98 ตอนท่ี 2 ให้ทำเคร่อื งหมาย x เลอื กคำตอบที่ถูกต้องที่สุด ๑. ข้อใดกลา่ วไม่ถกู ต้องเก่ยี วกบั สัญญาตวั แทน ก สญั ญาตัวแทนเป็นสญั ญาทม่ี บี ุคคลสองฝ่ายขึ้นไป ข พจิ ารณาเฉพาะความสามารถของตวั แทน ค ตัวแทนไม่สามารถมีอำนาจเกนิ ไปกว่าตวั การ ง สัญญาตงั้ ตัวแทนไปซอื้ ทองเปน็ สญั ญาท่ีไมม่ ีแบบ จ สัญญาต้ังตวั แทนเช่าซ้อื ต้องทำเปน็ หนังสอื ๒. ผู้จดั การตัง้ ให้นายดำเปน็ ตวั แทนไปรบั โอนรถยนต์คันท่เี พิ่งซอ้ื ใหม่ จัดเปน็ การตงั้ ตัวแทนแบบใด ก ตัวแทนรบั มอบอำนาจเฉพาะการ ข ตวั แทนรบั มอบอำนาจท่ัวไปเฉพาะกจิ การ ค ตัวแทนซ่งึ ไดร้ บั มอบอำนาจท่วั ไป ง ตัวแทนชว่ ง จ ตวั แทนเชดิ ๓. ขอ้ ใดทตี่ วั แทนรับมอบอำนาจทว่ั ไปสามารถกระทำไดแ้ มป้ ราศจากความยนิ ยอมของตวั การ ก ขายอสงั หาริมทรพั ย์ ข เชา่ บ้านตง้ั แต่ 3 ปีขนึ้ ไป ค การใหโ้ ดยไม่มคี า่ ตอบแทน ง ประนีประนอมยอมความ จ มอบขอ้ พิพาทให้อนญุ าโตตลุ าการพิจารณา ๔. นายแดงแต่งตั้งใหน้ ายดำเป็นตวั แทนไปรับโอนที่ดินและนายดำตั้งนายขาวคนในพืน้ ท่ีเป็นตวั แทนนายดำนาย ขาวเป็นตัวแทนแบบใด ก ตัวแทนรับมอบอำนาจเฉพาะการ ข ตัวแทนรับมอบอำนาจทั่วไปเฉพาะกิจการ ค ตัวแทนซง่ึ ได้รับมอบอำนาจทั่วไป ง ตวั แทนช่วง จ ตัวแทนเชิด ๕. ขอ้ ใดกล่าวถงึ สทิ ธขิ องตวั แทนไม่ถกู ตอ้ ง ก ตวั แทนมสี ทิ ธิเรียกเงินทต่ี ัวแทนทดรองจ่ายจากตวั การ ข ตัวแทนมีสทิ ธิเรียกคา่ สินไหมทดแทนในกิจการทีต่ วั การมอบหมายอนั ไม่ไดเ้ กิดจากตัวแทน ค ตัวแทนมีไม่สิทธิไดร้ ับบำเหน็จจากตวั การหากไม่มกี ารตกลงเรื่องบำเหน็จกันระหว่างตัวการกบั ตัวแทนไว้ อยา่ งชัดแจ้ง ง ตวั แทนมสี ิทธิยึดหนว่ งทรพั ยข์ องตวั การจนกว่าจะไดร้ บั เงินทค่ี ้างชำระ จ ตวั แทนมสี ิทธิเรยี กเอาเงนิ ทีไ่ ดจ้ า่ ยใหแ้ ทนตัวการไปกอ่ นจากตวั การ
99 ๖. ขอ้ ใดกล่าวถงึ หน้าท่ขี องตัวแทนไมถ่ กู ตอ้ ง ก ตัวแทนต้องทำสิ่งทตี่ วั การมอบหมายใหโ้ ดยตลอดจะเลิกกลางคนั ไมไ่ ด้ ข ตัวแทนจะทำกิจการในนามตนเองไมไ่ ด้เวน้ แตจ่ ะไดร้ บั ความยนิ ยอม ค ตวั แทนต้องทำตามกรอบคำสั่งท่ีตัวการมอบหมาย ง แม้ไมม่ ีการอนุญาตจากตัวการ ตวั แทนสามารถตง้ั ตวั แทนช่วงได้ จ ตวั แทนตอ้ งรายงานกจิ การทที่ ำไปให้ตัวการทราบ ๗. ขอ้ ใดกลา่ วไม่ถกู ตอ้ ง ก กรณที ีต่ ัวแทนไดก้ ระทำลงดว้ ยความประมาทเลนิ เล่อ ตวั แทนตอ้ งรบั ผดิ ชอบในค่าเสียหายเอง ข กรณีท่ีตัวแทนได้ทำนิติกรรมสญั ญากบั บุคคลภายนอก โดยเห็นแกอ่ ามสิ สินจ้างหรือทรัพย์สินการน้ันจะไม่ ผกู พันตวั การ ค ตัวการตอ้ งให้บำเหนจ็ แกต่ วั แทนหรือในเงนิ ทดรองที่ตัวแทนได้จ่ายไป ง ตัวการไม่จำเป็นต้องผูกพันต่อบุคคลภายนอกในกิจการที่ตัวแทนเชิดได้ทำภายในขอบอำนาจในฐานะ ตวั แทน จ ตัวการมีหน้าที่ชำระหนี้หรือให้ประกันอันสมควรแก่ตัวแทน หรือชำระค่าเสียหายให้ตัวแทนในกรณีที่ ตวั แทนไดท้ ำลงไปตามท่ตี วั การมอบหมาย ๘. ขอ้ ใดไมเ่ ป็นเหตใุ ห้สญั ญาตวั การระงับ ก คู่สญั ญาตกลงเลกิ สญั ญากนั เอง ข ตวั การถอนอำนาจตัวแทน ค ตัวแทนบอกเลกิ การเป็นตัวแทนกอ่ นครบกำหนดเวลา ง ตวั แทนตาย จ ตวั แทนขอเพม่ิ เงินคา่ ตอบแทน ๙. ขอ้ ใดกล่าวถกู ตอ้ ง ก นายหน้าเปน็ คนกลางทอี่ ย่รู ะหว่างคูส่ ัญญาโดยทีน่ ายหนา้ ไม่ไดท้ ำสัญญาเอง ข สญั ญาแต่งต้ังนายหน้าเป็นสัญญาทีต่ ้องทำเป็นหนงั สอื ค นายหนา้ เปน็ เพียงคนกลางท่ีสามารถรบั ชำระหน้ี ง สญั ญานายหน้าจดั เปน็ สญั ญาที่มีบำเหนจ็ จ สทิ ธเิ รยี กรอ้ งบำเหน็จค่านายหน้าจงึ มีอายคุ วาม 5 ปี ๑๐.ขอ้ ใดไมจ่ ัดเปน็ ความรับผิดของนายหน้า ก นายหนา้ ทำการให้แก่บุคคลภายนอกฝ่าฝืนขอ้ ตกลง ข นายหนา้ ทำผดิ ธรรมเนยี มทีป่ ฏิบตั ิตอ่ กนั ค นายหนา้ รับบำเหนจ็ จากบุคคลภายนอกโดยมชิ อบ ง นายหน้าทำการปกปดิ ไมใ่ ห้คสู่ ญั ญาทราบว่าตนกระทำการใหผ้ ใู้ ด จนก่อให้เกดิ ความเสยี หาย จ นายหนา้ ไม่รบั ชำระหน้ีจากลูกหนี้
100 ตอนที่ 3 ให้วนิ จิ ฉัยข้อเท็จจรงิ ต่อไปนี้ ขอ้ ๑. เลขานุการของนายสมชายลงนามเช่าเครื่องถ่ายเอกสาร 1 เครื่อง ต่อมามีการส่ังเครื่องถ่ายเอกสารเคร่ืองที่ 2 เพ่ิม นายสมชายก็มิได้โต้แยง้ ใดๆ ซ้ำยังกล่าวเปรยๆ ให้เลขานกุ ารส่งั เคร่ืองที่ 3 เพิ่ม ต่อมามแี ผนกงานและบุคลากร เพิม่ ขึน้ เลขานกุ ารจงึ ไดเ้ ชา่ เครือ่ งท่ี 4 เพิม่ ซึ่งนายสมชายปฏเิ สธการชำระเงินอา้ งวา่ เลขานกุ ารไม่ได้เป็นตัวแทนตน ข้อกล่าวอา้ งน้ีฟังขน้ึ หรือไม่ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขอ้ ๒. นายแดงเป็นเจ้าของธุรกจิ ทำนามบัตร มอบหมายให้นายดำซง่ึ เป็นพนักงานในร้านเป็นตวั แทนนำเงินไปในการ ทำสัญญาซื้อคอมพิวเตอร์จำนวน 3 เครื่อง ร้านคอมพิวเตอร์จึงมอบเครื่องคิดเลข และโคมไฟตั้งโต๊ะเป็นของ สมนาคณุ ให้ นายดำจงึ เกบ็ ของสมนาคณุ นี้ไว้ การกระทำของนายดำชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อ ๓. นายแดงเป็นนายหน้าชี้ช่องที่ดนิ ให้นายดำ จนชวนนายขาวมาซื้อท่ีดินได้สำเร็จ ไม่มีข้อตกลงเรือ่ งบำเหน็จกนั นายแดงมีสทิ ธิทวงถามนายดำเรื่องค่าบำเหนจ็ นายหนา้ หรือไม่ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
92
102 แผนการจดั การเรียนรู้ แผนการเรียนรทู้ ่ี 10 กลุม่ สาระการเรียนร/ู้ รายวชิ า กฎหมาย สาระการเรยี นรู้ ทกั ษะวิชาชีพ วชิ า กฎหมายธรุ กจิ รหสั วิชา 30001-1055 หลกั สตู ร ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชั้นสูง(ปวส.1) หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 10 เร่ือง ประนปี ระนอมยอมความ เวลาเรยี น 3 ช่วั โมง สัปดาหท์ ่ี 11 ผสู้ อน นางสาวกุลสิ รา คงสงค์ ๑. สาระสำคัญ สัญญาประนีประนอมยอมความ คือ สัญญาซึ่งผู้เป็นคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายยอมระงับข้อพิพาทอันใด อนั หนึ่งซง่ึ มอี ย่หู รอื จะมีขึน้ ใหเ้ สร็จไปด้วยตา่ งยอมผอ่ นผันให้แกก่ นั ซึง่ การยอมผอ่ นผนั นอ้ี าจจะเกิดจากคู่กรณี เองหรือเกิดจากการไกล่เกลีย่ ของบุคคลท่ี 3 กไ็ ด้ โดยสัญญาประนีประนอมยอมความมที ั้งที่ทำในศาลและนอก ศาล ๒. มาตรฐานการเรียนรู้ 1. รแู้ ละเข้าใจกฎหมายเกยี่ วกับสัญญาประนีประนอมยอมความ 2. นำความรู้เร่ืองกฎหมายเกี่ยวกับสญั ญาประนปี ระนอมยอมความไปใช้ในชวี ิตประจำวัน 3. สามารถเขียนสญั ญาเกีย่ วกบั กฎหมายเกีย่ วกบั สญั ญาประนปี ระนอมยอมความ ๓. ตัวชีว้ ัด ความรเู้ บอ้ื งตน้ เก่ยี วกับกฎหมายธุรกจิ (ประนีประนอมยอมความ) ๔. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ๑. นักศึกษาอธบิ ายความหมายสัญญาประนีประนอมยอมความได้ (K) ๒. นักศึกษาอธิบายความแตกต่างระหว่างสัญญาประนีประนอมยอมความมีทั้งที่ทำในศาลและนอกศาลได้ (K) ๓. นกั ศึกษานำความร้ทู ่ศี กึ ษาไปแก้ปญั หาการดำรงชวี ติ ประจำวันและงานอาชพี ธรุ กจิ ได้ (P) ๔. นกั ศกึ ษาปฏิบตั ติ ามกฎหมายไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง (A) ๕. สาระการเรยี นรู้ - ความหมายและลักษณะของสญั ญาประนีประนอมยอมความ - การทำสัญญาประนปี ระนอมยอมความ - สญั ญาประนปี ระนอมยอมความที่ทำในศาล - สญั ญาประนปี ระนอมยอมความทท่ี ำนอก - อายคุ วามตามสญั ญาประนีประนอมยอมความ ๖. กจิ กรรมการเรียนการสอน การจดั กิจกรรมโดยยึดผเู้ รยี นเปน็ สำคญั การจัดการเรียนรแู้ บบบรรยาย การจดั การเรยี นรูแ้ บบใช้คำถาม การสอนแบบให้ผู้เรียนเสนอรายงานในชั้นเรียน การเรียนการสอนแบบบูรณาการ และเรียนแบบ active learning
103 ๗. สมรรถนะสำคัญ ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต ๘. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ - ใฝเ่ รียนรู้ - มคี วามรับผดิ ชอบ ๙. ชิน้ งาน/ภาระงาน - แบบฝกึ หดั ทา้ ยบทเรียน ๑๐.กระบวนการจดั การเรยี นรู้ การจัดกิจกรรมโดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดการเรียนรู้แบบบรรยาย การจัดการเรียนรู้แบบใช้ คำถาม การสอนแบบให้ผู้เรียนเสนอรายงานในชั้นเรียน การเรียนการสอนแบบบูรณาการ และเรียนแบบ active learning ขน้ั นำเขา้ สู่การเรียน ๑. ครถู ามนกั ศึกษาวา่ ใครรูจ้ ักคำว่าประนปี ระนอมยอมความบา้ ง ๒. ครูส่มุ ถามนักศกึ ษาว่า ใครทเี่ คยมีขอ้ พพิ าท จากน้ันระงับขอ้ พิพาทอย่างไร ขน้ั สอน ๓. ครูอธบิ ายความหมายและลกั ษณะของสญั ญาประนปี ระนอมยอมความ ๔. ครูอธิบายการทำสัญญาประนีประนอมยอมความ ครูแบ่งนักศึกษาออกเป็น 2 กลุ่ม อภิปรายความ แตกต่างระหวา่ งสัญญาประนีประนอมยอมความท่ีทำในศาลกับสัญญาประนีประนอมยอมความทีท่ ำ นอกศาล ๕. ครอู ธิบายเรื่องอายคุ วามตามสัญญาประนปี ระนอมยอมความ ขัน้ สรุปและประยุกต์ ๖. ครูให้นกั ศึกษาทำคำถามทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้ ๗. ครูให้นกั ศึกษาจับคู่กนั เปรยี บเทยี บคำตอบ ๘. ครเู ฉลยพรอ้ มกันท้ังช้ัน ๑๑.วัสดุ อปุ กรณส์ อ่ื และแหลง่ เรยี นรู้ ๑. หนงั สอื เรยี นวิชากฎหมายธรุ กจิ ๒. แบบฝกึ หดั ทา้ ยบทเรยี น ๑๒.การวัดและประเมินผล วิธวี ัดผล ๑. ประเมนิ ผลความก้าวหนา้ ของตนเอง ๒. ประเมินความเรียบร้อยของใบงาน ๓. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ๔. ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกล่มุ ๕. การสงั เกตและประเมนิ ผลพฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ เคร่ืองมือวดั ผล ๑. แบบประเมนิ ผลความกา้ วหน้าของตนเอง ๒. ใบงานในหนงั สอื เรยี น ๓. สังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ๔. ประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม ๕. การสังเกตและประเมินผลพฤตกิ รรมด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
104 เกณฑก์ ารประเมนิ ผล ๑. แบบประเมินผลความก้าวหนา้ ของตนเอง เกณฑผ์ า่ น 50% ข้ึนไป ๒. ใบงานในหนังสอื เรยี น เกณฑ์ผ่าน 50% ขนึ้ ไป ๓. เกณฑผ์ ่านการสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล ตอ้ งไม่มชี อ่ งปรับปรุง ๔. เกณฑ์ผา่ นการสงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป) ๕. การสงั เกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนน ๑๓.การบูรณาการ นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปใช้ในวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ ในการวางแผนในการทำธุรกิจ การทำ สัญญาต่างๆ และการจัดตั้งบริษัทซึ่งต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย นักศึกษาแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ นำ ความรู้ไปเชอื่ มโยงเกย่ี วกบั พระราชบัญญัติการใช้คอมพวิ เตอร์
105 ๑๔.บันทกึ หลังการสอน ............................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................. (นางสาวกุลสิ รา คงสงค์) ครผู สู้ อน ๑๕.ข้อเสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. ...................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ลงชือ่ ...................................................... (นางสาวปานทิพย์ จนั ทรเ์ รอื งฤทธิ)์ หัวหนา้ แผนกวิชาการจัดการทวั่ ไป
106 แบบประเมินผลการเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 10 ตอนที่ 1 จงตอบคำถามตอ่ ไปน้ี ๑. เพราะเหตใุ ดในวงการธุรกจิ จงึ นิยมทำสัญญาประนปี ระนอมยอมความ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. สัญญาประนีประนอมยอมความคืออะไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. ใครบา้ งเปน็ ผูเ้ จรจาในสัญญาประนปี ระนอมยอมความ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๔. ลกั ษณะของสญั ญาประนปี ระนอมยอมความเปน็ เช่นไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๕. ความแตกตา่ งระหว่างการประนีประนอมยอมความท่ีทำนอกศาลและในศาลมอี ยา่ งไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
107 ตอนที่ 2 ใหท้ ำเครือ่ งหมาย x เลอื กคำตอบท่ีถกู ต้องทส่ี ุด ๑. ขอ้ ใดเป็นเหตุผลที่นกั ธุรกจิ เลอื กที่จะทำสัญญาประนีประนอมยอมความ ก กระบวนการยตุ ธิ รรมทางการศาลมคี วามลา่ ชา้ ข การตดั สนิ ของศาลอาจไมส่ รา้ งความพอใจใหก้ ับคู่กรณี ค บรรยากาศของกรณีพิพาทท่ีมีกระบวนการทางการศาลเข้ามาเกีย่ วขอ้ งสร้างความรู้สึกที่ไม่เป็นมิตรใหก้ บั วงการธรุ กจิ ง การประนีประนอมยอมความเป็นทางเลือกท่คี กู่ รณเี ลือกเอง จ ถูกทุกข้อ ๒. ข้อใดไม่ใช่ลกั ษณะของสัญญาประนปี ระนอมยอมความ ก สัญญาประนีประนอมยอมความเกดิ จากคกู่ รณีเองหรือเกดิ จากการไกลเ่ กลย่ี ของบคุ คลท่ีสามกไ็ ด้ ข สัญญาประนีประนอมยอมความเป็นสญั ญาระหว่างคกู่ รณี หรอื บุคคลท่ีสามทำสญั ญาแทนได้ ค สัญญาประนปี ระนอมยอมความเป็นสญั ญาทีท่ ำข้นึ ระหวา่ งบุคคลต้ังแตส่ องฝา่ ยขึน้ ไป ง สญั ญาประนีประนอมยอมความต้องมวี ตั ถปุ ระสงค์เพ่อื ระงับขอ้ พพิ าท จ ค่กู รณีในสญั ญาประนปี ระนอมยอมความเกดิ สิทธิหน้าทขี่ นึ้ ใหม่ตามสญั ญาประนีประนอม ๓. การทำสัญญาประนีประนอมยอมความกฎหมายวางหลักไว้ต่อไปนี้ ยกเวน้ ขอ้ ใด ก ผู้ทำสัญญาจะเป็นคูก่ รณหี รือตัวแทนทไ่ี ดร้ บั มอบอำนาจกไ็ ด้ ข ผทู้ ำสัญญาจะเปน็ ผบู้ รรลุนิตภิ าวะหรือผเู้ ยาวท์ ีท่ ำโดยลำพงั ก็ได้ ค มขี อ้ ความที่คู่ความยอมสละสิทธิเรยี กรอ้ งตามมลู หน้เี ดิม ง สัญญาประนปี ระนอมยอมความเปน็ สญั ญาที่ไม่มแี บบ จ สัญญาประนปี ระนอมยอมความต้องมกี ารระบุวัตถุประสงคไ์ ว้ในสัญญาเพ่ือระงับข้อพพิ าท ๔. ผทู้ ำสัญญาประนีประนอมยอมความคือข้อใด ก คกู่ รณี ข ตวั แทนของคู่กรณี ค บคุ คลท่สี าม ง ท้งั ก และ ข จ ทั้ง ก ข และ ค ๕. เมอ่ื คู่กรณีทำสญั ญาประนีประนอมยอมความกันแล้วก่อให้เกดิ ผลตอ่ ไปน้ี ยกเว้นข้อใด ก ทำให้สิทธิเรยี กรอ้ งเดิมของท้ังสองฝ่ายระงับสิ้นไป ข แต่ละฝา่ ยไดส้ ิทธิขึน้ ใหม่ตามท่ีระบไุ วใ้ นสญั ญา ค แตล่ ะฝ่ายเกิดหนข้ี ึน้ ใหมต่ ามท่ีระบุในสัญญา ง หากแต่ละฝา่ ยไม่ปฏบิ ตั ิตามสัญญา ใหอ้ กี ฝา่ ยฟ้องรอ้ งตอ่ ศาลบงั คบั คดีใหอ้ ีกฝ่ายปฏิบัตติ ามสัญญาได้ จ คู่กรณีสามารถเลือกปฏิบตั ติ ามสัญญาเดมิ หรือสญั ญาประนปี ระนอมยอมความได้
108 ๖. สัญญาประนีประนอมยอมความทจ่ี ะฟ้องรอ้ งต่อศาล ตอ้ งมีหลักฐานดงั ข้อใด ก ทำเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อเจ้าหน้าท่ี ข ทำเป็นหนังสอื ตอ่ เจา้ หนา้ ท่ี ค จดทะเบียนตอ่ เจา้ หนา้ ท่ี ง มีหลกั ฐานเปน็ หนงั สือลงลายมือชื่อผ้รู ับผิด จ มหี ลักฐานเป็นหนงั สือลงลายมือชื่อทั้งสองฝ่าย ๗. คู่กรณสี ามารถทำสัญญาประนีประนอมกนั ในศาลไดห้ รอื ไม่ ก ทำไม่ได้ เพราะเป็นสัญญาท่ตี อ้ งทำนอกศาลเทา่ นั้น ข ทำไมไ่ ด้ เพราะถ้าทำแลว้ ก็จะไมเ่ กดิ ข้อพิพาทขน้ึ สศู่ าล ค ทำไม่ได้ เพราะสญั ญาประนปี ระนอมยอมความจะตัดสทิ ธิการนำคดีขึน้ สู่ศาล ง ทำได้ และหากคู่กรณีไม่ปฏบิ ัติตาม ศาลสามารถบงั คบั ตามสญั ญาได้ จ ทำได้ และหากคู่กรณีไม่ปฏิบัติตาม ศาลจะใหค้ ่กู รณที ำสัญญาประนปี ระนอมยอมความกันไปเรอ่ื งๆ ๘. ในการประนีประนอมยอมความที่ทำนอกศาล หากต่อมาภายหลังฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่ปฏิบัติตามสัญญาคู่กรณี อีกฝา่ ยหน่งึ จะต้องทำอยา่ งไร ก นำสัญญาประนีประนอมยอมความดังกล่าวไปฟ้องร้องต่อศาลเพื่อบังคับให้อีกฝ่ายปฏิบัติตามสัญญา ประนปี ระนอมยอมความที่ทำขึ้น ข รอ้ งขอต่อศาลใหอ้ อกหมายบงั คบั คดไี ด้ ค ให้ค่กู รณีสามารถบงั คับเอากบั อีกฝ่ายได้ทนั ที ง ให้คู่กรณีบอกกล่าวทวงถามตามสัญญาประนีประนอมยอมความที่ทำขึ้น จากนั้นค่อยเจรจาเปลีย่ นแปลง เน้ือหาในสัญญาประนปี ระนอมยอมความ จ ใหร้ ้องขอต่อศาลใหแ้ ปลงหนต้ี ามสัญญาประนีประนอมยอมความเปน็ คา่ เสยี หาย ๙. ข้อใดกลา่ วถกู ตอ้ ง ก สัญญาประนปี ระนอมยอมความทท่ี ำในศาลคูก่ รณีทำในขณะทคี่ ดีได้ฟอ้ งรอ้ งต่อศาลแล้ว ข สัญญาประนีประนอมยอมความทีท่ ำในศาล หากคู่กรณีไมป่ ฏิบัตติ าม ศาลสามารถออกหมายบังคับคดีได้ เลย ค สัญญาประนปี ระนอมยอมความที่ทำนอกศาล คู่กรณีทำเพ่ือระงับข้อพิพาททีม่ ีอยู่เดมิ แต่คู่สัญญาฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่งไมย่ อมปฏบิ ตั ติ ามสัญญาประนปี ระนอมยอมความ ง สญั ญาประนปี ระนอมยอมความทีท่ ำนอกศาล คู่สญั ญาต้องฟอ้ งคดตี อ่ ศาลให้ศาลบังคับตามสญั ญา ประนีประนอมยอมความ จ ถกู ทกุ ข้อ ๑๐.สัญญาประนีประนอมยอมความ มอี ายุความเทา่ ไร ก 1 ปี ข 3 ปี ค 5 ปี ง 10 ปี จ 20 ปี
109 ตอนที่ 3 ให้วินจิ ฉยั ข้อเทจ็ จรงิ ต่อไปน้ี ข้อ ๑. รถยนตข์ องนายแดงกับรถยนตข์ องนายดำชนกนั ได้รบั ความเสียหายทงั้ คู่ ท้ังสองจงึ โตเ้ ถยี งกันและไปเจรจากัน ต่อที่สถานีตำรวจ นายแดงเรียกค่าเสียหายจากนายดำ 10,000 บาท และค่าทำขวัญ 3,000 บาท นายดำเห็นว่า เป็นค่าเสยี หายที่สูงไป นายแดงก็ไมย่ อมเพราะเห็นวา่ นายดำเปน็ ฝ่ายผิดตอนหลังจึงเจรจาลดเหลอื เฉพาะค่าซ่อมรถ 10,000 บาท และไมค่ ดิ คา่ ทำขวัญ จึงไดท้ ำสญั ญาประนปี ระนอมยอมความกนั ข้ึน ต่อมานายแดงอยากได้เงินค่าทำ ขวัญท่เี จรจาลดใหน้ ายดำนายแดงสามารถทำได้หรอื ไม่ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อ ๒. นายแดงขับรถชนนายดำขณะข้ามถนนบนทางม้าลาย แรกๆ นายดำยังไม่รู้สึกเจ็บ 6 เดือนต่อมานายดำรู้สึก ร่างกายไมป่ กติ จึงไปพบแพทย์ แพทยแ์ จ้งวา่ นา่ จะเปน็ ผลข้างเคียงของการถกู รถชน นายดำจงึ เรยี กร้องค่าเสียหาย จากนายแดง ซึ่งเจรจากันไปมาก็เกือบจะครบเวลา 1 ปีที่อายุความละเมิดจะขาดอายุความ จึงได้ทำสัญญา ประนีประนอมยอมความข้นึ วา่ นายแดงจะจ่ายค่าเสียหายจากการขบั รถชนน้ี 10,000 บาท พน้ ไป 2 ปี นายแดงก็ยัง ไม่จา่ ยคา่ เสียหาย อา้ งว่าคดีขาดอายุความแลว้ คำกลา่ วอา้ งของนายแดงฟังข้ึนหรอื ไม่ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
101
111 แผนการจดั การเรียนรู้ แผนการเรียนรู้ท่ี 11 กลุ่มสาระการเรียนร/ู้ รายวชิ า กฎหมาย สาระการเรียนรู้ ทักษะวชิ าชพี วิชา กฎหมายธุรกิจ รหัสวิชา 30001-1055 หลักสูตร ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ช้ันสงู (ปวส.1) หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 11 เรือ่ ง ตว๋ั เงนิ เวลาเรยี น 3 ช่วั โมง สปั ดาห์ท่ี 12 ผ้สู อน นางสาวกุลิสรา คงสงค์ ๑. สาระสำคญั ตั๋วเงิน คือ เอกสารหรือตราสารที่ใช้แทนเงินเพื่อแสดงการชำระหนี้ ซึ่งสามารถเปลี่ยนมือได้โดยไม่ จำเป็นต้องบอกกล่าวลูกหนีต้ ามตัว๋ เงิน และเมื่อกฎหมายกำหนดให้การชำระหน้ีตอ้ งทำเป็นเงินตรา การชำระ หน้ีดว้ ยตั๋วเงนิ ก็จะสมบรู ณ์เมือ่ ได้มกี ารใชเ้ งินตามต๋ัวเงนิ แลว้ ตั๋วเงนิ มอี ยู่ 3 ประเภทคือ ตวั๋ แลกเงนิ ตัว๋ สัญญาใช้ เงิน และเช็ค กฎหมายได้กำหนดให้ความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คเป็นคดีที่มีโทษทางอาญาเพื่อรักษาความ นา่ เช่อื ถอื ของเชค็ ไว้ ๒. มาตรฐานการเรยี นรู้ 1. ร้แู ละเข้าใจกฎหมายเก่ยี วกบั ต๋ัวเงิน 2. นำความรู้เร่ืองกฎหมายเก่ยี วกบั ต๋วั เงนิ ไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน 3. สามารถเขียนตั๋วเงินเบื้องต้นได้ 4. ร้แู ละเขา้ ใจพระราชบัญญตั วิ า่ ดว้ ยความผิดอนั เกิดจากการใช้เชค็ พ.ศ.2534 ๓. ตัวชีว้ ัด ความรเู้ บอ้ื งต้นเกี่ยวกับกฎหมายธุรกจิ (ตั๋วเงนิ ) ๔. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๑. นกั ศึกษาอธบิ ายความหมายของตัว๋ เงินแต่ละประเภทได้ (K) ๒. นกั ศึกษาอธิบายความแตกตา่ งระหว่างตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใชเ้ งนิ และเช็คได้ (K) ๓. นักศกึ ษาเขา้ ใจพระราชบญั ญตั ิวา่ ดว้ ยความผิดอนั เกิดจากการใช้เชค็ พ.ศ.2534 (K) ๔. นักศึกษาสามารถเขียนต๋วั เงินเบอ้ื งตน้ ได้ (P) ๕. นักศึกษานำความรู้ที่ศกึ ษาไปแกป้ ญั หาการดำรงชีวติ ประจำวันและงานอาชีพธรุ กจิ ได้ (P) ๖. นักศึกษาปฏิบัตติ ามกฎหมายไดอ้ ย่างถูกต้อง (A) ๕. สาระการเรยี นรู้ ความหมายและประเภทของต๋วั เงนิ ลักษณะของต๋วั เงิน - ตั๋วแลกเงิน (Bill of Exchange) - ต๋ัวสัญญาใช้เงนิ (Promissory Note)
112 - เชค็ (Cheque) การขีดคร่อมเช็ค ตวั๋ เงินทมี่ ีรายการไมค่ รบถ้วน ความรับผดิ และอายุความฟอ้ งรอ้ ง พระราชบญั ญัตวิ ่าดว้ ยความผดิ อันเกดิ จากการใช้เช็ค พ.ศ.2534 องคป์ ระกอบความผิดอนั เกดิ จากการใช้เชค็ อายคุ วาม การรอ้ งทกุ ข์ การควบคุมตัว ขงั สั่งปล่อยชวั่ คราวผู้ต้องหาหรือจำเลย การเลิกคดี ๖. กิจกรรมการเรยี นการสอน การจัดกิจกรรมโดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดการเรียนรู้แบบบรรยาย การจัดการเรียนรู้แบบใช้ คำถาม การสอนแบบให้ผู้เรียนเสนอรายงานในชั้นเรียน การเรียนการสอนแบบบูรณาการ และเรียนแบบ active learning ๗. สมรรถนะสำคญั ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต ๘. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ใฝ่เรยี นรู้ - มีความรับผิดชอบ ๙. ชน้ิ งาน/ภาระงาน - แบบฝึกหัดทา้ ยบทเรียน ๑๐.กระบวนการจัดการเรยี นรู้ การจัดกิจกรรมโดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดการเรียนรู้แบบบรรยาย การจัดการเรียนรู้แบบใช้ คำถาม การสอนแบบให้ผู้เรียนเสนอรายงานในชั้นเรียน การเรียนการสอนแบบบูรณาการ และเรียนแบบ active learning ขั้นนำเข้าสกู่ ารเรยี น ๑. ครูถามนักศกึ ษาวา่ ใครรู้จกั คำว่าตั๋วเงนิ บ้าง ๒. ครสู มุ่ ถามนักศกึ ษาวา่ ตั๋วเงินคืออะไร มีก่ปี ระเภท ข้นั สอน ๓. ครูอธบิ ายความหมายและประเภทของตั๋วเงิน ๔. ครูแบ่งนกั ศึกษาออกเปน็ 3 กล่มุ อภิปรายเกี่ยวกับลกั ษณะของตั๋วเงนิ - ต๋ัวแลกเงิน (Bill of Exchange) - ตว๋ั สัญญาใชเ้ งนิ (Promissory Note) - เชค็ (Cheque)
113 จากน้นั ครนู ำภาพให้นักศกึ ษาดแู ละอธบิ ายเพมิ่ เติม ๕. ครูนำเช็คท่ีขดี ครอ่ ม และช้ีให้นักศึกษาดูที่ขดี ครอ่ ม แล้วถามนกั ศึกษาวา่ ใครทราบบา้ งว่าคอื อะไร ๖. ครอู ธบิ ายเรอ่ื งการขีดคร่อมเช็ค ๗. ครูถามนกั ศึกษาว่า ต๋วั เงนิ ควรมีรายการใดบ้าง จากน้ันครอู ธิบายเร่อื งตั๋วเงินท่มี ีรายการไมค่ รบถว้ น ๘. ครอู ธิบายเร่อื งความรับผิดและอายคุ วามฟอ้ งร้อง ๙. ครูถามนักศกึ ษาว่าหากเขียนเช็ค แล้วเชค็ เดง้ บ่อยครั้งเขา้ จะเกิดอะไรขึน้ ๑๐.ครูใหน้ ักศกึ ษาอภปิ รายเร่อื งผลเสยี ต่อระบบเศรษฐกิจเมื่อเกิดเชค็ เด้ง ๑๑.ครูอธิบายพระราชบัญญตั วิ ่าดว้ ยความผิดอนั เกดิ จากการใชเ้ ช็ค พ.ศ.2534 ๑๒.ครอู ธบิ ายองค์ประกอบความผดิ อันเกิดจากการใชเ้ ชค็ จากนั้นคอ่ ยๆยกตวั อยา่ งประกอบ ๑๓.ครูอธิบายเร่อื งอายุความ ๑๔.ครใู ห้นกั ศึกษาอภิปรายเร่ืองการร้องทุกข์ การควบคมุ ตัว ขัง ส่งั ปล่อยช่วั คราวผู้ต้องหาหรือจำเลย การ เลิกคดี ขัน้ สรปุ และประยกุ ต์ ๑๕.ครูใหน้ กั ศกึ ษาทำคำถามทา้ ยหนว่ ยการเรียนรู้ ๑๖.ครใู หน้ กั ศกึ ษาจับค่กู ันเปรยี บเทยี บคำตอบ ๑๗.ครูเฉลยพรอ้ มกันท้ังชัน้ ๑๑.วสั ดุ อุปกรณ์สื่อ และแหล่งเรียนรู้ ๑. หนังสือเรยี นวิชากฎหมายธุรกจิ ๒. แบบฝึกหัดท้ายบทเรยี น ๑๒.การวัดและประเมนิ ผล วธิ ีวดั ผล ๑. ประเมนิ ผลความก้าวหนา้ ของตนเอง ๒. ประเมินความเรียบร้อยของใบงาน ๓. สังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ๔. ประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกล่มุ ๕. การสงั เกตและประเมนิ ผลพฤติกรรมด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ เคร่ืองมอื วดั ผล ๑. แบบประเมินผลความก้าวหน้าของตนเอง ๒. ใบงานในหนังสือเรียน ๓. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
114 ๔. ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุม่ ๕. การสงั เกตและประเมินผลพฤติกรรมดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เกณฑก์ ารประเมินผล ๑. แบบประเมนิ ผลความก้าวหน้าของตนเอง เกณฑ์ผ่าน 50% ข้ึนไป ๒. ใบงานในหนงั สอื เรียน เกณฑผ์ า่ น 50% ขึ้นไป ๓. เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ต้องไม่มีชอ่ งปรับปรงุ ๔. เกณฑ์ผา่ นการสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป) ๕. การสงั เกตและประเมินผล ๖. พฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ คะแนน ๑๓.การบูรณาการ นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปใช้ในวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ ในการวางแผนในการทำธุรกิจ การทำ สัญญาต่างๆ และการจัดตั้งบริษัทซึ่งต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย นักศึกษาแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ นำ ความรู้ไปเชอ่ื มโยงเก่ียวกับพระราชบญั ญัติการใชค้ อมพิวเตอร์
115 ๑๔.บันทึกหลังการสอน ............................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ......... ............................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ลงชือ่ ............................................. (นางสาวกุลิสรา คงสงค)์ ครูผู้สอน ๑๕.ข้อเสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. ...................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ......... ............................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ลงช่ือ...................................................... (นางสาวปานทิพย์ จันทรเ์ รืองฤทธ)ิ์ หัวหน้าแผนกวชิ าการจดั การท่วั ไป
116 แบบประเมินผลการเรยี นรู้ หน่อยที่ 11 ตอนท่ี 1 จงตอบคำถามต่อไปน้ี ๑. ต๋วั เงนิ คืออะไร แบ่งออกได้เปน็ กปี่ ระเภท และแตล่ ะประเภทมีลักษณะอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. อาวลั คอื อะไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. \"ดราฟต\"์ (Draft) คอื ต๋ัวเงนิ ประเภทใด ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๔. การขีดคร่อมเช็คคอื อะไร มลี ักษณะใดบา้ ง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๕. ต๋ัวเงินท่ีไมร่ ะบเุ วลาทีใ่ ชเ้ งนิ ให้ถือวา่ ใช้เงนิ เม่อื ใด ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๖. บุคคลใดบา้ งท่ีอาจตอ้ งรับผดิ เพราะการลงลายมือช่ือในตว๋ั เงิน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๗. ใหย้ กตวั อย่างกรณีต๋ัวเงนิ ทม่ี อี ายคุ วามการฟอ้ งร้องตามต๋ัว 3 ปี ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
117 ๘. ใหย้ กตวั อย่างกรณตี ั๋วเงินท่ีมอี ายุความการฟ้องรอ้ งตามตว๋ั 1 ปี ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๙. เพราะเหตุใดจงึ ต้องมกี ารกำหนดโทษทางอาญาสำหรบั ความผิดอันเกดิ จากการใช้เช็ค ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑๐.ยกตัวอย่างการกระทำที่เป็นความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. 2534 มา 3 ตวั อยา่ ง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
118 ตอนที่ 2 ใหท้ ำเครอื่ งหมาย x เลอื กคำตอบท่ถี ูกตอ้ งทส่ี ุด 1. ข้อใดไมใ่ ช่ประโยชนข์ องตว๋ั เงนิ ก สะดวกต่อการตรวจนบั ข การขนยา้ ยง่าย ค ความปลอดภัยในการพกพา ง เปล่ียนมอื ไมไ่ ด้ จ มีกฎหมายรบั รอง 2. ตัว๋ เงินทผ่ี ู้ออกตวั๋ จะเป็นผ้จู ่ายเงนิ ตามตว๋ั ให้แก่ผู้รับเงินตามตวั๋ เองคอื ขอ้ ใด ก ตวั๋ แลกเงิน ข ตั๋วสญั ญาใช้เงนิ ค เชค็ ง ขอ้ ก และ ข จ ขอ้ ข และ ค 3. ตว๋ั เงินประเภทใดที่ธนาคารเป็นผู้จ่ายเงนิ ก ตั๋วแลกเงิน ข ตั๋วสญั ญาใชเ้ งนิ ค เชค็ ง ขอ้ ก และ ข จ ข้อ ก และ ค 4. ขอ้ ใดกล่าวไม่ถูกตอ้ งเกยี่ วกบั ต๋ัวเงนิ ก เป็นตราสาร ข สามารถเปลยี่ นมือไดด้ ้วยการส่งมอบ ค ใช้ลายพิมพน์ วิ้ มอื และพยานลงลายมอื ช่ือ 2 คนแทนการลงลายมอื ชือ่ ได้ ง บคุ คลผมู้ ตี ั๋วไว้ในครอบครองในฐานะเป็นผู้รับเงินเรยี กว่า “ผูท้ รง” จ ต๋วั เงินทส่ี ่งั ใช้เงินแก่ผู้ถือ การโอนต๋วั เงนิ สามารถทำได้ด้วยการส่งมอบ 5. ตว๋ั เงินท่มี กี ารสลักหลังลอย คอื อะไร ก ตั๋วเงนิ ระบุชอ่ื ผูร้ บั เงิน ข ต๋ัวเงนิ ทก่ี ารโอนตว๋ั เงนิ ในครัง้ ตอ่ ๆ ไปสามารถทำไดโ้ ดยการสง่ มอบเพยี งอย่างเดยี ว ค ตั๋วเงนิ ที่หา้ มเปลย่ี นช่ือ ง ตั๋วเงินท่ีไมม่ กี ารรับประกัน จ การทำใหต้ วั๋ เงนิ เป็นโมฆะ 6. คำวา่ “อาวัล” มคี วามหมายใกลเ้ คียงกบั คำใดมากทสี่ ุด ก ส่งั จา่ ย ข ลงช่อื รับเงนิ ค รับประกนั ง ทราบ จ ห้ามโอน
119 7. ขอ้ ใดไมป่ รากฏในตว๋ั แลกเงนิ ก คำวา่ ต๋ัวแลกเงิน ข จำนวนเงนิ ค ชอ่ื ผ้รู บั เงนิ ง ลายมอื ชอื่ ผูส้ ั่งจ่าย จ ลายมอื ชื่อผู้จา่ ย พิจารณาตว๋ั เงินดา้ นลา่ งแล้วตอบคำถามขอ้ 8 - 9 8. ใครเปน็ “ผูจ้ ่าย” ตามตวั๋ เงนิ ด้านบน ก นายสัจจาวุฒิ รอดสำราญ ข นายชม รักดี ค ธนาคารเอมพันธ์ ง ผู้ถือเช็ค จ ไมป่ รากฏ 9. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกีย่ วกบั ตวั๋ เงินฉบับขา้ งตน้ ก เป็นต๋วั เงนิ ประเภทต๋วั สญั ญาใชเ้ งิน ข นายสัจจาวฒุ ิ รอดสำราญเปน็ ผูส้ ั่งจ่ายเงิน ค นายชม รักดี เป็นผู้รบั เงนิ ง ธนาคารไม่สามารถจา่ ยเปน็ เงนิ สดได้ จ ธนาคารเอมพนั ธเ์ ปน็ ผู้อาวัลตว๋ั เงนิ 10. ข้อใดเป็นอายุความตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ.2534 นับแต่วันที่รู้เรื่อง ความผดิ นน่ั คอื วนั ท่ธี นาคารปฏิเสธการจ่ายเงินและรตู้ ัวผู้กระทำความผิด ก 1 เดอื น ข 3 เดอื น ค 6 เดอื น ง 1 ปี จ 2 ปี
120 ตอนที่ 3 ใหว้ ินิจฉัยขอ้ เทจ็ จรงิ ต่อไปนี้ ข้อ ๑. นายแดงซอ้ื ขา้ วสารจากนายดำ 400,000 บาท วนั ท่ี 1 เมษายน 2558 สนิ คา้ มาสง่ นายแดงจึงเขียนเช็คมอบให้ นายดำ ลงวันที่ 20 เมษายน 2558 7 วันต่อมานายดำจ่ายค่าต่อเติมโรงสีให้แก่นายขาวซึ่งเป็นผู้รับเหมาโดยสลกั หลังเช็คและส่งมอบให้นายขาว ครั้นถึงวันท่ีกำหนดตามเช็คธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงนิ เนื่องจากเงินในบัญชีท่สี งั่ จ่ายเชค็ มไี ม่เพยี งพอ นายขาวจึงเรียกเอาจากนายดำ แรกเร่มิ นายดำปฏเิ สธอ้างว่าคนส่ังจ่ายเช็คคือนายแดงแต่ด้วย นายดำกลัวจะเสียเครดิตทางการคา้ นายดำจึงจ่ายเงินสดให้ 400,000 บาทแทน ถามว่า นายดำสามารถเรียกร้อง เงิน 400,000 บาท ท่ีจ่ายไปจากใคร ได้หรือไม่ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขอ้ ๒. นายเปรี้ยวสั่งจ่ายเช็คขีดคร่อม และมีข้อความ A/C Payee only แก่นายหวาน ยอดเงิน 40,000 บาทถ้วน ต่อมานายหวานสลักหลังเช็คและสง่ มอบให้นายเค็ม นายเค็มนำไปขึ้นเงนิ และปฏิเสธการจา่ ยเงนิ ทั้งคู่จึงมาตำหนิ และเรยี กรอ้ งจากนายเปร้ยี ว นายเปร้ียวจึงมาปรกึ ษานักศึกษา นักศกึ ษาจะใหค้ วามเหน็ อยา่ งไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อ ๓. นายเกง่ เป็นหนี้เงินก้นู ายกาจ 400,000 บาท นายกาจคดิ ดอกเบี้ยเงนิ ก้รู ้อยละ 2 บาทต่อเดือนต่อมาธุรกิจของ นายเก่งไมค่ ่อยราบรื่น เงินสดจงึ ขาดมือ นายกาจจึงใหน้ ายเกง่ เขยี นเชค็ ค่าดอกเบ้ียจำนวน 8,000 บาท มอบให้ตน แทน คร้ันพอนายกาจนำเช็คไปขึน้ เงนิ ธนาคารกลับปฏิเสธการจ่ายเงนิ เนอ่ื งจากจำนวนเงินในบญั ชีของนายเก่งมีไม่ เพยี งพอ นายเก่งมีความผิดตามพระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยความผดิ อนั เกดิ จากการใชเ้ ชค็ พ.ศ.2534 หรอื ไม่ อยา่ งไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
110
122 แผนการจดั การเรียนรู้ แผนการเรียนรทู้ ี่ 12 กลุ่มสาระการเรียนร้/ู รายวชิ า กฎหมาย สาระการเรยี นรู้ ทักษะวิชาชีพ วิชา กฎหมายธุรกจิ รหัสวิชา 30001-1055 หลักสูตร ประกาศนียบัตรวชิ าชีพชนั้ สูง(ปวส.1) หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 12 เรือ่ ง การจดั ตงั้ และการดำเนนิ งานห้างห้นุ สว่ น บรษิ ัทจำกดั และบรษิ ทั มหาชนจำกัด สปั ดาห์ท่ี 13 - 14 เวลาเรียน 3 ช่ัวโมง ผสู้ อน นางสาวกุลสิ รา คงสงค์ ๑. สาระสำคญั บุคคลสามารถประกอบกิจการได้โดยการทำสัญญาเข้าเป็นหุ้นส่วน ตลอดจนไปจดทะเบียนเพื่อให้ สถานประกอบการนั้นๆกลายเป็นนิติบุคคล เช่น ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัท โดยมีผู้ดำเนินการในสถาน ประกอบการน้ันๆ เรยี กว่าผจู้ ดั การ ซ่งึ จะต้องทำหนา้ ทีภ่ ายใตว้ ัตถุประสงคข์ องสถานประกอบการนัน้ ๆ มิฉะนัน้ จะตอ้ งรับผิดเปน็ การส่วนตวั บรษิ ัทมหาชนจำกัด เป็นนติ ิบุคคล ทีใ่ ห้ประชาชนท่วั ไปมีสว่ นรว่ มในการดำเนนิ กิจการโดยอยู่ในรปู ของ การถอื หุ้น หรอื การเปดิ ใหซ้ ้อื ขายหนุ้ ในตลาดหลกั ทรัพย์ ๒. มาตรฐานการเรียนรู้ 1. รู้และเข้าใจกฎหมายเกี่ยวกับการจัดตั้งและการดำเนินงานห้างหุ้นส่วน บริษัทจำกัด และบริษัทมหาชน จำกดั 2. นำความรู้เรอ่ื งกฎหมายเกี่ยวกบั การจัดต้ังและการดำเนินงานหา้ งหุ้นสว่ น บริษัทจำกัด และบริษัทมหาชน จำกัดไปใช้ในชีวิตประจำวนั ๓. ตวั ชี้วัด ความรู้เบอ้ื งตน้ เกยี่ วกับกฎหมายธรุ กจิ (การจัดต้งั และการดำเนินงานหา้ งหนุ้ สว่ น บริษัทจำกัด และ บรษิ ทั มหาชนจำกดั ) ๔. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. นักศกึ ษาสามารถอธบิ ายเกี่ยวกับการจดั ตงั้ และการดำเนินงานหา้ งห้นุ ส่วน บรษิ ัทจำกดั และบริษัทมหาชน จำกดั ได้ (K) ๒. นักศึกษาสามารถอธิบายความแตกต่างระหว่างการดำเนินงานห้างหนุ้ ส่วน บริษทั จำกัด และบรษิ ัทมหาชน จำกัดได้ (K) ๓. นกั ศึกษาเข้าใจและอธิบายวิธีการบริหารจัดการการดำเนินงานห้างหนุ้ ส่วน บริษทั จำกัด และบรษิ ัทมหาชน จำกดั ได้ (K) ๔. นกั ศกึ ษานำความรู้ทศ่ี กึ ษาไปแก้ปัญหาการดำรงชวี ติ ประจำวนั และงานอาชีพธรุ กจิ ได้ (P) ๕. นกั ศกึ ษาปฏบิ ัตติ ามกฎหมายได้อย่างถูกต้อง (A)
123 ๕. สาระการเรยี นรู้ ความหมายและลักษณะการดำเนนิ งานของหา้ งหนุ้ ส่วน ห้างหนุ้ ส่วนสามัญ ห้างหนุ้ สว่ นสามญั นิติบุคคล - การดำเนนิ งานของห้างห้นุ ส่วนสามญั นิติบุคคล หา้ งหุ้นส่วนจำกัด - การดำเนนิ งานของหา้ งหุ้นสว่ นจำกดั บริษทั จำกดั - ลักษณะของบริษทั จำกัด - การดำเนินงานของบริษทั ผู้ดำเนินงานบริษัท การประชุมใหญ่ มตขิ องท่ีประชมุ ใหญ่ เงินปนั ผล การเพม่ิ ทนุ และลดทุน - การเลกิ บริษัท การชำระบญั ชี บรษิ ทั มหาชนจำกัด - ความหมายและลกั ษณะของบรษิ ัทมหาชนจำกัด - การจัดตั้งบรษิ ัทมหาชนจำกดั - การดำเนินงานของบรษิ ทั มหาชนจำกดั - การเลกิ บริษัทมหาชนจำกดั ๖. กจิ กรรมการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมโดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดการเรียนรู้แบบบรรยาย การจัดการเรียนรู้แบบใช้ คำถาม การสอนแบบให้ผู้เรียนเสนอรายงานในชั้นเรียน การเรียนการสอนแบบบูรณาการ เรียนแบบ active learning และการเรยี นแบบผังความคิด ๗. สมรรถนะสำคัญ ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ ๘. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ - ใฝเ่ รยี นรู้ - มคี วามรบั ผิดชอบ ๙. ชิน้ งาน/ภาระงาน - แบบฝกึ หดั ทา้ ยบทเรยี น ๑๐.กระบวนการจัดการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมโดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดการเรียนรู้แบบบรรยาย การจัดการเรียนรู้แบบใช้ คำถาม การสอนแบบให้ผู้เรียนเสนอรายงานในชั้นเรยี น การเรียนการสอนแบบบูรณาการ เรียนแบบ active learning และการเรียนแบบผงั ความคิด ขั้นนำเขา้ สู่การเรียน ๑. ครูถามนักศึกษาว่าอนาคตใครอยากทำงานบรษิ ทั บ้าง จากนัน้ ให้นกั ศึกษาอธิบายเหตุผล
124 ๒. ครถู ามนกั ศกึ ษาต่อว่า ใครจะเปดิ บริษทั เองบ้าง จากน้ันใหน้ กั ศกึ ษาอธบิ ายเหตุผล ข้ันสอน ๓. ครูอธิบายความหมายและลกั ษณะการดำเนนิ งานของห้างห้นุ ส่วน ๔. ครอู ธิบายเรื่อง ห้างหนุ้ ส่วนสามัญ และห้างหนุ้ สว่ นสามญั นติ ิบุคคล ๕. ครูอธบิ ายการดำเนนิ งานของหา้ งหนุ้ ส่วนสามัญนติ ิบคุ คล ๖. ครูอธิบายเร่ืองหา้ งหุ้นส่วนจำกดั และการดำเนินงานของห้างหุน้ ส่วนจำกัด ๗. ครูอธิบายเร่ืองบรษิ ัทจำกัด ลักษณะของบริษัทจำกัด ๘. ครแู บ่งนักศึกษาออกเป็น 8 กลมุ่ อภิปรายเรอื่ งการดำเนนิ งานของบรษิ ัทในหัวขอ้ ตา่ งๆ - ผดู้ ำเนินงานบริษทั - การประชมุ ใหญ่ - มตขิ องทปี่ ระชมุ ใหญ่ - เงนิ ปนั ผล - การเพมิ่ ทนุ และลดทนุ - การเลกิ บริษัท - การชำระบัญชี จากนน้ั ครูอธิบายเพม่ิ เตมิ ๙. ครอู ธิบายความหมายและลักษณะของบรษิ ทั มหาชนจำกัด ๑๐.ครูแบ่งนักศึกษาออกเป็น 3 กลุ่ม อภิปรายเรื่อง การจัดตั้งบริษัทมหาชนจำกัด การดำเนินงานของ บรษิ ทั มหาชนจำกัด การเลกิ บรษิ ัทมหาชนจำกัด จากนนั้ ครอู ธบิ ายเพิม่ เตมิ ขั้นสรปุ และประยกุ ต์ ๑๑.ครูให้นกั ศกึ ษาทำคำถามทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้ ๑๒.ครูให้นกั ศึกษาจบั คู่กนั เปรยี บเทยี บคำตอบ ๑๓.ครเู ฉลยพรอ้ มกนั ท้งั ช้ัน ๑๑.วสั ดุ อปุ กรณส์ อื่ และแหล่งเรียนรู้ ๑. หนังสอื เรียนวิชากฎหมายธรุ กิจ ๒. แบบฝึกหัดทา้ ยบทเรยี น ๑๒.การวัดและประเมนิ ผล วธิ วี ดั ผล ๑. ประเมินผลความก้าวหนา้ ของตนเอง ๒. ประเมินความเรยี บรอ้ ยของใบงาน ๓. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ๔. ประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม ๕. การสงั เกตและประเมินผลพฤติกรรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ เครือ่ งมือวดั ผล ๑. แบบประเมนิ ผลความก้าวหน้าของตนเอง ๒. ใบงานในหนงั สือเรียน ๓. สังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล ๔. ประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม ๕. การสังเกตและประเมินผลพฤตกิ รรมด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
125 เกณฑก์ ารประเมนิ ผล ๑. แบบประเมินผลความก้าวหนา้ ของตนเอง เกณฑผ์ า่ น 50% ขนึ้ ไป ๒. ใบงานในหนังสอื เรียน เกณฑ์ผา่ น 50% ขึน้ ไป ๓. เกณฑผ์ ่านการสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล ตอ้ งไม่มชี อ่ งปรบั ปรุง ๔. เกณฑ์ผา่ นการสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป) ๕. การสงั เกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนน ๑๓.การบูรณาการ นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปใช้ในวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ ในการวางแผนในการทำธุรกิจ การทำ สัญญาต่างๆ และการจัดตั้งบริษัทซึ่งต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย นักศึกษาแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ นำ ความรู้ไปเชอื่ มโยงเกย่ี วกบั พระราชบัญญัติการใช้คอมพวิ เตอร์
126 ๑๔.บันทึกหลังการสอน ............................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ......... ............................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ............................................. (นางสาวกลุ ิสรา คงสงค์) ครผู ้สู อน ๑๕.ข้อเสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. ...................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ลงช่อื ...................................................... (นางสาวปานทพิ ย์ จันทร์เรืองฤทธิ)์ หวั หน้าแผนกวชิ าการจดั การทั่วไป
127 แบบประเมินผลการเรยี นรู้ หน่วยที่ 12 ตอนท่ี 1 จงตอบคำถามตอ่ ไปน้ี ๑. การเปน็ เจ้าของกิจการทางธรุ กจิ เองของบุคคลคนเดียว (Sole Proprietorship) มีขอ้ ดขี ้อเสยี อยา่ งไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ลักษณะของสญั ญาเข้าเป็นหนุ้ สว่ นมีลักษณะอยา่ งไรบ้าง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. หุ้นสว่ นตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์มีกปี่ ระเภท อะไรบา้ ง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๔. “ห้างหุน้ สว่ นสามญั คือ หา้ งหุ้นสว่ นประเภทที่ผเู้ ปน็ หุ้นส่วนทุกคนตอ้ งรว่ มรบั ผดิ เพอ่ื หน้ที ัง้ ปวงของหุ้นส่วนโดย ไมม่ ขี ดี จำกดั ” ขอ้ ความท่ขี ดี เส้นใต้ หมายความว่าอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๕. ผดู้ ำเนนิ การจัดการห้างของหา้ งหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล คอื ใคร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
128 ๖. หนุ้ สว่ นในห้างหนุ้ ส่วนจำกัด มีก่จี ำพวก อะไรบา้ ง และมลี กั ษณะอยา่ งไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๗. หนังสอื บรคิ ณหส์ นธคิ อื อะไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๘. การประชุมใหญ่ คืออะไร มกี ่ีประเภท ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๙. มติพเิ ศษคอื อะไร การใดบา้ งทีก่ ฎหมายกำหนดวา่ ต้องมีมติพิเศษ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑๐.เงนิ ปันผล หมายถงึ อะไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑๑.หุน้ บุรมิ สทิ ธคิ ืออะไร การควบคุมการดำเนนิ การของผู้ถือหุน้ บรุ ิมสทิ ธิ ทำได้อย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
129 ๑๒.การเพ่มิ ทนุ และการลดทุนคอื อะไร และเพราะเหตุใดตอ้ งมีการเพม่ิ ทนุ และลดทุน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑๓.การเลิกบรษิ ัทด้วยผลของกฎหมายมอี ยู่อยา่ งไรบา้ ง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑๔.บริษัทมหาชนจำกัด มีลกั ษณะอยา่ งไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑๕.การเลิกบรษิ ทั มหาชนจำกดั มีลักษณะใดบา้ ง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
130 ตอนที่ 2 ให้ทำเคร่ืองหมาย x เลือกคำตอบท่ีถกู ตอ้ งที่สุด ๑. ข้อใดกลา่ วไมถ่ กู ตอ้ งเกยี่ วกับการเขา้ เป็นหนุ้ ส่วน ก ต้องมีบุคคลตง้ั แต่ 2 คนขน้ึ ไป ข มกี ารตกลงกนั โดยนำทนุ มาเขา้ ร่วม ค ทุนทน่ี ำมาลงต้องเปน็ เงนิ เท่าน้นั ง กระทำกิจกรรมรว่ มกันตามวัตถุประสงค์ท่ตี กลงกนั ไว้ จ ไม่จำเป็นตอ้ งมีข้อตกลงเกยี่ วกับการแบ่งกำไรหรอื เฉล่ียขาดทนุ ไวก้ ็ได้ ๒. ข้อใดไม่เป็นนติ ิบคุ คล ก หา้ งหุน้ ส่วนสามัญ ข ห้างห้นุ สว่ นสามัญจดทะเบียน ค หา้ งหนุ้ ส่วนจำกัด ง บริษทั จำกดั จ บรษิ ัทมหาชนจำกัด ๓. ความรบั ผดิ ของห้นุ ส่วนในห้างหุน้ สว่ นสามญั เปน็ อย่างไร ก ไม่ต้องรับผิด ข ต่างคนตา่ งรบั ผิด ค แตล่ ะคนรับผิดตามหนุ้ ที่ตกลง ง หุน้ ส่วนทกุ คนตอ้ งรว่ มรบั ผดิ จ หุน้ สว่ นใหญ่เป็นผูร้ ับผดิ ๔. ข้อใดไม่เปน็ เหตใุ ห้หา้ งหุน้ ส่วนสามัญเลกิ กัน ก เกดิ กรณีตามที่ได้ตกลงกนั ไว้ ข เม่ือถึงเวลาท่ตี กลงกนั ไว้ ค ทำกจิ การใดสำเร็จลงตามทตี่ กลง ง เมื่อผู้เปน็ หุ้นสว่ นคนใดคนหนง่ึ ตาย จ เมอ่ื หา้ งหุ้นส่วนประสบภาวะขาดทุน ๕. ข้อใดกลา่ วไม่ถกู ต้องเกยี่ วกบั ห้างห้นุ สว่ นสามัญนติ ิบุคคล ก ต้องมีผู้ดำเนินการจดการหา้ งเรียกว่า หนุ้ ส่วนผ้จู ัดการ ข ผ้เู ป็นหนุ้ สว่ นหา้ มทำการคา้ ขายแข่งกบั หา้ ง ไมว่ า่ จะเพ่ือประโยชน์ของตนเองหรือผ้อู ื่น ค ตวั หา้ งจะเป็นลูกหนอ้ี ันดบั แรกหรือลกู หนีช้ ัน้ ที่หน่ึง ง ผูเ้ ปน็ ห้นุ สว่ นมสี ิทธิเรียกเอาทรัพยส์ ินของห้างมาชำระหนส้ี ่วนตวั จ หากการใดที่ทำนอกวัตถุประสงค์ของห้างให้การนน้ั ผกู พันเปน็ การสว่ นตวั หา้ งมสี ิทธิทจี่ ะปฏเิ สธไมร่ ับผิด จากการกระทำน้นั ๆ ได้
131 ๖. การดำเนนิ การของหา้ งห้นุ ส่วนสามัญนิติบุคคลข้อใดเกดิ ข้ึนหลงั สดุ ก ชำระหนี้ของห้างแกเ่ จ้าหน้ี ข ตง้ั ผู้สอบบัญชี ค ทำบัญชงี บดลุ ส่งให้ผู้สอบบัญชี ง เรียกประชุมใหญเ่ พอ่ื รับรองและอนมุ ัตบิ ญั ชงี บดุล จ จดทะเบียนเสร็จการชำระบญั ชี ๗. ขอ้ ใดกล่าวถงึ หุน้ ส่วนจำพวกจำกดั ความรับผิดไมถ่ ูกต้อง ก ผู้เป็นหุ้นส่วนจำพวกจำกัดความรับผดิ สามารถโอนหุ้นของตนไดโ้ ดยไม่ตอ้ งได้รบั ความยนิ ยอมจากหุ้นสว่ น อ่นื ได้ ข การตายของผเู้ ป็นหนุ้ สว่ นจำพวกจำกัดความรับผิดไมท่ ำใหห้ า้ งเลกิ กนั ค จะเอาชื่อผู้เป็นห้นุ สว่ นจำพวกจำกัดความรับผิดมาเป็นชอ่ื ของห้างไมไ่ ด้ ง ผเู้ ปน็ หุน้ ส่วนจำพวกจำกัดความรับผิดไม่มสี ิทธิจัดการงานของหา้ ง จ ผู้เปน็ หนุ้ ส่วนจำพวกจำกดั ความรบั ผดิ จะลงหนุ้ เปน็ เงินทรัพยส์ นิ หรอื แรงงานกไ็ ด้ ๘. บริษัทจำกดั ต้องมีผูถ้ ือหุน้ ตง้ั แตก่ ีค่ นขึน้ ไป ก 3 คน ข 4 คน ค 5 คน ง 7 คน จ 15 คน ๙. บรษิ ัทมีการแบ่งทนุ เป็นหุ้น ไม่ตำ่ กว่าห้นุ ละเท่าไร ก 1 บาท ข 3 บาท ค 5 บาท ง 10 บาท จ 20 บาท ๑๐.ขอ้ ใดเปน็ ข้อมูลที่ปรากฏในหนังสือบริคณห์สนธิ ก ชือ่ บรษิ ัทท่ีจองไว้ ข วตั ถุประสงคก์ ารจัดต้ังบริษทั ค จำนวนทนุ ง จำนวนหนุ้ และราคาหุ้น จ ถกู ทุกข้อ
132 ๑๑.ขอ้ ใดกลา่ วไม่ถูกตอ้ ง ก ผ้ดู ำเนนิ งานบรษิ ัท คอื ผู้ถอื หุน้ ข กรรมการบรษิ ทั เปน็ ผู้แทนของบริษัท ค กรรมการบรษิ ัทชดุ แรกถกู แต่งต้ังโดยท่ปี ระชมุ ใหญ่ของการตงั้ บรษิ ัท ง เม่ือมีการเปล่ยี นแปลงเกย่ี วกบั กรรมการบรษิ ัทตอ้ งนำรายชื่อไปจดทะเบยี นต่อนายทะเบยี นภายใน 14 วนั จ กรรมการบริษัทไมจ่ ำเป็นตอ้ งเป็นผถู้ ือหุน้ ๑๒.ขอ้ ใดไม่ทำใหก้ รรมการบริษทั พน้ จากตำแหน่ง ก การออกตามวาระ ข การตาย ค ท่ีประชมุ ใหญม่ ีมตใิ ห้ถอดถอน ง เป็นคนลม้ ละลาย จ กรรมการบรหิ ารแลว้ ส่งผลให้บริษทั ขาดทนุ ๑๓.เม่อื จดทะเบียนบรษิ ทั แลว้ เรียกประชมุ ใหญ่สามญั ภายในเวลาเท่าไร ก 1 เดอื น ข 3 เดอื น ค 6 เดือน ง 12 เดือน จ 18 เดอื น ๑๔.ขอ้ ใดท่ีกฎหมายบัญญัติใหใ้ นทป่ี ระชุมใหญ่ตอ้ งทำเปน็ มตพิ เิ ศษ ก การเพมิ่ ทุนของบริษทั ข การลดทนุ ของบริษทั ค การเลิกบริษทั ง การควบบรษิ ัทเข้ากนั จ ถกู ทุกขอ้ ๑๕.เงินตอบแทนจากการลงทนุ ที่บรษิ ทั จ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นคอื ขอ้ ใด ก กำไร ข ดอกเบ้ีย ค เงินปันผล ง หุ้นกู้ จ สนิ ทรัพย์ ๑๖.ข้อใดคือการควบคมุ การบรหิ ารงานของผู้ถือหุ้นบุรมิ สทิ ธิ ก การทไี่ ม่ให้มีการปนั ผลแก่ผู้ถอื หุ้น ข การขายหนุ้ เฉพาะบคุ คลภายในบริษัท ค การจำกัดสิทธใิ นการออกเสยี ง ง สิทธิในการได้รบั เงินปนั ผลหลงั ผูถ้ ือหุน้ สามญั จ ถกู ทุกขอ้
133 ๑๗.หากบรษิ ทั ตอ้ งการขยายกิจการแตไ่ มป่ ระสงคจ์ ะกูย้ ืมเงิน สามารถทำได้โดยวธิ กี ารใด ก ออกพันธบัตร ข การลดทนุ ค การออกหุ้นใหม่ ง การลดจำนวนกรรมการ จ การลดจำนวนหุ้น ๑๘.ข้อใดไมใ่ ชเ่ หตแุ ห่งการเลกิ บริษัทด้วยผลของกฎหมาย ก เกดิ เหตุตามทีก่ ำหนดไวใ้ นขอ้ บังคับของบรษิ ทั ข เม่ือเสร็จการที่บรษิ ทั ได้ตงั้ ขน้ึ เฉพาะเพ่อื ทำกิจการอย่างหนง่ึ อย่างใดแต่อยา่ งเดียว ค มีมตพิ ิเศษให้เลิก ง บรษิ ทั ลม้ ละลาย จ กจิ การของบริษทั ทำไปมแี ต่ขาดทนุ ไมอ่ าจจะกลับฟ้นื ตัวได้ ๑๙.กฎหมายกำหนดให้มีผู้เร่ิมจัดตงั้ บรษิ ัทไมน่ อ้ ยกวา่ จำนวนเท่าใด ก 3 คน ข 5 คน ค 7 คน ง 10 คน จ 15 คน ๒๐.ผูเ้ ริม่ จัดตั้งบริษทั จะต้องยื่นแบบแสดงขอ้ มูลเสนอขายหุ้นและรา่ งหนงั สือชี้ชวนการเสนอขายหนุ้ นน้ั ต่อองค์กรใด ก กระทรวงการคลัง ข กระทรวงพาณิชย์ ค สำนักงานคณะกรรมการคมุ้ ครองผู้บริโภค ง คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ จ กรมสรรพสามติ
134 ตอนที่ 3 ให้จบั คู่ข้อความทางซา้ ยมือและขวามือใหส้ ัมพันธก์ นั _____๑. เจ้าของกจิ การทางธุรกจิ เพยี งลำพัง ก. องค์กรทางธรุ กจิ ที่เป็นนติ บิ คุ คลและหนุ้ ส่วนทกุ คน _____๒. หา้ งหุ้นส่วนสามัญนติ บิ ุคคล ร่วมกนั รบั ผดิ แบบไมจ่ ำกัด _____๓. ห้างหุ้นส่วนจำกัด ข. การประชุมผู้ถอื หุ้นทงั้ หมด _____๔. บรษิ ัทจำกดั ค. องค์กรทางธุรกิจทเี่ ป็นนติ ิบุคคลและมีหุน้ สว่ นจำกัดความ _____๕. หนงั สอื บริคณหส์ นธิ รับผดิ และไม่จำกัดความรบั ผิด _____๖. กรรมการ ง. เงนิ ตอบแทนแก่ผู้ถือหุ้น _____๗. ประชุมใหญ่ จ. การขยายกจิ การของบรษิ ัทโดยไมต่ ้องกเู้ งิน _____๘. เงินปนั ผล ฉ. องค์กรทางธุรกิจทต่ี อ้ งมีผถู้ ือหุ้นต้ังแต่ 3 คนขึ้นไป _____๙. การเพ่มิ ทนุ ช. องค์กรทางธรุ กจิ ทใ่ี ห้บุคคลทั่วไปเขา้ ซอ้ื หุ้นได้ _____๑๐. บริษัทมหาชนจำกดั ซ. ผู้แทนของบริษัท ฌ. เอกสารจดทะเบยี นบรษิ ทั ญ. กิจการที่เจ้าของมีอำนาจตัดสินใจแต่เพยี งผเู้ ดียว
135
136 แผนการจดั การเรียนรู้ แผนการเรียนรู้ที่ 13 กลมุ่ สาระการเรยี นร/ู้ รายวชิ า กฎหมาย สาระการเรยี นรู้ ทกั ษะวิชาชีพ วิชา กฎหมายธุรกิจ รหสั วชิ า 30001-1055 หลกั สตู ร ประกาศนยี บัตรวิชาชีพชั้นสงู (ปวส.1) หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 13 เรอ่ื ง ยมื เวลาเรียน 3 ชั่วโมง สัปดาหท์ ่ี 15 ผู้สอน นางสาวกุลสิ รา คงสงค์ ๑. สาระสำคัญ สัญญายืม คือสัญญาซึ่งคู่สัญญาฝ่ายหนึ่ง เรียกว่า ผู้ให้ยืม ได้ส่งมอบทรัพย์สินให้แก่คู่สัญญาอีกฝ่าย หน่งึ เรียกวา่ ผูย้ ืม เพอ่ื ใชท้ รพั ยน์ น้ั และผูย้ มื ต้องคืนใชใ้ ห้เมอ่ื ใช้สอยเสร็จแล้วสัญญายืมแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท คือ การยมื ใช้คงรปู และยืมใช้สิ้นเปลือง การกู้ยมื เงินเป็นการยมื ใชส้ ้นิ เปลอื งแบบหนง่ึ ซึ่งกฎหมายใหค้ ดิ ดอกเบยี้ ไดไ้ มเ่ กนิ ร้อยละ 15 บาทตอ่ ปี ๒. มาตรฐานการเรียนรู้ 1. รู้และเข้าใจกฎหมายเกย่ี วกบั สัญญายืม 2. นำความรู้เร่ืองกฎหมายเกี่ยวกบั สัญญายืมไปใช้ในชวี ิตประจำวนั 3. สามารถเขียนสัญญายมื ไดถ้ กู ต้องตามหลกั กฎหมาย ๓. ตวั ชี้วัด ความรเู้ บอื้ งตน้ เกย่ี วกับกฎหมายธุรกิจ (ยมื ) ๔. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๑. นกั ศกึ ษาสามารถอธิบายไดว้ ่ายืมมีลกั ษณะสำคญั อยา่ งไร (K) ๒. นกั ศกึ ษาสามารถเปรียบเทยี บลกั ษณะยืมใช้คงรปู และยืมใชส้ ิ้นเปลือง (K) ๓. นกั ศกึ ษาสามารถอธบิ ายหลกั การกู้ยมื เงินเกนิ กวา่ สองพนั บาทขึ้นไป (K) ๔. นักศกึ ษาสามารถอธิบายลักษณะสำคญั ทีจ่ ะทำให้สัญญากู้ยืมเงนิ สมบูรณแ์ ละบงั คับตามกฎหมายได้ (K) ๕. นักศึกษาสามารถนำความรู้ท่ีศึกษาไปแกป้ ัญหาการดำรงชีวติ ประจำวันและในงานอาชีพธุรกจิ ได้ (P) ๖. นกั ศกึ ษาสามารถรา่ งและเขยี นสญั ญาต่างๆตามสาระสำคัญของสัญญา (P) ๗. นกั ศึกษาปฏิบัติตามกฎหมายไดอ้ ย่างถูกต้อง (A) ๕. สาระการเรยี นรู้ ความหมายและลักษณะของสญั ญายืม ยืมใชค้ งรูป - สทิ ธแิ ละหนา้ ที่ของผู้ยมื และผใู้ หย้ มื - การระงบั แหง่ สญั ญายมื ใช้คงรูป ยมื ใชส้ ิ้นเปลอื ง - สทิ ธแิ ละหน้าท่ขี องผยู้ ืมและผู้ใหย้ มื
137 - การระงับแหง่ สัญญายืมใชส้ น้ิ เปลอื ง การกู้ยืมเงนิ - ดอกเบี้ยในการก้ยู ืมเงนิ ๖. กจิ กรรมการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมโดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดการเรียนรู้แบบบรรยาย การจัดการเรียนรู้แบบใช้ คำถาม การเรียนการสอนแบบบูรณาการ การสอนแบบให้ผู้เรียนเสนอรายงานในชั้นเรียน และเรียนแบบ active learning ๗. สมรรถนะสำคญั ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ ๘. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ - ใฝเ่ รียนรู้ - มคี วามรบั ผดิ ชอบ ๙. ชิ้นงาน/ภาระงาน - เขยี นสญั ญากู้ยมื เงิน - แบบฝึกหดั ทา้ ยบทเรยี น ตอนท่ี 1-3 ๑๐.กระบวนการจดั การเรียนรู้ การจัดกิจกรรมโดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดการเรียนรู้แบบบรรยาย การจัดการเรียนรู้แบบใช้ คำถาม การเรียนการสอนแบบบูรณาการ การสอนแบบให้ผู้เรียนเสนอรายงานในชั้นเรียน และเรียนแบบ active learning ขน้ั นำเข้าสกู่ ารเรยี น ๑. ครูถามนกั ศกึ ษาวา่ ใครเคยยืมของเพ่ือนๆบา้ ง ๒. ครูส่มุ ถามนกั ศึกษาไปเร่ือยๆ ขน้ั สอน ๓. ครอู ธิบายความหมายและลักษณะของสัญญายืม ๔. ครูถามนักศกึ ษาวา่ ยมื ใชค้ งรูปกับยมื ใชส้ ิ้นเปลือง มคี วามแตกต่างกันอย่างไร ๕. ครอู ธิบายเรื่องการยืมใชค้ งรูป ๖. ครูสอบถามเรอ่ื งสิทธิและหน้าทขี่ องผ้ยู ืมและผู้ใหย้ ืม ๗. ครอู ธิบายการระงบั แห่งสัญญายืมใช้คงรูป ๘. ครอู ธิบายเร่อื งการยมื ใชส้ ิน้ เปลอื ง ๙. ครูสอบถามนักศกึ ษาเรอ่ื งสิทธแิ ละหน้าทข่ี องผู้ยืมและผูใ้ หย้ มื ๑๐.ครูอธิบายเร่อื งการระงบั แหง่ สัญญายืมใชส้ ้ินเปลอื ง ๑๑.ครถู ามนกั ศึกษาวา่ ใครเคยกยู้ มื เงนิ บา้ ง จากนนั้ ครูอธิบายเร่อื งการกยู้ มื เงนิ ๑๒.ครูถามประสบการณ์นักศึกษาว่าใครรู้จักดอกเบี้ยในการกู้ยมื เงินนอกระบบบา้ ง จากนั้นครูอธิบาย เรอ่ื งการกูเ้ งนิ นอกระบบ ๑๓.ใหน้ ักศกึ ษาจับคกู่ ันทำสญั ญากยู้ มื เงิน ขน้ั สรุปและประยุกต์ ๑๔.ครูใหน้ ักศึกษาแบ่งกลุ่ม 3 กลมุ่ ทำคำถามทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้ ตอนท่ี 1-3 ๑๕.ครูให้นกั ศกึ ษาแตล่ ะกล่มุ ออกมานำเสนอแบบฝกึ หดั แตล่ ะตอนตามกลุม่ ท่รี บั ผิดชอบ ๑๖.ครเู ฉลยพรอ้ มกนั ท้ังชน้ั ๑๑.วสั ดุ อุปกรณส์ ื่อ และแหลง่ เรยี นรู้
138 ๑. หนงั สือเรียนวชิ ากฎหมายธรุ กิจ ๒. แบบฝึกหดั ท้ายบทเรียน ๓. ตวั อย่างสญั ญากู้ยืม ๑๒.การวัดและประเมินผล วิธีวดั ผล ๑. ประเมินผลความกา้ วหนา้ ของตนเอง ๒. ประเมนิ ความเรยี บร้อยของใบงาน ๓. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ๔. ประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม ๕. การสังเกตและประเมนิ ผลพฤตกิ รรมด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ เครอ่ื งมือวดั ผล ๑. แบบประเมนิ ผลความก้าวหนา้ ของตนเอง ๒. ใบงานในหนังสอื เรยี น ๓. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ๔. ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกล่มุ ๕. การสงั เกตและประเมนิ ผลพฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ เกณฑก์ ารประเมินผล ๑. แบบประเมนิ ผลความกา้ วหนา้ ของตนเอง เกณฑผ์ ่าน 50% ข้ึนไป ๒. ใบงานในหนงั สอื เรียน เกณฑผ์ า่ น 50% ขนึ้ ไป ๓. เกณฑ์ผา่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ต้องไม่มชี ่องปรบั ปรุง ๔. เกณฑ์ผา่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50% ข้ึนไป) ๕. การสังเกตและประเมนิ ผลพฤติกรรมด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ คะแนน ๑๓.การบูรณาการ นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปใช้ในวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ ในการวางแผนในการทำธุรกิจ การทำ สัญญาต่างๆ และการจัดตั้งบริษัทซึ่งต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย นักศึกษาแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ นำ ความรไู้ ปเชื่อมโยงเกีย่ วกบั พระราชบัญญตั กิ ารใชค้ อมพิวเตอร์
139 ๑๔.บนั ทึกหลงั การสอน ............................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ลงช่ือ............................................. (นางสาวกุลสิ รา คงสงค์) ครผู ู้สอน ๑๕.ข้อเสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. ...................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ...................................................... (นางสาวปานทิพย์ จันทร์เรืองฤทธ)ิ์ หัวหน้าแผนกวิชาการจัดการทั่วไป
140 แบบประเมินผลการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 13 ตอนท่ี 1 จงตอบคำถามต่อไปน้ี ๑. ให้นักศกึ ษายกตวั อย่างสญั ญายืมใชค้ งรูป มา 3 ตัวอย่าง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. หนา้ ทีข่ องผ้ยู มื ในสญั ญายืมใช้คงรูปมอี ะไรบ้าง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. สญั ญายมื ใชค้ งรูปจะระงับได้ในกรณใี ดบ้าง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๔. ให้นักศึกษายกตัวอยา่ งสญั ญายมื ใช้สนิ้ เปลือง มา 3 ตัวอยา่ ง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๕. หลักเกณฑเ์ รอ่ื งดอกเบย้ี ในการกยู้ ืมเงินมีอยา่ งไรบา้ ง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
141 ตอนท่ี 2 ใหท้ ำเคร่ืองหมาย x เลอื กคำตอบท่ีถกู ตอ้ งทส่ี ุด ๑. ขอ้ ใดกล่าวไมถ่ ูกตอ้ งเกยี่ วกบั สญั ญายมื ก เปน็ สญั ญาทบ่ี ริบรู ณต์ อ่ เม่ือส่งมอบทรัพย์สินที่ให้ยืม ข สญั ญายมื เปน็ สญั ญาไม่ตา่ งตอบแทน ค ผ้ใู หย้ ืมและผู้ยมื ไม่มหี นซี้ ึ่งกนั และกัน ง มีท้งั สัญญายมื ทม่ี กี ำหนดเวลาและไม่มีกำหนดเวลา จ ผยู้ มื เปน็ ผอู้ อกคา่ ใช้จ่ายในการยมื ๒. ข้อใดเป็นการยืมใช้คงรูป ก นายแดงยืมรถนายดำไปใช้เพราะรถตนเองเสีย ข นายขาวยืมนำ้ ปลานายฟา้ ไปปรงุ อาหาร ค นายสม้ ยมื เงินนายเหลอื ง ง นายนำ้ ตาลยืมกระเบื้องนายแสดไปมุงหลังคาบ้านที่แตก แลว้ ค่อยซือ้ คนื ภายหลัง จ นายครามยืมขา้ วสารนายมว่ งไปหงุ เล้ียงคนงาน ๓. ขอ้ ใดกล่าวถกู ต้อง ก วัตถุตามสญั ญายมื ใช้คงรูปนั้นอาจจะเปน็ ทรัพย์สินทม่ี รี ปู ร่างหรอื ไม่มีรปู ร่างกไ็ ด้ ข วตั ถุตามสญั ญายมื ใชค้ งรปู น้นั จะเป็นสงั หารมิ ทรพั ย์หรอื อสังหาริมทรพั ย์ก็ได้ ค สัญญายมื ใชค้ งรปู บรบิ ูรณเ์ มื่อส่งมอบทรัพยท์ ี่ยมื โดยหยิบย่ืนทรัพยท์ ีย่ มื ใหแ้ กก่ นั หรอื สง่ มอบโดยปริยายกไ็ ด้ ง สัญญายืมใชค้ งรปู จะเป็นสญั ญาท่มี ีค่าตอบแทนหรือไมก่ ไ็ ด้ จ ผู้ใหย้ ืมในสัญญายืมใชค้ งรูปจะซ่อมแซมทรพั ยก์ อ่ นใหย้ มื หรอื ไมก่ ไ็ ด้ ๔. แดงเช่ารถจากดำมาขับ ตอ่ มาขาวยืมรถจากแดง สญั ญายมื รถระหว่างขาวและแดงน้ันมีผลอย่างไร ก สมบรู ณ์ และกรรมสิทธิ์โอน ข สมบูรณ์ แต่กรรมสิทธ์ไิ ม่โอน ค โมฆะ ง โมฆยี ะ จ ไม่บรบิ รู ณ์ ๕. ขอ้ ใดกล่าวถงึ หน้าทีข่ องผูย้ มื ในสัญญายืมใช้คงรูปไมถ่ กู ตอ้ ง ก ผู้ยืมตอ้ งจ่ายคา่ ฤชาธรรมเนยี มอนั เกดิ จากการยืม ข ผยู้ มื ต้องใชค้ วามระวังในการใช้ทรพั ยส์ นิ ท่ยี มื ค ผูย้ ืมจะตอ้ งสงวนทรัพยส์ ินซ่ึงยมื ไปเหมือนเชน่ วญิ ญชู นจะพงึ สงวนทรัพยส์ นิ ของตนเอง ง ผ้ยู ืมตอ้ งส่งคืนทรพั ยส์ ินทีย่ ืมเมื่อใช้สอยเสรจ็ หรอื เมื่อถึงกำหนดเวลา จ ผ้ยู ืมมหี น้าท่จี ่ายเงินทดรองค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาทรพั ย์สินทีย่ มื จากนั้นให้เรยี กเอากบั ผู้ใหย้ ืม
142 ๖. ขอ้ ใดไมใ่ ชเ่ หตุให้สญั ญายืมใชค้ งรปู ระงับ ก ผยู้ ืมตาย ข ผยู้ มื สง่ คนื ทรพั ยส์ ินทย่ี มื ค ผู้ให้ยืมตกเป็นคนไรค้ วามสามารถ ง ทรพั ยท์ ย่ี ืมสูญหายหรือบบุ สลายไปจนหมดส้นิ จ การบอกเลิกสญั ญา ๗. ขอ้ ใดกลา่ วไมถ่ ูกต้องเก่ยี วกบั การยมื ใชส้ ิ้นเปลือง ก สัญญายืมใชส้ ้ินเปลืองเปน็ สัญญาไม่ต่างตอบแทน ข สัญญายมื ใช้สนิ้ เปลอื งเป็นสัญญาท่บี ริบรู ณต์ อ่ เม่ือสง่ มอบทรัพยส์ ินทใี่ หย้ ืม ค ผใู้ ห้ยมื ได้โอนกรรมสทิ ธิใ์ นทรัพย์ทยี่ ืมให้แก่ผู้ยืม ง ผู้ใหย้ ืมต้องมกี รรมสทิ ธใิ์ นทรัพยส์ ินท่จี ะให้ยมื จ ผู้ยืมตายสญั ญายืมใชส้ ้นิ เปลอื งระงบั ๘. การกยู้ ืมเงนิ กว่าเท่าไรท่กี ฎหมายกำหนดให้มหี ลกั ฐานเป็นหนงั สืออยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ลงลายมือชื่อผ้ยู มื เป็นสำคัญ มฉิ ะนัน้ จะฟ้องร้องให้บังคับคดไี มไ่ ด้ ก 500 บาท ข 1,000 บาท ค 2,000 บาท ง 20,000 บาท จ 30,000 บาท ๙. ขอ้ ใดกลา่ วถกู เกย่ี วกับสัญญากยู้ มื เงนิ ก ต้องลงลายมอื ชื่อในสญั ญากเู้ งนิ เทา่ น้นั ข จำเป็นต้องมีพยาน ค การลงลายมือชือ่ ลงหลังทำสญั ญาได้ แต่ต้องกอ่ นวนั ฟ้อง ง ต้องลงลายมอื ชอ่ื ท้งั ผกู้ ูแ้ ละผูใ้ ห้กู้ จ ต้องเปน็ เอกสารท่ที างราชการรบั รองเท่านั้น ๑๐.ขอ้ ใดกล่าวไมถ่ กู ตอ้ งเกย่ี วกบั ดอกเบ้ยี ในการกู้ยมื เงนิ ก ใหค้ ดิ ดอกเบย้ี ได้ไม่เกนิ ร้อยละ 15 บาทต่อปี ข การเรียกดอกเบย้ี เกนิ ร้อยละ 15 บาทตอ่ ปี ดอกเบี้ยนั้นจะเปน็ โมฆะ ค สญั ญากู้ทด่ี อกเบยี้ เป็นโมฆะ ให้โมฆะทั้งสญั ญา ง สถาบันการเงินและธนาคารพาณิชย์สามารถเรยี กดอกเบ้ยี เกนิ รอ้ ยละ 15 บาทต่อปีได้ จ กรณที ไ่ี ม่ได้มกี ารกำหนดอตั ราดอกเบย้ี ไวใ้ นสญั ญา กฎหมายคิดดอกเบยี้ ร้อยละ 7.5 ต่อปี
143 ตอนที่ 3 ให้วินจิ ฉัยขอ้ เทจ็ จริงต่อไปนี้ ขอ้ ๑. แดงกเู้ งนิ ดำ 30,000 บาท แตใ่ นวันท่ีกู้ไม่ไดท้ ำหนังสือสญั ญาใดๆ กนั ไว้ 3 วันตอ่ มาดำเกดิ เอะใจจงึ ย้อนกลับไป ให้นายแดงทำสัญญาแต่นายแดงไม่ยอมทั้งคู่จึงมีปากเสียงกัน จนถึงสถานีตำรวจเจ้าหน้าที่ตำรวจได้ทำบันทึก ประจำวันว่านายแดงได้กู้ยืมเงนิ นายดำไป 30,000 บาทแล้วให้ทง้ั คู่ลงชื่อต่อมานายแดงไม่ยอมชำระหนี้ นายคำจะ ฟ้องรอ้ งต่อศาลได้หรือไม่ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อ ๒. หลงั พายฝุ นพดั ผ่านไป หลังคาบ้านของนายเปร้ยี วไดป้ ลิวหายไป นายเปรยี วจึงขอยมื สังกะสจี ากนายหวาน เพ่ือ ใช้มุงหลังคาต่อมา 3 เดือนนายเปร้ียวซื้อสังกะสีมาใหม่จงึ งัดตะปูและสงั กะสีแผ่นทีย่ มื นายหวานมามุงหลังคาออก แล้วไปคนื นายหวาน ส่วนบา้ นของตนใช้สงั กะสใี หมป่ แู ทน เชน่ นี้ นายเปร้ียวทำถกู ตอ้ งตามสัญญายืมหรอื ไม่ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
144 ตัวอย่าง สัญญากยู้ ืม สัญญาเลขที่……………………………………………….. ทำท…ี่ …………………………………………….. วันท่ี……………………………………………….. สัญญาฉบับนี้ทำขึ้นระหว่าง......................................อยู่เลขท่ี……………ตรอก…………………………ตำบล/ แขวง…………………………อำเภอ/เขต…………………………จงั หวัด…………………………ซ่งึ ตอ่ ไปในสัญญานเ้ี รยี กว่า “ผูก้ ู้” ฝ่าย หนึ่ง กับ......................................อยู่เลขท่ี……………ตรอก…………………………ตำบล/แขวง…………………………อำเภอ/ เขต…………………………จังหวัด…………………………ซึ่งต่อไปในสญั ญานีเ้ รียกว่า “ผู้ให้กู”้ อีกฝ่ายหนึง่ คู่สัญญาทั้งสองฝ่าย ตกลงทำสญั ญากนั ดังมขี ้อความดังต่อไปน้ี ข้อ ๑. ผูก้ ้ไู ดย้ ืมเงนิ จากผู้ใหก้ เู้ ป็นเงนิ ...........................บาท(.........................................) และผู้กู้ได้รับเงินกู้ตาม สัญญานจ้ี ากผู้ใหก้ ูถ้ กู ต้องครบถ้วนในขณะทำสัญญานแ้ี ล้ว ข้อ ๒. ผู้กู้ยอมชำระดอกเบี้ยให้แกผ่ ู้ให้กู้ในอัตราร้อยละ...................บาทต่อปีโดยกำหนดชำระดอกเบี้ยเป็น รายเดอื นทกุ ๆ วนั ท่ี.....................ของเดือน เริม่ งวดแรกภายในวันท.ี่ .................................... ข้อ ๓. ผู้กู้ตกลงจะชำระหนต้ี ามสญั ญาภายในวนั ที่..................................แต่ทั้งนไ้ี ม่เปน็ การตดั สิทธขิ องผู้ให้กู้ที่ จะเรยี กรอ้ งให้ผกู้ ชู้ ำระหนีต้ ามสญั ญานี้ทั้งหมดหรือแตบ่ างสว่ นก่อนครบกำหนดเวลาที่กล่าวมาก็ได้ ตามแต่ ผใู้ หก้ ูจ้ ะเห็นสมควร ผู้ก้สู ญั ญาวา่ ในกรณที ่ีผู้ใหก้ ู้เรียกรอ้ งดงั กล่าวมาน้ี ผู้กจู้ ะชำระหน้ีตามคำเรียกร้องโดย พลัน ขอ้ ๔. ถ้าผู้กู้ผิดนัดในข้อหนึง่ ข้อใดแห่งสญั ญานี้ ผู้กู้ยอมรับผิดชดใช้ค่าเสียหายบรรดาทีผ่ ู้ให้กู้จะพึงไดร้ ับอนั เนื่องมาจากความผดิ ของผกู้ ้รู วมทัง้ คา่ ใชจ้ ่ายในการเตอื น เรียกรอ้ งทวงถาม ดำเนนิ คดแี ละบงั คับการชำระ หนไ้ี ด้ทง้ั ส้นิ ข้อ ๕. เพอื่ เป็นหลักประกันในการปฏบิ ัตติ ามสญั ญานผี้ กู้ ู้ได้นำ .......................................................................... ............................................................................................................................................................................................. สญั ญานท้ี ำขน้ึ เป็นสองฉบบั คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายไดอ้ ่านและเขา้ ใจขอ้ ความในสัญญานี้แลว้ เห็นวา่ ถูกตอ้ งตรงกับ เจตนาของตน จึงไดล้ งลายมือชอ่ื ต่อหน้าพยานเป็นสำคญั ลงชือ่ …………………………………………ผูก้ ู้ ลงชื่อ…………………………………………ผูใ้ ห้กู้ (…………………………………….) (…………………………………….) ลงช่อื ………………………………………….พยาน ลงชอ่ื ………………………………………….พยาน (…………………………………….) (…………………………………….)
135
146 แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการเรยี นรูท้ ่ี 14 กลุ่มสาระการเรียนร้/ู รายวิชา กฎหมาย สาระการเรียนรู้ ทกั ษะวชิ าชพี วิชา กฎหมายธุรกิจ รหัสวชิ า 30001-1055 หลกั สตู ร ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชั้นสูง(ปวส.1) หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 14 เรื่อง การล้มละลาย เวลาเรยี น 3 ชั่วโมง สัปดาห์ท่ี 16 ผูส้ อน นางสาวกุลสิ รา คงสงค์ ๑. สาระสำคญั การล้มละลาย หมายถึง การท่ีบุคคลสูญสน้ิ ความสามารถในการทำนิติกรรมเนือ่ งจากเปน็ ผู้มีหนี้สินล้น พ้นตัว โดยเจ้าหนี้จะฟ้องลูกหนี้ให้ล้มละลาย และการจัดการเกี่ยวกับทรัพย์สินจะอยู่ในการดูแลของเจ้า พนักงานพิทักษ์ทรัพย์ เพอ่ื ทสี่ ดุ แลว้ จะได้ขายทรพั ยส์ นิ ของลกู หน้ีเพื่อใชห้ นีแ้ กบ่ รรดาเจา้ หนท้ี ง้ั ปวง ๒. มาตรฐานการเรียนรู้ 1. รูแ้ ละเข้าใจกฎหมายเกย่ี วกบั การลม้ ละลาย 2. นำความร้เู รอื่ งกฎหมายล้มละลายมาประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ๓. ตวั ชีว้ ัด ความรเู้ บ้อื งตน้ เก่ียวกับกฎหมายธุรกจิ (การล้มละลาย) ๔. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๑. นกั ศกึ ษาสามารถอธิบายการล้มละลายของบคุ คลธรรมดาและนิติบุคคลได้ (K) ๒. นักศึกษาสามารถอธบิ ายความแตกตา่ งระหว่างการลม้ ละลายของบคุ คลธรรมดาและนติ ิบคุ คลได้ (K) ๓. นักศึกษาสามารถอธิบายหลกั การจัดการเกี่ยวกับทรัพย์สินจะอยู่ในการดูแลของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ได้ (K) ๔. นักศกึ ษาสามารถนำความรูท้ ่ีศึกษาไปแก้ปญั หาการดำรงชวี ติ ประจำวนั และในงานอาชีพธุรกิจได้ (P) ๕. นักศกึ ษาปฏบิ ัติตามกฎหมายได้อย่างถูกต้อง (A) ๕. สาระการเรียนรู้ - ความหมายและลักษณะของการลม้ ละลาย - การฟ้องให้บคุ คลเปน็ คนล้มละลาย - การพจิ ารณาพพิ ากษาคดลี ้มละลาย - การพทิ กั ษ์ทรัพย์ - การพน้ จากการลม้ ละลาย ๖. กิจกรรมการเรยี นการสอน การจัดกิจกรรมโดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดการเรียนรู้แบบบรรยาย การจัดการเรียนรู้แบบใช้ คำถาม การเรียนการสอนแบบบูรณาการ และเรยี นแบบ active learning
147 ๗. สมรรถนะสำคญั ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต ๘. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ - ใฝเ่ รียนรู้ - มีความรับผิดชอบ ๙. ช้ินงาน/ภาระงาน - แบบฝกึ หดั ทา้ ยบทเรียน ๑๐.กระบวนการจดั การเรยี นรู้ การจัดกิจกรรมโดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดการเรียนรู้แบบบรรยาย การจัดการเรียนรู้แบบใช้ คำถาม การเรียนการสอนแบบบรู ณาการ และเรียนแบบ active learning ขน้ั นำเขา้ สู่การเรียน ๑. ครูถามนกั ศกึ ษาวา่ อนาคตใครอยากทำงานบรษิ ัท หรือเปิดบริษัทบ้าง ๒. ครูเกรน่ิ ให้นกั ศกึ ษาฟังว่าสิ่งทีผ่ ทู้ ่ีเปดิ บริษัทไมป่ รารถนาเลยคือ การล้มละลาย ครถู ามนกั ศึกษาว่ามใี คร รูจ้ ักคำน้ีบา้ ง ขนั้ สอน ๓. ครูอธิบายความหมายและลกั ษณะของการล้มละลาย ๔. ครูอธิบายการฟ้องให้บุคคลเป็นคนล้มละลาย จากนั้นเขียนเป็นแผนภาพอธิบาย ครูอธิบายการ พิจารณาพิพากษาคดีล้มละลาย ๕. ครูใหน้ ักศึกษาร่วมกันอภปิ รายเร่อื งการพิทักษ์ทรพั ย์ ๖. ครอู ธิบายเรอื่ งการพน้ จากการลม้ ละลาย ข้นั สรปุ และประยุกต์ ๗. ครูใหน้ กั ศกึ ษาทำคำถามทา้ ยหน่วยการเรียนรู้ ๘. ครูให้นักศกึ ษาจบั คู่กันเปรยี บเทยี บคำตอบ ๙. ครูเฉลยพร้อมกนั ทั้งชน้ั ๑๑.วสั ดุ อปุ กรณส์ ื่อ และแหลง่ เรียนรู้ ๑. หนงั สอื เรียนวิชากฎหมายธุรกจิ ๒. แบบฝึกหัดทา้ ยบทเรียน ๑๒.การวัดและประเมนิ ผล วิธวี ดั ผล ๑. ประเมินผลความกา้ วหน้าของตนเอง ๒. ประเมินความเรยี บร้อยของใบงาน ๓. สังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ๔. การสงั เกตและประเมินผลพฤตกิ รรมด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ เคร่อื งมือวัดผล ๑. แบบประเมนิ ผลความก้าวหนา้ ของตนเอง ๒. ใบงานในหนงั สือเรียน ๓. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๔. การสงั เกตและประเมนิ ผลพฤตกิ รรมด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ เกณฑก์ ารประเมนิ ผล ๑. แบบประเมินผลความก้าวหนา้ ของตนเอง เกณฑ์ผ่าน 50% ขนึ้ ไป
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169