•8 เร่ือง การศึกษาแอนโทไซยานินจากธรรมชาติเพื่อใชย้ อ้ มอสุจิสาหรับตรวจทางนิติวทิ ยาศาสตร์ The study Natural Anthocyanin for Sperm staining for forensic science โดย นายมินฮาร์ท ปาณะลกั ษณ์ นายเธียรวิชญ์ กระด่ี นางสาววริศรา วารี โรงเรียนยพุ ราชวิทยาลยั รายงานฉบบั น้ีเป็นส่วนประกอบของโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย สาขาเคมี ในการประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตร์ จดั โดย กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนยพุ ราชวิทยาลยั เนื่องในวนั วิทยาศาสตร์แห่งชาติ วนั ที่ 9 สิงหาคม พ.ศ.2565
฿9
☆10 เร่ือง การศึกษาแอนโทไซยานินจากธรรมชาติเพอื่ ใชย้ อ้ มอสุจิสาหรับตรวจทางนิติวทิ ยาศาสตร์ The study Natural Anthocyanin for Sperm staining for forensic science โดย นายมินฮาร์ท ปาณะลกั ษณ์ นายเธียรวิชญ์ กระด่ี นางสาววริศรา วารี อาจารยท์ ี่ปรึกษาหลกั นายธนวฒั น์ พนั ธว์ ชิ ยั ท่ีปรึกษาพเิ ศษ นางสาวปรียาภรณ์ ปันใจแกว้
ก ชื่อโครงงาน การศึกษาแอนโทไซยานินจากธรรมชาติเพ่อื ใชย้ อ้ มอสุจิสาหรับตรวจทาง นิติวิทยาศาสตร์ ผจู้ ดั ทา 1. นายมินฮาร์ท ปาณะลกั ษณ์ 2. นายเธียรวิชญ์ กระดี่ 3. นางสาววริศรา วารี อาจารยท์ ่ีปรึกษา 1. นายธนวฒั น์ พนั ธว์ ชิ ยั 2. นางสาวปรียาภรณ์ ปันใจแกว้ โรงเรียน ยพุ ราชวิทยาลยั ที่อยู่ 238 ถนนพระปกเกลา้ ตาบลศรีภูมิ อาเภอเมืองเชียงใหม่ จงั หวดั เชียงใหม่ 52000 โทรศพั ท์ 053 418 673 โทรสาร - ระยะเวลาทาโครงงาน พฤษภาคม พ.ศ. 2565 - สิงหาคม พ.ศ. 2565 บทคดั ยอ่ การศึกษาแอนโทไซยานินจากธรรมชาติเพ่ือใช้ยอ้ มอสุจิสาหรับตรวจทางนิติวิทยาศาสตร์ มีวัตถุประสงค์คือ 1) ศึกษาวิธีการสกัดและเปรี ยบเทียบปริ มาณแอนโทไซยานินจากธรรมชาติ 2) ศึกษาและพฒั นาการนาแอนโทไซยานินจากธรรมชาติมาเป็นสียอ้ มอสุจิสาหรับตรวจทางนิติวิทยาศาสตร์ และ 3) ศึกษาประสิทธิภาพของสียอ้ มอสุจิท่ีไดจ้ ากแอนโทไซยานินที่มาจากธรรมชาติ ผศู้ ึกษาไดน้ าตวั อย่าง พชื จานวน 3 ชนิด ไดแ้ ก่ บีทรูท กะหล่าปลีม่วง และเปลือกมงั คดุ สกดั ดว้ ยตวั ทาละลาย 1.0 % ไฮโดรคลอริก ในเมทานอล เป็ นเวลา 48 ชั่วโมง และนามาทดสอบ Anthocyanin test เพื่อยืนยนั สารแอนโทไซยานิน หาปริมาณแอนโทไซยานินโดยวิธีพีเอช-ดิฟเฟอเรียนเชียล ดว้ ยเคร่ือง Spectrophotometer ที่ความยาวคลื่น 520 และ 700 นาโมเมตร และคานวณหาปริ มาณแอนโทไซยานินของพืชท้ัง 3 ชนิด จากการศึกษา พบว่าปริมาณแอนโทไซยานินเฉล่ียของบีทรูท กะหล่าปลีม่วง และเปลือกมงั คุด คือ 496.106 1,329.962 และ 328.471 mg/L ตามลาดับ และนาพืชตวั อย่างท้งั 3 ชนิดมาพฒั นาเป็ นสียอ้ มอสุจิพบว่าสียอ้ มท่ีสกัด มาจากกะหล่าปลีม่วงมีปริมาณแอนโทไซยานินมากท่ีสุดพบการติดสีของตวั อสุจิ ในขณะที่สียอ้ มท่ีสกดั มาจากบีทรูทและเปลือกมงั คุดไมพ่ บการติดสีของตวั อสุจิภายใตก้ ลอ้ งจุลทรรศน์ อีกท้งั ยงั พบวา่ เม่ือทดสอบ ต่อโดยการสกัดแอนโทไซยานินแต่ลดปริมาณของตัวถูกสกัดลงและหาความสัมพันธ์ของปริ มาณ แอนโทไซยานินต่อการติดสีของอสุจิ พบว่าปริมาณแอนโทไซยานินแปรผนั ตรงต่อการติดสีของตวั อสุจิ และประสิทธิภาพของสียอ้ มอสุจิท่ีใช้แอนโทไซยานินจากกะหล่าปลีม่วงสามารถยอ้ มติดอสุจิที่ทิ้งไว้ นานท่ีสุด 96 ชว่ั โมง
ข กติ ตกิ รรมประกาศ โครงงาน เรื่อง การศึกษาแอนโทไซยานินจากธรรมชาติเพื่อใช้ย้อมอสุจิสาหรับตรวจทาง นิติวิทยาศาสตร์ สาเร็จลุล่วงไดด้ ีเพราะไดร้ ับความกรุณาและความร่วมมือช่วยเหลือจากบุคลากรหลายท่าน ท่ีกรุณาสละเวลาให้ความรู้ คาแนะนาและขอ้ คิดเห็นที่เป็ นประโยชน์แก่โครงงานวิทยาศาสตร์ในคร้ังน้ี ผูจ้ ดั ทาขอบพระคุณผูบ้ ริจาคตวั อย่างน้าเช้ืออสุจิจานวน 3 ท่านที่เอ้ือเฝ้ื อแก่การเก็บตวั อย่างในโครงงาน วิทยาศาสตร์ในคร้ังน้ี ขอขอบพระคุณ นายธนวฒั น์ พนั ธ์วิชยั และนางสาวปรียาภรณ์ ปันใจแกว้ ครูที่ปรึกษาโครงงาน ผู้ให้ความช่วยเหลือ ความรู้ คาแนะนา คอยดูแลในด้านต่างๆ และสละเวลามาช่วยฝึ กฝนเทคนิค ในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ ทาให้โครงงานวิทยาศาสตร์ในคร้ังน้ีสมบูรณ์ยง่ิ ข้ึน ผจู้ ดั ทาขอขอบพระคุณ เป็นอยา่ งสูงมา ณ โอกาสน้ี นอกจากน้ี ผูจ้ ดั ทาขอขอบพระคุณคณะครูและเจ้าหน้าท่ีในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียนยุพราชวิทยาลยั ท่ีให้ความรู้ความเขา้ ใจในส่วนท่ีเกี่ยวขอ้ งกับการทาโครงงาน วิทยาศาสตร์ในคร้ังน้ี เพอื่ นาความรู้ไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชนม์ ากที่สุด คุณประโยชน์อนั พึงมาจากโครงงานวิทยาศาสตร์ในคร้ังน้ี ผจุ้ ดั ทาขอมอบแด่บิดา – มารดา คณะครู ผูถ้ ่ายทอดวิชาความรู้และอบรมสั่งสอน ตลอดจนทุกฝ่ ายท่ีให้การสนบั สนุนและเป็ นกาลงั ใจมาโดยตลอด จนทาใหโ้ ครงงานวิทยาศาสตร์ในคร้ังน้ีสาเร็จลลุ ่วงไดด้ ี ผศู้ ึกษา
สารบญั ค เร่ือง หนา้ บทคดั ยอ่ ก กติ ติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค สารบญั ตาราง ง บทที่ 1 บทนา 1 บทท่ี 2 เอกสารที่เก่ียวขอ้ ง 3 บทที่ 3 อปุ กรณ์และวธิ ีการทดลอง 4 บทที่ 4 ผลการทดลองและอภิปรายผล 8 บทท่ี 5 สรุปผลและขอ้ เสนอแนะ 14 ภาคผนวก 15
ง สารบญั ตาราง เร่ือง หนา้ ตารางท่ี 1 ข้นั ตอนการยอ้ มสีอสุจิ 6 ตารางที่ 2 ค่าการดูดกลืนแสงท่ีความยาวคลื่น 520 นาโนเมตรและ 700 นาโนเมตร 8 ตารางที่ 3 ผลที่ไดม้ าวิเคราะห์หาปริมาณแอนโทไซยานินของพชื ตวั อยา่ ง 9 ตารางท่ี 4 การทดสอบการติดสีของตวั อสุจิในสียอ้ มแตล่ ะชนิด 10 ตารางท่ี 5 คา่ การดูดกลืนแสงท่ีความยาวคล่ืน 520 นาโนเมตรและ 700 นาโนเมตร 11 ของการทดลองท่ี 3 12 ตารางที่ 6 ผลที่ไดม้ าวิเคราะหห์ าปริมาณแอนโทไซยานินของพืชตวั อยา่ ง 12 ในการทดลองท่ี 3 13 ตารางท่ี 7 การทดสอบการติดสีของตวั อสุจิในสียอ้ มของการทดลองท่ี 3 ตารางท่ี 8 ผลการทดลองการทดสอบประสิทธิภาพของสียอ้ ม
1 บทที่ 1 บทนา 1. ความสาคัญและทมี่ าของปัญหา ในปัจจุบนั ปัญหาการก่ออาชญากรรมทางเพศเป็ นหน่ึงในปัญหาสาคญั ปัญหาหน่ึงท่ีบนั่ ทอน ความเรียบร้อยและความสงบสุขของสังคม เป็นอุปสรรคต่อการพฒั นาประเทศ โดยมีแนวโนม้ ที่จะเพม่ิ จานวนหรือทวีความรุนแรงเพิ่มมากข้ึน ซ่ึงรูปแบบการกระทาผิดก็มีความหลากหลายตามสถาณการณ์ ไม่วา่ จะเป็นการขม่ ขนื การกระทาชาเรา รวมถึงการข่มขนื แลว้ ฆ่า จากรายงานของสานักงานตารวจแห่งชาติ เปิ ดเผยขอ้ มูลสถิติคดีทางเพศท่ีเกิดข้ึนระหว่าง พ.ศ.2560 - พ.ศ.2563 พบวา่ ในประเทศไทยมีคดีข่มขนื -อนาจาร เกิดข้นึ แลว้ 4,044 คดี มีผเู้ สียหาย 8,575 คนและจากสถิติแตล่ ะปี พบวา่ การเกิดคดีทางเพศน้นั มีจานวนเพ่มิ ข้ึนอยทู่ ุกปี ดร.เอด็ มนั ด์โลคาร์ด (1920) นกั อาชญาวิทยาชาวฝรั่งเศส ผูบ้ ุกเบิกดา้ นนิติวิทยาศาสตร์ กล่าว ไวว้ ่า “ทุกๆการสัมผสั มีการทิ้งร่องรอย (Every contact leaves a trance)” เมื่อมีการก่อเหตุอาชญากรรม ทางเพศข้ึน คนร้านมกั จะทิ้งร่องรอยของการก่อเหตุอาชญากรรมไวใ้ นที่เกิดเหตุเสมอ พยานหลกั ฐานที่ พบในท่ีเกิดเหตุน้นั มีมากมายอาทิเช่น เศษผม คราบเลือด เส้นผม ถุงยางอนามยั ที่ใชแ้ ลว้ รวมถึงคราบ อสุจิ ซ่ึงเป็นวตั ถพุ ยานที่หนกั แน่นท่ีพิสูจนไ์ ดว้ า่ มีการกระทาชาเราเกิดข้นึ จากการศึกษาพบว่าการตรวจทางชีวภาพเพื่อตรวจหาตวั อสุจิน้นั เป็ นวิธีท่ีค่อนขา้ งนิยมอยา่ ง มาก เน่ืองจากถา้ มีการตรวจพบตวั อสุจิภายในกลอ้ งจุลทรรศน์ก็สามารถระบุไดว้ ่าเกิดการร่วมประเวณี จริง โดยในส่วนของบริหารหัวอสุจิจะมีสารพนั ธุกรรมบรรจุอยู่ เม่ือทาการสกัดสารพันธุกรรม และนามาตรวจหารหัสพนั ธุกรรมก็จะสามารรถระบุตวั ผูก้ ระทาความผิดได้ ในการตรวจหาตวั อสุจิ สามารถทาไดโ้ ดยป้ายสิ่งที่ตอ้ งสงสัยวา่ เป็นน้าอสุจิลงบนแผ่นกระจกสไลด์ หยดน้าเกลือ (0.9 % NSS) ลงไป 1 หยด แลว้ ส่องดูดว้ ยกลอ้ งจุลทรรศน์ หากน้าอสุจิน้นั พ่ึงหลง่ั ออกมาใหมๆ่ ภายใน 6 ชว่ั โมง (โดย เฉลี่ย 3-4 ชว่ั โมง) จะสามารถเห็นตวั อสุจิเคลื่อนไหวได้ ซ่ึงอตั ราการเคล่ือนไหลของตวั อสุจิจะลดลง ตามระยะเวลาภายหลงั ออกนอกจากร่างกาย เรียกวิธีการตรวจน้ีว่า “Wet smear” ถา้ ระยะเวลานานกวา่ น้ี จะไม่เห็นตวั อสุจิเคล่ือนไหวและตวั อสุจิอาจไม่ติดสียอ้ ม วิธีการยอ้ มสีมีหลายวิธี โดยในประเทศไทย จะเป็ นการย้อมสีด้วยวิธ๊ Christmas tree staining และ Hematoxilin & Eosin เพื่อให้มองเห็นได้ง่าย ซ่ึงจะสามารถตรวจพบไดภ้ ายใน 7 วนั หลงั จากการร่วมประเวณี
2 เน่ืองจากปัจจุบนั การยอ้ มสีเพื่อตรวจหาตวั อสุจิน้นั เป็ นอีกทางเลือกหน่ึงท่ีถูกนามาใช้ตรวจ พิสูจน์หลักฐานเบ้ืองต้นทางนิติวิทยาศาสตร์ ซ่ึงวิธีการย้อมสีจากสีย้อมสาเร็จรูปท่ีต้องนาเข้า จากต่างประเทศ เป็นวิธีท่ีนิยมอยา่ งมากในหอ้ งปฏิบตั ิการ ซ่ึงเป็นขอ้ ดีสาหรับสีสาเร็จรูป แต่ขอ้ เสียคือ สียอ้ มเหล่าน้ันผลิตจากสารสังเคราะห์และมีส่วนประกอบที่เป็ นอนั ตรายต่อผูใ้ ช้และส่ิงแวดล้อม อีกท้งั ยงั มีราคาแพงเน่ืองจากตอ้ งนาเขา้ จากต่างประเทศและมีวธิ ีการยอ้ มท่ียงุ่ ยากอีกดว้ ย ด้วยเหตุผลดังกล่าวและสืบเน่ืองจากภาวะเศรษฐกิจ ส่งผลให้การดารงชีวิตไปด้วยความ พอเพียงตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิ เบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ท่ีทรงปลูกฝังให้คนไทยหันมาพ่ึงตนเอง ตระหนักถึง ส่ิงแวดลอ้ ม ความเป็นธรรมชาติท่ีอยรู่ อบตวั เรา ดงั น้นั ผจู้ ดั ทาจึงมุ่งหวงั ที่จะศึกษาและเปรียบเทียบแอน โทไซยานิน จากธรรมชาติเพ่ือพฒั นาเป็นสียอ้ มอสุจิสาหรับตรวจทางนิติวิทยาศาสตร์ ซ่ึงจะเป็นอีกหน่ึง ทางเลือก ในข้นั ตอนหรือกระบวนการพสิ ูจน์หลกั ฐานเบ้ืองตน้ ในคดีอาชญากรรมทางเพศ 2. จดุ ม่งุ หมายของโครงงาน 2.1 ศึกษาวิธีการสกดั และเปรียบเทียบปริมาณแอนโทไซยานินจากธรรมชาติ 2.2 ศึกษาและพัฒนาการนาแอนโทไซยานินจากธรรมชาติมาพฒั นาเป็ นสีย้อมอสุจิสาหรับ ตรวจทางนิติวิทยาศาสตร์ 2.3 เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของสียอ้ มอสุจิที่ไดจ้ ากแอนโทไซยานินที่มาจากธรรมชาติ 3. สมมติฐาน แอนโทไซยานินจากธรรมชาติสามารถใชเ้ ป็นสารยอ้ มอสุจิสาหรับตรวจทางนิติวทิ ยาศาสตร์ 4. ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า 4.1 ศึกษา สกดั และเปรียบเทียบปริมาณแอนโทไซยานินในพชื ตวั อยา่ ง 4.2 พฒั นาสียอ้ มอสุจิในแตล่ ะตวั อยา่ งและเปรียบเทียบการติดสีของตวั อสุจิ 4.3 ศึกษาใหไ้ ดม้ าซ่ึงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งปริมาณแอนโทไซยานินต่อการติดสีของตวั อสุจิ 4.4 ทดสอบประสิทธิภาพที่ดีที่สุดของสียอ้ มอสุจิที่ไดม้ าจากแอนโทไซยานินจากธรรมชาติ
3 บทท่ี 2 เอกสารที่เกย่ี วข้อง โครงงานวิทยาศาสตร์เร่ือง การศึกษาแอนไทไซยานินจากธรรมชาติเพ่ือใช้ยอ้ มอสุจิสาหรับตรวจ ทางนิติวิทยาศาสตร์ ในคร้ังน้ี ไดศ้ ึกษาเอกสาร วรรณกรรม และทฤษฎีท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การจดั ทาโครงงาน เพ่ือนาขอ้ มูลมาประกอบการศึกษา เปรียบเทียบและยืนยนั ผลการทดลองเพ่ือก่อให้เกิดความชดั เจนต่อ โครงงานวิทยาศาสตร์ในคร้ังน้ี โดยสามารถแบ่งสาระสาคญั ไดด้ งั น้ี งานวิจัยท่ี 1 โกลัญญา แสงอุทัย.(2560).วิธีการย้อมสีอย่างง่ายโดยใช้สารสกดั จากข้าวเหนียวดาสาหรับการ ตรวจหาตัวอสุจิบนตวั อย่างผ้า ผลการศึกษาพบวา่ สารสกดั จากขา้ วเหนียวดามีประสิทธิภาพสาหรับการตรวจหาตวั อสุจิบนผา้ และ ตวั อย่างสาลีป้ายช่องคลอด โดยการเปรียบเทียบการยอ้ มสีสาหรับการตรวจหาตวั อสุจิ จากสี PAP และ Dip quick ไม่มีความแตกตา่ งอยา่ งมีนยั สาคญั ส่วนปัจจยั ในการตรวจหาตวั อสุจิท่ีทาการประเมินร่วมกนั ในคร้ังน้ี ได้แก่ ความเขม้ ขน้ ของน้าอสุจิ สภาวะแวดลอ้ ม และระยะเวลาในการ ตรวจหาตวั อสุจิ จากการประเมิน พบว่า ความเขม้ ขน้ ของน้าอสุจิ และระยะเวลาในการตรวจหาตวั อสุจิภายหลงั 14 วนั มีความสัมพนั ธ์กัน อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติ งานวิจัยท่ี 2 สุภาพร ฟักเงิน และศิรประภา มีรอด.(2560).การสกัดแยกหาปริมาณแอนโทไซยานินจากลูก มะม่วงหาว มะนาวโห่ Extraction and Separation of Anthocyanins from Carissa carandas L. การสกัดปริ มาณแอนโทไซยานินในมะม่วงหาว มะนาวโห่ระยะผลสุกงอม (มีสีม่วงเข้ม) ด้วย 0.1 0.5 และ 1 เปอเซ็นต์ไฮโดรคลอริกในเมทานอล ที่อัตราส่วน 1:5 ของมะม่วงหาว มะนาวโห่ ต่อสารละลายสกดั ระยะเวลาท่ีใช้ ในการสกดั เท่ากบั 24 36 และ 48 ชวั่ โมง ตามลาดบั วิเคราะห์หาปริมาณ แอนโทไซยานินดว้ ยวิธีพีเอชดิฟเฟอเรนเชียล และวิเคราะห์โครงสร้างสารสกดั แอนโทไซยานินที่สกดั ได้ กับสารแอนโทไซยานินมาตรฐานด้วยเทคนิคทาง สเปกโทรสโกปี ได้แก่ อินฟาเรดสเปกโตรสโคปี และยูวีสเปคโตรโฟโตเมทรี จากผลการศึกษาพบว่าท่ีความเข้มข้น ของสารละลาย 1.0 เปอเซ็นต์ ไฮโดรคลอริ กในเมทานอล ระยะเวลาการสกัด 48 ชั่วโมงให้ผลการสกัดดีที่สุด ได้สารประกอบ แอนโทไซยานินชนิด ไซยานิดิน 181.66 มิลลิกรัมต่อ 50 กรัม และเพลาโกร์นิดิน 157.13 มิลลิกรัม ต่อ 50 กรัม น้าหนักแห้งของมะม่วงหาวมะนาวโห่ตามลาดับ การตรวจสอบสารสกัดแอนโทไซยานิน ท้งั สองชนิดดว้ ยเทคนิคทางสเปคโตรโฟโตเมทรีพบวา่ สารสกดั มีความยาวคล่ืนสูงสุด
4 บทท่ี 3 อุปกรณ์และวธิ กี ารทดลอง โครงงานวิทยาศาสตร์เร่ือง การศึกษาแอนโทไซยานินจากธรรมชาติเพื่อใช้ยอ้ มอสุจิสาหรับ ตรวจทางนิติวิทยาศาสตร์ เป็ นโครงงานประเภททดลอง โดยมีวัตถุประสงค์คือศึกษาวิธีการสกัด และเปรียบเทียบปริมาณสารแอนโทไซยานินในพืช และนาแอนโทไซยานินจากพชื มาพฒั นาเป็นสียอ้ มอสุจิ เพื่อตรวจทางนิติวทิ ยาศาสตร์ โดยมีข้นั ตอนวิธีการดาเนินการทดลอง ดงั ต่อไปน้ี 1. ศึกษาวธิ ีการสกดั และเปรียบเทียบปริมาณสารแอนโทไซยานินจากธรรมชาติ 2. พฒั นาแอนโทไซยานินจากธรรมชาติเป็นสียอ้ มอสุจิ 3. การศึกษาหาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งปริมาณแอนโทไซยานินตอ่ การติดสีของอสุจิ 4. ทดสอบประสิทธิภาพของสียอ้ มอสุจิจากแอนโทไซยานินที่ไดจ้ ากธรรมชาติ การทดลองท่ี 1 ศึกษาวิธกี ารสกดั และเปรียบเทียบปริมาณสารแอนโทไซยานนิ จากธรรมชาติ 1.1 วตั ถดุ ิบและสารเคมีที่ใชใ้ นการทดลอง 1.1.1 พชื ธรรมชาติแบบแหง้ ไดแ้ ก่ กะหล่าปลีมว่ ง เปลือกมงั คดุ และบีทรูท 1.1.2 กรดไฮโดรคลอริก (HCl) 1.1.3 เมทิลแอลกอฮอล์ (เมทานอล) 1.1.4 สารละลายโพแทสเซียมคลอไรด์ (buffer pH 1.0) 1.1.5 สารละลายโซเดียมอะซิเตรต (buffer pH 4.5) 1.2 ข้นั ตอนและวธิ ีดาเนินการทดลอง 1.3.1 นากะหล่าปลีม่วง เปลือกมงั คุด และบีทรูทมาหัน่ เป็นชิ้นเลก็ ๆ จากน้นั นาเปลือกมงั คุด ท่ีห่ันมาบดพอหยาบในโกร่งบดยา และนาตวั อย่างพืชท้งั 3 ชนิดไปอบแห้งท่ีอุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 60 ชวั่ โมง 1.3.2 เตรียมตวั ทาละลาย โดยปิ เปตกรดไฮโดรคลอริก 1 มิลลิลิตร ลงในขวดปรับปริมาตร ขนาด 100 มิลลิลิตร ปรับปริมาตรใหเ้ ป็น 100 มิลลิลิตรดว้ ยเมทิลแอลกอฮอล์ 1.3.3 นาตวั อย่างพืชสมุนไพรที่อบแห้ง 100 กรัม ผสมกบั ตวั ทาละลายที่เตรียมไวป้ ริมาตร 100 มิลลิลิตร ใส่ขวดรูปชมพู่ขนาด 250 มิลลิลิตรแลว้ หุ้มฟอยด์ ทาการทดลอง 3 ซ้า/พืช 1 ชนิด จากน้ัน ทิ้งไวท้ ี่อุณหภูมิหอ้ งเป็นเวลา 48 ชว่ั โมง เมื่อครบตามเวลา นาสารสกดั ท่ีไดม้ ากรองดว้ ยกระดาษกรอง
5 1.3.4 นาตัวอย่างสารสกัดท้ัง 3 ชนิดท่ีสกัดใน 1.0 % ไฮโดรคลอริ กในเมทานอล จานวน 5 มิลลิลิตรมาทาการทดสอบ Anthocyanin test โดยหยดกรดไฮโดรคลอริกลงไปทีละหยดจนเปล่ียน สีเป็ นสีแดง แลว้ ค่อยๆเติมแอมโมเนียทีละหยดจนเปล่ียนสีเป็ นสีน้าเงิน เพื่อเป็ นการทดสอบว่าสารสกัด ท่ีไดม้ ีแอนโทไซยานินอยจู่ ริง จึงจะนาไปทดสอบปริมาณแอนโทไซยานินต่อไป 1.3.5 นาสารสกัดจากพืชที่ได้ไประเหยตัวทาละลายออกด้วยเครื่อง Rotary evaporator ที่อุณหภมู ิ 64.7 องศาเซลเซียส จนกวา่ ตวั ทาละลายจะหมด 1.3.6 นาสารสกดั ที่ระเหยตวั ทาละลายหมด มาเจือจางดว้ ยสารละลายโพเทสเซียมคลอไรด์ (buffer pH 1.0) ในอตั ราส่วน 1:100 และสารละลายโซเดียมอะซิเตรต (buffer pH 4.5) ในอตั ราส่วน 1:100 หลงั จากน้ันนาไปวดั ค่าการดูดกลืนแสงดว้ ยเคร่ือง Spectrophotometer ที่ความยาวคลื่น 520 นาโนเมตร และ 700 นาโนเมตร และนามาหาปริมาณแอนโทไซยานินดว้ ยวิธีพีเอช-ดิฟเฟอเรียนเชียล (pH-Differential method) ดงั สมการ Anthocyanin (mg/L) =A x A x MW x DF x 1000 εxl โดย A = (A520 – A700)pH1.0 – (A520 – A700)pH4.5 = (ค่าการดูดกลืนที่ความยาวคลื่นสุงสูดของสารตวั อย่างท่ีใส่สารละลายบฟั เฟอร์ pH1.0 – ค่า การดูดกลืนท่ีความยาว 700 นาโนเมตร ของสารตวั อยา่ งที่ใส่สารละลายบฟั เฟอร์ pH1.0) – (ค่าการดูดกลืน ความยาวคลื่นสุงสูดของสารตัวอย่างท่ีใส่สารละลายบัฟเฟอร์ pH4.5 - ค่าการดูดกลืนท่ีความยาว 700 นาโนเมตร ของสารตวั อยา่ งที่ใส่สารละลายบฟั เฟอร์ pH4.5 MW = ค่ามวลโมเลกุลของไซยานิดิน-3-กลูโคไซด์ 499.2 กรัมต่อโมล ,ค่ามวลโมเลกุลของ เพลาโกนิดิน-3-กลโู คไซด์ 306.7 กรัมตอ่ โมล (เลือกใชว้ า่ จะหาแอนโทไซยานินชนิดไหน) DF = dilution factor (การทาใหเ้ จือจางมีคา่ 100) ε = ค่าโมลาร์แอบซอบติวิต้ี ค่าน้ีจะข้ึนกบั ชนิดของแอนโทไซยานินและตัวทาละลาย โดยทวั่ ไป มกั ใชค้ ่าของไซยานิดิน-3-กลูโคไซด์ และเพลาร์โกนิดิน-3-กลูโคไซด์ ในสารละลายบฟั เฟอร์ 1.0 มีคา่ เท่ากบั ค่าของไซยานิดิน-3-กลูโคไซด์ 26,900 ลิตรต่อโมลต่อเซนติเมตร และค่าของเพลาร์โกนิดิน-3-กลูโคไซด์ 31,000 ลิตรต่อโมลตอ่ เซนติเมตร l = ขนาดความกวา้ งของคิวเวต (เซนติเมตร) ท่ีใชว้ ดั คา่ ความดูดกลืนแสง
6 การทดลองที่ 2 พฒั นาแอนโทไซยานินจากธรรมชาติเป็ นสีย้อมอสุจิ 2.1 วตั ถดุ ิบและสารเคมีที่ใชใ้ นการทดลอง 2.2.1. Potassium Alum (แบบผง) 2.2.2 เมทิลแอลกอฮอล์ (เมทานอล) 2.2.3 กรดอะซิตริก 2.2.4 พืชตวั อยา่ ง 3 ชนิด คือ บีทรูท กะหล่าปลีม่วง เปลือกมงั คุด 2.3 ข้นั ตอนและวิธีดาเนินการทดลอง 2.3.1 การพฒั นาสียอ้ มอสุจิโดยใชแ้ อนโทไซยานินจากธรรมชาติ 1. ชง่ั Potassium Alum 25 กรัมนาไปละลายในน้ากลน่ั ปริมาตร 100 มิลลิลิตร 2. ปิ เปตเมทิลแอลกอฮอล์ 10 มิลลิลิตรลงในสารละลาย 3. ปิ เปตกรดอะซิตริก 10 มิลลิลิตรลงในสารละลาย 4. หน่ั พืชท้งั 3 ชนิดเป็นชิ้นเลก็ ๆ จานวน 100 กรัม แช่ลงในสารละลายที่เตรียมไว้ 5. แช่ทิ้งไวเ้ ป็นเวลา 72 ชวั่ โมงที่อุณหภูมิหอ้ ง 6. กรองสารสกดั ที่ไดด้ ว้ ยกระดาษกรองเบอร์ 1 (Whatman) 7. นาสารสกดั ท่ีไดเ้ กบ็ รักษาไวใ้ นขวดสีชา 2.3.2 การยอ้ มสีอสุจิโดยใชส้ ียอ้ มแอนโทไซยานินจากธรรมชาติ ข้นั ตอน เวลา จุ่มสไลดต์ วั อยา่ งในเอทิลแอลกอฮอล์ 10 จุ่ม จุ่มละ 2 วินาที แช่สไลดต์ วั อยา่ งในสียอ้ มแอนโทไซยานินจากธรรมชาติ 3 นาที ลา้ งสีส่วนเกิดออกดว้ ยน้าประปาดว้ ยการยกข้ึนลง 10 จุ่ม จุ่มละ 2 วินาที รอจนสไลดแ์ หง้ สนิท และนาไปตรวจหาตวั อสุจิภายใตก้ ลอ้ งจุลทรรศน์ ตารางท่ี 1 ข้นั ตอนการยอ้ มสีอสุจิ
7 การทดลองท่ี 3 การศึกษาหาความสัมพนั ธ์ระหว่างปริมาณแอนโทไซยานินต่อการตดิ สีของอสุจิ สกดั แอนโทไซยานินใน 1.0 % ไฮโดรคลอริกในเมทานอล ทาการทดลองเหมือนกับการทดลองท่ี 1 ศึกษาวิธีการสกัดและเปรี ยบเทียบปริ มาณสาร แอนโทไซยานินจากธรรมชาติแต่เปล่ียนตวั วตั ถุดิบเป็ นตวั ท่ีมีประสิทธิภาพดีท่ีสุด และเปลี่ยนน้าหนักใน การสกดั เป็น 50 และ 75 กรัม จากน้นั นาไปทดสอบหาปริมาณแอนโทไซยานินตามการทดลองที่ 1 การพฒั นาเป็นสียอ้ มอสุจิ ทาการทดลองเหมือนกบั การทดลองท่ี 2 พฒั นาแอนโทไซยานินจากธรรมชาติเป็นสียอ้ มอสุจิ แต่เปล่ียนตวั วตั ถุดิบเป็ นตวั ท่ีมีประสิทธิภาพดีท่ีสุด และเปลี่ยนน้าหนักในการสกดั เป็ น 50 และ 75 กรัม จากน้ันนาไป ทดสอบการติดสีของตวั อสุจิตอ่ ไป การทดลองท่ี 4 การทดสอบประสิทธิภาพของสีย้อมอสุจิจากแอนโทไซยานินที่ได้จากธรรมชาติ (คัดเลือก สีย้อมท่มี ปี ระสิทธภิ าพดที ส่ี ุดมาทดสอบ) 1. เตรียมสไลด์ตวั อย่างคราบอสุจิภายหลงั หลง่ั ออกมาจากร่างกายท่ี 1 ชว่ั โมง ,6 ชวั่ โมง , 12 ชว่ั โมง ,24 ชว่ั โมง ,48 ชว่ั โมง ,72 ชว่ั โมง ,96 ชว่ั โมง และ 120 ชวั่ โมง 2. ทาการยอ้ มทุกสไลด์ตามวิธีการยอ้ มก่อนหน้า แต่เพิ่มเวลาในการแช่สไลด์ตวั อย่างใน สียอ้ มแอนโทไซยานินจากธรรมชาติเป็น 3 นาที ,6 นาที ,9 นาที และ 12 นาที 3. สังเกตการติดสีของตวั อสุจิภายใตก้ ลอ้ งจุลทรรศน์ และบนั ทึกผล
8 บทท่ี 4 ผลการทดลองและอภิปรายผล โครงงานวิทยาศาสตร์เร่ือง การศึกษาแอนโทไซยานินจากธรรมชาติเพื่อใชย้ อ้ มอสุจิสาหรับตรวจ ทางนิติวิทยาศาสตร์ เป็ นโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง ผู้ศึกษาได้นาพืช จานวน 3 ชนิด คือ กะหล่าปลีม่วง เปลือกมงั คุด และบีทรูท โดยศึกษาและเปรียบเทียบปริมาณแอนโทไซยานินและนามา พฒั นาเป็ นสียอ้ มอสุจิ ประเมินการติดสีของตัวอสุจิภายใต้กลอ้ งจุลทรรศน์ ซ่ึงผลการทดลองสามารถ แบง่ ออกเป็น 4 ส่วน ดงั น้ี ส่วนท่ี 1 ศึกษาวธิ ีการสกดั และเปรียบเทยี บปริมาณสารแอนโทไซยานินจากธรรมชาติ 1.1 การสกดั และทดสอบแอนโทไซยานนิ โดยวธิ กี ารทดสอบ Anthocyanin test จากการทดลองพบว่าเมื่อนาท้งั 3 ชนิดมาสกัดด้วย 1.0 % ไฮโดรคลอริกในเมทานอล เพื่อสกัด สารแอนโทไซยานินท่ีอยใู่ นพืช เม่ือนาสารสกดั มากรองดว้ ยกระดาษกรองเบอร์ 1 และนาไปทดสอบสาร แอนโทไซยานินโดยการหยดกรดไฮโดรคลอริกและแอมโมเนียทีละหยด พบวา่ เม่ือหยดกรดไฮโดรคลอริก จะแสดงผลสีแดงและหยดแอมโมเนียจะแสดงผลเป็ นสีน้ าเงิน 1.2 การศึกษาหาปริมาณแอนโทไซยานนิ โดยใช้เคร่ืองวดั ค่าการดดู กลืนแสง จากการศึกษาพบวา่ เม่ือนาพืชท้งั 3 ชนิดมาสกดั ดว้ ย 1.0 % ไฮโดรคลอริกในเมทานอลและนาไป ทดสอบสารแอนโทไซยานินแลว้ นาไประเหยตวั ทาละลายออก หลงั จากน้ันนาสารสกัดท่ีได้มาเจือจาง ดว้ ย KCI (buffer pH 1.0) และ CH3COONa (buffer pH 4.5) ในอตั ราส่วน 1:100 นาไปวดั ค่าการดูดกลืนแสง ดว้ ยเครื่อง Spectrophotometer ที่ความยาวคลื่น 520 นาโนเมตรและ 700 นาโนเมตรจะไดผ้ ลดงั ตารางท่ี 2 พืชตวั อยา่ ง สารละลายท่ีใชเ้ จืองจาง คา่ การดูดกลืนแสง (A) 520 nm 700 nm บีทรูท (1) KCI buffer pH 1.0 0.339 0.049 บีทรูท (2) KCI buffer pH 1.0 บีทรูท (3) KCI buffer pH 1.0 0.263 0.052 บีทรูท (1) CH3COONa buffer pH 4.5 บีทรูท (2) CH3COONa buffer pH 4.5 0.357 0.053 บีทรูท (3) CH3COONa buffer pH 4.5 กะหล่าปลีม่วง (1) KCI buffer pH 1.0 0.637 0.046 กะหล่าปลีม่วง (2) KCI buffer pH 1.0 0.513 0.046 0.594 0.045 0.743 0.050 0.902 0.050
9 พชื ตวั อยา่ ง สารละลายท่ีใชเ้ จืองจาง คา่ การดูดกลืนแสง (A) 520 nm 700 nm กะหล่าปลีมว่ ง (3) KCI buffer pH 1.0 0.943 0.057 กะหล่าปลีม่วง (1) CH3COONa buffer pH 4.5 0.143 0.046 กะหล่าปลีมว่ ง (2) CH3COONa buffer pH 4.5 0.172 0.046 กะหล่าปลีม่วง (3) CH3COONa buffer pH 4.5 0.157 0.048 เปลือกมงั คุด (1) 1.954 0.477 KCI buffer pH 1.0 เปลือกมงั คุด (2) KCI buffer pH 1.0 1.607 0.389 เปลือกมงั คุด (3) KCI buffer pH 1.0 1.153 0.212 เปลือกมงั คุด (1) CH3COONa buffer pH 4.5 1.228 0.100 เปลือกมงั คุด (2) CH3COONa buffer pH 4.5 1.152 0.145 เปลือกมงั คุด (3) CH3COONa buffer pH 4.5 1.153 0.145 ตารางท่ี 2 คา่ การดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 520 นาโนเมตรและ 700 นาโนเมตร 1.3 การวเิ คราะห์ปริมาณสารแอนโทไซยานนิ ด้วยวิธีพเี อช-ดฟิ เฟอเรนเชียล นาสารสกัดที่เจือจางด้วย KCI (buffer pH 1.0) และ CH3COONa (buffer pH 4.5) นาไปวัดค่า การดูดกลืนแสงด้วยเครื่ อง Spectrophotometer นาผลที่ได้มาวิเคราะห์หาปริ มาณแอนโทไซยานิน ซ่ึงพชื แต่ละชนิดแต่ละตวั อยา่ งมีปริมาณแอนโทไซยานิน ดงั ตารางที่ 3 ตวั อยา่ งพชื ปริมาณแอนโทไซยานิน (mg/L) ปริมาณแอนโทไซยานิน ปริมาณแอนโทไซยานิน (ค่าเฉลี่ย) บีทรูท (1) 558.584 บีทรูท (2) 475.075 496.106 บีทรูท (3) 454.661 กะหล่าปลีมว่ ง (1) 1,106.034 กะหล่าปลีม่วง (2) 1,441.927 1,329.962 กะหล่าปลีม่วง (3) 1,441.927 เปลือกมงั คดุ (1) 647.660 เปลือกมงั คุด (2) 224.547 328.471 เปลือกมงั คดุ (3) 113.201 oao ตารางท่ี 3 ผลที่ไดม้ าวิเคราะหห์ าปริมาณแอนโทไซยานินของพืชตวั อยา่ ง |
10 จากตารางท่ี 3 ผลการวิเคราะห์หาปริ มาณแอนโทไซยานินของพืชตัวอย่าง พบว่าปริมาณ แอนโทไซยานินของบีทรูทตัวอย่างที่ 1 ,2 และ 3 คือ 558.584 ,475.075 และ 454.661 mg/L ตามลาดับ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 496.106 mg/L ปริมาณแอนโทไซยานินของกะหล่าปลีม่วงตัวอย่างท่ี 1 ,2 และ 3 คือ 1,106.034 , 1,441.927 และ 1,441.927 mg/L ตามลาดับ โดยมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 1,329.962 mg/L อย่างสุดท้ายคือปริมาณแอนโทไซยานินของเปลือกมังคุดตัวอย่างท่ี 1 ,2 และ 3 คือ 647.660 , 224.547 และ 113.201 ตามลาดบั มีคา่ เฉล่ียเท่ากบั 328.471 mg/L ส่วนท่ี 2 การพฒั นาเป็ นสีย้อมอสุจแิ ละการทดสอบประสิทธิภาพของสีย้อมอสุจิ เน่ืองจากผลทดลองในส่วนที่ 1 แสดงให้เห็นถึงปริมาณแอนโทไซยานิน โดยเม่ือใช้ตวั ทาละลาย คือ 1.0 % ไฮโดรคลอริ กในเมทานอลมาสกัดแอนโทไซยานินพบว่าในกะหล่าปลีม่วงมีปริ มาณ แอนโทไซยานินท่ีเฉลี่ยเท่ากับ 1,329.962 mg/L ซ่ึงมากกว่าปริ มาณแอนโทโซยานินในบีทรูทและ เปลือกมังคุดท่ีมีปริมาณแอนโทไซยานินท่ีเฉล่ียเท่ากับ 496.106 mg/L และ 328.471 mg/L ตามลาดับ ผูศ้ ึกษาจึงนาพืชตัวอย่างท้ัง 3 ชนิดมาพฒั นาเป็ นสียอ้ มอสุจิโดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาการยอ้ มติดสี ของอสุ จิ โดยใช้สารสกัดธรรมชาติ และเปรี ยบเที ยบถึ งปริ มาณแอนโทไซยานิ นว่ามี ผลต่อการติดสี ของตวั อสุจิมากนอ้ ยเพยี งใด ซ่ึงผลการทดลองเป็นดงั ตาราง ชนิดของสียอ้ มอสุจิ ปริมาณแอนโทไซยานินเฉล่ีย ลกั ษณะการติดสีที่พบ (mg/L) (กาลงั ขยาย 100 เท่า) สกดั มาจากบีทรูท 496.106 ไม่พบการติดสีของตวั อสุจิ สกดั มาจากกะหล่าปลีม่วง 1,329.962 พบการติดสีของอสุจิ ติดสีสีน้าเงิน สกดั มาจากเปลือกมงั คุด 328.471 ไม่พบการติดสีของตวั อสุจิ ตารางท่ี 4 การทดสอบการติดสีของตวั อสุจิในสียอ้ มแต่ละชนิด ส่วนที่ 3 การศึกษาหาความสัมพนั ธ์ระหว่างปริมาณแอนโทไซยานินต่อการติดสีของอสุจิ เน่ืองจากผลการทดลองในส่วนท่ี 2 แสดงให้เห็นถึงลกั ษณะการติดสีของตวั อสุจิในการยอ้ มสี โดยใชส้ ียอ้ มท่ีสกดั ออกมาจากพืชตวั อย่างท้งั 3 ชนิด พบวา่ สียอ้ มท่ีสกดั มาจากกะหล่าปลีม่วงมีพบการติดสี ของตวั อสุจิภายใตก้ ลอ้ งจุลทรรศน์ แต่ในส่วนของสียอ้ มท่ีสกดั มาจากบีทรูทและเปลือกมงั คุดไม่พบการ ติดสีของตวั อสุจิภายใตก้ ลอ้ งจุลทรรศน์ ผศู้ ึกษาจึงเลือกนากะหล่าปลีม่วงมาทดลองในการทดลองส่วนที่ 3 โดยการลดปริมาณของตัวสกดั และหาปริมาณแอนโทไซยานินเพื่อศึกษาความสัมพนั ธ์ระหว่างปริมาณ แอนโทไซยานินและการติดสีของตวั อสุจิ ซ่ึงผลการทดลองเป็นดงั น้ี
11 สกดั แอนโทไซยานินใน 1.0 % ไฮโดรคลอริกในเมทานอล จากการศึกษาพบว่า เมื่อกะหล่าปลีม่วงที่ใช้จานวน 50 กรัม และ 75 กรัม มาสกัดด้วย 1.0 % ไฮโดรคลอริกในเมทานอลและนาไปทดสอบสารแอนโทไซยานินแลว้ นาไประเหยตัวทาละลายออก หลังจากน้ันนาสารสกัดที่ได้มาเจือจางด้วย KCI (buffer pH 1.0) และ CH3COONa (buffer pH 4.5) ในอัตราส่วน 1:100 นาไปวัดค่าการดูดกลืนแสงด้วยเครื่ อง Spectrophotometer ที่ความยาวคล่ืน 520 นาโนเมตรและ 700 นาโนเมตรจะไดผ้ ลดงั ตาราง น้าหนกั ของกะหล่าปลี สารละลายท่ีใชเ้ จือจาง ค่าการดูดกลืนแสง (A) มว่ ง 520 nm 700 nm ตวั อยา่ งที่ 1 50 กรัม KCI buffer pH 1.0 1.672 0.469 ตวั อยา่ งที่ 2 50 กรัม KCI buffer pH 1.0 1.153 0.146 ตวั อยา่ งที่ 3 50 กรัม KCI buffer pH 1.0 1.153 0.141 ตวั อยา่ งท่ี 1 50 กรัม CH3COONa buffer pH 4.5 1.152 0.219 ตวั อยา่ งที่ 2 50 กรัม CH3COONa buffer pH 4.5 1.226 0.477 ตวั อยา่ งที่ 3 50 กรัม CH3COONa buffer pH 4.5 1.228 0.100 ตวั อยา่ งท่ี 1 75 กรัม 0.599 0.050 KCI buffer pH 1.0 ตวั อยา่ งที่ 2 75 กรัม KCI buffer pH 1.0 0.632 0.046 ตวั อยา่ งที่ 3 75 กรัม KCI buffer pH 1.0 0.269 0.038 ตวั อยา่ งที่ 1 75 กรัม CH3COONa buffer pH 4.5 0.497 0.056 ตวั อยา่ งท่ี 2 75 กรัม CH3COONa buffer pH 4.5 0.358 0.049 ตวั อยา่ งที่ 3 75 กรัม CH3COONa buffer pH 4.5 0.565 0.050 ตารางที่ 5 ค่าการดูดกลืนแสงท่ีความยาวคล่ืน 520 นาโนเมตรและ 700 นาโนเมตรของการทดลองท่ี 3 เมื่อไดผ้ ลดงั ตารางนาสารสกดั ท่ีเจือจางดว้ ย KCI (buffer pH 1.0) และ CH3COONa (buffer pH 4.5) ในอัตราส่วน 1:100 นาไปวัดค่าการดูดกลืนแสงด้วยเครื่ อง Spectrophotometer ที่ความยาวคลื่น 520 นาโนเมตรและ 700 นาโนเมตรแลว้ จะนาผลที่ไดม้ าวิเคราะห์หาปริมาณแอนโทไซยานินซ่ึงตวั อย่าง กะหล่าปลีแตล่ ะตวั อยา่ งจะมีปริมาณสารแอนโทไซยานิน ดงั ตาราง
12 ตวั อยา่ ง ปริมาณแอนโทไซยานิน (mg/L) กะหล่าปลีมว่ ง ปริมาณแอนโทไซยานิน ปริมาณแอนโทไซยานิน (ค่าเฉลี่ย) 50 กรัม (1) 499.25 50 กรัม (2) 478.78 397.76 50 กรัม (3) 215.26 75 กรัม (1) 200.42 75 กรัม (2) 514.04 413.83 75 กรัม(3) 527.03 ตารางที่ 6 ผลที่ไดม้ าวิเคราะหห์ าปริมาณแอนโทไซยานินของพืชตวั อยา่ งในการทดลองท่ี 3 จากตารางผลการวิเคราะห์หาปริมาณแอนโทไซยานินของตวั อย่างกะหล่าปลีแต่ละตวั อยา่ ง พบวา่ กะหล่าปลีม่วงที่สกดั โดยใช้น้าหนัก 50 กรัมและ 75 กรัมพบปริมาณแอนโทไซยานินเฉล่ียเท่ากบั 397.76 และ 413.83 mg/L ตามลาดบั การพฒั นาเป็นสียอ้ มอสุจิ จากการศึกษาพบว่า เมื่อนาตวั อย่างกะหล่าปลีม่วงที่น้าหนกั 50 และ 75 กรัมมาพฒั นาเป็ นสียอ้ ม อสุจิและนาไปย้อมโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการยอ้ มติดสีของอสุจิโดยใช้สารสกัดธรรมชาติ และเปรี ยบเทียบถึงปริ มาณแอนโทไซยานินว่ามีผลต่อการติดสี ของตัวอสุ จิมากน้อยเพียงใด ซ่ึงผลการทดลองเป็นดงั ตาราง ชนิดของสียอ้ มอสุจิ ปริมาณแอนโทไซยานินเฉลี่ย ลกั ษณะการติดสีที่พบ (กะหล่าปลีมว่ ง) (mg/L) (กาลงั ขยาย 100 เทา่ ) 50 กรัม 397.76 ไม่พบการติดสีของตวั อสุจิ 75 กรัม 413.83 พบการติดสีของอสุจิ ติดสีชมพูจางๆ ตารางท่ี 7 การทดสอบการติดสีของตวั อสุจิในสียอ้ มของการทดลองท่ี 3
13 ส่วนที่ 4 ทดสอบประสิทธภิ าพของสีย้อมอสุจจิ ากแอนโทไซยานนิ ท่ไี ด้จากธรรมชาติ จากการศึกษาการย้อมติดสีของเซลล์อสุจิโดยใช้สียอ้ มจากกะหล่าปลีม่วง ผู้ศึกษาจึงสนใจ ถึงประสิทธิภาพของสีย้อมอสุจิจากกะหล่าปลีม่วง จึงได้ทดลองเพ่ิมระยะเวลาต้ังแต่การหลั่งอสุจิ ออกมาภายนอกร่างกาย และเพิ่มระยะเวลาในการแช่สไลด์ตวั อย่างลงในสียอ้ ม เพื่อทดสอบประสิทธิภาพ ของสียอ้ ม โดยผลการทดลองแสดงผลดงั ตาราง ตวั อยา่ งสไลด์ ระยะเวลาที่ใชแ้ ช่สไดลต์ วั อย่าง (นาที) (ชว่ั โมง) 1 3 69 12 6 ติดส่วนหวั สีน้าเงิน 12 ติดส่วนหวั สีน้าเงิน ติดส่วนหวั สีน้าเงิน ติดส่วนหวั สีน้าเงิน ติดส่วนหวั สีน้าเงิน 24 ติดส่วนหวั สีน้าเงิน 48 ติดส่วนหวั สีน้าเงิน ติดส่วนหวั สีน้าเงิน ติดส่วนหวั สีน้าเงิน ติดส่วนหวั สีน้าเงิน 72 ติดส่วนหวั สีน้าเงิน ติดส่วนหวั สีน้าเงิน ติดส่วนหวั สีน้าเงิน ติดส่วนหวั สีน้าเงิน ติดส่วนหวั สีชมพู 96 ติดส่วนหวั สีน้าเงิน ติดส่วนหวั สีน้าเงิน ติดส่วนหวั สีน้าเงิน ติดส่วนหวั สีชมพูจางๆ 120 ติดส่วนหวั สีชมพู ติดส่วนหวั สีชมพู ติดส่วนหวั สีน้าเงิน ไมต่ ิดสี ติดส่วนหวั สีชมพู ติดส่วนหวั สีชมพู ติดส่วนหวั สีชมพู จางๆ จางๆ ไม่ติดสี ไม่ติดสี ติดส่วนหวั สีชมพู จางๆ ไมต่ ิดสี ไม่ติดสี ไมต่ ิดสี ตารางท่ี 8 ผลการทดลองการทดสอบประสิทธิภาพของสียอ้ ม
14 บทท่ี 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ โครงงานวิทยาศาสตร์ เร่ือง การศึกษาแอนโทไซยานินจากธรรมชาติเพ่ือใชย้ อ้ มอสุจิสาหรับตรวจ ทางนิติวิทยาศาสตร์ในคร้ังน้ี ไดแ้ บง่ การทดลองออกเป็น 4 การทดลอง คือ การศึกษา สกดั และเปรียบเทียบ ปริมาณแอนโทไซยานินที่อยู่ในพืชตวั อย่าง การนาแอนโทไซยานินจากธรรมชาติมาพฒั นาเป็นสียอ้ มอสุจิ การหาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งปริมาณแอนโทไซยานินต่อการติดสีของตวั อสุจิ และการทดสอบประสิทธิภาพ ของสียอ้ ม โดยสามารถสรุปผลการทดลองได้ ดงั น้ี 1. การศึกษาปริมาณแอนโทไซยานินในพืชตวั อย่างท่ีสกดั ใน 1.0 % ไฮโดรคลอริกในเมทานอล พบว่าปริมาณแอนโทไซยานินเฉลี่ยของบีทรูท กะหล่าปลีม่วง และเปลือกมงั คุด คือ 496.106 , 1,329.962 , 328.471 mg/L ตามลาดบั แสดงใหเ้ ห็นวา่ ปริมาณแอนโทไซยานินท่ีอยใู่ นกะหล่าปลีมว่ งมีปริมาณมากท่ีสุด 2. การศึกษาการพฒั นาสียอ้ มอสุจิโดยใชแ้ อนโทไซยานินจากธรรมชาติพบว่าเมื่อพฒั นาสียอ้ มอสุจิ โดยใช้กะหล่าปลีม่วงท่ีมีปริมาณแอนโทไซยานินมากที่สุดพบการติดสีของอสุจิ ในขณะท่ีสียอ้ มที่สกดั จากบีทรู ทและเปลือกมังคุดที่มีปริ มาณแอนโทไซยานิ นรองลงมาไม่พบการติดสี ข องตัวอสุ จิ ภา ย ใ ต้ กลอ้ งจุลทรรศน์ จึงคาดคะเนไดว้ า่ ปริมาณแอนโทไซยานินมีผลต่อการติดสีของตวั อสุจิ 3. การศึกษาหาความสัมพนั ธ์ระหว่างปริมาณแอนโทไซยานินต่อการติดสีของตัวอสุจิ พบว่า เม่ือสกดั กะหล่าปลีม่วงโดยใช้น้าหนัก 50 กรัมพบปริมาณแอนโทไซยานินเฉล่ีย 397.76 mg/L และเม่ือ พฒั นาสียอ้ มโดยใช้น้าหนักของกะหล่าปลีท่ีจะสกัด 50 กรัมและนามายอ้ มไม่พบการติดสีของ ตวั อสุจิ ภายใตก้ ลอ้ งจุลทรรศน์ ในขณะที่สกดั กะหล่าปลีม่วงโดยใช้น้าหนกั 75 กรัมพบปริมาณแอนโทไซยานิน เฉล่ีย 413.83 mg/L และเม่ือพฒั นาสียอ้ มโดยใช้น้าหนักของกะหล่าปลีที่จะสกัด 75 กรัมและนามายอ้ มสี ผลแสดงวา่ พบการติดสีของตวั อสุจิภายใตก้ ลอ้ งจุลทรรศน์ ทาใหส้ ามารถสรุปไดว้ า่ ปริมาณแอนโทไซยานิน จะแปรผนั ตรงต่อการติดสีของตวั อสุจิภายใตก้ ลอ้ งจุลทรรศน์ 4. การทดสอบประสิทธิภาพของสียอ้ มอสุจิ พบว่าเมื่อเพิ่มระยะเวลาในการยอ้ มสีตวั อสุจิลงใน สียอ้ มและเพ่ิมระยะเวลาท่ีอสุจิหลงั่ ออกมานอกร่างกาย สียอ้ มอสุจิท่ีผูจ้ ดั ทาไดน้ ามาพฒั นาจากกะหล่าปลี ม่วง สามารถยอ้ มติดสีตวั อสุจิที่หลงั ออกมาภายนอกร่างกายท่ีมีระยะเวลานานถึง 96 ชว่ั โมง หมายความว่า หากเกิดคดีอาชญากรรมทางเพศในระยะเวลา 96 ชั่วโมงสีย้อมของทางผู้ศึกษาก็ยังมีประสิทธิภาพ การยอ้ มติดสีเพื่อยนื ยนั ไดว้ า่ เป็นคราบอสุจิจริงและนาไปทดสอบหาผกู้ ระทาความผิดต่อไปได้ ซ่ึงสามารถ ใชส้ ียอ้ มของทางผจู้ ดั ทาเป็นอีกทางเลือกหน่ึงในการพิสูจนต์ วั ผกู้ ระทาความผดิ ทางนิติวิทยาศาสตร์ได้
•15 ภาคผนวก
•16 เอกสารอ้างองิ โกลญั ญา แสงอุทยั .(2560).วธิ กี ารย้อมสีอย่างง่ายโดยใช้สารสกดั จากข้าวเหนียวดาสาหรับการตรวจหาตวั อสุจบิ นตัวอย่างผ้า.สาขาวชิ านิติวทิ ยาศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ธนชาติ จึงแยม้ ปิ่ น.(2565).ระบบสืบพนั ธ์ุเพศชาย.Hello คณุ หมอ.สืบคน้ เมื่อ 18 มีนาคม 2565.จาก https://hellokhunmor.com/สุขภาพทางเพศ/ระบบสืบพนั ธุ์เพศชาย-หนา้ ท่ี/ บญั ชียาหลกั แห่งชาติ บญั ชียาสมนุ ไพร.(2560).มงั คุด.คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร.สืบคน้ เม่ือ 25 เมษายน 2565.จากhttps://pharmacy.su.ac.th/herbmed/herb/ เม่ือ 16 เมษายน 2565. จากhttp://biology.ipst.ac.th/?p=102 พบแพทย.์ (2565).บีทรูทกบั ประโยชน์ต่อสุขภาพ.สืบคน้ เมื่อ 20 มีนาคม 2565.จากhttps://www.pobpad.com/ บีทรูทกบั ประโยชน์ต่อสุขภาพ/ ราชบณั ฑิตยสถาน.(2538).กะหล่าปลีม่วง.อนุกรมวิธานพืช อกั ษร ก.กรุงเทพมหานคร: เพ่ือนพิมพ.์ สืบคน้ .............เม่ือ 20 มีนาคม 2565จาก.http://www.rspg.or.th/plants_data/plantdat/brassica/bolcap_2.htm สุภาพร ฟักเงิน และศิรประภา มีรอด.(2560).การสกดั แยกหาปริมาณแอนโทไซยานินจากลูกมะม่วงหาว มะนาวโห่ Extraction and Separation of Anthocyanins from Carissa carandas L. คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั กาแพงเพชร อาสาสมคั รวิกิพเี ดีย. (2564).บีทรูท.วิกิพเี ดีย สารานุกรมเสรี.สืบคน้ เมื่อ 15 พฤษภาคม 2565.จาก https://th.wikipedia.org/wiki/บีตรูต/ อาสาสมคั รวกิ ิพีเดีย. (2564).แอนโทไซยานนิ .วกิ ิพเี ดีย สารานุกรมเสรี.สืบคน้ เม่ือ 18 มีนาคม 2565.จาก
•17 สียอ้ มอสุจิโดยใชแ้ อนโทไซยานินจากกะหล่าปลีมว่ ง Anthocyanin test
•18 การยอ้ มติดสีของตวั อสุจิ สีน้าเงิน การยอ้ มติดสีของตวั อสุจิ สีชมพจู างๆ (กาลงั ขยาย 100 เท่า) (กาลงั ขยาย 100 เท่า) การยอ้ มติดสีของตวั อสุจิ สีชมพู การยอ้ มติดสีของตวั อสุจิ สีชมพูจางๆ (กาลงั ขยาย 100 เทา่ ) ในตวั ที่สกดั ดว้ ยวตั ถุดิบ 75 กรัม (กาลงั ขยาย 100 เทา่ ) การยอ้ มไม่ติดสีของตวั อสุจิ ในตวั ที่สกดั ดว้ ยวตั ถดุ ิบ 50 กรัม (กาลงั ขยาย 100 เท่า)
ชื่อ •19 วนั /เดือน/ปี เกิด การศึกษา ประวัติผู้ศึกษา ชื่อ นายมินฮาร์ท ปาณะลกั ษณ์ วนั /เดือน/ปี เกิด 21 กมุ ภาพนั ธ์ 2548 การศึกษา กาลงั ศึกษาระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนยพุ ราชวทิ ยาลยั ช่ือ วนั /เดือน/ปี เกิด นายเธียรวิชญ์ กระดี่ การศึกษา 14 เมษายน 2545 กาลงั ศึกษาระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนยพุ ราชวิทยาลยั นางสาววริศรา วารี 28 กนั ยายน 2547 กาลงั ศึกษาระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนยพุ ราชวิทยาลยั ลงช่ือ..................................................................... ผศู้ ึกษา (นายมินฮาร์ท ปาณะลกั ษณ์) ลงชื่อ..................................................................... ผศู้ ึกษา (นายเธียรวิชญ์ กระดี่) ลงชื่อ..................................................................... ผศู้ ึกษา (นางสาววริศรา วารี) ลงช่ือ..................................................................... อาจารยท์ ่ีปรึกษาหลกั (นายธนวฒั น์ พนั ธว์ ชิ ยั ) ลงช่ือ..................................................................... ท่ีปรึกษาพเิ ศษ (นางสาวปรียาภรณ์ ปันใจแกว้ )
☆20
Search
Read the Text Version
- 1 - 27
Pages: