกประเทศ ไม่วา่ จะเปน็ ประเทศที่พัฒนาแล้วหรือประเทศที่กาลงั พัฒนา การทจุ รติ เกิดขึน้ ท้ังในภาครัฐและภาคเอกชน หรอื แมก้ ระทัง่ ในองคก์ รท่ีไมแ่ สวงหาผลกาไรหรอื องค์กรเพื่อการกศุ ล ใน ปัจจุบนั การกลา่ วหาและการฟ้องร้องคดี การทจุ ริตยังมบี ทบาทสาคัญในด้านการเมอื งมากกวา่ ชว่ งท่ผี า่ นมา รฐั บาลในหลาย ประเทศมผี ลการปฏิบัตงิ านท่ีไม่โปร่งใสเท่าทค่ี วร องค์กรระดับโลก หลายองค์กรเส่อื มเสยี ช่อื เสียง เนอ่ื งมาจากเหตุผลด้านความโปร่งใส สือ่ มวลชนท่ัวท้งั โลกตา่ งเฝา้ รอท่จี ะไดน้ าเสนอข่าวอ้ือฉาวและ การประพฤตผิ ดิ จริยธรรมดา้ นการทุจรติ โดยเฉพาะบุคคลซง่ึ ดารงตาแหนง่ ระดบั สูงต่างถูกเฝ้าจับจอ้ งว่าจะถูก สอบสวนเมื่อใด อาจกล่าวได้ว่าการทจุ รติ เป็นหนึ่งในปัญหาใหญท่ ่จี ะขัดขวางการพฒั นาประเทศให้เปน็ รัฐสมยั ใหม่ ซงึ่ ตา่ งเป็นที่ทราบกนั ดีว่าการทจุ ริตควรเปน็ ประเด็นแรก ๆ ทีค่ วรให้ความสาคญั ในวาระของการ พัฒนาประเทศของทุกประเทศ เห็นได้ชัดว่าการทุจรติ ส่งผลกระทบอยา่ งมากกับการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศที่กาลงั พฒั นา เชน่ เดยี วกนั กบั กลมุ่ ประเทศในภูมภิ าคเอเชยี แปซฟิ ิกก็มีความ กังวลในปัญหาการทจุ ริตด้วยเชน่ เดยี วกัน โดยเห็นพ้องต้องกนั วา่ การทจุ รติ เป็นปัญหาใหญท่ ี่กาลงั ขดั ขวางการ พฒั นาเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ให้ก้าวไปสรู่ ัฐสมยั ใหม่ และควรเป็นปญั หาทีค่ วรจะตอ้ งรบี แก้ไขโดยเร็ว ท่สี ดุ การทุจริตน้นั อาจเกิดข้นึ ไดใ้ นประเทศทม่ี ีสถานการณ์ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1) มีกฎหมาย ระเบียบ หรอื ข้อกาหนด จานวนมากทเ่ี ก่ยี วข้องกบั การดาเนนิ การทางธรุ กิจ ซง่ึ จะเป็นโอกาสทจี่ ะทาให้เกิดเศรษฐผล หรือมลู ค่าเพิ่ม หรอื กาไรสว่ นเกินทางเศรษฐกิจ และโดยเฉพาะอย่างยิง่ หากมาตรการหรือข้อกาหนดดังกล่าวมีความซบั ซ้อน คลุมเครือ เลือกปฏบิ ตั ิ เปน็ ความลับหรอื ไม่โปร่งใส 2) เจา้ หนา้ ท่ผี ู้มอี านาจมีสทิ ธขิ์ าดในการใชด้ ลุ ยพินจิ ซึ่ง ให้อิสระในการเลือกปฏบิ ตั ิเป็นอย่างมากว่าจะเลือกใช้อานาจใด กับใครก็ได้ 3) ไม่มกี ลไกท่มี ีประสิทธภิ าพ หรือองคก์ รท่ีมหี น้าท่ีควบคมุ ดูแลและจัดการต่อการกระทาใด ๆ ของเจ้าหน้าทีท่ ่ีมอี านาจโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประเทศทก่ี าลงั พัฒนา การทุจรติ มีแนวโน้มทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ ได้อย่างมาก โดยไม่ใชเ่ พยี งเพราะวา่ ลกั ษณะประชากร นน้ั แตกตา่ งจากภูมภิ าคอืน่ ที่พฒั นาแลว้ หากแตเ่ ป็นเพราะกลมุ่ ประเทศที่กาลงั พฒั นานนั้ มปี จั จัยภายในต่างๆ ท่ีเอ้ือหรือสนับสนนุ ต่อการเกิดการทจุ ริต อาทิ 1) แรงขบั เคล่อื นท่ีอยากมรี ายได้ เปน็ จานวนมากอนั เปน็ ผล เนื่องมาจากความจน คา่ แรงในอตั ราที่ต่า หรือมีสภาวะความเส่ยี งสงู ในด้านต่าง ๆ เชน่ ความเจ็บป่วย อบุ ตั เิ หตุ หรอื การวา่ งงาน 2) มสี ถานการณ์หรอื โอกาสท่ีอาจก่อใหเ้ กิดการทุจรติ ได้เปน็ จานวนมาก และมี กฎระเบยี บต่างๆ ท่ีอาจนาไปสู่การทจุ ริต 3) การออกกฎหมายและกระบวนการยตุ ธิ รรมทไ่ี มเ่ ข้มแขง็ 4) กฎหมายและประมวลจรยิ ธรรมไม่ไดร้ ับการพฒั นาให้ทันสมยั 5) ประชากรในประเทศยังคงจาเป็นต้องพง่ึ พา ทรพั ยากรธรรมชาติอยู่เป็นจานวนมาก 6) ความไม่มเี สถียรภาพทางการเมือง และเจตจานงทางการเมืองที่ไม่ เขม้ แข็ง ปจั จยั ตา่ ง ๆ ดังกลา่ ว จะนาไปสู่การทุจรติ ไม่วา่ จะเป็นทจุ ริตระดบั บนหรือระดับล่างก็ตาม ซึ่งผลท่ี ตามมาอยา่ งเหน็ ได้ชดั เจนมีด้วยกนั หลายประการ เช่น การทจุ ริตทาให้ภาพลักษณข์ องประเทศด้านความ โปร่งใสนน้ั เลวรา้ ยลง การลงทุนในประเทศโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ จากนักลงทุนต่างชาติลดน้อยลง สง่ ผลกระทบ ทาให้การเตบิ โตทางเศรษฐกิจลดน้อยลงไปดว้ ยเชน่ กัน หรือการทุจรติ ทาใหเ้ กิดช่องว่างของความไมเ่ ทา่ เทยี ม ทีก่ ว้างขน้ึ ของประชากรในประเทศหรืออีกนัยหนงึ่ คอื ระดบั ความจนนัน้ เพิ่มสูงขน้ึ ในขณะทกี่ ลุ่มคนรวย กระจุกตวั อยูเ่ พียงกลุ่มเล็ก ๆ กล่มุ เดยี ว นอกจากน้ี การทุจรติ ยงั ทาใหก้ ารสร้างและปรบั ปรงุ สาธารณปู โภค ตา่ ง ๆ ของประเทศนนั้ ลดลงทง้ั ในดา้ นปรมิ าณและคณุ ภาพ รวมท้งั ยงั อาจนาพาประเทศไปสู่วิกฤติทางการ
- ๙๓ - เงนิ ทีร่ า้ ยแรงได้อีกด้วย การเปลยี่ นแปลงวธิ คี ิด (ParadigmShift) จึงเป็นเร่ืองสาคญั อย่างมาก ต่อการ ดาเนนิ งานดา้ นการตอ่ ต้านการทุจริต ตามคาปราศรยั ของประธานที่ได้กล่าวต่อทีป่ ระชมุ องค์การ สหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมรกิ า เมื่อปี พ.ศ. 2558 วา่ “การทจุ รติ เปน็ หน่ึงในความทา้ ทายที่มี ความสาคัญมากในศตวรรษท่ี 21 ผนู้ าโลกควรจะเพมิ่ ความพยายามขนึ้ เปน็ สองเทา่ ทีจ่ ะสรา้ งเครือ่ งมอื ที่มี ความเขม้ แขง็ เพอ่ื ร้ือระบบการทุจริตท่ซี อ่ นอยู่ออกให้หมดและนาทรัพยส์ นิ กลบั คนื ให้กับประเทศ ตน้ ทางท่ี ถกู ขโมยไป…”ทั้งน้ี ไม่เพียงแตผ่ นู้ าโลกเท่านัน้ ทีต่ ้องจรงิ จงั มากขึน้ กับ การต่อต้านการทุจริตเราทุกคนในฐานะประชากรโลกก็มี ความจาเป็นที่จะต้องเอาจรงิ เอาจังกบั การต่อต้านการทุจริตเช่นเดียวกัน โดยทั่วไปอาจมองวา่ เป็นเรอื่ งไกลตัว แต่แทท้ จี่ รงิ แลว้ การทจุ รติ นนั้ เปน็ เรอื่ งใกลต้ วั ทกุ คนในสังคมมาก การเปลยี่ นแปลงระบบวิธีการคิดเป็นเรอ่ื ง สาคัญ หรือความสามารถในการการแยกแยะระหว่างประโยชนส์ ่วนตนออกจากประโยชน์ส่วนรวม เป็นส่งิ จาเป็นที่จะต้องเกดิ ขึ้นกบั ทุกคนในสังคม ต้องมีความตระหนักได้วา่ การกระทาใดเป็นการลว่ งล้า สาธารณประโยชน์ การกระทาใดเปน็ การกระทาที่อาจเกิดการทับซ้อนระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตน และ ประโยชน์สว่ นรวม ต้องคานึงถึงประโยชน์ของประเทศชาติเป็นอนั ดบั แรกก่อนทจ่ี ะคานงึ ถึงผลประโยชนส์ ว่ น ตนหรอื พวกพ้อง การทจุ รติ ในสังคมไทยระหวา่ งชว่ งกว่าทศวรรษท่ีผา่ นมาส่งผลเสียต่อประเทศอย่างมหาศาลและเป็นอุปสรรค สาคัญตอ่ การพฒั นาประเทศในทุกมิติ รูปแบบการทจุ ริตจากเดิมที่เป็นการทุจริตทางตรงไม่ซับซ้อน อาทิ การ รับสินบน การจัดซื้อจัดจ้าง ในปัจจุบันได้ปรับเปล่ียนเป็นการทุจริตที่ซับซ้อนมากขึ้น ตัวอย่างเช่น การ ทจุ รติ โดยการทาลายระบบการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ การกระทาท่ีเป็น การขัดกันแห่งผลประโยชน์หรือ ผลประโยชน์ทับซ้อน และการทุจริตเชิงนโยบาย ประเทศไทยมีความพยายามแก้ไขปัญหาการทุจริตโดย หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้ร่วมกันสร้างเครื่องมือกลไก และกาหนดเป้าหมายสาหรับการปฏิบัติงานด้านการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริต เร่ิมต้ังแต่ช่วงปี พ.ศ.2551 จนถึงปัจจุบัน การดาเนินงานได้สร้างความ ตื่นตัวและเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตตามบทบาทของแต่ละหน่วยงาน จึงมี ความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องปรับฐานความคิดและสร้างความตระหนักรู้ให้ทุกภาคส่วนของสังคม สาหรับ ประเทศไทยได้กาหนดทิศทางการป้องกันและปราบปรามการทุจริตซึ่งมีความสอดคล้องกับสถานการณ์ ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และความรุนแรง รวมถึงการสร้างความตระหนักในการประพฤติ ปฏิบัติตนด้วยความซ่ือสัตย์สุจริตของคนในสังคม ทั้งนี้ สานักงาน ป.ป.ช. ในฐานะองค์กรหลักด้านการ ดาเนินงานป้องกันและปราบปรามการทุจริต รวมทั้งบูรณาการการทางานด้านการต่อต้านการทุจริตเข้ากับ ทุกภาคส่วน ดังน้ัน สาระสาคัญที่มีความเชื่อมโยงกับทิศทางการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ที่ สานักงาน ป.ป.ช. มีดังนี้ 1. รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2560 2. วาระการปฏริ ูปท่ี 1 การปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมชิ อบของสภา ปฏิรปู แห่งชาติ 3. ยุทธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) 4. แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) 5. โมเดลประเทศไทยสู่ความมน่ั คง มัง่ ค่งั และย่ังยืน (Thailand 4.0) 6. ยทุ ธศาสตร์ชาตวิ ่าด้วยการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2564)
- ๙๔ - รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทยพทุ ธศกั ราช 2560กาหนดในหมวดที่ 4 หน้าท่ีของประชาชนชาว ไทยวา่ “...บุคคลมีหนา้ ที่ ไม่ร่วมมือหรือสนับสนุนการทุจริต และประพฤตมิ ิชอบทุกรูปแบบ” ถือได้ว่าเป็นคร้ัง แรกที่รัฐธรรมนูญได้กาหนดให้การป้องกันและปราบปรามการทุจริตเป็นหน้าที่ของประชาชนชาวไทยทุกคน นอกจากนี้ ยังกาหนดชัดเจนในหมวดที่ 5 หน้าท่ีของรัฐว่า “รัฐต้องส่งเสริม สนับสนุน และให้ความรู้แก่ ประชาชนถึงอันตรายทเ่ี กิดจากการทุจริตและประพฤติมิชอบท้ังภาครัฐและภาคเอกชนและจัดให้มีมาตรการ และกลไกท่ีมีประสิทธิภาพเพ่ือป้องกันและขจัดการทุจริต และประพฤติมิชอบดังกล่าวอย่างเข้มงวด รวมทั้ง กลไกในการส่งเสริมให้ประชาชนรวมตัวกัน เพื่อมีส่วนร่วมในการรณรงค์ให้ความรู้ต่อต้านการทุจริต หรือช้ี เบาะแส โดยได้รับความคมุ้ ครองจากรัฐตามทีก่ ฎหมายบัญญัติ” การบริหารราชการแผ่นดินรัฐต้องเสริมสร้าง ให้ประชาชนได้รับบริการท่ีสะดวก มีประสิทธิภาพที่สาคัญ คือ ไม่เลือกปฏิบัติตามหลักการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี ซึ่งการบริหารงานบุคคลของหน่วยงานของรัฐต้องเป็นไปตามระบบคุณธรรมตามท่ีกฎหมาย บัญญัติ โดยอย่างน้อยต้องมีมาตรการป้องกันมิให้ผู้ใดใช้อานาจหรือกระทาการโดยมิชอบแทรกแซงการ ปฏิบัติหน้าท่ี หรือกระบวนการแต่งตั้ง หรือการพิจารณาความดีความชอบของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ และรัฐต้อง จัดให้มีมาตรฐานทางจริยธรรม เพ่ือให้หน่วยงานใช้เป็นหลักในการกาหนดประมวลจริยธรรมสาหรับ เจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน ซึ่งต้องไม่ต่ากว่ามาตรฐานทางจริยธรรมดังกล่าว การท่ีรัฐธรรมนูญได้ให้ความสาคัญ ต่อการบริหารราชการทม่ี ีประสิทธิภาพและการบริหารบุคคลที่มีคุณธรรมนั้นสืบเน่ืองมาจากช่วงระยะเวลาที่ ผ่านมาได้เกิดปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการบริหารบุคคล มีการโยกย้ายแต่งต้ังท่ีไม่เป็นธรรม บังคับหรือช้ีนาให้ ข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐปฏิบัติงานโดยไม่ยึดมั่นในหลักผลประโยชน์แห่งรัฐ รวมถึงการมุ่งเน้นการ แสวงหาผลประโยชน์ให้กับตนเองรวมถึงพวกพอ้ งรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 จึง ไดม้ คี วามพยายามท่จี ะแสดงใหเ้ หน็ อยา่ งชดั เจนว่าต้องการสรา้ งประสิทธิภาพในระบบการบริหารงานราชการ แผ่นดินและเจ้าหน้าท่ีของรฐั ต้องยดึ ม่ันในหลกั ธรรมาภบิ าล และมีคุณธรรมจริยธรรมตามทก่ี าหนดเอาไว้ วาระการปฏิรูปท่ี 1 การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบของสภาปฏิรูป แห่งชาติสภาปฏิรูปแห่งชาติในฐานะองค์กรที่มีบทบาทและอานาจหน้าที่ในการปฏิรูปกลไก และปฏิบัติงาน ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ได้มีข้อเสนอเพ่ือปฏิรูปด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและ ประพฤติมิชอบ เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวให้เป็นระบบ มีประสิทธิภาพ ย่ังยืน เป็นรูปธรรมปฏิบัติได้ สอดคล้องกับมาตรฐานสากลและบริบทของสังคมไทย โดยเสนอให้มียุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหา 3 ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย (1) ยุทธศาสตร์การปลูกฝัง “คนไทย ไม่โกง”เพ่ือปฏิรูปคนให้มีจิตสานึก สร้าง จติ สานึกท่ตี วั บุคคลรบั ผิดชอบชั่วดีอะไรควรทา อะไรไม่ควรทา มองว่าการทุจริตเป็นเร่ืองน่ารังเกียจเป็นการ เอาเปรียบสังคมและสังคมไม่ยอมรับ (2) ยุทธศาสตร์การป้องกันด้วยการเสริมสร้างสังคมธรรมาภิบาล เพ่ือ เป็นระบบป้องกันการทุจริต เสมือนการสร้างระบบภูมิต้านทานแก่ทุกภาคส่วนในสังคม (3) ยุทธศาสตร์การ ปราบปราม เพ่ือปฏิรูประบบและกระบวนการจัดการต่อกรณีการทุจริตให้มีประสิทธิภาพ ให้สามารถเอาตัว ผ้กู ระทาความผดิ มาลงโทษได้ ซง่ึ จะทาใหเ้ กิดความเกรงกลวั ไม่กลา้ ทจี่ ะกระทาการทุจรติ ขน้ึ อีกในอนาคต ยทุ ธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศได้กาหนดให้ กฎหมายว่าด้วยยุทธศาสตร์ชาติมีผลบังคับภายในปี พ.ศ. 2559 หรือภายในรัฐบาลนี้ และกาหนดให้ หน่วยงานของรัฐทุกหน่วยงานนายุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ด้านต่างๆ แผนพัฒนาด้านต่างๆ มาเป็นแผน แม่บทหลักในการกาหนดแผนปฏิบัติการและแผนงบประมาณ ยุทธศาสตร์ชาติดังกล่าวเป็นยุทธศาสตร์ที่ยึด วัตถุประสงค์หลักแห่งชาติเป็นแม่บทหลัก ทิศทางด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต การสร้างความ โปร่งใสและธรรมาภิบาลในการบริหารราชการแผ่นดิน ของหน่วยงานภาครัฐทุกหน่วยงานจะถูกกาหนดจาก ยุทธศาสตรช์ าติ
- ๙๕ - สภาขับเคล่ือนการปฏิรูปแห่งชาติ วางกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ในระยะ 20 ปี โดยมีกรอบวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังค่ัง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง” คติพจน์ประจาชาติว่า “มั่นคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน” ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ คือ ยุทธศาสตร์ท่ี 1ความมั่นคง ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การ พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การสร้างโอกาสความเสมอภาคและ เท่าเทียมกันทาง สงั คม ยุทธศาสตร์ที่ 5การสรา้ งการเตบิ โตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และยุทธศาสตร์ท่ี 6การ ปรับสมดุลและพัฒนา การบริหารจัดการภาครัฐ ในยุทธศาสตร์ท่ี 6 ได้กาหนดกรอบแนวทางที่สาคัญ 6 แนวทาง ประกอบด้วย (1) การปรับปรุงการบริหารจัดการรายได้และรายจ่ายของภาครัฐ (2) การพัฒนา ระบบ การให้บริการประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ (3) การปรับปรุงบทบาท ภารกิจ และโครงสร้างของ หน่วยงานภาครัฐให้มีขนาดท่ีเหมาะสม (4) การวางระบบบริหารงานราชการแบบบูรณาการ (5) การพัฒนา ระบบบริหารจัดการกาลังคนและพัฒนาบุคลากรภาครัฐในการปฏิบัติราชการ (6) การต่อต้านการทุจริตและ ประพฤติมิชอบ (7) การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับให้มีความชัดเจน ทันสมัย เป็นธรรม และสอดคล้องกับข้อบังคับสากลหรือข้อตกลงระหว่างประเทศ ตลอดจนพัฒนาหน่วยงานภาครัฐและ บคุ ลากรที่มหี นา้ ท่เี สนอความเหน็ ทางกฎหมายให้มศี กั ยภาพ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 - 2564) กาหนดในยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริหารจัดการภาครัฐ การป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาลในสังคมไทย ใน ยุทธศาสตร์น้ี ไดก้ าหนดกรอบ แนวทางการการป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริตและคอรร์ ปั ชนั มุ่งเน้นการ สง่ เสริม และพฒั นาปลกู ฝังคา่ นยิ ม วัฒนธรรม วธิ ีคดิ และกระบวนทศั น์ใหค้ นมคี วามตระหนกั มีความรู้เท่าทัน และมีภูมิต้านทาน ต่อโอกาสและการชักจูงให้เกิดการทุจริตคอร์รัปชันและมีพฤติกรรมไม่ยอมรับการทุจริต ประพฤติมิชอบ รวมท้ังสนับสนุนทุกภาคส่วน ในสังคมได้เข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบรามการ ทุจริต และมุ่งเน้นให้เกิด การส่งเสริมธรรมาภิบาลในภาคเอกชน เพ่ือเป็นการตัดวงจรการทุจริตระหว่าง นักการเมือง ข้าราชการ และนักธุรกิจออกจากกัน ท้ังนี้ การบริหารงานของส่วนราชการต้องมีความโปร่งใส และตรวจสอบได้ โมเดลประเทศไทยสคู่ วามมั่นคง มัง่ คง่ั และย่ังยืน (Thailand 4.0) เป็นโมเดลท่ีน้อมนาหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวคิดหลักในการบริหารประเทศ ถอดรหัสออกมาเป็น 2 ยุทธศาสตร์สาคัญ คือ (1) การสร้างความเข้มแข็งจากภายใน (StrengthfromWithin) และ (2) การเช่ือมโยงกับประชาคมโลก ในยุทธศาสตร์ การสร้างความเขม้ แขง็ จากภายใน Thailand 4.0 เนน้ การปรับเปลีย่ น 4 ทศิ ทางและเน้นการ พัฒนาท่ีสมดุลใน 4 มิติ มิติท่ีหยิบยก คือ การยกระดับศักยภาพและคุณค่าของมนุษย์ (Human Wisdom) ดว้ ยการพฒั นาคนไทยให้เปน็ “มนษุ ยท์ ส่ี มบรู ณ”์ ผา่ นการปรบั เปลี่ยนระบบนเิ วศน์ การเรียนรู้เพื่อเสริมสร้าง แรงบนั ดาลใจบ่มเพาะความคดิ สรา้ งสรรค์ ปลูกฝังจติ สาธารณะ ยึดประโยชน์ส่วนรวมเป็นที่ตั้งมีความซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย มีคุณธรรมจริยธรรม มีความรับผิดชอบ เน้นการสร้างคุณค่าร่วม และค่านิยมท่ีดี คือ สังคมที่มี ความหวงั (Hope) สังคมที่เป่ยี มสขุ (Happiness) และสังคมท่ีมีความสมานฉนั ท์ (Harmony) ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ.2560 - 2564) ท่ี กาหนดวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้งชาติต้านทุจริต”(ZeroTolerance& Clean Thailand) กาหนดยุทธศาสตร์หลักออกเปน็ 6 ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่สาคัญ คือ ยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างสังคมที่ไม่ทน ต่อการทุจริต เป็นยุทธศาสตร์ท่ีมุ่งเน้นการกระบวนการปรับสภาพทางสังคมให้เกิดภาวะ “ไม่ทนต่อการ ทุจริต” โดยเร่ิมตั้งแต่กระบวนการกล่อมเกลาทางสังคม สร้างวัฒนธรรมต่อต้านการทุจริต ปลูกฝังความ พอเพยี ง มีวนิ ัย ซอื่ สตั ย์ สุจรติ มีจิตสาธารณะ จติ อาสา และความเสยี สละเพื่อส่วนรวม ปลูกฝังความคิดแบบ
- ๙๖ - ดิจิทัล (Digital Thinking) ให้สามารถคิดแยกแยะระหว่างประโยชน์ส่วนตัวและประโยชน์ส่วนรวม และ ประยุกตห์ ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเปน็ เคร่ืองมือตา้ นทุจรติ สาระสาคัญท้ัง 6 ด้านดังกล่าวจะเป็นเครื่องมือชี้นาทิศทางการปฏิบัติงานและการบูรณาการด้าน ต่อต้านการทุจริตของประเทศโดยมีสานักงาน ป.ป.ช. เป็นองค์กรหลักในการบูรณาการงานของภาคส่วนต่าง ๆ เขา้ ด้วยกัน และเพือ่ ใหเ้ ป็นไปในทศิ ทางเดยี วกัน ทฤษฎี ความหมาย และรูปแบบของการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนกับประโยชน์ส่วนรวม (Conflict of interest) คาว่า Conflict of Interest มีผู้ให้คาแปลเป็นภาษาไทยไว้หลากหลาย เช่น “การขัดกันแห่งผลประโยชน์ ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม” หรือ “การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม” หรือ “การขัดกันระหว่างผลประโยชน์สาธารณะและผลประโยชน์ส่วนตน” หรือ “ประโยชน์ทับซ้อน” หรือ “ผลประโยชน์ทับซ้อน” หรือ “ผลประโยชน์ขัดกัน” หรือบางท่านแปลว่า “ผลประโยชน์ขัดแย้ง” หรือ “ความขัดแย้งทางผลประโยชน์” การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนกับประโยชน์ส่วนรวม หรือท่ีเรียกว่า Conflict of Interest นั้นก็มี ลักษณะทานองเดยี วกันกับกฎศีลธรรม ขนบธรรมเนียมจารีตประเพณี หลักคณุ ธรรม จรยิ ธรรม กล่าวคือ การ กระทาใด ๆ ทเ่ี ปน็ การขดั กันระหวา่ งประโยชน์สว่ นตนกบั ประโยชน์ส่วนรวม เป็นส่ิงที่ควรหลีกเล่ียงไม่ควรจะ กระทา แต่บุคคลแต่ละคน แต่ละกลมุ่ แตล่ ะสังคม อาจเหน็ วา่ เรอื่ งใดเป็นการขัดกนั ระหว่างประโยชน์ส่วนตน กับประโยชน์ส่วนรวมแตกต่างกันไป หรือเม่ือเห็นว่าเป็นการขัดกันแล้วยังอาจมีระดับของความหนักเบา แตกต่างกัน อาจเหน็ แตกต่างกนั ว่าเรือ่ งใดกระทาไดก้ ระทาไม่ได้แตกต่างกันออกไปอีก และในกรณีที่มีการฝ่า ฝืนบางเรื่องบางคนอาจเหน็ ว่าไม่เป็นไร เป็นเรอ่ื งเลก็ น้อย หรอื อาจเห็นเป็นเรื่องใหญ่ ต้องถูกประณาม ตาหนิ ติฉนิ นนิ ทา วา่ กล่าว ฯลฯ แตกตา่ งกันตามสภาพของสงั คม โดยพ้ืนฐานแลว้ เร่อื งการขัดกนั ระหว่างประโยชนส่วนบคุ คลและประโยชน์ส่วนรวม เป็นกฎศีลธรรมประเภท หน่ึงที่บุคคลไม่พึงละเมิดหรือฝ่าฝืน แต่เน่ืองจากมีการฝ่าฝืนกันมากขึ้น และบุคคลผู้ฝ่าฝืนก็ไม่มีความเกรง กลัวหรือละอายต่อการฝ่าฝืนน้ัน สังคมก็ไม่ลงโทษหรือลงโทษไม่เพียงพอที่จะมีผลเป็นการห้ามการกระทา ดังกล่าว และในที่สุดเพ่ือหยุดย้ังเรื่องดังกล่าวน้ี จึงมีการตรากฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับการขัดกันแห่ง ผลประโยชนม์ ากขนึ้ ๆ และเป็นเรือ่ งทสี่ งั คมใหค้ วามสนใจมากขนึ้ ตามลาดับ ๑. ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง “การขัดกนั ระหว่างประโยชน์ส่วนตนกบั ประโยชนส์ ่วนรวม” “จรยิ ธรรม” และ “การทจุ ริต การขดั กันระหว่างประโยชน์สว่ นตนกบั ประโยชน์ส่วนรวม หมายถึง การที่เจา้ หน้าทข่ี องรฐั กระทา การใด ๆ ตามอานาจหนา้ ท่ีเพื่อประโยชนส์ ว่ นรวม แต่กลับเข้าไปมสี ว่ นได้เสียกับกจิ กรรม หรอื การ ดาเนินการท่เี อื้อผลประโยชน์ใหก้ ับตนเองหรือพวกพอ้ ง ทาใหก้ ารใช้อานาจหนา้ ทเี่ ปน็ ไปโดยไม่สุจริต กอ่ ให้เกิดผลเสียตอ่ ภาครฐั
- ๙๗ - จริยธรรมเปน็ กรอบใหญ่ทางสังคมทเี่ ปน็ พน้ื ฐานของแนวคิดเกยี่ วกับการขัดกนั ระหว่างประโยชน์ส่วน ตนกับประโยชน์สว่ นรวมและการทุจรติ การกระทาใดที่ผิดตอ่ กฎหมายการขัดกนั ระหว่างประโยชน์สว่ นตน กับประโยชนส์ ว่ นรวมและการทุจรติ ยอ่ มเป็นความผิดตอ่ จริยธรรมด้วย แต่ตรงกันขา้ มการกระทาใดทฝ่ี า่ ฝนื จรยิ ธรรมอาจไมเ่ ปน็ ความผิดเกยี่ วกบั การขัดกันระหวา่ งประโยชนส์ ่วนตนกับประโยชน์ส่วนรวมและการ ทุจริต เช่น การมีพฤติกรรมส่วนตวั ทไี่ ม่เหมาะสม การมีพฤตกิ รรมชสู้ าว เป็นต้น ๒. รปู แบบของการขดั กนั ระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชนส์ ่วนรวม การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวมมีได้หลายรูปแบบไม่จากัดอยู่เฉพาะใน รูปแบบของตัวเงิน หรือทรัพย์สินเท่าน้ัน แต่รวมถึงผลประโยชน์อ่ืนๆ ที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบของตัวเงินหรือ ทรัพย์สินด้วย ทั้งนี้ John Langford และ Kenneth Kernaghan ได้จาแนกรูปแบบของการขัดกันระหว่าง ประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชน์ส่วนรวม ออกเป็น 7 รปู แบบ คอื ๑) การรับผลประโยชนต์ ่าง ๆ (Accepting benefits) เชน่ การรับของขวัญจากบรษิ ัทธุรกิจ บริษัทขายยา หรืออุปกรณ์การแพทย์สนับสนุนค่าเดินทางให้ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ไปประชุมเร่ืองอาหารและยาที่ ต่างประเทศ หรือหน่วยงานราชการรับเงินบริจาคสร้างสานักงานจากธุรกิจท่ีเป็นลูกค้าของหน่วยงาน หรือ แม้กระทั่งในการใช้งบประมาณของรัฐเพ่ือจัดซื้อจัดจ้างแล้วเจ้าหน้าท่ีได้รับของแถม หรือประโยชน์อ่ืน ตอบแทน เปน็ ต้น
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297