G E B I N 1 0 1 | ก ร ะ บ ว น ก า ร คิ ด แ ล ะ ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า Process of Thinking and Problem Solving
การคิดสร้ างสรรค์ CREATIVE THINKING
วิ ธี ก า ร คิ ด 3 การคดิ เชิงวิเคราะห์ | การคดิ เชิงสงั เคราะห์ | การคดิ เชงิ สร้างสรรค์ | การคดิ เชิงวิพากษ์ | การคดิ เชิงมโนทศั น์ | การคดิ เชิงระบบ | การคดิ เชิงกลยทุ ธ์ GEBIN101 | RMUTL.
ก า ร คิ ด การคิดสร้างสรรค์ เป็นการใช้จินตนาการเพFือทําสFิงใหม่ๆ เราทุกคนเกิดมา ส ร้ า ง ส ร ร ค์ พร้ อมกับความคิดสร้ างสรรค์ ไม่ว่าใครก็คิดสร้ างสรรค์ได้ การคิดสร้ างสรรค์ เป็ นสFิงทFีมีอยู่ในตัวบุคคลมากบ้ าง น้ อยบ้ าง ขึนP อยู่กับบุคคลนันP ๆ ความสามารถในการคิดสร้างสรรค์เป็นสFิงทีFสอนกันได้ เราสามารถทําให้คน คดิ สร้างสรรค์มากขนึ P ได้อยา่ งเป็นระบบ
GEBIN101 | RMUTL. ค ว า ม ห ม า ย ก า ร คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ นักจิตวิทยาและนักการศึกษาได้ ให้ ความหมายเกFี ยวกับความคิด สร้างสรรค์ไว้หลายทา่ นดงั นี P Guilford (1956 : 128) ได้ศกึ ษาเรืFองความคดิ สร้างสรรค์ ซงFึ กลา่ วไว้ วา่ ความคดิ สร้างสรรค์ประกอบด้วยลกั ษณะ ดงั ตอ่ ไปนี P T. ความคลอ่ งแคลว่ ในการคดิ คือ ความสามารถของบคุ คลในการหา คําตอบได้อยา่ งคลอ่ งแคลว่ รวดเร็ว และมีคําตอบในปริมาณทFีมากในเวลาจํากดั V. ความคดิ ยืดหยนุ่ ในการคดิ คือ ความสามารถของบคุ คลในการคดิ หา คําตอบได้หลายประเภทและหลายทิศทาง X. ความคิดริเรFิม คือ ความสามารถของบคุ คลในการคดิ หาสงFิ แปลกใหม่ และเป็นคําตอบทFีไมซ่ ําP กบั ผ้อู Fืน Z. ความคดิ ละเอียดลออ คือ ความสามารถในการกําหนดรายละเอียดของ ความคิดเพืFอบง่ บอกถงึ วิธีสร้างและการนําไปใช้ 5
ค ว า ม ห ม า ย ก า ร คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ หลกั ความคิดสร้างสรรค์ของกิลฟอร์ด มงุ่ ไปทีFความสามารถของบคุ คลทFีจะ คดิ ได้ รวดเร็วกว้างขวาง และมีความคิดริเริFม ถ้ามีสง่ เร้ามากระต้นุ ให้เกิดความคดิ นนัP ๆ สงFิ เร้าทFีจะมากระต้นุ ให้เกิดความคิด มีอยู่ 4 ชนิด T. รูปภาพ V. สญั ลกั ษณ์ X. ภาษา Z. พฤตกิ รรม กิลฟอร์ด กลา่ วโดยสรุปวา่ ความคดิ สร้างสรรค์เป็นความสามารถด้านสมองทีF จะคดิ ได้หลายแนวทางหรือคดิ ได้หลายคําตอบ เรียกวา่ การคดิ แบบอเนกนยั GEBIN101 | RMUTL. อ้างอิง: 6 Guilford, J.P. (1956). Structure of Intellect Psychological. New York : McGraw-Hill Book Co.
ค ว า ม ห ม า ย ก า ร คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ Torrance (1962 : 16) กลา่ ววา่ ความคดิ สร้างสรรค์เป็นความสามารถ ของบคุ คลในการคิดสร้างสรรค์ผลิตผล หรือสFิงแปลกๆ ใหม่ๆ ทFีไม่รู้จกั มาก่อน ซงึF สงิF ตา่ งๆ เหลา่ นีอP าจจะเกิดจากการรวมความรู้ตา่ งๆ ทFีได้รับจากประสบการณ์แล้ว เชFือมโยงกบั สถานการณ์ใหม่ๆ สิFงทFีเกิดขนึ P แตไ่ มจ่ ําเป็นสFิงสมบรู ณ์อยา่ งแท้จริง ซงึF อ า จ อ อ ก ม า ใ น รู ป ข อ ง ผ ล ผ ลิ ต ท า ง ศิ ล ป ะ ว ร ร ณ ค ดี วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ Wallach and Kogan (1965 : 13-20) ให้ความหมายของความคิด สร้ างสรรค์ว่า หมายถึงความคิดโยงสัมพันธ์ (Association) คนทีFมีความคิด สร้างสรรค์ คือ คนทีFสามารถจะคดิ อะไรได้อยา่ งสมั พนั ธ์เป็นลกู โซ่ GEBIN101 | RMUTL. อ้างอิง: 7 Torrance, E.P. and R.E. Myers. (1962). Creative Learning and Teaching. New York : Good, Mead and Company. Wallach, Michael A. and kogan Nathan. (1965). Model of Thinking in Young Children.New York : Holt, Rinehartandwinston.
GEBIN101 | RMUTL. ค ว า ม ห ม า ย ก า ร คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ สรุปได้วา่ ความคิดสร้างสรรค์ คือ ความสามารถทางสมองของบคุ คล ทFีจะคิดได้หลายทิศหลายทาง หรือคิดได้หลายคําตอบ และความสามารถใน การมองเห็นความสัมพันธ์ของสิFงต่างๆ โดยมีสิFงเร้ าเป็นตัวกระตุ้นทําให้เกิด ความคิดใหม่ต่อเนFืองกนั ไป และความคิดสร้างสรรค์นีอP าจเป็นความคิดใหม่ ผสมผสานกบั ประสบการณ์ก็ได้ 8
ค ว า ม คิ ด เกิดจากการประสานความสามารถตามธรรมชาติของมนุษย์สอง ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ส่วน คือ “ความสามารถในการคิด” และ “ความสามารถในการ สร้ างสรรค์” ซึFงอาจจะมีอยู่ในบุคคลเดียวกัน หรือบางคนอาจมี เพียงสว่ นใดสว่ นหนงFึ ก็เป็นได้ GEBIN101 | RMUTL. 9
ค ว า ม คิ ด เกิดจากการประสานความสามารถตามธรรมชาติของมนุษย์สอง ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ส่วน คือ “ความสามารถในการคิด” และ “ความสามารถในการ สร้ างสรรค์” ซFึงอาจจะมีอยู่ในบุคคลเดียวกัน หรือบางคนอาจมี เพียงสว่ นใดสว่ นหนงึF ก็เป็นได้ GEBIN101 | RMUTL. 10
ความสามารถในการคดิ 11 ความสามารถในการคดิ เป็นผลผลติ จาก กระบวนการทํางานของสมองของมนษุ ย์ทFี คดิ อยตู่ ลอดเวลา ลกั ษณะการคดิ แบง่ เป็น 1. การคดิ แบบไม่มีจุดหมาย (undirected cognition) เป็นการคดิ แบบ อิสระ ปะตดิ ปะตอ่ กนั โดยปราศจากการจดั ระเบียบ เปลFยี นไป ตามความสนใจหรือ เหตกุ ารณ์ทีFผา่ นเข้ามาขณะนนัP และไมม่ ี การตงัP วตั ถปุ ระสงค์ GEBIN101 | RMUTL.
GEBIN101 | RMUTL. ความสามารถในการคดิ 2. การคดิ แบบมีจุดมุ่งหมาย (directed cognition) เป็นการคดิ แบบมีทิศทาง มีการจดั ระบบ ระเบียบและวตั ถปุ ระสงค์เฉพาะ โดย อาศยั กระบวนการทํางานของสมอง อยา่ งเป็นขนัP ตอน ตงัP แตก่ ารรับรู้ การ ตีความ ความจํา สมมตฐิ าน จนกระทงัF ถงึ การสรุปผล 12
ความสามารถในการ 13 ส ร้ า ง ส ร ร ค์ คือ การสร้ างการกระทําให้เกิดขึนP เป็นได้ทังP กระบวนการ วิธีการ รวมไปถึงลักษณะทาง ผลติ ผล หรือชินP งาน “ผลงาน” ทีบ+ คุ คลสร้างขึ4น เป็นส+ิงทีท+ ําใหเ้ ราระบุ ได้ว่าบุคคลนน4ั มีความสร้างสรรค์ จึงไม่ควรเนน้ เรื+องกระบวนการคิดคล่องเพียงอย่างเดียว แต่ ต้องให้นกั เรียนสามารถออกแบบ หรือประดิษฐ์ ผลงานไดด้ ว้ ย (David Perkins, )1979 GEBIN101 | RMUTL.
องค์ประกอบของความคดิ สร้างสรรค์
GEBIN101 | RMUTL. อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ค ว า ม คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ 1. ความคดิ ริเรFิม (originality) 2. ความคลอ่ งแคลว่ ในการคดิ (fluency) 3. ความยืดหยนุ่ ในการคดิ (flexibility) 4. ความคดิ ละเอียดลออ (elasboration) 15
ความคดิ สร้างสรรค์ เป็นความสามารถของผ้เู รียนในการคดิ หลายแงห่ ลายมมุ ทีFเรียกวา่ ความคดิ อเนกนยั เกิดจากการเชืFอมโยงทFีมีความสมั พนั ธ์กนั ทําให้เกิดความคดิ แปลกใหม่ สามารถนําไปแก้ไข ปัญหาได้ ประกอบด้วย 1. ความคดิ ริเรUิม เป็นความสามารถในการคดิ ทFีแปลกใหมไ่ ปจากความคดิ ธรรมดา ทําให้เกิด คําตอบหรือความคดิ ทีFแปลกใหมข่ นึ P 2. ความคดิ คล่องแคล่ว เป็นความสามารถในการคดิ หาคําตอบได้อยา่ งคลอ่ งแคลว่ วอ่ งไว มี คําตอบได้จํานวนมากในเวลาจํากดั 3. ความคดิ ยืดหยุ่น เป็นความสามารถในการคดิ หาคําตอบได้หลายประเภทหลายทิศทาง 4. ความคดิ ละเอียดลออ ความคดิ ในรายละเอียดเป็นขนัP ตอน สามารถอธิบายให้เหน็ ภาพชดั เจน หรือเป็นแผนงานทFีสมบรู ณ์ GEBIN101 | RMUTL. 16
ฝึ ก ใ ห้ คิ ด เ ป็ น คิ ด ใ ห้ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ กล้าคดิ กล้าเลน่ กบั จินตนาการไร้ขีดจํากดั รศ.ดร.อารี พนั ธ์มณี
คาํ ถ า ม ก า ร ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ทUี เ ป็ น รู ป ภ า พ 18 ลากเส้นผ่านจุด ให้ลากเส้นตรง 4 เส้น ให้ผา่ นจดุ ทงัP 9 จดุ ตามในภาพ โดยไม่ยกปากกา หรือให้ใช้ เส้นตรงให้น้อยทีFสดุ GEBIN101 | RMUTL.
กิ จ ก ร ร ม คิ ด ค ล่ อ ง แ ค ล่ ว 19 มีเวลา 2 นาทใี นแต่ละคาํ ถาม ให้ นศ. บนั ทกึ คาํ ตอบลงกระดาษคาํ ตอบ คาํ ถาม 1. ให้ นศ. บอกชUือ ดอกไม้ ทUรี ู้จกั มาให้มากทUสี ุด 2. ให้ นศ. บอกสUิงทUมี ีลักษณะเป็ นรูป วงกลม มาให้มากทUสี ุด 3. ให้ นศ. บอกสUิงทUมี ีลักษณะเป็ นรูป สามเหลี/ยม มาให้มากทUสี ุด 4. ให้ นศ.บอกสUงิ ทUมี ี กล/นิ หอม มาให้มากทUสี ุด 5. ให้ นศ.บอกสUงิ ทUมี ี ลักษณะนิ/ม มาให้มากทUสี ุด GEBIN101 | RMUTL.
ป ริ ศ น า คาํ ท า ย เฉลย 1. อะไรเอย่ มีขาข้างเดียว ทอ่ งเทFียวไปทวFั แดดฝนไมก่ ลวั เป็นเพFือนกบั คน 1. ร่ม 2. ลกู โป่ง 2. อะไรเอย่ รูปร่างกลมๆ มีลมข้างใน เดก็ ๆ ชอบใจ ซือP ไปถือเลน่ 3. ปลาหมกึ 3. อะไรเอย่ รูปร่างเหมือนจรวด มีหนวดรุงรัง วา่ ยนําP เก่งจงั อยใู่ นทะเล 4. ก้งุ 4. อะไรเอย่ ขีอP ยใู่ นหวั ตวั อยใู่ นนําP 5. อะไรเอย่ หน้าสนัP ฟันขาว หางยาวเหมือนมงั กร หากินตามดอน อาบนําP ทา่ หิน 5. ขวาน 6. ควาย/วา่ ว/ 6. อะไรเอย่ อยดู่ นิ กินหญ้า อยฟู่ า้ กินลม อยทู่ ะเลกินตม หอย 7. อะไรเอย่ ชFืออยใู่ นครัว ตวั อยใู่ นป่า 7. กระตา่ ย 8. อะไรเอย่ สกุ ไมร่ ู้หอม งอมไมร่ ู้หลน่ สกุ คา่ ต้น คนกินไมไ่ ด้ 8. ดาว 9. อะไรเอย่ ไมใ่ ชข่ องราษฎร์ ไมใ่ ชข่ องหลวง แตโ่ ชตชิ ว่ งชชั วาลย์ 9. ดวงอาทิตย์ 10. อะไรเอย่ ไมม่ ีปาก ไมม่ ีฟัน กินข้าวทกุ วนั ได้มากกวา่ คน 10. หม้อข้าว GEBIN101 | RMUTL. 20
แ ต่ ง เ รUื อ ง จ า ก ป ร ะ โ ย ค แบ่งสมาชิกออกเป็ น 2 กลุ่ม แต่ละกลุ่มช่วยกันต่อประโยคทUกี าํ หนดให้จนจบ ประโยค ทUีต่อจะต้องให้สัมผัสสระในคําสุดท้ายของประโยค กลุ่มไหนต่อได้ทุกครังi หรือต่อได้ ใจความดกี ว่าเป็ นผู้ชนะ ตวั อยา่ ง: สมศรีเป็นเด็ก เธอเป็นลูกเจ๊ก พอ่ เป็นช่างตีเหล็ก เธอรูปร่างเล็ก ชอบกินขนมเคก้ GEBIN101 | RMUTL. 21
แ ส ด ง ทั ศ น ะ ให้ นศ. แต่ละคนหรือแต่ละกลุ่ม ลองแสดงทศั นะความคดิ เหน็ จากคาํ ถาม ดงั นีi 1. ถ้าคนบนิ ได้ อะไรจะเกดิ ขนึi 2. ถ้าดอกไม้ทงัP โลกเป็นสเี หลอื ง อะไรจะเกดิ ขนึi 3. ถ้ารองเท้าทงัP หมดในโลกนีเPป็นเบอร์เดียวกนั อะไรจะเกดิ ขนึi 4. ถ้าสถานีโทรทศั น์ทกุ สถานีนดั หยดุ งาน และไมม่ ีรายการทีวีเป็นเวลา 1 ปี อะไรจะเกดิ ขนึi 5. ถ้าคนหายตวั ได้เมืFอต้องการ อะไรจะเกดิ ขนึi 6. ถ้านําP ทว่ มโลก อะไรจะเกดิ ขนึi 7. ถ้าโลกนีมP ีแตห่ มอกควนั จนมองเหน็ กนั แคข่ าเทา่ นนัP อะไรจะเกดิ ขนึi 8. ถ้าฝนไมต่ ก อะไรจะเกดิ ขนึi GEBIN101 | RMUTL. 22
ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม เ พUื อ พั ฒ น า ค ว า ม คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ 23 สรุปจากเกมส์ได้อะไร ด้านสตปิ ัญญา ได้แก่ ความคดิ ความเข้าใจ ด้านจติ ใจ ได้แก่ ความรู้สกึ เจตคติ รวมถงึ การพฒั นาลกั ษณะความคดิ คลอ่ งตวั ความคดิ ยืดหยนุ่ ความคดิ ริเริFม ความคดิ ละเอียดลออ ความคดิ จินตนาการ ความอยากรู้อยากเหน็ ด้านการปฏบิ ตั ิ หรือการนําความรู้ ความเข้าใจ ไปปฏิบตั ิ GEBIN101 | RMUTL.
TCP-DP แ บ บ ท ด ส อ บ ค ว า ม คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ TCT-DP (The Test for Creative Thinking Drawing Production) ซงึF สร้างขนึP โดย เจลเลน และเออร์บาน (Jellen and Urban. 1989: 78-86) ตามนิยามวา่ ความคดิ สร้างสรรค์หมายถงึ การคดิ อยา่ งมีสาระเชิงนวตั กรรม มีจินตนาการ และเป็นความคดิ อเนกนยั ซงึF รวมถงึ ความคดิ คลอ่ งแคลว่ (fluency) ความคดิ ยืดหยนุ่ (flexibility) ความคดิ ริเริFม (originality) ความคดิ ละเอียดลออ (elaboration) ความกล้าเสยFี ง (risk-taking) และอารมณ์ขนั (humor)
“ภาพทFีวาดอยขู่ ้างหน้านกั ศกึ ษาขณะนีเPป็นภาพทFียงั ไมส่ มบรู ณ์ ผ้วู าดเรFิมลงมือวาดแตถ่ กู ขดั จงั หวะเสยี ก่อน ขอให้นกั ศกึ ษาวาดตอ่ ให้สมบรู ณ์ จะวาดเป็นภาพอะไรก็ได้ตามทFีนกั ศกึ ษาต้องการ ตาม จินตนาการ ไมม่ ีการวาดภาพใดๆ ทFีถือวา่ ผิด ภาพทกุ ภาพเป็นสงิF ทีF ถกู ต้องทงัP สนิ P เมFือวาดภาพเสร็จแล้วขอให้นํามาสง่ อาจารย์”
กระบวนการความคดิ สร้างสรรค์
แนวคดิ ด้านกระบวนการคดิ 1. ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หมายถงึ ความสามารถในการปฏิบตั ิ และ กระบวนการคดิ อยา่ งมีระบบในการค้นหาความรู้ โดยมีทกั ษะ พืนP ฐาน 13 กระบวนการ 2. กระบวนการคดิ สร้างสรรค์ โดยศกึ ษากระบวนการคดิ สร้างสรรค์ ดงั นี P 2.1 กระบวนการคดิ แก้ปัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ของทอแรนซ์ มี 5 ขนัP คือ ขนัP ทีF 1 การพบความจริง ขนัP ทีF 2 การค้นพบปัญหา ขนัP ทFี 3 การตงัP สมมตฐิ าน ขนัP ทFี 4 การค้นพบคําตอบ ขนัP ทFี 5 การยอมรับผลจากการค้นพบ 2.2 กระบวนการคิดของออสบอร์น มี 7 ขนัP ดงั นี P ขนัP ทีF 1 การค้นพบปัญหา ขนัP ทีF 2 การเตรียมและการรวบรวมข้อมลู ขนัP ทFี 3 การวิเคราะห์ ขนัP ทFี 4 การคดั เลือกข้อมลู ขนัP ทFี 5 การประมวลความคดิ GEBIN101 | RMUTL. ขนัP ทีF 6 การสงั เคราะห์ 28 ขนัP ทFี 7 การประเมินผล
ตารางเปรียบเทียบกระบวนการความคดิ สร้างสรรค์ Wallas และ Torrance และ Davis Osborn Jungs Hutchison 1. การเตรียมตวั 1. การค้นหาความจริง 1. การค้นพบปัญหา 1. การรวบรวมข้อมลู 2. การครุ่นคดิ 2. การค้นพบปัญหา 2. การเตรียมและรวบรวม 2. วเิ คราะห์ข้อมลู ข้อมลู 3. การเกิดประกาย 3. การตงัP สมมตฐิ าน 3. การวเิ คราะห์ 3. การปลอ่ ยวาง แนวคิด 4. การพิสจู น์ 4. การค้นพบคําตอบ 4. การคดั เลอื กข้อมลู 4. คดิ คําตอบได้ 5. การยอมรับผลจากการ 5. การประมวลความคดิ 5. วพิ ากษ์วจิ ารณ์และ ค้นพบ ประเมิน 6. การสงั เคราะห์ GEBIN101 | RMUTL. 7. การประเมินผล 29
GEBIN101 | RMUTL. ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า : ค ว า ม คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ทุ ติ ย ภู มิ ถ้าการทFีอาร์คิมีดิส (Archimedes) คิดหาปริมาตรวตั ถโุ ดยการแทนทFีในนําP สําเร็จ แล้ววงFิ ออกมาตามถนนพร้อมตะโกนก้องวา่ “ยรู ิก้า” (Eureka) นนัP ใช้กระบวนการ แก้ปัญหาทFีเรียกวา่ ความคดิ สร้างสรรค์ปฐมภมู ิ (Primary Creativity) อนั เป็น กระบวนการคิดทีFผ้คู ิดใช้ความคิดสร้างสรรค์โดยไม่รู้ตวั แล้ว ความคิดสร้างสรรค์ ทตุ ยิ ภมู ิ (Secondary Creativity) ก็คือ การนําขนัP ตอนการคดิ นนัP มาใช้อยา่ งรู้ตวั โดยอาจดําเนินไปเป็นขนัP ตอนของกระบวนการคดิ สร้างสรรค์ ดงั ตอ่ ไปนี P 1. การนําเข้าส้ปู ัญหา (Orientation) 2. การเตรียมข้อมลู ตา่ งๆ ทีFเกFียวข้อง (Preparation) 3. การคิดแก้ปัญหาแบบอเนกมยั (Ideation) 4. การประเมินคา่ คําตอบทีFดีทFีสดุ (Evaluation) 5. การนําไปปฏิบตั ิ (Implementation) 30
กิ จ ก ร ร ม ทUี 4 ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า ด้ ว ย ค ว า ม คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ GEBIN101 | RMUTL. 31
ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า ด้ ว ย ค ว า ม คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ทุ ติ ย ภู มิ 1. แบง่ กลมุ่ นกั ศกึ ษากลมุ่ ละ 5-8 คน ให้วิเคราะห์ประเดน็ ปัญหาทีFมีใน มทร.ล้านนา และ แลกเปลยFี นความความคดิ เหน็ กนั เก็บรวบรวมข้อมลู หาปัญหา 2. ให้นกั ศกึ ษาคดิ ออกแบบหาแนวทางแก้ไขตามกระบวนการคดิ แบบสร้างสรรค์ลงใน แบบฟอร์มกิจกรรม ระบายสใี ห้สวยงาม และสมุ่ ให้นกั ศกึ ษานําเสนอหน้าชนัP เรียน GEBIN101 | RMUTL. 32
ขนัP ตอนการพฒั นาความคดิ สร้างสรรค์ตามแนวคดิ ของ ออสบอร์น ขนัP ทีF 1 การค้นพบปัญหาและระบปุ ัญหา ขนัP ทีF 2 การเตรียมและรวบรวมข้อมลู ขนัP ทีF 3 การวเิ คราะห์ ขนัP ทFี 4 การคดั เลอื กข้อมลู ขนัP ทFี 5 การประมวลความคดิ ขนัP ทีF 6 การสงั เคราะห์รวบรวมข้อมลู ขนัP ทีF 7 การประเมินผล 33 GEBIN101 | RMUTL.
GEBIN101 | RMUTL. 34
Q&A Any Questions? GEBIN101 | RMUTL. 35
Thank You 36 GEBIN101 | RMUTL.
Search
Read the Text Version
- 1 - 36
Pages: