บทที่ 5ขอ้ มูลและสญั ญาณการส่ือสารข้อมลู นางสาวหนงึ่ ฤทยั เงนิ ประเสรฐิ ปวส.1 คอมพวเตอร์ธุรกิจ หอ้ ง 1 เลขท่ี 40
1. จงบอกความแตกตา่ งระหวา่ งขอ้ มลู และสญั ญาณในการสอ่ื สารข้อมลู เราจะไมท่ าการสง่ ขอ้ มลู ผา่ นส่อื กลางโดยตรง แต่จะต้องมีแปลงข้อมลู ใหอ้ ยู่ในรูปสญั ญาณกอ่ น (Modulate) เพราะในการส่อื สารระยะทางไกล ๆข้อมูลทีส่ ง่ จะถูกรบกวนได้ง่ายเนอ่ื งจากมีพลงั งานตา่ ดงั นนั้ จงึ ต้องทาใหอ้ ยูใ่ นรปูสัญญาณข้อมลู จะทาใหไ้ ปได้ไกลขึ้นและมพี ลงั งานในการเดนิ ทางมากข้ึน2. จงบอกคณุ ลักษณะสาคญั ของสญั ญาณแอนะลอ็ กสัญญาณขอ้ มลู แบบตอ่ เนือ่ ง (Continuouse Data) มีขนาดของสญั ญาณไมค่ งที่ มีการเปลีย่ นแปลงขนาดของสัญญาณแบบค่อยเปน็ ค่อยไป มีลักษณะเป็นเสน้ โคง้ตอ่ เน่ืองกันไป โดยการส่งสัญญาณแบบอนาลอ็ กจะถกู รบกวนใหม้ ีการแปลความหมายผดิ พลาดได้ง่าย เช่น สัญญาณเสยี งในสายโทรศัพท์ เป็นต้น
3. จงบอกคณุ ลกั ษณะสาคัญของสญั ญาณดจิ ิตอลสัญญาณทเ่ี กย่ี วข้องกับขอ้ มลู แบบไม่ตอ่ เนื่อง(Discrete Data) ทีม่ ีขนาดแนน่ อนซึ่งขนาดดงั กลา่ วอาจกระโดดไปมาระหว่างค่าสองคา่ คอื สญั ญาณระดับสูงสดุ และสัญญาณระดับตา่ สดุ ซ่งึ สญั ญาณดิจิตอลน้เี ปน็ สัญญาณท่คี อมพวิ เตอร์ใช้ในการทางานและตดิ ตอ่ ส่อื สารกันเป็นค่าของเลขลงตัว โดยปกตมิ ักแทนด้วย ระดบั แรงดันที่แสดงสถานะเป็น \"0\" และ \"1\" หรืออาจจะมหี ลายสถานะ ซง่ึ จะกล่าวถึงในเรือ่ งระบบสือ่ สารดจิ ิตอล มีคา่ ทต่ี ้ังไว้ (threshold) เป็นค่าบอกสถานะ ถ้าสงู เกนิ คา่ ทีต่ ้งั ไวส้ ถานะเป็น\"1\" ถา้ ตา่ กวา่ ค่าทตี่ ั้งไว้ สถานะเปน็ \"0\" ซึ่งมีขอ้ ดีในการทา่ ให้เกดิ ความผดิ พลาดน้อยลง
4. จงสรุปข้อดีและขอ้ เสยี ของสญั ญาณแอนะลอ็ กและสญั ญาณดิจติ อล ข้อดีและขอ้ เสียของระบบอนาลอกและดิจิตอล 1. การแสดงผลทาให้เข้าใจได้ง่าย ตัวอย่างเช่น การแสดงผลของแรงดันไฟฟ้าเป็นตัวเลขจาก เคร่ืองวัด แรงดนั ไฟฟา้ 2. การควบคุมทาได้ง่าย ตัวอย่างเช่นระบบควบคุมอุณหภมู ิของเตาเผาท่ีมีระบบดิจิตอลเข้ามา เก่ียวข้อง การ ทางานของระบบ มีตัวตรวจอุณหภูมิท่ีเปลี่ยนอุณหภมู ิเป็นระดบั แรงดันท่ีเป็นสัญญาณ อนาลอก สัญญาณจะ ถูกเปลีย่ นเป็นสญั ญาณดิจิตอล ด้วยวงจรเปล่ียนสัญญาณอนาลอกเป็นดิจิตอล แล้วป้อนเข้าสู่ส่วนประมวลผล (Central Processing Unit : CPU) ซี พี ยู จะทางานตามเง่ือนไขท่ีกาหนดไว้ ถ้ามีอุณหภมู ิสูงหรือต่ากว่าท่ี กาหนด จะสง่ สัญญาณออกท่เี อาท์พตุ เพ่อื ควบคมุ การปดิ เปิดเชือ้ เพลิงใน เตาเผา การเปล่ียนสัญญาณดิจิตอล ให้กลับมาเป็นสัญญาณอนาลอกใชว้ งจร D/A คอนเวอร์เตอร์ (Digital to Analog Converter) สัญญาณ อนาลอกจะไปควบคุมการปิดเปิด การฉีดน้ามันเช้ือเพลิงในเตาเผา เพ่ือให้ได้อุณหภูมิตามที่ต้ังไว้ การเปลี่ยน อณุ หภูมิสามารถปรบั ได้ โดยการเปลี่ยนค่าทีเ่ กบ็ ไวใ้ น ซี พี ยู
3. ความเท่ยี งตรง วงจรอนาลอก ทาให้มคี วามเท่ียงตรงสงู ไดย้ าก เพราะปะรกอบไปดว้ ยอุปกรณ์ที่มีค่าผิดพลาด และมีความไวต่อสง่ิ แวดล้อม เช่น อณุ หภมู ิ ความชื้น จึงทาใหอ้ ุปกรณต์ า่ ง ๆ เช่น ตวั ต้านทาน ตวั เก็บประจุ มคี ุณสมบตั เิ ปลย่ี นไป เหมือนกับว่าปัญหาท่ีเกิดข้ึนในวงจรอนาลอก เป็นเพราะแรงดันไฟฟ้า ส่วนอุปกรณ์ในวงจรดิจิตอลก็มีปัญหาเช่นเดียวกัน แต่วงจรสามารถควบคุมการทางานได้ ถึงแม้ว่าสัญญาณจะผิดเพ้ียนไปบ้าง ก็ไม่มีผลต่อการทางานของวงจรเพราะสภาวะ 1 กับ 0กาหนดจากระดับแรงดนั4. ผลกระทบตอ่ การส่งในระยะไกล เมอื่ มกี ารส่งสัญญาณออกไปในระยะไกล ๆ ตามสายส่งหรือเป็นคล่ืนวิทยุ จะมีการรบกวนเกิดข้ึนได้ง่าย เรียกว่า นอยส์ (noise) ตัวอย่างเช่น การส่งสัญญาณไปยัง ดาวเทียมจะมีการรบกวนเน่ืองจากการแผ่รังสี จากฟ้าแลบ หรือจดุ ดบั บนดวงอาทติ ยท์ าใหส้ ัญญาณผิดเพี้ยนได้ง่าย ถา้ เป็นวงจรอนาลอก ความเชื่อถอื ได้ข้ึนกับแรงดันที่ปลายทางว่าเบ่ียงเบนไปจากต้นทางมามากน้อยแค่ไหน เป็นปัญหาท่ีเกี่ยวกับความต่างศักย์ ถ้าส่งเป็นสัญญาณดิจิตอลจะไม่มีปัญหาน้ีเพราะสญั ญาณอาจผดิ ไป จากต้นทางไดบ้ ้างแตย่ ังคงสภาวะ 1 หรือ 05. ความเชื่อม่ัน สัญญาณดิจิตอลมีค่าความผิดพลาดน้อยกว่าสัญญาณอนาลอก ทาให้วงจรท่ีทางานด้วยสัญญาณดิจิตอล มีความเชอื่ ถอื ไดม้ ากกวา่ เมื่อใช้แทนปรมิ าณต่าง ๆ ตัวอยา่ งเช่น การบวกสญั ญาณ ถา้ ทางานในลกั ษณะอนาลอก
5. สว่ นประกอบพ้ืนฐานหลักๆ ของสญั ญาณแอนะลอ็ กมีอะไรบ้าง จงอธิบาย 1. แอมพลิจดู (Amplitude) 2. ความถ่ี (Frequency) 3. เฟส (Phase)6. Bit Interval กับ Bit Rate คืออะไร ใช้กับสัญญาณอะไร และนามาเทียบเคียงกับหน่วยวัดใดของสัญญาณแอนะลอ็ ก Bit Interval ระยะเวลาทใ่ี ช ในการส งข อมูล 1บิต (วนิ าที –s) (สมมลู กบั ตวั แปรคาบเวลาในสัญญาณแบบ Analog) Bit Rate จานวนของบติ ข อมลู ทส่ี ามารถส งได ภายหน่ึงหน วยเวลา (บิต ต อวินาที – bps) (สมมลู กบั ตวั แปรความถ่ใี น สญั ญาณแบบ Analog) - ใช้กับสัญญาณ Analog Signal สัญญาณดิจิตอลสว่ นใหญ่เปน็ สญั ญาณชนดิ ไมม่ คี าบ ดังนัน้ คาบเวลาและความถจี่ ึง ไมน่ ามาใชง้ าน
7. จงสรุปความหมายของ Bit Rate และ Baud Rate พรอ้ มกับยกตวั อย่างประกอบBitrate (บิทเรท) คืออะไร Bit บิท คือหนว่ ยของสัญญาณดจิ ิตอล การท่ีจะประมวลผลสัญญาณด้วยความเรว็ เท่าไหรน่ ้ันจงึเรียกวา่ “บทิ เรท” โดยปกตไิ ฟล์วดี โี อจะใช้หน่วยความเร็วเป็นวนิ าที ยกตัวอยา่ ง เช่น Kbps (KiloBit per second) หรือMbps (MegaBit per second) **หมายเหตุ 1 Megabit = 1,000 KilobitBAUDRATE คืออะไร? เวลาเราทาการเขยี นอุปกรณ์ส่งขอ้ มูลแบบ UART จะเหน็ วา่ เราจะมกี ารกาหนดคา่ เป็น 9600 หรือ 115200 เปน็ ต้น ซ่ึงคา่ ที่กาหนดมาน้จี ะเป็นตัวกาหนดวา่ ใน 1 วนิ าที นั้นจะทาการส่งขอ้ มลู ไดเ้ รว็ เท่าไร ยกตวั อย่าง เช่น BAUDRATE 9600 นน้ั หมายความว่าในการสง่ ขอ้ มลู ใน 1 วนิ าทีนัน้ จะมีการสง่ ข้อมลู ขนาด 9600 bits เชน่ถา้ Clock มีค่าความถี่ 50 Mhz หมายความว่าในหน่ึงวนิ าที นนั้ จะมคี ลืน่ PWM ทั้งหมด 50 ลา้ นลูก ซึ่งเมอื่ นา 50,000,000 หารดว้ ย 9600 จะได้ ประมาณ 5208 ซึง่ หมายความว่าใน 1 bit ของ BAUDRATE นน้ั จะมคี ล่ืน PWM 5208 ลูก สาหรับในการสง่ ข้อมลู1 บติ หรือ อีกนยั หนงึ่ คือในการสง่ ขอ้ มูล หนึ่ง บิตใชเ่ วลา 104 us แตถ่ ้า BAUDRATE เปน็ 115200 จะใช่เวลาเพยี ง 8.6 us ซึ่งได้มาจาก 50 M / 115200 แลว้ นาคา่ ทีไ่ ด้ คณู กบั 20 ns ซึ่งคอื คาบของความถ่ี 50Mhz
8. การมอดูเลต (Modulate) คืออะไร จงอธบิ ายคอื การจะส่งสญั ญาณเสยี งหรือขอ้ มลู ผา่ นช่องทางการสอื่ สารจาเปน็ อยา่ งย่งิ ทจ่ี ะต้องอาศยั พลงั งานไฟฟ้าชว่ ยพาสัญญาณเหล่านัน้ ให้เคลอ่ื นยา้ ยจากทีห่ นง่ึ ไปยังอกี ทหี่ น่งึ ขบวนการหรือขัน้ ต้อนในการเพม่ิ พลังงานไฟฟา้ ดังกลา่ วเราเรียกวา่ การมอดูเลต(Modulation) พลงั งานไฟฟ้าซ่งึ มีความถสี่ งู และคงท่ีรวมทัง้ มีแอมปลจิ ดู (ขนาด) สูงดว้ ยนัน้ เราเรยี กว่าสญั ญาณคลื่นพาห์(SignalCarrier) อุปกรณส์ าหรบั มอดเู ลตสญั ญาณ(Modulator) จะสร้างสญั ญาณคลื่นพาห์และรวมเขา้ กับสญั ญาณข้อมลู เพอื่ ใหส้ ัญญาณมคี วามแรงพอที่จะสง่ ผา่ นส่อื กลางไปยังอีกจุดหน่ึงทอี่ ยไู่ กลออกไปไดแ้ ละเมือ่ ถึงปลายทางก็จะมอี ปุ กรณ์ซ่งึ ทาหน้าที่แยกสัญญาณคลน่ื พาห์ออกใหเ้ หลอื เพียงสัญญาณขอ้ มูลเราเรียกวิธีการแยกสญั ญาณนี้ว่าการดมี อดูเลต(Demodulation)เรือ่ งการมอดเู ลตสัญญาณเปน็ เรอื่ งทสี่ าคัญมากในการส่ือสารข้อมูลการเลอื กวธิ ีการมอดเู ลตและการดีมอดเู ลตท่ีเหมาะสมจะช่วยให้ทา่ นทาการส่งขอ้ มูลขา่ วสารไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ
9. คณุ สมบตั สิ าคัญของสัญญาณพาห์ (Carrier Signal) คอื อะไร นาไปใชป้ ระโยชน์อยา่ งไร - สัญญาณทางไฟฟา้ ทางแสง หรอื ทางกล ซง่ึ มีสมบตั ิคงที่และนามาใชใ้ นการกลา้ ร่วมกบั ขา่ วสาร โดยใชก้ ระบวนการกล้าสญั ญาณ เพอื่ กาเนดิ - สัญญาณสาหรับพาขา่ วสารจากต้นทางไปส่ปู ลายทางผ่านตัวกลางตา่ งๆ เช่น อากาศ สายโค แอค และสายโทรศัพท์ เปน็ ต้น ความถีข่ อง - สญั ญาณพาหเ์ รียกวา่ ความถ่ีพาห์ (Carrier frequency) มกั นาสญั ญาณลกู คลนื่ ไซน์ (Sinusoidal wave) มาใชเ้ ป็นสัญญาณพาห์
10. จงอธิบายความแตกตา่ งระหว่างการมอดูเลตทางขนาด(AM)และการมอดเู ลตทางความถี่ (FM) มาพอเขา้ ใจ การมอดเู ลตทางแอมปลิจดู (AM) สัญญาณของคลืน่ พาหจ์ ะมคี วามถส่ี งู กว่าความถ่ีของสญั ญาณขอ้ มลู เพ่ือให้สามารถพาสัญญาณขอ้ มลู ไปไดไ้ กล ๆ สัญญาณ AM ทม่ี อดูเลตแล้วจะมีความถ่ีเทา่ กบั ความถ่ีของสัญญาณคล่ืนพาห์ โดยมขี นาดหรอื แอมปลิจดู ของ สญั ญาณเปลย่ี นแปลงไปตามแอมปลจิ ูดของสญั ญาณดว้ ย ขอ้ เสยี ของการมอดูเลตแบบ AM คือ 1. แบนดว์ ิดทข์ องสัญญาณ AM เป็นย่านความถี่ทไ่ี ม่สงู ทาใหม้ สี ญั ญาณรบกวนจากภายนอกเข้ามาได้งา่ ย 2. การส่งสัญญาณแบบ AM ส้นิ เปลืองพลังงานมาก พลงั งานส่วนใหญ่ใชใ้ นการสง่ คลื่นพาห์ การมอดูเลตทางความถ่ี (FM) สัญญาณ FM ท่มี อดเู ลตแลว้ จะมแี อมปลิจูดคงที่ แต่ความถี่ของสญั ญาณจะไม่คงที่เปลย่ี นแปลงไปตามแอมปลิจดู ของสญั ญาณข้อมูล
ขอ้ เสยี ของการมอดเู ลตแบบสัญญาณ FM คอื1. ต้องการแบนด์วดิ ทท์ ม่ี ีขนาดกว้าง เนือ่ งจากสัญญาณข้อมลู มีหลายความถี่2. คณุ ภาพดกี ว่าการมอดเู ลตแบบ AM แตก่ ารทางานจะซบั ซ้อนกว่าการมอดูเลตทางเฟส (PM)การมอดูเลตแบบ PM จะให้ครงึ่ รอบของสัญญาณเปน็ มุม 180 องศา และเมอ่ื ครบ 1 รอบจะเป็น 360 องศา สัญญาณมอดเู ลตจะมีการเปล่ยี น (กลับ) มมุ เฟสทุกครง้ั ทม่ี มุ เฟสของสญั ญาณข้อมูลต่างจากมุมเฟสของสญั ญาณคลืน่ พาหเ์ ท่ากบั 180 องศาการมอดูเลตแบบ PM นยิ มใชใ้ นการแพรภ่ าพสที างทวี ี แต่ AM กับ FM นยิ มใช้ในการกระจายเสียงวิทยกุ ารมอดูเลตแบบ PM เปน็ วธิ ีการทด่ี แี ต่วงจรค่อนขา้ งจะซับซอ้ นจงึ ไม่นยิ มใช้สง่ สัญญาณข้อมูลอะนาลอ็ ก การมอดเู ลตแบบ PM มักจะนามาใช้ในการส่งสญั ญาณข้อมูลคอมพิวเตอรท์ ่ีต้องการความเร็วในการสง่ ขอ้ มลู สงู
11.การมอดเู ลตสัญญาณดิจิตอล ประกอบดว้ ยเทคนิคใดบา้ ง จงอธบิ าย มี 3 วิธี คอื1. การมอดูเลตทางแอมปลจิ ดู (Amplitude Modulation: AM) การมอดูเลตแบบ AM เป็นวิธีการที่ดั้งเดิมท่ีสุดและสะดวกท่ีสุด จะเห็นว่าความถ่ีของสัญญาณ คลนื่ พาหจ์ ะคงท่ีและสงู กวา่ ความถ่ีของสัญญาณขอ้ มลู เพอ่ื ให้สามารถพาสญั ญาณข้อมลู ไปได้ระยะ ทางไกล ๆ จะเห็นว่าสัญญาณ AM ท่ีมอดูเลตแล้วจะมีความถี่เท่ากับความถ่ีของสัญญาณคล่ืนพาห์ โดยมขี นาดหรอื แอมปลจิ ดู ของสญั ญาณเปลี่ยนแปลงไปตามแอมปลจิ ูดของสัญญาณข้อมูล ข้อเสียของการมอดูเลตแบบ AM คือ แบนด์วิดท์ของสัญญาณ AM เป็นย่านความถ่ีท่ีไม่สูงนัก ทา ให้สญั ญาณรบกวน (Noise) จากภายนอกสามารถเข้ามารบกวนไดง้ า่ ย
2. การมอดูเลตทางความถี่ (Frequency Modulation: FM)สัญญาณมอดูเลตแบบ FM จะมีแอมปลิจูดคงท่ี แต่ความถี่ของสัญญาณจะไม่คงที่เปล่ียนแปลงไปตามความถ่ีของสัญญาณข้อมูล ข้อเสียของการมอดูเลตแบบ FM คือต้องการแบนด์วิดท์ท่ีมีขนาดกว้างเนื่องจากสัญญาณข้อมูลมีหลายความถ่ี ดังน้ันจึงต้องหาวัสดุที่เป็นสายสื่อสารที่มีขนาดของแบนดว์ ดิ ทก์ วา้ ง ทาใหร้ าคาของสายสอื่ สารสูงขึ้นตามไปดว้ ย3. การมอดเู ลตทางเฟส (Phase Modulation: PM)เป็นวิธีที่ดีในการส่งสัญญาณข้อมูลคอมพิวเตอร์ท่ีต้องการความเร็ว นิยมส่งผ่านระบบโทรศัพท์ ในการมอดูเลตแบบ PM คร่ึงรอบของสัญญาณเราคิดเป็นมุมเฟสเท่ากับ 180 องศา และเม่ือครบรอบจะคิดเป็น 360องศา สัญญาณมอดเู ลตจะมีการเปลี่ยน (กลับ) มุมเฟสทุกคร้ังท่ีมุมเฟสของสัญญาณขอ้ มูลตา่ งจากมมุ เฟสของสัญญาณคลืน่ พาหเ์ ทา่ กบั 180 องศา
12. รหัสข้อมลู คอื อะไร มีรหสั ใดบ้าง จงสรปุ มาใหเ้ ขา้ ใจ หมายถึง รหัสท่ีใช้แทนตัวอักขระ ซึ่งประกอบด้วยตัวอักษร ตัวเลข หรือสัญลักษณ์พิเศษอื่น ๆ ที่ใช้ใน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพราะว่าข้อมูลท่ีเก็บไว้ในหน่วยความจาของคอมพิวเตอร์จะแทนด้วยรหัส เลขฐานสองทมี่ เี ลข ๐ กบั ๑ วางเรยี งกัน 1. รหัสภายนอกเคร่ือง (External Code) หมายถึง รหัสที่ใช้สาหรับการบนั ทึกข้อมูลที่อยู่ภายนอกเคร่ือง คอมพิวเตอร์ เช่น การบันทึกข้อมูลบนบัตรเจาะรู โดยใช้สัญลักษณ์การเจาะรูแต่ละแถวแทนข้อมูล 1 ตัง อักษร 2. รหัสภายในเคร่ือง (InternalCode)หมายถึง รหัสท่ีใช้แทนข้อมูลที่ถูกอ่านและบันทึกอยู่ใน หน่วยความจาของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซ่ึงรหัสท่ีใช้แทนข้อมูลภายในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีหลาย รูปแบบ
13. มีปจั จยั อะไรบา้ งทีก่ ่อให้เกิดความสูญเสยี ของสญั ญาณจากการสง่ ผา่ นขอ้ มลู 1. การออ่ นกาลงั ของสัญญาณ 2. สัญญาณเคลือ่ นที่ดว้ ยความเรว็ ตา่ งกนั 3. สัญญาณรบกวน
14. สัญญาณท่เี บาบางลงหมายถึงอะไร สามารถแก้ไขได้ด้วยวธิ ใี ด เกิดจากการสูญพลงั งานในระหว่างการส่ง เนอื่ งจากตวั กลางตา้ นๆจะมคี วามตา้ นทานอยู่ในตัวเอง ดงั นั้นเมอื่ ผ่านส่ือเหล่าน้นั พลังงานจะเปลยี่ นเป็นความร้อน จงึ เกดิ ความเบาบาง ยิ่งไกลเทา่ ไหร่ยิ่งเบา เท่านั้น จงึ ต้องมตี ัวขยายสัญญาณชว่ ย(amplify)15. การส่งผา่ นขอ้ มลู บนสายสง่ ทาใหอ้ ุณหภูมสิ ูงขนึ้ ไดอ้ ยา่ งไร จงอธิบาย - เน่ืองจากสญั ญาณทว่ี ่ิงผ่านสื่อกลางจะมีความตา้ นทานในตัวเอง ทาให้อณุ หภมู สิ งู ขึ้น
16. จงสรปุ สญั ญาณรบกวนชนิด Thermal Noise, Impulse Noise, Crosstalk , Echo และ Jitter มาใหพ้ อเขา้ ใจ พรอ้ มวิธแี ก้ไข– Thermal Noise เปน็ สัญญาณรบกวนท่เี กดิ จากความรอ้ น เนื่องจากสญั ญาณทว่ี ่งิ ผา่ นสือ่ กลางจะมคี วามตา้ นทานในตัวเอง ทาใหอ้ ณุ หภูมิสูงขนึ้– Impulse Noise เปน็ สญั ญาณรบกวนท่ีเกิดขึน้ แบบทันทที นั ใด ซง่ึ อาจเกิดจากฟ้าแลบ ฟา้ ผ่า สญั ญาณรบกวนชนดิ น้ีสามารถลบลา้ งสญั ญาณตน้ ฉบบั ทาให้ไมส่ ามารถแยกแยะเพอ่ื การกู้คนื ได้– Crosstalk เป็นสัญญาณรบกวนที่เกดิ จากการเหนยี่ วนาของสนามแม่เหลก็ ไฟฟ้า โดยเฉพาะสายสัญญาณที่มีการนามามัดรวมกนั ซ่งึ หากไมม่ ีฉนวนปอ้ งกัน จะทาใหเ้ กิดการรบกวนซ่งึ กนั และกนั ได้– Echo เปน็ สญั ญาณสะทอ้ นกลับ ทาให้โหนดใกล้เคยี งได้ยนิ และพลันนึกวา่ สายส่งข้อมลู ในขณะนน้ั ไมว่ า่ งแทนท่ีจะสามารถส่งขอ้ มลู ได้ ก็นกึ วา่ มโี หนดอ่ืนใช้งานอยู่– Jitter ส่งผลใหค้ วามถ่ขี องสญั ญาณมกี ารเปลี่ยนแปลงอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง สัญญาณถกู เลอ่ื นเฟสไปเป็นค่าอืน่ ๆ
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: