Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อสารนโยบายประจำปี 2564

สื่อสารนโยบายประจำปี 2564

Published by m.nutsima, 2021-11-04 08:12:41

Description: สื่อสารนโยบายประจำปี 2564

Search

Read the Text Version

หน้าทีแ่ ละความรับผดิ ชอบ บุคคลทร่ี บั รขู้ อ้ มลู ภายในของบรษิ ทั ตอ้ งลงนามสญั ญารกั ษา ความลบั (Non-Disclosure Agreement : NDA) ห้ามมิให้บุคคลที่รับรู้ข้อมูลภายใน ใช้ข้อมูลภายในที่มีผลกระทบ ต่อการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพย์ หรือ งบการเงิน ซึ่งยัง มิได้เปิดเผยต่อสาธารณชน ซึ่งได้ล่วงรู้มาในตาแหน่งหรือฐานะมา ใช้เพื่อการซื้อ หรือ ขาย หรือ ชักชวนให้บุคคลอื่นซื้อ หรือ ขาย หลักทรพั ยข์ องบรษิ ัท ไม่ว่าทั้งทางตรงหรือทางอ้อม ห้ามมิให้บุคคลอื่นที่รับรู้ข้อมูลภายใน เปิดเผยข้อมูลความลับทาง ธุรกิจของบริษัทต่อบุคคลภายนอก แม้หลังพ้นสภาพการเป็น พนักงาน หรือ บุคคลอนื่ ใดท่ปี ฏิบัตงิ านให้กบั บริษทั ไปแล้ว พนักงานทั่วไปไมม่ หี น้าที่เปิดเผยขอ้ มูลภายในของบริษัท เมื่อถูก ถามใหเ้ ปิดเผยตอ้ งแนะนาผู้ถามสอบถามกบั ผทู้ ่ที าหน้าทเ่ี ปิดเผย ขอ้ มูลนัน้

นโยบายการพฒั นาอยา่ งยั่งยนื

นโยบายการพัฒนาอยา่ งยงั่ ยนื 7 พัฒนาผลติ ภณั ฑท์ ต่ี อบสนองตอ่ ความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภค 1 การดาเนินงานเพอื่ ใหเ้ กิดความยงั่ ยืน ม่งุ เน้นคณุ ภาพและบริการท่ีมมี าตรฐาน ทกุ กระบวนการตลอดหว่ งโซ่ธรุ กิจ พรอ้ มท้งั สง่ เสริมและสนบั สนุนผ้มู ีส่วนได้เสีย 8 ส่วนร่วมในการพฒั นาชมุ ชนและสงั คม 2 ระบบการบริหารจดั การทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ โปรง่ ใส รัดกุม ในกิจกรรมต่าง ๆ ของชมุ ชนและสังคม มจี รยิ ธรรมทางธุรกิจ นโยบายการต่อต้านทจุ ริตคอรัปชั่น กระบวนการควบคุมภายใน 9 การจดั การคณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ ม และตรวจสอบภายใน ป้องกนั และลดผลกระทบทางสง่ิ แวดล้อมทเ่ี กิดข้ึนจากการดาเนินงานของบรษิ ทั 3 ประกอบธรุ กจิ ดว้ ยความเป็นธรรม 10 ใชท้ รพั ยากรและพลังงานอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย ข้อกาหนดทางการค้า การแขง่ ขนั ทางการคา้ ท่เี ป็นธรรม แนวทางและวิธกี ารในการลดการใช้ทรัพยากรและพลงั งาน 4 ปฏบิ ตั ิตามหลกั สิทธิมนุษยชน 11 จดั การความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ ม คานึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ ความเสมอภาคของบุคคล และการไม่เลอื กปฏิบัติ ในสถานทท่ี างานของพนักงาน และครอบคลมุ ถึงผูม้ ีสว่ นได้เสีย 5 ปฏิบตั ติ ่อพนักงานด้วยความเปน็ ธรรม 12 พฒั นาและสง่ เสริมการสรา้ งนวตั กรรม สภาพแวดลอ้ มในการทางาน การพฒั นาศกั ยภาพ การฝกึ อบรม การเติบโตกา้ วหน้า จากผลติ ภัณฑ์และกระบวนการทางาน สรา้ งนวตั กรรมรว่ มกบั ผู้มสี ่วนไดเ้ สยี 6 ใหค้ วามสาคัญตอ่ ผูม้ สี ่วนได้เสยี 13 การบรหิ ารความเสยี่ ง ตอบสนองต่อความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียในทุกกลุ่ม มีช่องทางรับฟัง แนวทางการจัดการและตดิ ตามผลการบริหารความเสี่ยงอย่างตอ่ เนอ่ื ง ขอ้ เสนอแนะและขอ้ รอ้ งเรยี น

นโยบายการบรหิ ารความเส่ยี ง

Enterprise Risk Management บรษิ ัทมุ่งม่นั ดาเนนิ งานภายใตห้ ลกั การกากบั ดูแลกจิ การทดี่ ี โดยได้นาหลกั การบรหิ ารความเสยี่ งองคก์ ร (ERM : Enterprise Risk Management) ตามแนวทางกรอบการบริหารความเสี่ยงของ COSO : Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission

นโยบายการบรหิ ารความเสยี่ ง ความเสยี่ ง ? ความเสี่ยงเป็นเหตุการณ์ที่ไม่แน่นอนและไม่พึงประสงค์ที่จะให้ เกิดขึ้น แต่หากเกิดเหตุการณ์นั้นขึ้น อาจจะเกิดความเสียหาย หรือมีผลกระทบต่อการดาเนินงานของบริษัท ทาให้บริษัทไม่ สามารถบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์หรือเปา้ หมายได้ บริษัทจงึ จดั ใหม้ กี ารบรหิ ารความเสย่ี ง เพื่อควบคมุ ความเส่ียงที่อาจจะเกดิ ขน้ึ ให้อยใู่ นระดบั ทยี่ อมรบั ได้

โครงสรา้ งการบรหิ ารความเสี่ยง 57 คณะกรรมการบรษิ ทั คณะกรรมการบรหิ ารความเสยี่ ง ประธานเจา้ หน้าทบ่ี รหิ าร คณะทางานบรหิ ารความเสยี่ ง หน่วยงาน หรอื ผ้รู บั ผดิ ชอบงาน บริหารความเสยี่ ง

58 คณะกรรมการ ผบู้ ริหาร และพนักงานทุกระดบั ทุกคนจะต้อง นาการบรหิ ารความเสย่ี งไปประยกุ ตใ์ ชอ้ ยา่ งเหมาะสม และ ตระหนกั ถงึ ความรบั ผดิ ชอบทจ่ี ะต้องปฏบิ ตั ติ ามนโยบายการ บริหารความเสยี่ ง เพ่ือใหก้ ารบรหิ ารความเสย่ี งประสบ ความสาเรจ็ และมปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ ดังนนั้ การบรหิ ารความเสยี่ ง ไม่ใช่เพยี งหนา้ ทขี่ องคณะกรรมการ หรือ คณะทางานบรหิ ารความเสยี่ งเทา่ นั้น แต่การบรหิ ารความเสย่ี ง เปน้ หนา้ ทข่ี องพนกั งานทกุ ทา่ นดว้ ยเชน่ กนั

กระบวนการบรหิ ารความเสีย่ ง 1. กาหนดวัตถุประสงค์ Objective Setting 2. Identify ติดตามประเมนิ ผล และรายงาน 6. ระบุเหตกุ ารณค์ วามเสย่ี ง Monitor Risk & Report กิจกรรมการควบคุม 5. 3. ประเมินความเสี่ยง Control Assess Risk Risk 4. การจัดการความเสีย่ ง Risk Response

การบรหิ ารความตอ่ เนอ่ื งขององคก์ ร

แผนบรหิ ารความตอ่ เนอ่ื งทางธรุ กิจ แผนการบริหารความต่อเนื่อง “ Business Continuity Plan (BCP)” จัดทาขึ้น เพื่อให้ “หน่วยงาน” สามารถนาไปใช้ในการตอบสนองและปฏิบัติงานในสภาวะวิกฤติ หรือเหตุการณ์ฉุกเฉินต่างๆ ทั้งที่เกิดจากภัยธรรมชาติ อุบัติเหตุ หรือการมุ่งร้ายต่อ องค์กร โดยไม่ให้สภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินดังกล่าวส่งผลให้หน่วยงานต้อง หยุดการดาเนินงาน หรือไม่สามารถใหบ้ ริการไดอ้ ย่างตอ่ เนอื่ ง การจัดทาแผนบริหารความต่อเนื่องจึงเป็นสิ่งสาคัญที่จะช่วยให้หน่วย งานสามารถ รับมือกับเหตุการณ์ฉุกเฉินที่ไม่คาดคิด และทาให้กระบวนการที่สาคัญ (Critical Business Process) สามารถกลับมาดาเนินการได้อย่างปกติ หรือตามระดับการ ให้บริการท่กี าหนดไว้

แผนบรหิ ารความตอ่ เนื่องขององคก์ ร (Business Continuity Plan : BCP) • ขอบเขตของแผนบรหิ ารความตอ่ เนอ่ื ง (Scope of BCP) แผนบรหิ ารความต่อเนื่อง (BCP) ฉบบั น้ีใช้รบั รองสถานการณ์ กรณีเกดิ สภาวะวกิ ฤตหรือเหตกุ ารณฉ์ กุ เฉนิ ในพนื้ ที่สานกั งานของบริษัท หรอื ภายในบรษิ ัท ดว้ ยเหตกุ ารณ์ต่อไปนี้ ➢ เหตุการณอ์ ทุ กภยั ➢ เหตุการณ์อคั คภี ัย ➢ การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ ตอ่ • สรปุ เหตกุ ารณส์ ภาวะวกิ ฤตและผลกระทบทเ่ี กิดขนึ้ ผลกระทบ เหตกุ ารณส์ ภาวะวกิ ฤต ดา้ นเทคโนโลยี สารสนเทศและ เหตกุ ารณส์ ภาวะวกิ ฤต ดา้ นอาคาร/ ด้านวสั ดอุ ปุ กรณ์ ข้อมูลทส่ี าคญั ดา้ นบุคลากร ด้านคคู่ า้ /ผู้ สถานที่ ทสี่ าคญั หลกั ให้บรกิ าร/ผมู้ ี อัคคภี ยั (ไฟ้ไหม้) ✓ สว่ นไดส้ ว่ นเสยี อุทกภัย (น้าทว่ ม) ปฏิบตั งิ านหลกั ✓ ✓ ✓ การแพรร่ ะบาดของ ✓ ✓ ✓ ✓ โรคติดตอ่ (โรคระบาด) ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

แผนจดั การเหตโุ รคระบาด 1 เตรียมความพรอ้ มกอ่ นเกดิ เหตกุ ารณ์ : เกิดการแพร่ระบาดของโรคภายในประเทศในระยะเรม่ิ ตน้ – ปานกลาง แตย่ ังไมพ่ บพนกั งานหรือผู้ทีเ่ กย่ี วขอ้ งติดเชื้อของโรค ตั้งรบั และอพยพในขณะเกดิ เหตกุ ารณ์ : 2 • กรณที ่ี 1 พนกั งานของบรษิ ทั หรือผเู้ กย่ี วขอ้ งมกี ารตดิ เชอ้ื ในสานกั งานโครงการ • กรณที ี่ 2 พนกั งานในสานกั งานใหญข่ องบรษิ ทั มกี ารตดิ เชอ้ื • กรณที ่ี 3 การแพรร่ ะบาดภายในประเทศในระยะรนุ แรง หรือรฐั บาลมคี าสง่ั ใหป้ ระชาชนงดออกจากทพี่ กั อาศยั หรือปดิ เมอื ง (lockdown) ทมี ระงบั เหตุ หน้าที่ ผู้รับผดิ ชอบ คุณไกรวทิ ย์ ทองฟู บทบาท กากบั ดแู ล และติดตามเหตุการณ์ และกาหนดแผนเตรียมการรองรับกรณีเกิด ผลกระทบกบั การทางานในบริษทั ทีม HR หัวหนา้ ทมี ระงับเหตุ โรคระบาด จัดเตรยี มอุปกรณ์ และแนวทางการปฏิบัติเบื้องต้นสาหรบั ป้องกนั โรคระบาด ทีมระงับเหตุ โรคระบาด

มาตรการลงโทษตามนโยบาย ตกั เตือนดว้ ยวาจา ตกั เตอื นเปน็ หนงั สอื พกั งานโดยไมจ่ า่ ยคา่ จา้ งไมเ่ กนิ 7 วนั ไมพ่ จิ ารณาขน้ึ เงนิ เดอื นประจาปี / ไมจ่ า่ ยโบนสั เลิกจา้ ง เลิกจา้ ง ไมจ่ า่ ยคา่ ชดเชย ไล่ออก และดาเนนิ คดตี ามกฎหมาย ในกรณคี วามผดิ รา้ ยแรง

มเี ร่ืองสาคญั ทตี่ ้อง ต้องการคาแนะนา กาลงั จะดาเนนิ การเรื่อง ดาเนินการแต่ไมแ่ นใ่ จวา่ เกี่ยวกบั นโยบาย ใดๆ ที่สาคญั และผกู พนั สาคัญของบริษัท จะตอ้ งใชอ้ านาจ บริษัท ตอ้ งการรายงาน คณะกรรมการชุดใด การประชมุ ตา่ งๆ เพอ่ื ใชท้ าธุรกรรม สานักเลขานกุ ารบรษิ ทั : เฟนิ #340 หรอื เจ หรอื เอม็ #341 เฟิน : [email protected] เจ : [email protected] เอม็ : [email protected]

67 03 นโยบายฝา่ ยตรวจสอบถามภายใน

68 ระเบียบอานาจอนุมัติและดาเนนิ การ มผี ลบงั คบั ใช้ 12 พฤษภาคม 2564

วตั ถุประสงค์ 69 1 เพื่อให้ผบู้ ริหารและผูป้ ฏบิ ตั ิงานไดท้ ราบถงึ ขอบเขตความรับผดิ ชอบและอานาจสงั่ การของแต่ละบคุ คล 2 เพื่อใชเ้ ป็นคูม่ อื ในการปฏิบัตงิ านทส่ี ามารถอ้างองิ และใช้ในการปฏบิ ตั งิ านอย่างมีประสิทธิภาพ 3 เพอื่ เป็นการกระจายอานาจ หนา้ ที่ ในการตดั สนิ ใจและการสัง่ การ ตามหนา้ ที่และความรบั ผดิ ชอบ

ช่ือยอ่ ตาแหน่ง 70 SH ระดับกรรมการ ผู้ถอื ห้นุ (Shareholder) BoD ช่อื ยอ่ /ตาแหนง่ Ex-Com คณะกรรมการบรษิ ัท (Board of Director) ระดับบรหิ าร คณะกรรมการบริหาร (Executive Committee) CEO D-CEO ประธานเจ้าหน้าท่ีบรหิ าร (Chief Executive Officer) C-Level รองประธานเจ้าหนา้ ที่บริหาร (Deputy Chief Executive Officer) CBO CCO ประธานเจ้าหนา้ ท่ีสายงานพัฒนาธรุ กิจ (Chief Business Development Officer) CFO ประธานเจ้าหน้าทสี่ ายงานบรหิ ารงานก่อสร้าง (Chief Construction Management Officer) CHRO ประธานเจา้ หนา้ ท่สี ายงานการเงิน (Chief Financial Officer) CTO ประธานเจา้ หนา้ ทส่ี ายงานบรหิ ารทรัพยากรบุคคล (Chief Human Resource Management Officer) CMO ประธานเจ้าหน้าทส่ี ายงานเทคโนโลยสี ารสนเทศ (Chief Technology Officer) CPO ประธานเจา้ หน้าทีส่ ายงานการตลาด (Chief Marketing Officer) CSO ประธานเจ้าหน้าทส่ี ายงานจัดซ้ือจัดจา้ ง (Chief Procurement Officer) ประธานเจ้าหนา้ ทีส่ ายงานขายและบริการลูกค้า (Chief Sale and Customer Service Officer)

71 ชอ่ื ยอ่ /ตาแหนง่ ชอ่ื ยอ่ ตาแหน่ง ระดบั บรหิ าร EVP รองประธานเจ้าหน้าท่สี ายงาน (Executive Vice President) SVP ผชู้ ว่ ยประธานเจา้ หน้าทสี่ ายงานอาวโุ ส (Senior Vice President) VP ผู้ชว่ ยรองประธานเจา้ หนา้ ท่สี ายงาน (Vice President) AVP รองผู้ชว่ ยรองประธานเจ้าหนา้ ทีส่ ายงาน (Assistant Vice President) SD ผอู้ านวยการอาวุโส (Senior Director) D ผู้อานวยการ (Director) AD ผชู้ ่วยผู้อานวยการ (Assistant Director) SDivM ผู้จดั การฝา่ ยอาวโุ ส (Senior Division Manager) DivM ผู้จดั การฝา่ ย (Division Manager) ADivM ผู้ช่วยผจู้ ดั การฝา่ ย (Assistant Division Manager) SDepM ผู้จัดการแผนกอาวโุ ส (Senior Department Manager) DepM ผจู้ ดั การแผนก (Department Manager)

หมวด 1 การบริหารงาน 72 1 นโยบาย 2 แผนกลยทุ ธ์ งบประมาณรายจา่ ยประจาปี และอตั รากาลงั คน 3 การร่วมลงทนุ / การร่วมทาธรุ กจิ (Joint Venture) 4 การกาหนดโครงสรา้ งองคก์ ร 5 การกาหนดอัตราเบย้ี ประชุมและบาเหนจ็ กรรมการ 6 การลงนามในหนังสอื มอบอานาจเพื่อกระทาการ ทมี่ ีผลผกู พันธบ์ ริษทั

หมวด 1 การบรหิ ารงาน 73

หมวด 1 การบรหิ ารงาน 74

หมวด 1 การบรหิ ารงาน 75

หมวด 2 การบัญชีและการเงนิ - การบญั ชี 76 1 นโยบาย 2 การตดั จาหน่วยทรพั ย์สินถาวร (Write off) - มูลคา่ คงเหลอื ตามบญั ชี (Net Book Value) โดยการทาลายหรอื การบรจิ าค และการต้งั สารองท่เี กยี่ วกบั ทรัพย์สนิ เพ่อื เป็นคา่ ใชจ้ ่ายของบรษิ ทั 3 การลงนาม

หมวด 2 การบญั ชแี ละการเงนิ - การบญั ชี 77

หมวด 2 การบญั ชแี ละการเงนิ - การบญั ชี 78

หมวด 2 การบญั ชแี ละการเงนิ - การเงนิ 79 1 การเปดิ และปิดบัญชีเงนิ ฝากกับสถาบนั การเงนิ 2 การขอสินเช่ือกับสถาบันการเงินเกย่ี วกับการพฒั นาโครงการ ธรุ กิจปกติ 3 การปิดวงเงนิ สินเชอื่ กบั สถาบนั การเงิน 4 การแตง่ ตง้ั และเปล่ียนแปลงผมู้ อี านาจลงนามในการเบกิ จา่ ยเงินกับธนาคารหรอื สถาบนั การเงนิ 5 การเบิกใชว้ งเงนิ สินเชื่อ 6 การตง้ั และเปลยี่ นแปลงผถู้ อื เงนิ สดย่อยและวงเงินสดยอ่ ย

หมวด 2 การบัญชีและการเงิน - การเงนิ 80 7 การเบกิ ค่าใช้จ่ายจากเงนิ สดย่อย ไม่เกิน 5,000 บาทตอ่ คร้ัง 8 การเบิกชดเชยวงเงนิ สดย่อย 9 การเบกิ คืนค่าใชจ้ า่ ยท่พี นกั งานสารองจา่ ย 10 ค่าใชจ้ ่ายในการบรหิ ารอ่ืน ๆ ในการดาเนินธรุ กจิ ของบรษิ ัท ท่ีไม่มีใบขอซอ้ื 11 การเบิกเงนิ ทดรองจ่าย (ต่อคร้งั ) 12 การเบิกเงนิ ทดรองจ่าย (ตอ่ ครั้ง) สาหรบั งานตกแตง่ prop (ตอ้ งมงี บประมาณ)

หมวด 2 การบญั ชแี ละการเงนิ - การเงนิ 81 13 การอนุมตั จิ า่ ยเงนิ ทางการคา้ ปกติ ตามสัญญาเชา่ และสญั ญาการใหบ้ ริการ 14 การกแู้ ละใหก้ ู้ระหวา่ งบริษัทในเครอื

หมวด 2 การบญั ชแี ละการเงนิ - การเงนิ 82

หมวด 2 การบญั ชแี ละการเงนิ - การเงนิ 83

หมวด 2 การบญั ชแี ละการเงนิ - การเงนิ 84

หมวด 2 การบญั ชแี ละการเงนิ - การเงนิ 85

หมวด 3 การจดั ซอื้ จดั จ้าง 86 1 การเพมิ่ /ลด vendor ในระบบ 2 การทบทวนรายช่ือ Approve Vendor List (AVL) ประจาปี 3 คณะผบู้ รหิ ารและคณะกรรมการจดั ซอื้ จดั จา้ ง 4 การอนมุ ตั ขิ อซื้อ วิธปี กติ (วธิ ีประกวดราคา วธิ เี ปรียบเทยี บราคา วธิ ีราคากลาง และวิธีเฉพาะเจาะจง) 5 การอนมุ ตั ิขอจ้าง เฉพาะงานท่ีปรึกษา 6 การอนมุ ตั ขิ อซือ้ วิธีพเิ ศษ (ทุกงาน)

หมวด 3 การจัดซ้อื จัดจา้ ง 87 7 การอนุมตั ใิ บสั่งซอื้ (PO)

หมวด 3 การจดั ซื้อจดั จ้าง 88

หมวด 3 การจดั ซื้อจดั จ้าง 89

หมวด 4 การขายและการตลาด 90 1 การกาหนด / เปล่ียนแปลงนโยบายการขาย และการโอน 2 การอนุมตั ิ Base Price 3 การยกเลิกห้อง คืนเงิน, ริบเงนิ 4 การอนมุ ตั เิ ปลีย่ นแปลงหอ้ ง 5 ขยายระยะเวลาการจา่ ยดาวนเ์ พิม่ รายบุคคล 6 การเบิกสนิ คา้ โปรโมชนั่

หมวด 4 การขายและการตลาด 91 7 การโฆษณา และการส่งเสรมิ การขาย 8 เงนิ รางวัลจากการขาย / คา่ นายหน้า 9 การลงนามในสญั ญาจะซ้ือจะขาย (ลงนามตามเงือ่ นไขของหนงั สอื รบั รองบริษัท)

หมวด 4 การขายและการตลาด 92

หมวด 4 การขายและการตลาด 93

หมวด 5 การบรหิ ารทรัพยากรบคุ คล 94 1 การจา้ งงาน แต่งต้งั โยกย้าย และเลิกจ้าง 2 การกาหนดค่าตอบแทน เงินเดือน และค่าจา้ ง 3 การอนมุ ัติการทางานลว่ งเวลาหรอื ทางานในวันหยดุ 4 การกาหนดวนั หยดุ ประจาสปั ดาห์แตล่ ะตาแหน่ง (ฝ่ายขายและบริการลกู ค้า และฝา่ ยตรวจสอบคณุ ภาพและ ฝา่ ยลูกค้าสมั พันธ)์ 5 การอนุมตั ิวันลางานตามระเบยี บข้อบงั คบั การทางานของบรษิ ัท 6 การฝกึ อบรมสัมมนา ทงั้ ในและนอกสถานท่ี และทงั้ ในประเทศและต่างประเทศ (ตอ่ คร้ัง หรือโครงการ) ตาม งบประมาณ (หลกั สูตรระยะสนั้ )

หมวด 5 การบริหารทรพั ยากรบุคคล 95 7 การอนุมัตสิ ่งพนักงานไปฝกึ อบรม สัมมนา (หลักสูตรระยะยาว) 8 การอนุมตั กิ ารเดินทางไปปฏิบตั งิ าน ภายใน / ตา่ งประเทศ (ตอ้ งมี Memo และงบประมาณซงึ่ ไดร้ บั อนุมตั ิไว้ แลว้ ) 9 การอนุมตั ิเบกิ คา่ เบีย้ เลย้ี งเดินทาง / ค่าทพ่ี กั / คา่ ใช้จา่ ยในการเดนิ ทาง อา้ งอิงระเบียบนโยบายผลประโยชน์ ตอบแทน (ทไี่ ดร้ บั การอนุมตั ใิ หเ้ ดินทางเรยี บรอ้ ยแล้ว) 10 การอนุมัตเิ บกิ จา่ ยสวสั ดกิ าร อ้างอิงระเบียบนโยบายผลประโยชนต์ อบแทน (อนุมตั ใิ นตาแหนง่ ทต่ี ่ากวา่ ) 11 การอนมุ ัตจิ ่ายเงินเดือนประจาเดอื น การลงโทษตามระเบียบขอ้ บังคับการทางานของบริษัท (ดาเนนิ การสาหรบั พนกั งานในตาแหนง่ ทต่ี า่ กว่า โดย 12 ผา่ นการพิจารณาของผบู้ ริหารสงู สดุ ของตน้ สงั กัด ในกรณตี าแหนง่ สงู กว่าตอ้ งตงั้ คณะกรรมการร่วมพิจารณา สอบสวนขอ้ เทจ็ จรงิ )

หมวด 5 การบริหารทรพั ยากรบคุ คล 96 13 การอนุมตั กิ ารลาออกจากงานของพนกั งาน (แจง้ ฝา่ ย IT เพือ่ ยกเลกิ สิทธใ์ิ นระบบและรับคืนอุปกรณ์ คอมพิวเตอร)์ 14 การลงนาม

หมวด 5 การบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล 97

หมวด 5 การบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล 98

หมวด 5 การบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล 99

หมวด 6 งานเทคโนโลยีสารสนเทศ 100 1 การติดตงั้ / ขอเพมิ่ / แก้ไข / ยกเลกิ โปรแกรมทเี่ กี่ยวขอ้ งกับการทางาน 2 การใช้ Administrator Password (เฉพาะฝา่ ย IT) 3 การขอเปิด / เพิ่ม / ลด / ยกเลกิ สิทธ์กิ ารใชร้ ะบบเทศโนโลยสี ารสนเทศ (ไดแ้ ก่ ระบบ ERP และ CRM หรือ ระบบท่เี กี่ยวกบั คอมพวิ เตอร์อน่ื ๆ เปน็ ตน้ )

หมวด 6 งานเทคโนโลยสี ารสนเทศ 101


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook