Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 36หมอลำเพลินการ นางแก้ว คำจำปี

36หมอลำเพลินการ นางแก้ว คำจำปี

Published by artaaa143, 2019-05-09 08:27:30

Description: 36หมอลำเพลินการ นางแก้ว คำจำปี

Search

Read the Text Version

ภมู ปิ ัญญาศึกษา เรอื่ ง หมอลาเพลนิ โดย 1. นางแก้ว คาจาปี (ผ้ถู า่ ยทอดภูมปิ ัญญา) 2. นางสาวศศิประภา หวานวนิ (ผู้เรยี บเรียงภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ ) เอกสารภูมปิ ญั ญาศกึ ษานี้เปน็ สว่ นหนึ่งของการศึกษา ตามหลกั สตู รโรงเรียนผูส้ งู อายุเทศบาลเมืองวังนา้ เยน็ ประจาปีการศึกษา 2561 โรงเรียนผูส้ งู อายเุ ทศบาลเมืองวังนา้ เย็น สงั กัดเทศบาลเมอื งวังนา้ เย็น จังหวดั สระแกว้

ก คานา ภมู ิปัญญาท้องถน่ิ หรอื เรยี กช่อื อีกอยา่ งหนงึ่ ว่า ภมู ปิ ญั ญาชาวบา้ น คือองคค์ วามรทู้ ่ีชาวบา้ นได้ สั่งสมจากประสบการณ์จริงท่ีเกิดขึ้นหรือจากบรรพบุรุษที่ได้ถ่ายทอดสืบกันมาต้ังแต่ในอดีตมาจนถึงปัจจุบัน เพื่อนามาใช้แกป้ ัญหาในชีวิตประจาวัน การทามาหากิน การประกอบการงานเลยี้ งชพี หรือกิจกรรมอื่นๆ เป็น การผ่อนคลายจากการทางาน หรือการย้ายถ่ินฐานเพ่ือมาต้ังถ่ินฐานใหม่แล้วคิดค้นหรือค้นหาวธิ ีการดังกล่าว เพื่อการแก้ปัญหา โดยสภาพพนื้ ท่นี ั้น ชุมชนวังน้าเย็นแห่งน้ี เกิดขึ้นเม่ือราว ๆ 50 ปีที่ผ่านมา จากการอพยพ ถิ่นฐานของผูค้ นมาจากทกุ ๆ ภาคของประเทศไทย แล้วมากอ่ ตัง้ เปน็ ชมุ ชนวงั นา้ เย็น ซง่ึ บางคนไดน้ าองค์ความรู้ มาจากถิ่นฐานเดิมแล้วมีการสืบทอดสืบสานมาจนถึงปจั จุบัน เช่นเดียวกับ หมอลาเพลินโดย นางแก้ว คาจาปี ได้รวบรวมเรียบเรียงถ่ายทอดประสบการณ์ให้คนรุ่นหลังได้สืบค้น หรือค้นคว้าเป็นภูมิปัญญาศึกษา ของ เทศบาลเมอื งเมอื งวังน้าเย็น จังหวัดสระแก้ว ผศู้ กึ ษาขอขอบพระคุณ นายวนั ชัย นารรี กั ษ์ นายกเทศมนตรเี มืองวงั น้าเยน็ และนายคนองพล เพ็ชรร่ืน ปลัดเทศบาลเมืองวังน้าเย็น คณะกรรมการโรงเรียนผู้สูงอายุ กองสวัสดิการ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองวังน้าเยน็ โรงเรียนมิตรสัมพันธ์วิทยา โรงเรียนอนุบาลเทศบาลเมืองวังนา้ เย็น หน่วยงานอื่นๆท่ี เก่ียวข้อง และขอขอบพระคุณ นางสาวศศิประภา หวานวิน ท่ีได้เป็นท่ีปรึกษาดูแลรับผดิ ชอบด้านงานธุรการ บันทึกเรื่องราวและจัดทารูปเล่มที่สมบูรณ์ครบถ้วนความรู้อันใดหรือกุศลอันใดที่เกิดจากการร่วมมือร่วมแรง รว่ มใจรว่ มพลังจนเกดิ มีภูมิปัญญาศึกษาฉบับน้ี ขอกุศลผลบญุ น้ันจงเกิดมีแก่ผู้เก่ยี วข้องดังท่กี ล่าวมาทุกๆท่าน เพื่อสรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นตอ่ ไป แก้ว คาจาปี ศศิประภา หวานวนิ ผ้จู ัดทา

สารบญั ข เรื่อง หนา้ คานา ก สารบญั ข ทม่ี าและความสาคญั ของภมู ปิ ญั ญาศึกษา ค ภมู ิปญั ญาเช่อื มโยงสู่สารานุกรมไทยสาหรบั เยาวชน ง ความเปน็ มาและความสาคัญของ หมอลาเพลิน 1 ววิ ฒั นาการของหมอลา 1 ความหมายของหมอลา 1 ประเภทของหมอลา 2-5 ลักษณะของกลอนลา 6-7 การนาภูมิปัญญาศกึ ษา เร่ือง หมอลาเพลนิ ไปใชใ้ นชีวิตประจาวัน 7 ภาคผนวก 8 - ประวัติผ้จู ัดทา 9 - 13 - ภาพประกอบ 17 อ้างอิง

ค ทมี่ าและความสาคญั ของภูมปิ ัญญาศึกษา จากพระราชดารัสของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทว่ี า่ “ประชาชนน่ันแหละ ท่ีเขามคี วามรเู้ ขาทางานมาหลายช่วั อายคุ น เขาทากนั อยา่ งไรเขามีความเฉลยี วฉลาด เขารวู้ า่ ตรงไหน ควรทากสกิ รรมเขารู้ว่าตรงไหนควรเก็บรักษาไวแ้ ตท่ ี่เสียไปเพราะพวกไมร่ ู้เรื่องไม่ได้ทามานานแล้วทาให้ลมื ว่า ชีวิตมันเป็นไปโดยการกระทาที่ถูกต้องหรือไม่ ”พระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดชที่สะท้อนถึงพระปรีชาสามารถในการรับรู้และความเข้าใจหย่ังลึกท่ีทรงเห็นคุณค่าของ ภมู ิปัญญาไทยอย่างแท้จรงิ พระองคท์ รงตระหนักเปน็ อย่างยิ่งว่า ภมู ิปัญญาท้องถิ่นเป็นสิ่งท่ีชาวบ้านมีอยู่แล้ว ใช้ประโยชน์เพ่ือความอยู่รอดกันมายาวนาน ความสาคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่นซึ่งความรู้ที่ส่ังสมจากการ ปฏิบัติจริงในห้องทดลองทางสังคมเป็นความรู้ด้ังเดิมท่ีถูกค้นพบ มีการทดลองใช้แก้ไขดัดแปลงจนเป็นองค์ ความรู้ที่สามารถแก้ปัญหาในการดาเนินชีวิตและถ่ายทอดสืบต่อกันมาภูมิปัญญาท้องถ่ินเป็นขุมทรัพย์ทาง ปัญญาท่ีคนไทยทุกคนควรรู้ควรศึกษาปรับปรุงและพัฒนาให้สามารถนาภูมิปัญญาท้องถ่ินเห ล่านั้นมาแก้ไข ปญั หาให้สอดคล้องกับบริบททางสังคมวัฒนธรรมของกลุ่มชุมชนน้นั ๆอย่างแทจ้ ริง การพฒั นาภูมปิ ัญญาศกึ ษา นบั เปน็ สง่ิ สาคัญต่อบทบาทของชุมชนทอ้ งถน่ิ ท่ีได้พยายามสร้างสรรคเ์ ปน็ นา้ พกั น้าแรงรว่ มกันของผ้สู ูงอายุและ คนในชมุ ชนจนกลายเป็นเอกลกั ษณ์และวัฒนธรรม ประจาถ่ินทีเ่ หมาะต่อการดาเนนิ ชีวิตหรือภูมิปัญญาของคนในท้องถนิ่ นั้น ๆแต่ภูมิปญั ญาท้องถนิ่ ส่วนใหญเ่ ป็น ความรู้หรือเป็นสิ่งที่ได้มาจากประสบการณ์หรือเป็นความเชื่อสืบต่อกันมาแต่ยังขาดองค์ความรู้หรือขาด หลกั ฐานยืนยนั หนกั แน่นการสร้างการยอมรับทเี่ กดิ จากฐานภมู ปิ ัญญาท้องถิ่นจึงเป็นไปได้ยาก ดงั นน้ั เพือ่ ให้เกิดการสง่ เสริมพัฒนาภูมิปญั ญาท่ีเปน็ เอกลักษณข์ องท้องถิน่ กระต้นุ เกิดความภาคภูมใิ จ ในภูมิปัญญาของบุคคลในท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมไทยเกิดการถ่ายทอดภูมิปัญญาสู่คนรุ่นหลัง โรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลเมืองวังน้าเย็นได้ดาเนินการจัดทาหลักสูตรการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาศักยภาพ ผู้สูงอายุในท้องถ่ินที่เน้นให้ผู้สูงอายุได้พัฒนาตนเองให้มีความพร้อมสู่สังคมผู้สูงอายุที่มีคุณภาพในอนาคต รวมทั้งสืบทอดภูมิปัญญาในการดารงชีวิตของนักเรียนผู้สูงอายุท่ีได้สั่งสมมา เกิดจากการสืบทอดภูมิปัญญา ของบรรพบุรุษ โดยนักเรียนผู้สูงอายุจะเป็นผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้ และมีครูพี่เลี้ยงซ่ึงเป็นคณะครูของ โรงเรยี นในสังกัดเทศบาลเมืองวงั น้าเย็น เป็นผ้เู รียบเรยี งองค์ความรไู้ ปส่กู ารจัดทาภมู ิปญั ญาศกึ ษา ให้ปรากฏออกมาเป็นรูปเล่มภูมิปัญญาศึกษา ใช้เป็นส่วนหนึ่งในการจบหลักสูตรการศึกษาของโรงเรียน ผู้สูงอายุ ประจาปีการศึกษา 2561พร้อมท้ังเผยแพร่และจัดเก็บคลังภูมิปัญญาไว้ในห้องสมุดของโรงเรียน เทศบาลมติ รสมั พนั ธว์ ทิ ยา เพือ่ ให้ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่นเหลา่ นเ้ี กิดการถา่ ยทอดสคู่ นร่นุ หลงั สบื ตอ่ ไป จากความร่วมมือในการพัฒนาบุคลากรในหน่วยงานและภาคีเครือข่ายท่ีมีส่วนร่วมในการผสมผสาน องค์ความรู้ เพือ่ ยกระดับความรู้ของภูมิปัญญานั้น ๆเพอ่ื นาไปสกู่ ารประยกุ ต์ใชแ้ ละผสมผสานเทคโนโลยีใหม่ ๆให้สอดรับกับวถิ ีชีวติ ของชมุ ชนได้อยา่ งมีประสิทธิภาพการนาภมู ิปญั ญาไทยกลับสู่การศึกษา สามารถส่งเสริม ให้มีการถา่ ยทอดภูมปิ ัญญาในโรงเรยี นเทศบาลมิตรสัมพันธ์วทิ ยาและโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมอื งวังน้าเย็น เกิดการมีส่วนร่วมในกระบวนการถ่ายทอด เชื่อมโยงความรูใ้ ห้กับนักเรยี นและบุคคลทั่วไปในท้องถนิ่ โดยการ นาบคุ ลากรทีม่ คี วามร้คู วามสามารถในท้องถ่ินเข้ามาเปน็ วทิ ยากรให้ความรู้

กับนักเรียนในโอกาสต่าง ๆหรือการที่โรงเรียนนาองค์ความรู้ในท้องถิ่นเข้ามาสอนสอดแทรกในกระบวนการ จัดการเรยี นรู้ ส่งิ เหล่านี้ทาใหก้ ารพัฒนาภูมปิ ัญญาท้องถิน่ นาไปสกู่ ารสืบทอดภมู ปิ ัญญาศกึ ษา เกิดความสาเร็จอย่างเปน็ รูปธรรมนักเรยี นผู้สูงอายุเกิดความภาคภูมิใจในภูมิปัญญาของตนที่ได้ถ่ายทอดสู่คน รุ่นหลังให้คงอยู่ในท้องถ่ิน เป็นวัฒนธรรมการดาเนินชีวิตประจาท้องถ่ิน เป็นวัฒนธรรมการดาเนินชีวิตคู่ แผ่นดินไทยตราบนานเท่านาน นยิ ามคาศัพท์ในการจัดทาภูมปิ ญั ญาศกึ ษา ภูมิปัญญาศึกษา หมายถึง การนาภูมิปัญญาการดาเนินชีวติ ในเรื่องที่ผู้สูงอายเุ ชี่ยวชาญท่ีสุด ของ ผสู้ ูงอายุทีเ่ ข้าศึกษาตามหลักสตู รของโรงเรียนผู้สงู อายุเทศบาลเมอื งวังน้าเย็น มาศกึ ษาและสบื ทอดภมู ิปัญญา ในรูปแบบต่าง ๆ มีการสืบทอดภูมิปัญญาโดยการปฏิบัตแิ ละการเรียบเรียงเป็นลายลักษณอ์ ักษรตามรูปแบบท่ี โรงเรียนผู้สูงอายุกาหนดข้ึนใช้เป็นส่วนหนึ่งในการจบหลักสูตรการศึกษาเพื่อให้ภูมิปัญญาของผู้สูงอายุได้รับ การถา่ ยทอดสู่คนรนุ่ หลงั และคงอยู่ในทอ้ งถน่ิ ตอ่ ไป ซึง่ แบ่งภมู ิปญั ญาศกึ ษาออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. ภมู ิปัญญาศกึ ษาท่ีผ้สู งู อายุเปน็ ผู้คดิ คน้ ภมู ปิ ญั ญาในการดาเนินชีวติ ในเรือ่ งที่เชย่ี วชาญทีส่ ุด ด้วยตนเอง 2. ภูมิปัญญาศึกษาท่ีผู้สูงอายเุ ป็นผู้นาภูมปิ ัญญาท่ีสบื ทอดจากบรรพบุรุษมาประยุกตใ์ ช้ในการดาเนิน ชีวติ จนเกดิ ความเชย่ี วชาญ 3. ภูมิปัญญาศึกษาท่ีผู้สูงอายเุ ป็นผู้นาภูมิปัญญาท่ีสืบทอดจากบรรพบุรุษมาใช้ในการดาเนินชีวิตโดย ไมม่ กี ารเปลย่ี นแปลงไปจากเดิมจนเกิดความเชี่ยวชาญ ผ้ถู ่ายทอดภูมิปัญญา หมายถึง ผู้สูงอายุท่ีเข้าศกึ ษาตามหลักสูตรของโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลเมือง วังน้าเย็นเป็นผู้ถ่ายทอดภูมิปัญญาการดาเนินชีวิตในเร่ืองท่ีตนเองเชี่ยวชาญมากท่ีสุด นามาถ่ายทอดให้แก่ผู้ เรียบเรยี งภูมิปญั ญาท้องถน่ิ ได้จดั ทาข้อมูลเป็นรูปเล่มภมู ิปัญญาศกึ ษา ผู้เรียบเรียงภูมิปัญญาท้องถ่ิน หมายถึง ผู้ที่นาภูมิปัญญาในการดาเนินชีวิตในเร่ืองที่ผู้สูงอายุ เช่ียวชาญที่สุดมาเรียบเรียงเป็นลายลักษณ์อักษร ศึกษาหาข้อมูลเพ่ิมเติมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ จัดทาเป็น เอกสารรูปเล่ม ใชช้ อ่ื ว่า “ภูมิปญั ญาศกึ ษา”ตามรูปแบบท่โี รงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลเมืองวงั น้าเยน็ กาหนด ครูท่ีปรึกษา หมายถึง ผู้ที่ปฏิบัติหน้าท่ีเป็นครูพี่เลี้ยง เป็นผู้เรียบเรียงภูมิปัญญาท้องถิ่น ปฏิบัติ หนา้ ทีเ่ ป็นผ้ปู ระเมินผล เป็นผู้รับรองภมู ิปัญญาศึกษา รวมท้งั เปน็ ผู้นาภูมปิ ัญญาศกึ ษาเขา้ มาสอนในโรงเรียน โดยบูรณาการการจดั การเรียนร้ตู ามหลกั สูตรท้องถ่นิ ทโี่ รงเรียนจัดทาข้นึ

ง ภมู ิปญั ญาศึกษาเชอื่ มโยงสู่สารานุกรมไทยสาหรบั เยาวชนฯ 1. ลกั ษณะของภูมิปญั ญาไทย ลักษณะของภมู ิปัญญาไทย มีดงั นี้ 1. ภูมปิ ญั ญาไทยมีลกั ษณะเปน็ ทั้งความรู้ ทกั ษะ ความเชอื่ และพฤติกรรม 2. ภมู ิปัญญาไทยแสดงถึงความสัมพันธ์ระหวา่ งคนกบั คน คนกบั ธรรมชาติ สงิ่ แวดล้อม และคนกับสิง่ เหนอื ธรรมชาติ 3. ภมู ิปัญญาไทยเปน็ องคร์ วมหรอื กจิ กรรมทุกอยา่ งในวิถชี ีวติ ของคน 4. ภูมปิ ญั ญาไทยเป็นเรื่องของการแกป้ ญั หา การจัดการ การปรับตัว และการเรยี นรู้ เพ่ือความอย่รู อดของบุคคล ชุมชน และสงั คม 5. ภูมปิ ัญญาไทยเป็นพื้นฐานสาคญั ในการมองชวี ติ เปน็ พนื้ ฐานความร้ใู นเรื่องตา่ งๆ 6. ภมู ิปัญญาไทยมีลักษณะเฉพาะ หรือมีเอกลักษณใ์ นตัวเอง 7. ภมู ิปญั ญาไทยมกี ารเปล่ียนแปลงเพื่อการปรับสมดลุ ในพฒั นาการทางสังคม 2. คณุ สมบตั ิของภมู ิปัญญาไทย ผูท้ รงภมู ิปญั ญาไทยเป็นผ้มู ีคณุ สมบัติตามท่กี าหนดไว้ อย่างน้อยดังตอ่ ไปนี้ 1. เป็นคนดีมีคุณธรรม มีความร้คู วามสามารถในวิชาชีพต่างๆ มีผลงานด้านการพัฒนาท้องถ่ิน ของตน และได้รบั การยอมรับจากบคุ คลท่วั ไปอย่างกวา้ งขวาง ทงั้ ยงั เปน็ ผ้ทู ี่ใชห้ ลกั ธรรมคาสอนทางศาสนาของ ตนเป็นเครอ่ื งยดึ เหนย่ี วในการดารงวิถชี วี ติ โดยตลอด 2. เป็นผู้คงแก่เรียนและหมั่นศึกษาหาความรู้อยู่เสมอ ผู้ทรงภูมิปัญญาจะเปน็ ผู้ที่หมั่นศึกษา แสวงหาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอไม่หยุดนิ่ง เรียนรู้ทั้งในระบบและนอกระบบ เป็นผู้ลงมือทา โดยทดลองทา ตามที่เรียนมา อีกท้ังลองผิด ลองถูก หรอื สอบถามจากผู้รู้อนื่ ๆ จนประสบความสาเร็จ เป็นผเู้ ช่ยี วชาญ ซึ่งโดด เด่นเป็นเอกลักษณ์ในแต่ละด้านอย่างชัดเจน เป็นที่ยอมรับการเปล่ียนแปลงความรู้ใหม่ๆ ที่เหมาะสม นามา ปรบั ปรงุ รบั ใชช้ ุมชน และสงั คมอย่เู สมอ 3. เป็นผู้นาของท้องถ่ิน ผู้ทรงภูมิปัญญาส่วนใหญ่จะเป็นผู้ท่ีสังคม ในแต่ละท้องถิ่นยอมรับให้ เป็นผู้นา ท้ังผู้นาที่ได้รับการแต่งตั้งจากทางราชการ และผู้นาตามธรรมชาติ ซ่ึงสามารถเป็นผู้นาของท้องถ่ิน และช่วยเหลือผอู้ ื่นไดเ้ ป็นอยา่ งดี 4.เป็นผู้ท่ีสนใจปัญหาของท้องถิ่น ผู้ทรงภูมิปัญญาล้วนเป็นผู้ท่ีสนใจปัญหาของท้องถ่ิน เอาใจ ใส่ ศึกษาปัญหา หาทางแก้ไข และช่วยเหลือสมาชิกในชุมชนของตนและชุมชนใกล้เคียงอย่างไม่ย่อท้อ จน ประสบความสาเร็จเป็นทยี่ อมรับของสมาชิกและบุคคลทว่ั ไป 5. เป็นผขู้ ยันหมั่นเพียร ผู้ทรงภูมปิ ัญญาเป็นผู้ขยันหมั่นเพียร ลงมือทางานและผลิตผลงานอยู่ เสมอ ปรบั ปรงุ และพัฒนาผลงานให้มคี ณุ ภาพมากขึ้นอีกทั้งมุ่งทางานของตนอย่างต่อเนอื่ ง 6.เป็นนกั ปกครองและประสานประโยชน์ของท้องถน่ิ ผูท้ รงภูมปิ ัญญา นอกจากเปน็ ผูท้ ีป่ ระพฤติ ตนเป็นคนดี จนเป็นท่ียอมรับนับถือจากบุคคลทั่วไปแล้ว ผลงานท่ีท่านทายังถือว่ามีคุณค่า จึงเป็นผู้ท่ีมีทั้ง

\"ครองตน ครองคน และครองงาน\" เป็นผู้ประสานประโยชน์ให้บุคคลเกิดความรัก ความเข้าใจ ความเห็นใจ และมคี วามสามัคคีกัน ซงึ่ จะทาให้ทอ้ งถ่นิ หรือสังคม มีความเจรญิ มีคณุ ภาพชีวติ สงู ข้ึนกว่าเดิม 7. มคี วามสามารถในการถา่ ยทอดความรู้เป็นเลิศ เม่อื ผู้ทรงภูมิปัญญามคี วามรู้ความสามารถ และประสบการณ์เปน็ เลศิ มีผลงานทีเ่ ป็นประโยชน์ต่อผู้อน่ื และบคุ คลทว่ั ไป ทง้ั ชาวบา้ น นักวชิ าการ นกั เรียน นสิ ิต/นักศึกษา โดยอาจเขา้ ไปศึกษาหาความรู้ หรือเชญิ ท่านเหล่านั้นไป เปน็ ผูถ้ า่ ยทอดความรูไ้ ด้ 8.เป็นผู้มีคู่ครองหรือบริวารดี ผู้ทรงภูมิปัญญา ถ้าเป็นคฤหัสถ์ จะพบว่า ล้วนมีคู่ครองท่ีดีที่ คอยสนับสนุน ช่วยเหลือ ให้กาลังใจ ให้ความร่วมมือในงานที่ท่านทา ช่วยให้ผลิตผลงานที่มีคุณค่า ถ้าเป็น นกั บวช ไม่ว่าจะเปน็ ศาสนาใด ตอ้ งมบี ริวารทีด่ ี จึงจะสามารถผลิตผลงานท่มี คี ณุ คา่ ทางศาสนาได้ 9. เปน็ ผู้มปี ญั ญารอบรู้และเชย่ี วชาญจนได้รบั การยกย่องว่าเป็นปราชญ์ ผู้ทรงภมู ิปญั ญา ต้อง เป็นผู้มีปัญญารอบรู้และเชี่ยวชาญ รวมทั้งสร้างสรรค์ผลงานพิเศษใหม่ๆ ท่ีเป็นประโยชน์ต่อสังคมและ มนษุ ยชาตอิ ย่างต่อเน่ืองอยเู่ สมอ 3. การจดั แบง่ สาขาภูมปิ ญั ญาไทย จากการศึกษาพบวา่ มกี ารกาหนดสาขาภมู ปิ ัญญาไทยไวอ้ ยา่ งหลากหลาย ข้ึนอยู่กบั วัตถุประสงค์ และ หลักเกณฑ์ต่างๆ ท่ีหน่วยงาน องค์กร และนักวิชาการแต่ละท่านนามากาหนด ในภาพรวมภูมิปัญญาไทย สามารถแบ่งได้เปน็ 10 สาขาดังน้ี 1. สาขาเกษตรกรรมหมายถึง ความสามารถในการผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะ และเทคนิคด้าน การเกษตรกบั เทคโนโลยี โดยการพัฒนาบนพื้นฐานคณุ คา่ ด้งั เดิม ซ่ึงคนสามารถพึ่งพาตนเองในภาวการณต์ า่ งๆ ได้ เช่น การทา การเกษตรแบบผสมผสาน วนเกษตร เกษตรธรรมชาติ ไร่นาสวนผสม และสวนผสมผสาน การ แก้ปัญหาการเกษตรด้านการตลาด การแก้ปัญหาด้านการผลิต การแก้ไขปัญหาโรคและแมลง และการรู้จัก ปรับใชเ้ ทคโนโลยที ีเ่ หมาะสมกบั การเกษตร เปน็ ต้น 2. สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม หมายถึง การรู้จักประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการแปรรูป ผลิตผล เพ่ือชะลอการนาเข้าตลาด เพ่ือแกป้ ัญหาดา้ นการบริโภคอย่างปลอดภัย ประหยัด และเป็นธรรม อัน เป็นกระบวนการท่ีทาให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถพึ่งพาตนเองทางเศรษฐกิจได้ ตลอดท้ังการผลิต และการ จาหนา่ ย ผลิตผลทางหัตถกรรม เชน่ การรวมกลุ่มของกลมุ่ โรงงานยางพารา กลมุ่ โรงสี กลุ่มหัตถกรรม เปน็ ตน้ 3. สาขาการแพทย์แผนไทย หมายถึง ความสามารถในการจัดการป้องกัน และรักษาสุขภาพของคนใน ชมุ ชน โดยเน้นให้ชุมชนสามารถพ่ึงพาตนเอง ทางด้านสุขภาพ และอนามัยได้ เช่น การนวดแผนโบราณ การ ดแู ลและรกั ษาสุขภาพแบบพน้ื บ้าน การดแู ลและรกั ษาสุขภาพแผนโบราณไทย เป็นต้น 4. สาขาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมหมายถึง ความสามารถเก่ียวกับการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ท้ังการอนุรักษ์ การพัฒนา และการใช้ประโยชน์จากคุณค่าของ ทรพั ยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อม อยา่ งสมดุล และย่ังยืน เช่น การทาแนวปะการงั เทียม การอนุรกั ษ์ป่าชาย เลน การจัดการปา่ ต้นนา้ และป่าชุมชน เปน็ ต้น 5. สาขากองทุนและธุรกิจชุมชน หมายถึง ความสามารถในการบริหารจัดการด้านการสะสม และ บรกิ ารกองทุน และธรุ กจิ ในชุมชน ทง้ั ทเ่ี ป็นเงินตรา และโภคทรัพย์ เพือ่ ส่งเสริมชีวติ ความเปน็ อยขู่ องสมาชกิ ใน ชุมชน เช่น การจัดการเรอื่ งกองทุนของชุมชน ในรปู ของสหกรณ์ออมทรพั ย์ และธนาคารหม่บู า้ น เป็นต้น 6. สาขาสวัสดิการหมายถึง ความสามารถในการจัดสวัสดิการในการประกันคุณภาพชีวิตของคน ให้เกิด ความม่ันคงทางเศรษฐกิจ สงั คมและวฒั นธรรม เชน่ การจัดตง้ั กองทุนสวัสดิการรักษาพยาบาลของชมุ ชน การ จดั ระบบสวสั ดิการบรกิ ารในชุมชน การจดั ระบบสงิ่ แวดล้อมในชุมชน เป็นต้น

7. สาขาศิลปกรรม หมายถงึ ความสามารถในการผลิตผลงานทางด้านศิลปะสาขาต่างๆ เชน่ จิตรกรรม ประตมิ ากรรม วรรณกรรม ทัศนศิลป์ คตี ศลิ ป์ ศิลปะมวยไทย เป็นต้น 8. สาขาการจัดการองค์กร หมายถึง ความสามารถในการบริหารจัดการดาเนินงานขององค์กรชุมชน ตา่ งๆ ให้สามารถพัฒนา และบริหารองค์กรของตนเองได้ ตามบทบาท และหนา้ ทีข่ ององค์การ เชน่ การจดั การ องคก์ รของกลุ่มแม่บ้าน กลมุ่ ออมทรัพย์ กลมุ่ ประมงพ้นื บ้าน เป็นตน้ 9. สาขาภาษาและวรรณกรรม หมายถึง ความสามารถผลิตผลงานเกี่ยวกบั ดา้ นภาษา ทั้งภาษาถ่ิน ภาษาโบราณ ภาษาไทย และการใช้ภาษา ตลอดท้ังด้านวรรณกรรมทุกประเภท เช่น การจัดทา สารานุกรมภาษาถนิ่ การปริวรรต หนงั สอื โบราณ การฟนื้ ฟูการเรยี นการสอนภาษาถิ่นของทอ้ งถ่ินตา่ งๆ เปน็ ต้น 10. สาขาศาสนาและประเพณี หมายถึง ความสามารถประยุกต์ และปรับใช้หลักธรรมคาสอนทาง ศาสนา ความเชื่อ และประเพณีด้ังเดิมที่มีคุณค่าให้เหมาะสมต่อการประพฤติปฏิบัติ ให้บังเกิดผลดีต่อบุคคล และสิ่งแวดล้อม เช่น การถ่ายทอดหลักธรรมทางศาสนา ลักษณะความสัมพันธ์ของภูมิปัญญาไทยภูมิ ปญั ญาไทยสามารถสะทอ้ นออกมาใน 3 ลกั ษณะท่ีสมั พันธใ์ กล้ชิดกนั คือ 10.1 ความสัมพันธ์อยา่ งใกลช้ ดิ กนั ระหว่างคนกับโลก สง่ิ แวดลอ้ ม สัตว์ พชื และธรรมชาติ 10.2 ความสมั พันธ์ของคนกับคนอนื่ ๆ ทีอ่ ยูร่ ว่ มกันในสังคม หรือในชุมชน 10.3 ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับสิ่งศักด์ิสิทธ์ิส่ิงเหนือธรรมชาติ ตลอดทั้งสิ่งที่ไม่สามารถสัมผัสได้ ทั้งหลาย ทั้ง 3 ลักษณะน้ี คือ สามมิติของเร่ืองเดียวกัน หมายถึง ชีวิตชุมชน สะท้อนออกมาถึงภูมิปัญญาใน การดาเนนิ ชวี ิตอย่างมเี อกภาพ เหมือนสามมุมของรูปสามเหลี่ยม ภูมิปัญญา จึงเป็นรากฐานในการดาเนนิ ชีวิต ของคนไทย ซ่งึ สามารถแสดงใหเ้ หน็ ได้อย่างชัดเจนโดยแผนภาพ ดังน้ี ลักษณะภูมิปัญญาท่ีเกิดจากความสัมพันธ์ ระหว่างคนกับธรรมชาติส่ิงแวดล้อม จะแสดงออกมา ในลักษณะภูมิปัญญาในการดาเนินวิถีชีวิตข้ันพื้นฐาน ดา้ นปจั จยั ส่ี ซึ่งประกอบด้วย อาหาร เครื่องนุ่งห่มท่อี ยู่ อาศัย และยารักษาโรค ตลอดท้ังการประกอบอาชีพ ต่างๆ เป็นต้น ภูมิปัญญาที่เกิดจากความสัมพันธ์ ระหว่างคนกับคนอ่ืนในสังคม จะแสดงออกมาใน ลักษณะ จารีต ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ และ นันทนาการ ภาษา และวรรณกรรม ตลอดท้ังการ ส่อื สารตา่ งๆ เปน็ ตน้ แผนภาพแสดงความสัมพนั ธ์ระหว่างคนกับธรรมชาติส่ิงแวดลอ้ ม ภูมิปัญญาที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างคนกับส่ิงศักดิ์สิทธ์ิ ส่ิงเหนือธรรมชาติ จะแสดงออกมาใน ลักษณะของสง่ิ ศกั ดิส์ ิทธิ์ ศาสนา ความเช่อื ตา่ งๆ เปน็ ตน้ 4. คุณค่าและความสาคัญของภูมปิ ญั ญาไทย คุณค่าของภูมิปัญญาไทย ได้แก่ ประโยชน์ และความสาคัญของภูมิปัญญา ท่ีบรรพบุรุษไทย ได้ สร้างสรรค์ และสืบทอดมาอย่างต่อเนื่อง จากอดีตสู่ปจั จุบัน ทาให้คนในชาติเกิดความรัก และความภาคภูมิใจ ทจี่ ะร่วมแรงร่วมใจสืบสานตอ่ ไปในอนาคต เชน่ โบราณสถาน โบราณวตั ถุ สถาปัตยกรรม ประเพณีไทย การมี น้าใจ ศกั ยภาพในการประสานผลประโยชน์ เป็นตน้ ภมู ิปัญญาไทยจงึ มีคุณค่า และความสาคัญดงั น้ี

1. ภมู ิปญั ญาไทยชว่ ยสรา้ งชาติให้เป็นปึกแผ่น พระมหากษัตริย์ไทยได้ใช้ภูมิปัญญาในการสร้างชาติ สร้างความเป็นปึกแผ่นให้แก่ ประเทศชาติมาโดยตลอด ต้ังแต่สมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช พระองค์ทรงปกครองประชาชน ด้วยพระ เมตตา แบบพ่อปกครองลูก ผู้ใดประสบความเดือดร้อน ก็สามารถตีระฆัง แสดงความเดือดร้อน เพื่อขอรับ พระราชทานความช่วยเหลือ ทาให้ประชาชนมีความจงรักภักดีต่อพระองค์ ต่อประเทศชาติร่วมกันสร้าง บ้านเรอื นจนเจรญิ ร่งุ เรอื งเป็นปึกแผน่ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระองค์ทรงใช้ภูมิปัญญากระทายุทธหัตถี จนชนะข้าศึกศัตรู และทรงกอบกู้เอกราชของชาติไทยคืนมาได้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน พระองค์ทรงใช้ภูมปิ ัญญาสร้างคุณประโยชน์แก่ประเทศชาติ และเหล่าพสกนกิ รมากมายเหลือคณานับ ทรงใช้ พระปรีชาสามารถ แก้ไขวิกฤตการณ์ทางการเมือง ภายในประเทศ จนรอดพ้นภยั พิบัติหลายครงั้ พระองค์ทรง มีพระปรีชาสามารถหลายด้าน แม้แต่ด้านการเกษตร พระองค์ได้พระราชทานทฤษฎีใหม่ให้แก่พสกนิกร ท้ัง ด้านการเกษตรแบบสมดุลและย่ังยืน ฟ้ืนฟูสภาพแวดล้อม นาความสงบร่มเย็นของประชาชนให้กลับคืนมา แนวพระราชดาริ \"ทฤษฎีใหม่\" แบง่ ออกเป็น 2 ข้นั โดยเร่ิมจาก ข้ันตอนแรก ให้เกษตรกรรายย่อย \"มีพออย่พู อ กิน\" เป็นข้ันพ้ืนฐาน โดยการพัฒนาแหล่งน้า ในไร่นา ซึ่งเกษตรกรจาเป็นท่ีจะต้องได้รับความช่วยเหลือจาก หน่วยราชการ มูลนธิ ิ และหน่วยงานเอกชน ร่วมใจกนั พัฒนาสังคมไทย ในขน้ั ที่สอง เกษตรกรต้องมคี วามเข้าใจ ในการจัดการในไร่นาของตน และมีการรวมกลุ่มในรูปสหกรณ์ เพื่อสร้างประสิทธิภาพทางการผลิต และ การตลาด การลดรายจ่ายด้านความเป็นอยู่ โดยทรงตระหนักถึงบทบาทขององค์กรเอกชน เม่ือกลุ่มเกษตร วิวัฒน์มาขั้นท่ี 2 แลว้ กจ็ ะมีศักยภาพ ในการพัฒนาไปสขู่ ้ันท่สี าม ซึ่งจะมีอานาจในการต่อรองผลประโยชนก์ ับ สถาบันการเงินคือ ธนาคาร และองค์กรที่เป็นเจ้าของแหล่งพลังงาน ซ่ึงเป็นปัจจัยหน่ึงในการผลิต โดยมีการ แปรรูปผลติ ผล เชน่ โรงสี เพ่ือเพิ่มมูลค่าผลิตผล และขณะเดียวกันมีการจัดตงั้ ร้านค้าสหกรณ์ เพ่ือลดค่าใช้จา่ ย ในชีวิตประจาวัน อันเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลในสังคม จะเห็นได้ว่า มิได้ทรงทอดทิ้งหลักของ ความสามัคคีในสังคม และการจัดต้ังสหกรณ์ ซึ่งทรงสนับสนุนให้กลุ่มเกษตรกรสร้างอานาจต่อรองในระบบ เศรษฐกิจ จึงจะมีคุณภาพชีวิตทดี่ ี จึงจัดได้ว่า เป็นสังคมเกษตรท่ีพฒั นาแล้ว สมดงั พระราชประสงค์ท่ีทรงอุทิศ พระวรกาย และพระสตปิ ญั ญา ในการพัฒนาการเกษตรไทยตลอดระยะเวลาแห่งการครองราชย์ 2. สรา้ งความภาคภูมิใจ และศักดิ์ศรี เกยี รติภูมิแก่คนไทย คนไทยในอดีตที่มีความสามารถปรากฏในประวัติศาสตร์มีมาก เป็นท่ียอมรับของนานา อารยประเทศ เชน่ นายขนมต้มเป็นนักมวยไทย ทีม่ ีฝีมอื เก่งในการใช้อวยั วะทุกส่วน ทกุ ท่าของแมไ่ ม้มวยไทย สามารถชกมวยไทย จนชนะพม่าได้ถึงเก้าคนสิบคนในคราวเดียวกัน แม้ในปัจจุบัน มวยไทยก็ยังถือว่า เป็น ศลิ ปะช้ันเย่ียม เป็นที่ นิยมฝึกและแข่งขนั ในหมู่คนไทยและชาวต่าง ประเทศ ปัจจบุ ันมีค่ายมวยไทยทั่วโลกไม่ ตา่ กวา่ 30,000 แหง่ ชาวตา่ งประเทศทีไ่ ด้ฝึกมวยไทย จะรู้สึกยินดีและภาคภมู ใิ จ ในการที่จะใช้กติกา ของมวย ไทย เช่น การไหว้ครูมวยไทย การออก คาส่ังในการชกเป็นภาษาไทยทุกคา เช่น คาว่า \"ชก\" \"นับหนึ่งถึงสิบ\" เป็นต้น ถือเป็นมรดก ภูมิปัญญาไทย นอกจากน้ี ภูมิปัญญาไทยที่โดด เด่นยังมีอีกมากมาย เช่น มรดกภูมิ ปัญญาทาง ภาษาและวรรณกรรม โดยที่มอี ักษรไทยเป็นของ ตนเองมาตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย และวิวัฒนาการ มาจนถึงปจั จุบัน วรรณกรรมไทยถือวา่ เป็นวรรณกรรมที่มีความไพเราะ ได้อรรถรสครบทุกด้าน วรรณกรรม หลายเรอื่ งได้รับการแปลเปน็ ภาษาต่างประเทศหลายภาษา ด้านอาหาร อาหารไทยเป็นอาหารที่ปรงุ งา่ ย พืชที่

ใช้ประกอบอาหารส่วนใหญ่เปน็ พชื สมุนไพร ที่หาได้งา่ ยในท้องถนิ่ และราคาถกู มี คุณค่าทางโภชนาการ และ ยังป้องกันโรคได้หลายโรค เพราะส่วนประกอบส่วนใหญ่เป็นพืชสมุนไพร เช่น ตะไคร้ ขิง ข่า กระชาย ใบ มะกรูด ใบโหระพา ใบกะเพรา เป็นตน้ 3. สามารถปรับประยุกตห์ ลกั ธรรมคาสอนทางศาสนาใช้กบั วิถีชวี ิตไดอ้ ยา่ งเหมาะสม คนไทยส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยนาหลักธรรมคาสอนของศาสนา มาปรับใชใ้ นวิถชี ีวิต ได้อย่างเหมาะสม ทาให้คนไทยเป็นผู้อ่อนน้อมถ่อมตน เอื้อเฟ้ือเผอื่ แผ่ ประนีประนอม รักสงบ ใจเยน็ มีความ อดทน ให้อภัยแกผ่ ู้สานกึ ผดิ ดารงวิถีชีวิตอย่างเรียบง่าย ปกติสขุ ทาให้คนในชุมชนพงึ่ พากันได้ แม้จะอดอยาก เพราะ แห้งแลง้ แตไ่ ม่มีใครอดตาย เพราะพึ่งพาอาศัย กัน แบ่งปนั กนั แบบ \"พริกบ้านเหนือเกลอื บ้านใต\"้ เป็น ตน้ ท้ังหมดน้ีสบื เนื่องมาจากหลกั ธรรมคาสอนของพระพุทธศาสนา เป็นการใช้ภมู ิปัญญา ในการนาเอาหลักขอ พระพุทธศาสนามา ประยุกต์ใช้กับชีวติ ประจาวัน และดาเนินกุศโลบาย ด้านต่างประเทศ จนทาให้ชาวพุทธท่ัว โลกยกย่อง ใหป้ ระเทศไทยเป็นผู้นาทางพุทธศาสนา และเป็น ทต่ี ั้งสานักงานใหญ่องค์การพทุ ธศาสนกิ สัมพันธ์ แห่งโลก (พสล.) อยู่เยื้องๆ กับอุทยานเบญจสิริ กรุงเทพมหานคร โดยมีคนไทย (ฯพณฯ สัญญา ธรรมศักด์ิ องคมนตร)ี ดารงตาแหนง่ ประธาน พสล. ตอ่ จาก ม.จ.หญิงพูนพิศมัยดิศกลุ 4. สร้างความสมดุลระหว่างคนในสังคม และธรรมชาติไดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื ภูมิปัญญาไทยมีความเด่นชัดในเรื่องของการยอมรับนับถอื และให้ความสาคัญแก่คน สังคม และธรรมชาตอิ ย่างย่ิง มีเครื่องชีท้ ี่แสดงใหเ้ ห็นได้อยา่ งชัดเจนมากมาย เชน่ ประเพณไี ทย 12 เดือน ตลอดท้ังปี ล้วนเคารพคณุ ค่าของธรรมชาติ ได้แก่ ประเพณสี งกรานต์ ประเพณีลอยกระทง เปน็ ต้น ประเพณีสงกรานตเ์ ป็น ประเพณีที่ทาใน ฤดูร้อนซึ่งมีอากาศร้อน ทาให้ต้องการความเย็น จึงมีการรดน้าดาหัว ทาความสะอาด บ้านเรือน และธรรมชาติสิ่งแวดล้อม มีการแห่นางสงกรานต์ การทานายฝนว่าจะตกมากหรือน้อยในแต่ละปี สว่ นประเพณีลอยกระทง คุณค่าอย่ทู กี่ ารบชู า ระลกึ ถงึ บญุ คณุ ของนา้ ท่ีหลอ่ เล้ียงชีวิตของ คน พืช และสตั ว์ ให้ ได้ใช้ทั้งบริโภคและอุปโภค ในวันลอยกระทง คนจึงทาความสะอาดแม่น้า ลาธาร บูชาแม่น้าจากตัวอย่าง ขา้ งต้น ลว้ นเปน็ ความสัมพนั ธ์ระหว่างคนกับสงั คมและธรรมชาติ ทั้งสน้ิ ในการรักษาป่าไม้ต้นน้าลาธาร ไดป้ ระยกุ ตใ์ ห้มีประเพณีการบวชป่า ให้คนเคารพส่ิงศักดิ์สทิ ธ์ิ ธรรมชาติ และสภาพแวดล้อม ยังความอุดมสมบูรณ์แก่ต้นน้า ลาธาร ให้ฟ้ืนสภาพกลับคืนมาได้มาก อาชีพ การเกษตรเปน็ อาชีพหลักของคนไทย ท่คี านงึ ถงึ ความสมดุล ทาแต่นอ้ ยพออยู่พอกิน แบบ \"เฮ็ดอยู่เฮ็ดกิน\" ของ พ่อทองดี นันทะ เมื่อเหลือกิน กแ็ จกญาตพิ ่ีนอ้ ง เพื่อนบา้ น บา้ นใกล้เรือนเคียง นอกจากนี้ ยังนาไปแลกเปลีย่ น กบั สิง่ ของอย่างอ่นื ทตี่ นไม่มี เมอื่ เหลือใชจ้ รงิ ๆ จงึ จะนาไปขาย อาจกล่าวได้วา่ เป็นการเกษตรแบบ \"กิน-แจก- แลก-ขาย\" ทาให้คนในสังคมได้ช่วยเหลือเก้ือกูล แบ่งปันกัน เคารพรัก นับถือ เป็นญาติกัน ทั้งหมู่บ้าน จึงอยู่ รว่ มกนั อย่างสงบสขุ มคี วามสัมพนั ธ์กนั อย่างแนบแนน่ ธรรมชาติไม่ถูกทาลายไปมากนกั เน่ืองจากทาพออยพู่ อ กนิ ไม่โลภมากและไมท่ าลายทุกอยา่ งผดิ กับในปจั จุบัน ถือเป็นภูมิปญั ญาท่สี รา้ งความ สมดลุ ระหว่างคน สังคม และธรรมชาติ 5. เปลย่ี นแปลงปรับปรงุ ได้ตามยุคสมัย แมว้ า่ กาลเวลาจะผา่ นไป ความรู้สมัยใหม่ จะหลง่ั ไหลเข้ามามาก แตภ่ ูมิปญั ญาไทย ก็สามารถ ปรับเปล่ียนให้เหมาะสมกับยุคสมัย เช่น การรู้จกั นาเครือ่ งยนต์มาติดตง้ั กับเรือ ใสใ่ บพดั เป็นหางเสือ ทาใหเ้ รือ สามารถแล่นได้เร็วขึ้น เรียกว่า เรือหางยาว การรู้จักทาการเกษตรแบบผสมผสาน สามารถพลิกฟื้นคืน

ธรรมชาติให้ อุดมสมบรู ณแ์ ทนสภาพเดมิ ท่ีถูกทาลายไป การรู้จกั ออมเงิน สะสมทุนให้สมาชิกกู้ยืม ปลดเปลื้อง หน้สี ิน และจัดสวัสดกิ ารแก่สมาชกิ จนชมุ ชนมีความม่นั คง เข้มแขง็ สามารถชว่ ยตนเองได้หลายร้อยหมู่บา้ นทั่ว ประเทศ เช่น กลมุ่ ออมทรพั ยค์ ีรีวง จังหวัดนครศรีธรรมราช จัดในรูปกองทุนหมนุ เวียนของชุมชน จนสามารถ ชว่ ยตนเองได้ เมื่อป่าถูกทาลาย เพราะถูกตัดโค่น เพื่อปลูกพืชแบบเดี่ยว ตามภูมิปัญญาสมัยใหม่ ที่หวัง ร่ารวย แต่ในทสี่ ุด ก็ขาดทุน และมีหน้ีสิน สภาพแวดล้อมสูญเสียเกิดความแห้งแล้ง คนไทยจึงคดิ ปลูกป่า ท่ีกิน ได้ มีพืชสวน พืชปา่ ไม้ผล พชื สมุนไพร ซ่ึงสามารถมีกินตลอดชวี ิตเรียกว่า \"วนเกษตร\" บางพื้นท่ี เมื่อปา่ ชุมชน ถกู ทาลาย คนในชุมชนกร็ วมตัวกัน เปน็ กลมุ่ รักษาป่า ร่วมกนั สรา้ งระเบยี บ กฎเกณฑ์กนั เอง ใหท้ กุ คนถือปฏบิ ัติ ได้ สามารถรักษาป่าได้อย่างสมบูรณ์ดังเดิม เมื่อปะการังธรรมชาติถูกทาลาย ปลาไม่มีที่อยู่อาศัย ประชาชน สามารถสร้าง \"อูหยมั \" ขึ้น เป็นปะการังเทียม ให้ปลาอาศัยวางไข่ และแพร่พันธ์ุให้เจริญเติบโต มีจานวนมาก ดังเดมิ ได้ ถือเป็นการใช้ภูมิปัญญาปรบั ปรงุ ประยกุ ตใ์ ชไ้ ดต้ ามยุคสมยั สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ เล่มท่ี 19 ให้ความหมายของคาว่า ภูมิปัญญาชาวบ้าน หมายถึง ความรขู้ องชาวบ้าน ซึ่งไดม้ าจากประสบการณ์ และความเฉลียวฉลาดของชาวบ้าน รวมท้ังความรู้ที่ สง่ั สมมาแตบ่ รรพบรุ ุษ สืบทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอกี รนุ่ หน่ึง ระหว่างการสืบทอดมีการปรับ ประยุกต์ และ เปลย่ี นแปลง จนอาจเกดิ เป็นความรใู้ หม่ตามสภาพการณ์ทางสงั คมวัฒนธรรม และ สิ่งแวดล้อม ภูมิปัญญาเป็นความรู้ทปี่ ระกอบไปดว้ ยคุณธรรม ซึ่งสอดคล้องกับวิถีชีวติ ดั้งเดิมของชาวบ้าน ในวถิ ีดัง้ เดิมน้ัน ชวี ิตของชาวบ้านไม่ได้แบ่งแยกเป็นส่วนๆ หากแต่ทุกอย่างมีความสัมพนั ธก์ ัน การทามาหากิน การอยู่ร่วมกันในชุมชน การปฏิบัติศาสนา พิธีกรรมและประเพณี ความรู้เป็นคณุ ธรรม เมื่อผู้คนใชค้ วามรู้น้ัน เพื่อสร้างความสัมพันธท์ ่ีดีระหวา่ ง คนกับคน คนกบั ธรรมชาติ และคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ ความสัมพันธ์ที่ดี เป็นความสัมพันธ์ท่ีมีความสมดุล ท่ีเคารพกันและกัน ไม่ทาร้ายทาลายกัน ทาให้ทุกฝ่ายทุกส่วนอยู่ร่วมกันได้ อย่างสันติ ชุมชนดั้งเดิมจึงมีกฎเกณฑ์ของการอยู่ร่วมกัน มีคนเฒ่าคนแก่เป็นผู้นา คอยให้คาแนะนาตักเตือน ตัดสิน และลงโทษหากมีการละเมิด ชาวบ้านเคารพธรรมชาติรอบตัว ดิน น้า ป่า เขา ข้าว แดด ลม ฝน โลก และจักรวาล ชาวบา้ นเคารพผหู้ ลกั ผู้ใหญ่ พ่อแม่ ปูย่ ่าตายาย ทง้ั ทม่ี ชี วี ิตอยแู่ ละล่วงลบั ไปแล้วภมู ิปัญญาจึงเป็น ความรู้ทีม่ ีคณุ ธรรม เป็นความรทู้ ี่มีเอกภาพของทุกสิ่งทุกอย่าง เป็นความรู้ว่า ทุกสิ่งทุกอย่างสัมพันธ์กันอย่างมี ความสมดุล เราจึงยกย่องความรู้ข้ันสูงส่ง อันเป็นความรู้แจ้งในความจริงแห่งชีวิตนี้ว่า \"ภูมิปัญญา\"ความคิด และการแสดงออกเพ่ือจะเขา้ ใจภูมิปัญญาชาวบา้ น จาเป็นต้องเข้าใจความคิดของชาวบ้านเกี่ยวกับโลก หรือที่ เรียกว่า โลกทัศน์ และเก่ียวกับชีวิต หรือท่ีเรียกว่า ชีวทัศน์ ส่ิงเหล่านี้เป็นนามธรรม อันเกี่ยวข้องสัมพันธ์ โดยตรงกับการแสดงออกใน ลักษณะต่างๆ ท่ีเป็นรูปธรรม แนวคิดเร่ืองความสมดุลของชีวิต เป็นแนวคิด พ้นื ฐานของภมู ิปัญญาชาวบ้าน การแพทยแ์ ผนไทย หรือท่เี คยเรียกกนั วา่ การแพทย์แผนโบราณนั้นมีหลักการ ว่า คนมีสุขภาพดี เม่ือร่างกายมีความสมดุลระหว่างธาตุท้ัง ๔ คือ ดิน น้า ลม ไฟ คนเจ็บไข้ได้ปว่ ยเพราะธาตุ ขาดความสมดุล จะมกี ารปรับธาตุ โดยใช้ยาสมุนไพร หรือวิธีการอื่นๆ คนเป็นไข้ตวั ร้อน หมอยาพื้นบ้านจะให้ ยาเย็น เพื่อลดไข้ เป็นต้น การดาเนินชีวิตประจาวนั ก็เช่นเดียวกัน ชาวบ้านเชอื่ ว่า จะต้องรักษาความสมดลุ ใน ความสัมพันธส์ ามด้าน คือ ความสัมพนั ธ์กับคนในครอบครัว ญาตพิ น่ี ้อง เพื่อนบา้ นในชุมชน ความสมั พนั ธท์ ดี่ ีมี หลักเกณฑ์ ท่ีบรรพบุรุษไดส้ ่ังสอนมา เช่น ลูกควรปฏิบตั ิอยา่ งไรกับพอ่ แม่ กับญาติพีน่ ้อง กบั ผู้สูงอายุ คนเฒ่า คนแก่ กบั เพื่อนบ้าน พ่อแมค่ วรเลย้ี งดลู กู อยา่ งไร ความเอือ้ อาทรต่อกนั และกนั ชว่ ยเหลือเกอื้ กลู กัน โดยเฉพาะ

ในยามทุกข์ยาก หรอื มีปัญหา ใครมีความสามารถพิเศษก็ใชค้ วามสามารถน้ันช่วยเหลือผู้อืน่ เช่น บางคนเป็น หมอยา ก็ช่วยดูแลรักษาคนเจ็บป่วยไม่สบาย โดยไม่คิดค่ารักษา มีแต่เพียงการยกครู หรือการราลึกถึงครูบา อาจารยท์ ี่ประสาทวิชามาให้เทา่ นน้ั หมอยาตอ้ งทามาหากิน โดยการทานา ทาไร่ เล้ียงสัตว์เหมอื นกับชาวบ้าน อ่ืนๆ บางคนมีความสามารถพเิ ศษด้านการทามาหากนิ กช็ ว่ ยสอนลกู หลานให้มวี ิชาไปดว้ ย ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคนในครอบครัว ในชุมชน มีกฎเกณฑ์เป็นข้อปฏิบัติ และข้อห้ามอย่าง ชัดเจน มีการแสดงออกทางประเพณี พิธีกรรม และกิจกรรมต่างๆ เช่น การรดน้าดาหัวผู้ใหญ่ การบายศรีสู่ ขวญั เปน็ ต้น ความสัมพันธก์ ับธรรมชาติ ผู้คนสมัยกอ่ นพ่ึงพาอาศัยธรรมชาติแทบทุกดา้ น ตั้งแตอ่ าหารการกิน เคร่ืองนุ่งห่ม ท่ีอยอู่ าศยั และยารักษาโรค วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยียงั ไมพ่ ัฒนาก้าวหน้าเหมือนทกุ วันนี้ ยัง ไม่มีระบบการค้าแบบสมัยใหม่ ไม่มีตลาด คนไปจับปลาล่าสัตว์ เพื่อเป็นอาหารไปวันๆ ตัดไม้ เพื่อสร้างบ้าน และใช้สอยตามความจาเป็นเทา่ นั้น ไม่ได้ทาเพ่ือการค้า ชาวบ้านมีหลกั เกณฑ์ในการใช้ส่ิงของในธรรมชาติ ไม่ ตัดไม้อ่อน ทาให้ต้นไม้ในป่าข้ึนแทนต้นทถี่ ูกตัดไปไดต้ ลอดเวลาชาวบา้ นยังไมร่ ู้จักสารเคมี ไมใ่ ช้ยาฆ่าแมลง ฆ่า หญ้า ฆา่ สตั ว์ ไม่ใชป้ ๋ยุ เคมี ใชส้ ิง่ ของในธรรมชาติใหเ้ กือ้ กลู กนั ใช้มูลสตั ว์ ใบไม้ใบ หญา้ ท่ีเนา่ เป่ือยเปน็ ปุ๋ย ทาให้ ดินอุดมสมบรู ณ์ น้าสะอาด และไมเ่ หือดแหง้ ชาวบา้ นเคารพธรรมชาติ เชอื่ ว่า มีเทพมีเจ้าสถิตอยู่ในดิน น้า ป่า เขา สถานท่ีทุกแห่ง จะทาอะไรต้องขออนุญาต และทาด้วยความเคารพ และพอดี พองาม ชาวบ้านรู้คุณ ธรรมชาติ ที่ได้ให้ชีวิตแก่ตน พิธกี รรมตา่ งๆ ล้วนแสดงออกถึงแนวคิดดังกล่าว เช่น งานบุญพิธี ที่เก่ียวกบั น้า ข้าว ป่าเขา รวมถึงสัตว์ บ้านเรือน เครื่องใช้ต่างๆ มีพิธีสู่ขวัญข้าว สู่ขวัญควาย สู่ขวัญเกวียน ทางอีสานมีพิธี แฮกนา หรอื แรกนา เล้ียงผตี าแฮก มีงานบญุ บ้าน เพ่ือเลีย้ งผี หรอื สิง่ ศักดิ์สิทธิ์ประจาหม่บู า้ น เปน็ ต้น ความสัมพันธ์กับส่ิงเหนือธรรมชาติ ชาวบ้านรู้ว่า มนุษย์เป็นเพียงส่วนเล็กๆ ส่วนหน่ึง ของ จักรวาล ซ่ึงเต็มไปด้วยความเร้นลับ มีพลัง และอานาจ ที่เขาไม่อาจจะหาคาอธิบายได้ ความเร้นลับดังกล่าว รวมถึงญาติพ่ีน้อง และผู้คนท่ลี ่วงลบั ไปแล้ว ชาวบ้านยงั สัมพันธก์ ับพวกเขา ทาบุญ และราลกึ ถึงอย่างสมา่ เสมอ ทุกวัน หรือในโอกาสสาคัญๆ นอกนั้นเป็นผีดี ผีร้าย เทพเจ้าต่างๆ ตามความเช่ือของแต่ละแห่ง สิ่งเหล่านี้สิง สถติ อยใู่ นส่ิงตา่ งๆ ในโลก ในจกั รวาล และอยู่บนสรวงสวรรค์การทามาหากนิ แม้วิถีชีวิตของชาวบ้านเม่ือก่อนจะดูเรียบง่ายกว่าทุกวันนี้ และยังอาศัยธรรมชาติ และ แรงงานเป็นหลัก ในการทามาหากิน แต่พวกเขาก็ต้องใช้สติปัญญา ที่บรรพบุรุษถ่ายทอดมาให้ เพ่ือจะได้อยู่ รอด ท้ังนี้เพราะปญั หาต่างๆ ในอดตี กย็ ังมีไมน่ อ้ ย โดยเฉพาะเมอื่ ครอบครวั มีสมาชกิ มากขน้ึ จาเป็นตอ้ งขยายที่ ทากิน ต้องหกั ร้างถางพง บกุ เบิก พ้ืนที่ทากนิ ใหม่ การปรับพ้นื ทปี่ ้นั คันนา เพื่อทานา ซ่ึงเปน็ งานทีห่ นกั การทา ไร่ทานา ปลูกพืชเลี้ยงสัตว์ และดูแลรักษาให้เติบโต และได้ผล เป็นงานท่ีต้องอาศัยความรู้ความสามารถ การ จับปลาล่าสัตว์ก็มีวิธีการ บางคนมคี วามสามารถมากรวู้ ่า เวลาไหน ทีใ่ ด และวิธใี ด จะจับปลาได้ดีที่สดุ คนที่ไม่ เก่งกต็ อ้ งใชเ้ วลานาน และไดป้ ลาน้อย การลา่ สัตวก์ เ็ ช่นเดยี วกนั การจัดการแหล่งน้า เพ่ือการเกษตร ก็เป็นความรู้ความสามารถ ที่มีมาแต่โบราณ คนทาง ภาคเหนือรู้จักบริหารน้า เพ่ือการเกษตร และเพ่ือการบริโภคต่างๆ โดยการจัดระบบเหมืองฝาย มีการจัด แบ่งปันน้ากันตามระบบประเพณีที่ สืบทอดกันมา มีหัวหน้าท่ีทุกคนยอมรับ มีคณะกรรมการจัดสรรน้าตาม สดั ส่วน และตามพน้ื ท่ที ากิน นบั เป็นความรู้ท่ีทาให้ชุมชนต่างๆ ที่อาศยั อยู่ใกล้ลานา้ ไมว่ ่าต้นน้า หรือปลายนา้ ไดร้ ับการแบง่ ปันน้าอยา่ งยุติธรรม ทุกคนได้ประโยชน์ และอยู่รว่ มกันอยา่ งสันติ

ชาวบา้ นรูจ้ ักการแปรรูปผลิตผลในหลายรูปแบบ การถนอมอาหารให้กนิ ไดน้ าน การดองการ หมกั เช่น ปลาร้า น้าปลา ผักดอง ปลาเค็ม เนื้อเคม็ ปลาแห้ง เนอื้ แหง้ การแปรรูปขา้ ว ก็ทาได้มากมายนับรอ้ ย ชนิด เช่น ขนมต่างๆ แต่ละพิธีกรรม และแต่ละงานบุญประเพณี มีข้าวและขนมในรูปแบบไม่ซ้ากัน ต้ังแต่ ขนมจีน สังขยา ไปถึงขนมในงานสารท กาละแม ขนมครก และอื่นๆ ซึ่งยังพอมีให้เห็นอยู่จานวนหนึ่ง ใน ปจั จุบันส่วนใหญ่ปรบั เปลี่ยนมาเปน็ การผลิตเพื่อขาย หรอื เปน็ อุตสาหกรรมในครัวเรือน ความร้เู ร่อื งการปรุงอาหารก็มอี ยมู่ ากมาย แต่ละท้องถิ่นมีรูปแบบ และรสชาติแตกต่างกันไป มมี ากมายนับร้อยนบั พันชนิด แม้ในชวี ิตประจาวัน จะมีเพียงไม่ก่ีอย่าง แตโ่ อกาสงานพิธี งาน เล้ียง งานฉลอง สาคัญ จะมีการจัดเตรียมอาหารอย่างดี และพิถีพิถันการทามาหากินในประเพณีเดิมนั้น เป็นทั้งศาสตร์และ ศิลป์ การเตรียมอาหาร การจัดขนม และผลไม้ ไม่ได้เป็นเพียงเพื่อให้รับประทานแล้วอร่อย แต่ให้ได้ความ สวยงาม ทาให้สามารถสัมผัสกับอาหารน้ัน ไม่เพียงแต่ทางปาก และรสชาติของล้ิน แต่ทางตา และทางใจ การ เตรยี มอาหารเปน็ งานศิลปะ ทปี่ รุงแตด่ ว้ ยความตั้งใจ ใช้เวลา ฝีมอื และความร้คู วามสามารถ ชาวบา้ นสมัยกอ่ น ส่วนใหญจ่ ะทานาเป็นหลัก เพราะเม่ือมีข้าวแล้ว กส็ บายใจ อย่างอื่นพอหาได้จากธรรมชาติ เสร็จหน้านาก็จะ ทางานหัตถกรรม การทอผา้ ทาเส่ือ เลย้ี งไหม ทาเครือ่ งมอื สาหรับจบั สัตว์ เครื่องมอื การเกษตร และ อปุ กรณ์ ต่างๆ ทจ่ี าเปน็ หรอื เตรียมพน้ื ที่ เพอ่ื การทานาครั้งต่อไป หัตถกรรมเป็นทรัพย์สิน และมรดกทางภูมิปัญญาที่ย่ิงใหญ่ที่สุดอย่างหนึ่งของบรรพบุรุษ เพราะเป็นสื่อท่ีถา่ ยทอดอารมณ์ ความรู้สึก ความคิด ความเชื่อ และคุณคา่ ตา่ งๆ ท่ีส่ังสมมาแต่นมนาน ลายผ้า ไหม ผ้าฝา้ ย ฝีมอื ในการทออย่างประณีต รปู แบบเครอื่ งมอื ท่ีสานด้วยไมไ้ ผ่ และอปุ กรณ์ เครอื่ งใชไ้ ม้สอยต่างๆ เคร่ืองดนตรี เคร่ืองเล่น สง่ิ เหล่านี้ได้ถูกบรรจงสร้างขึ้นมา เพ่ือการใช้สอย การทาบุญ หรือการอุทิศให้ใครคน หน่ึง ไม่ใชเ่ พื่อการค้าขาย ชาวบ้านทามาหากนิ เพียงเพ่ือการยังชีพ ไมไ่ ด้ทาเพื่อขาย มีการนาผลิตผลส่วนหน่ึง ไปแลกสิ่งของท่ีจาเป็น ท่ีตนเองไม่มี เช่น นาข้าวไป แลกเกลือ พริก ปลา ไก่ หรือเสอ้ื ผ้า การขายผลติ ผลมีแต่ เพียงส่วนน้อย และเม่ือมีความจาเป็นต้องใช้เงิน เพ่ือเสียภาษีให้รัฐ ชาวบ้านนาผลิตผล เช่น ข้าว ไปขายใน เมืองให้กับพ่อคา้ หรือขายให้กับพ่อค้าท้องถน่ิ เช่น ทางภาคอีสาน เรียกว่า \"นายฮ้อย\" คนเหล่านี้จะนาผลิตผล บางอย่าง เชน่ ขา้ ว ปลารา้ ววั ควาย ไปขายในท่ีไกลๆ ทางภาคเหนือมพี อ่ คา้ วัวต่างๆ เปน็ ตน้ แมว้ ่าความรู้เร่อื งการคา้ ขายของคนสมยั ก่อน ไม่อาจจะนามาใช้ในระบบตลาดเช่นปัจจุบันได้ เพราะสถานการณ์ได้เปล่ียนแปลงไปอย่างมาก แต่การค้าที่มีจริยธรรมของพ่อค้าในอดีต ท่ีไม่ได้หวังแต่เพียง กาไร แต่คานงึ ถงึ การชว่ ยเหลอื แบง่ ปันกันเป็นหลัก ยงั มคี ุณคา่ สาหรับปัจจบุ นั นอกนัน้ ในหลายพน้ื ทใ่ี นชนบท ระบบการแลกเปลี่ยนสง่ิ ของยังมอี ยู่ โดยเฉพาะในพ้ืนท่ยี ากจน ซง่ึ ชาวบ้านไมม่ ีเงนิ สด แตม่ ผี ลิตผลต่างๆ ระบบ การแลกเปลี่ยนไม่ได้ยึดหลักมาตราชั่งวัด หรือการตีราคาของสิ่งของ แต่แลกเปลี่ยน โดยการคานึงถึง สถานการณ์ของผู้แลกทั้งสองฝ่าย คนที่เอาปลาหรือไก่มาขอแลกขา้ ว อาจจะได้ข้าวเปน็ ถัง เพราะเจ้าของข้าว คานึงถงึ ความจาเป็นของครอบครัวเจา้ ของไก่ ถา้ หากตีราคาเปน็ เงนิ ข้าวหนึง่ ถังยอ่ มมีคา่ สูงกวา่ ไก่หนึ่งตัว การอยรู่ ่วมกันในสังคม การอยู่ร่วมกันในชุมชนด้ังเดิมนั้น ส่วนใหญ่จะเป็นญาติพี่นอ้ งไม่กี่ตระกูล ซง่ึ ได้อพยพย้ายถิ่น ฐานมาอยู่ หรือสืบทอดบรรพบุรุษจนนับญาติกันได้ท้ังชมุ ชน มีคนเฒ่าคนแก่ท่ีชาวบ้านเคารพนับถือเป็นผู้นา หน้าท่ีของผู้นา ไม่ใช่การส่ัง แต่เป็นผู้ให้คาแนะนาปรึกษา มีความแม่นยาในกฎระเบียบประเพณีการดาเนิน ชีวิต ตัดสินไกล่เกลี่ย หากเกิดความขัดแย้ง ช่วยกันแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น ปัญหาในชุมชนก็มีไม่น้อย

ปัญหาการทามาหากิน ฝนแล้ง น้าท่วม โรคระบาด โจรลักวัวควาย เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีปัญหาความ ขัดแย้งภายในชมุ ชน หรือระหวา่ งชุมชน การละเมิดกฎหมาย ประเพณี ส่วนใหญจ่ ะเป็นการ \" ผิดผ\"ี คอื ผีของ บรรพบุรุษ ผ้ซู ่ึงได้สร้างกฎเกณฑ์ต่างๆ ไว้ เช่น กรณีทชี่ ายหนุ่มถูกเนอ้ื ตอ้ งตัวหญงิ สาวท่ียังไม่แต่งงาน เป็นต้น หากเกิดการผิดผขี ้นึ มา กต็ ้องมีพิธกี รรมขอขมา โดยมีคนเฒ่าคนแก่เป็นตัวแทนของบรรพบรุ ษุ มีการวา่ กลา่ วส่ัง สอน และชดเชยการทาผิดนน้ั ตามกฎเกณฑ์ทวี่ างไว้ ชาวบ้านอยอู่ ย่างพึ่งพาอาศัยกัน ยามเจบ็ ไขไ้ ด้ป่วย ยาม เกิดอุบัติเหตุเภทภัย ยามที่โจรขโมยวัวควายข้าวของ การช่วยเหลือกันทางานที่เรียกกันว่า การลงแขก ทั้ง แรงกายแรงใจท่ีมีอยู่ก็จะแบ่งปันช่วยเหลือ เอ้ืออาทรกัน การ แลกเปลี่ยนส่ิงของ อาหารการกนิ และอ่ืนๆ จึง เกี่ยวข้องกับวิถีของชุมชน ชาวบ้านช่วยกันเก็บเกีย่ วข้าว สร้างบ้าน หรืองานอื่นท่ตี ้องการคนมากๆ เพื่อจะได้ เสร็จโดยเร็ว ไมม่ กี ารจา้ ง กรณีตัวอย่างจากการปลูกข้าวของชาวบ้าน ถ้าปีหน่ึงชาวนาปลูกข้าวไดผ้ ลดี ผลิตผลที่ได้จะใชเ้ พื่อการ บริโภคในครอบครัว ทาบุญที่วดั เผ่ือแผ่ให้พ่ีน้องทีข่ าดแคลน แลกของ และเกบ็ ไว้ เผ่อื ว่าปีหน้าฝนอาจแล้ง น้า อาจทว่ ม ผลิตผล อาจไม่ดีในชุมชนต่างๆ จะมีผูม้ คี วามรูค้ วามสามารถหลากหลาย บางคนเกง่ ทางการรักษาโรค บางคนทางการเพาะปลูกพืช บางคนทางการเล้ียงสัตว์ บางคนทางด้านดนตรีการละเล่น บางคนเก่งทางด้าน พธิ ีกรรม คนเหล่านต้ี ่างก็ใชค้ วามสามารถ เพ่ือประโยชน์ของชุมชน โดยไม่ถอื เปน็ อาชพี ที่มีค่าตอบแทน อย่าง มากกม็ ี \"ค่าครู\" แต่เพียงเล็กนอ้ ย ซ่ึงปกตแิ ล้ว เงินจานวนน้นั ก็ใชส้ าหรับเครื่องมือประกอบพิธีกรรม หรอื เพื่อ ทาบุญท่ีวัด มากกว่าที่หมอยา หรือบุคคลผู้นั้น จะเก็บไว้ใช้เอง เพราะแท้ท่ีจริงแล้ว \"วิชา\" ท่ีครูถ่ายทอดมา ให้แก่ลูกศิษย์ จะต้องนาไปใช้ เพ่ือประโยชน์แกส่ ังคม ไม่ใช่เพ่ือผลประโยชน์ส่วนตัว การตอบแทนจึงไม่ใชเ่ งิน หรือสงิ่ ของเสมอไป แต่เปน็ การชว่ ยเหลือเก้อื กูลกนั โดยวธิ ีการต่างๆด้วยวถิ ชี ีวิตเชน่ นี้ จงึ มีคาถาม เพ่ือเปน็ การ สอนคนรุ่นหลังว่า ถ้าหากคนหน่ึงจับปลาช่อนตัวใหญ่ได้หนึ่งตัว ทาอย่างไรจึงจะกินได้ทั้งปี คนสมัยน้ีอาจจะ บอกว่า ทาปลาเค็ม ปลาร้า หรือเก็บรักษาด้วยวิธีการต่างๆ แต่คาตอบท่ีถูกต้อง คือ แบ่งปันให้พ่ีน้อง เพ่ือน บ้าน เพราะเม่ือเขาได้ปลา เขาก็จะทากับเราเช่นเดียวกัน ชีวิตทางสังคมของหมู่บ้าน มีศูนย์กลางอยู่ ท่ีวัด กิจกรรมของส่วนรวม จะทากนั ที่วดั งานบุญประเพณตี า่ งๆ ตลอดจนการละเลน่ มหรสพ พระสงฆ์เปน็ ผนู้ าทางจติ ใจ เปน็ ครทู ่ีสอนลกู หลานผู้ชาย ซ่ึงไปรับใช้พระสงฆ์ หรอื \"บวชเรียน\" ทง้ั นีเ้ พราะก่อนนยี้ งั ไมม่ ี โรงเรียน วัดจงึ เป็นทั้งโรงเรียน และหอประชมุ เพื่อกจิ กรรมต่างๆ ต่อเม่ือโรงเรียนมขี ึ้น และแยกออกจากวดั บทบาทของวัด และของพระสงฆ์ จงึ เปลยี่ นไป งานบุญประเพณีในชุมชนแตก่ ่อนมอี ยู่ทุกเดือน ต่อมาก็ลดลงไป หรือสองสามหมู่บา้ นร่วมกนั จัด หรือ ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกัน เช่น งานเทศน์มหาชาติ ซึ่งเป็นงานใหญ่ หมู่บ้านเล็กๆ ไม่อาจจะจัดได้ทุกปี งาน เหลา่ นม้ี ที ง้ั ความเช่อื พิธกี รรม และความสนุกสนาน ซ่งึ ชมุ ชนแสดงออกร่วมกัน

ระบบคณุ คา่ ความเชื่อในกฎเกณฑ์ประเพณี เป็นระเบียบทางสังคมของชุมชนด้ังเดิม ความเชื่อนี้เป็นรากฐานของ ระบบคุณค่าต่างๆ ความกตัญญูรู้คุณต่อพ่อแม่ ปู่ย่าตายาย ความเมตตาเอื้ออาทรต่อผู้อื่น ความเคารพต่อส่ิง ศักด์สิ ทิ ธ์ิในธรรมชาตริ อบตวั และในสากลจักรวาล ความเชื่อ \"ผี\" หรือส่ิงศักดิ์สิทธิ์ในธรรมชาติ เปน็ ท่ีมาของการดาเนินชีวิต ท้ังของส่วนบุคคล และของ ชมุ ชน โดยรวมการเคารพในผีปตู่ า หรือผีปู่ย่า ซึ่งเป็นผีประจาหมู่บ้าน ทาให้ชาวบ้านมีความเป็นหน่ึงเดียวกัน เปน็ ลกู หลานของปตู่ าคนเดยี วกนั รกั ษาป่าที่มีบ้านเล็กๆ สาหรับผี ปลกู อยู่ตดิ หม่บู ้าน ผีป่า ทาให้คนตัดไม้ด้วย ความเคารพ ขออนุญาตเลอื กตัดต้นแก่ และปลูกทดแทน ไมท่ ้ิงสิ่งสกปรกลงแมน่ ้า ด้วยความเคารพในแมค่ งคา กนิ ขา้ วด้วยความเคารพ ในแมโ่ พสพ คนโบราณกินข้าวเสร็จ จะไหวข้ ้าว พธิ ีบายศรีส่ขู วัญ เป็นพิธรี ้ือฟนื้ กระชับ หรือสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผคู้ น คนจะเดินทางไกล หรือ กลับจากการเดนิ ทาง สมาชิกใหม่ ในชุมชน คนป่วย หรือกาลังฟื้นไข้ คนเหล่านี้จะได้รับพธิ ีสู่ขวัญ เพ่ือให้เป็น สริ มิ งคล มีความอยูเ่ ยน็ เป็นสุข นอกนน้ั ยังมีพิธสี บื ชะตาชีวิตของบุคคล หรือของชุมชน นอกจากพิธีกรรมกับคนแล้ว ยังมพี ิธีกรรมกับสตั ว์และธรรมชาติ มีพิธีสู่ขวัญข้าว สู่ขวญั ควาย สู่ขวัญ เกวียน เปน็ การแสดงออกถึงการขอบคุณ การขอขมา พธิ ดี ังกลา่ วไมไ่ ด้มีความหมายถึงวา่ สิ่งเหล่าน้มี จี ติ มผี ีใน ตวั มันเอง แต่เปน็ การแสดงออก ถึงความสัมพนั ธ์กบั จิตและส่ิงศักดสิ์ ิทธิ์ อันเป็นสากลในธรรมชาติทั้งหมด ทา ให้ผู้คนมีความสัมพันธ์อันดีกับทุกสิ่ง คนขับแท็กซี่ในกรุงเทพฯ ท่ีมาจากหมู่บา้ น ยังซ้ือดอกไม้ แล้วแขวนไว้ท่ี กระจกในรถ ไม่ใช่เพื่อเซ่นไหว้ผีในรถแทก็ ซี่ แต่เป็นการราลกึ ถึงสิ่งศกั ด์ิสิทธ์ิ ใน สากลจักรวาล รวมถึงที่สงิ อยู่ ในรถคันนั้นผู้คนสมัยก่อนมีความสานึกในข้อจากดั ของตนเอง รู้ว่า มนุษย์มีความอ่อนแอ และเปราะบาง หาก ไมร่ กั ษาความสมั พันธ์อนั ดี และไมค่ งความสมดลุ กับธรรมชาตริ อบตัวไว้ เขาคงไม่สามารถมชี ีวิตไดอ้ ยา่ งเปน็ สุข และยืนนาน ผู้คนทว่ั ไปจึงไมม่ ีความอวดกล้าในความสามารถของตน ไม่ท้าทายธรรมชาติ และส่ิงศักด์ิสิทธิ์ มี ความออ่ นน้อมถ่อมตน และรกั ษากฎระเบียบประเพณอี ยา่ งเครง่ ครดั ชวี ิตของชาวบ้านในรอบหนึ่งปี จึงมีพิธีกรรมทุกเดือน เพ่ือแสดงออกถึงความเชื่อ และความสัมพันธ์ ระหว่างผ้คู นในสังคม ระหว่างคนกับธรรมชาติ และระหว่างคนกบั สิ่งศักด์ิสทิ ธ์ิตา่ งๆ ดังกรณีงานบญุ ประเพณี ของชาวอีสานท่ีเรียกวา่ ฮีตสิบสอง คือเดอื นอ้าย (เดือนท่ีหน่งึ ) บุญเข้ากรรม ให้พระภกิ ษเุ ข้าปริวาสกรรมเดือน ย่ี (เดือนที่สอง) บุญคูณลาน ให้นาข้าวมากองกันที่ลาน ทาพิธีก่อนนวด เดือนสาม บุญข้าวจี่ ให้ถวายข้าวจี่ (ข้าวเหนียวป้ันชุบไข่ทาเกลือนาไปย่างไฟ)เดือนสี่ บุญพระเวส ให้ฟังเทศน์มหาชาติ คือ เทศน์เร่ืองพระ เวสสนั ดรชาดก เดือนห้า บญุ สรงน้า หรือบุญสงกรานต์ ใหส้ รงนา้ พระ ผู้เฒ่าผแู้ ก่ เดือนหก บญุ บัง้ ไฟ บชู าพญา แถน ตามความเช่ือเดิม และบุญวิสาขบูชา ตามความเช่ือของชาวพุทธ เดือนเจ็ด บุญซาฮะ (บุญชาระ) ให้บน บานพระภูมิเจ้าที่ เล้ียงผีปตู่ า เดือนแปด บญุ เขา้ พรรษา เดือนเก้า บุญข้าวประดับดิน ทาบุญอุทิศส่วนกศุ ลให้ ญาติพี่น้องผู้ล่วงลับ เดือนสิบ บุญข้าวสาก ทาบุญเช่นเดือนเก้า รวมให้ผีไม่มีญาติ (ภาคใต้มีพิธีคล้ายกัน คือ งานพิธีเดือนสิบ ทาบุญให้แก่บรรพบุรุษผู้ล่วงลับไปแล้ว แบ่งข้าวปลาอาหารส่วนหนึ่งให้แก่ผีไม่มีญาติ พวก เด็กๆ ชอบแยง่ กนั เอาของที่แบง่ ใหผ้ ไี ม่มีญาติหรอื เปรต เรยี กวา่ \"การชงิ เปรต\") เดือนสิบเอ็ด บญุ ออกพรรษา เดอื นสิบสอง บญุ กฐิน จัดงานกฐนิ และลอยกระทง ภูมิปัญญาชาวบ้านในสังคมปัจจุบันภูมิปัญญาชาวบ้านได้ก่อเกิด และสืบทอดกันมาในชุมชนหมู่บ้าน เม่ือหมู่บ้านเปล่ียนแปลงไปพร้อมกับสังคมสมัยใหม่ ภูมิปัญญาชาวบ้านก็มีการปรับตัวเช่นเดียวกัน ความรู้

จานวนมากได้สญู หายไป เพราะไม่มีการปฏบิ ัติสบื ทอด เช่น การรักษาพ้ืนบา้ นบางอย่าง การใช้ยาสมุนไพรบาง ชนิด เพราะหมอยาท่ีเก่งๆ ได้เสียชีวิต โดยไม่ได้ถ่ายทอดให้กับคนอื่น หรือถ่ายทอด แต่คนต่อมาไม่ได้ปฏิบัติ เพราะชาวบ้านไมน่ ิยมเหมอื นเม่ือกอ่ น ใช้ยาสมัยใหม่ และไปหาหมอ ท่ีโรงพยาบาล หรือคลินิก ง่ายกว่า งาน หันตถกรรม ทอผ้า หรือเครื่องเงิน เคร่ืองเขิน แม้จะยังเหลืออยู่ไม่น้อย แต่ก็ได้ถูกพัฒนาไปเป็นการค้า ไม่ สามารถรักษาคุณภาพ และฝีมือแบบด้ังเดิมไว้ได้ ในการทามาหากินมีการใช้เทคโนโลยีทันสมัย ใช้รถไถแทน ควาย รถอแี ตน๋ แทนเกวียน การลงแขกทานา และปลูกสร้างบ้านเรือน ก็เกือบจะหมดไป มีการจ้างงานกันมากข้ึน แรงงานก็หา ยากกวา่ แต่ก่อน ผูค้ นอพยพย้ายถ่ิน บา้ งก็เข้าเมอื ง บา้ งกไ็ ปทางานท่อี ื่น ประเพณงี านบญุ ก็เหลอื ไม่มาก ทาได้ ก็ต่อเมอ่ื ลูกหลานที่จากบ้านไปทางาน กลับมาเยี่ยมบ้านในเทศกาลสาคญั ๆ เช่น ปีใหม่ สงกรานต์ เขา้ พรรษา เป็นตน้ สงั คมสมัยใหม่มีระบบการศกึ ษาในโรงเรียน มอี นามยั และโรงพยาบาล มีโรงหนัง วทิ ยุ โทรทัศน์ และ เคร่ืองบันเทิงต่างๆ ทาให้ชวี ิตทางสังคมของชุมชนหมู่บ้านเปล่ียนไป มีตารวจ มีโรงมีศาล มีเจ้าหน้าท่ีราชการ ฝา่ ยปกครอง ฝ่ายพัฒนา และอ่ืนๆ เข้าไปในหมบู่ า้ น บทบาทของวัด พระสงฆ์ และคนเฒา่ คนแก่เร่ิมลดน้อยลง การทามาหากินก็เปล่ียนจากการทาเพ่ือยังชีพไปเป็นการผลิตเพ่ือการขาย ผู้คนต้องการเงิน เพื่อซ้ือเครื่อง บริโภคต่างๆ ทาให้สิ่งแวดล้อม เปล่ียนไป ผลิตผลจากป่าก็หมด สถานการณ์เชน่ น้ีทาให้ผู้นาการพัฒนาชุมชน หลายคน ที่มีบทบาทสาคัญในระดบั จังหวัด ระดับภาค และระดับประเทศ เร่ิมเหน็ ความสาคัญของภูมิปญั ญา ชาวบ้าน หน่วยงานทางภาครัฐ และภาคเอกชน ให้การสนับสนนุ และสง่ เสริมให้มีการอนรุ ักษ์ ฟื้นฟู ประยุกต์ และคน้ คิดส่งิ ใหม่ ความร้ใู หม่ เพ่ือประโยชน์สขุ ของสงั คม

1 ความเปน็ มาและความสาคญั ของ หมอลาเพลิน หมอลาอีสาน “ลา” สามารถมองออกไดใ้ นสองลักษณะเพอ่ื หาความหมายคอื แสดงออกเปน็ กิริยา หมายถึงการขับ ร้อง คอื การนาเอาเรอ่ื งราวในวรรณคดมี าขับร้องเปน็ บทกลอนทานองทเี ป็นภาษาอสี าน แสดงออกเป็น คานาม หมายถึง ชื่อเรอ่ื งของการขบั ร้องหรอื การแสดงทเี่ ปน็ เรอ่ื งราว”หมอลา” หมายถึง ผู้ทม่ี คี วามชานาญใน การขับร้องวรรณคดีอสี าน โดยการทอ่ งจาเอากลอน มาขบั รอ้ ง หรือผ้ทู ่ีชานาญในการเล่านิทานเร่อื งนน้ั เรอื่ งน้ี หลาย ๆ เรอ่ื ง ววิ ัฒนาการของหมอลา เดมิ ทีสมัยโบราณในภาคอสี านเวลาค่าเสรจ็ จากกจิ ธรุ การงานมักจะมาจบั กลุ่มพดู คุยกัน กบั ผูเ้ ฒ่าผ้แู ก่ เพ่ือคุยปัญหาสารทุกข์สกุ ดิบและผู้เฒ่าผูแ้ ก่นิยมเล่านทิ านใหล้ กู หลานฟงั นทิ านที่นามาเล่าเก่ียวกับจารีต ประเพณแี ละศีลธรรม ทีแรกนงั่ เลา่ เมอื่ ลกู หลานมาฟงั กนั มากจะนง่ั เล่าไม่เหมาะ ตอ้ งยืนขนึ้ เลา่ เรอื่ งทน่ี ามา เลา่ ตอ้ งเปน็ เรอื่ งทม่ี ีในวรรณคดี เชน่ เรื่องกาฬเกษ สนิ ชัย เปน็ ต้น ผูเ้ ล่าเพียงแตเ่ ล่า ไมอ่ อกทา่ ออกทางก็ไม่สนกุ ผเู้ ล่า จึงจาเปน็ ตอ้ งยกไมย้ กมือแสดงทา่ ทางเป็นพระเอกนางเอก เปน็ นักรบ เป็นตน้ เพียงแต่เลา่ อย่างเดยี วไม่ สนุก จึงจาเป็นต้องใช้สาเนียงสั้นยาว ใชเ้ สยี งสงู ตา่ ประกอบ และหาเครื่องดนตร ปี ระกอบ เชน่ ซงุ ซอ ปี่ แคน เพื่อใหเ้ กดิ ความสนกุ ครกึ คร้นื ผู้แสดงมเี พยี งแตผ่ ู้ชายอย่างเดยี วดไู มม่ ีรสชาตเิ ผ็ดมัน จงึ จาเปน็ ต้องหา ผหู้ ญงิ มาแสดงประกอบ เมอื่ ผูห้ ญงิ มาแสดงประกอบจงึ เปน็ การลาแบบสมบูรณ์ เมือ่ ผู้หญงิ เขา้ มาเกี่ยวข้องเร่อื งตา่ ง ๆ ก็ตามมา เช่น เร่ืองเกยี้ วพาราสี เรื่องชงิ ดชี ิงเด่นยาด (แย่ง) ชู้ ยาดผัวกนั เรือ่ งโจทย์ เรอ่ื งแก้ เร่ืองประชนั ขันทา้ เรอ่ื งตลกโปกฮาก็ตามมา จงึ เปน็ การลาสมบรู ณแ์ บบ จาก การมหี มอลาชายเพยี งคนเดียวค่อย ๆ พฒั นาตอ่ มาจนมีหมอลาฝา่ ยหญิง มีเครอ่ื ง ดนตรีประกอบจงั หวะเพื่อ ความสนุกสนาน จนกระทงั่ เพ่ิมผแู้ สดงให้มีจานวนเทา่ กับตัวละครใน เรอ่ื ง มพี ระเอก นางเอก ตัวโกงตัวตลก เสนา ครบถ้วน ความหมายของหมอลา \"หมอ\" คือผู้ชานาญในกจิ การตา่ งๆ เชน่ หมอแคน คอื ผู้ชานาญในการเป่าแคน หมอมอหรอื หมอโหร คือ ผูช้ านาญในการทานายโชคชะตา หมอเอ็น คือผ้ชู านาญในการบบี นวดเสน้ เอ็นตามรา่ งกาย หมอยา คือผู้ท่ี ชานาญในการใช้สมุนไพร หมอธรรม คอื ผู้ที่ชานาญในการใชว้ ชิ า(ธรรม)ในทางไสยศาตร์ หมอสูตร คอื ผู้ ชานาญในการทาพิธีสูตรต่างๆ เชน่ สูตรขวัญ หมอมวย คอื ผ้ชู านาญในการใชว้ ิชามวย \"ลา\" คือการขับร้องด้วย ทานองและภาษาถนิ่ อีสานอยา่ งมีศลิ ป์ โดยมีแคนเป็นเสียงดนตรีหลักประกอบการขับรอ้ ง ดังนัน้ \"หมอลา\" จึงหมายถึง ผู้ทช่ี านาญในการร้องเพลงด้วยภาษาถนิ่ อสี านประกอบเสยี งดนตรพี น้ื บา้ น

2 ประเภทของหมอลา 1.หมอลาพน้ื ภาพประกอบ : http://www.rd1677.com/backoffice หมอลาพืน้ เปน็ หมอลาที่เกา่ แกท่ ี่สุดในประเภทหมอลาที่ใช้เพอ่ื ความบันเทิง ไมม่ ีใครสามารถบอกไดว้ า่ หมอลาพน้ื เกดิ ข้ึนเมื่อใดแต่บางคนสนั นิษฐานวา่ หมอลาพ้ืนเกิดมใี นภาคอีสานตงั้ แตส่ มัยคนอสี านแรกรับเอา พระพุทธศาสนาเข้ามา ดังเปน็ เรอ่ื งชาดกต่างๆ ลาพน้ื บางทเี รียกว่า \"ลาเร่ือง\" คาวา่ \"พื้น\" หรือ \"เรอ่ื ง\" หมายความวา่ \"นิทาน\" หรอื \"เรอ่ื งราว\" ดังนัน้ \"ลาพนื้ \" จึงหมายถึง \"ลาทเี่ ป็นเร่ืองราว หรอื เปน็ เรือ่ งเลา่ ในสมยั กอ่ นลาพื้นเปน็ ท่ีนิยมกันมาก ทุกๆหมบู่ ้านมักจะวา่ จา้ งหมอลาพ้ืนมาลาในงานเทศกาลต่างๆ หมอลาพน้ื จะใสเ่ สือ้ และกางเกงขายาวสีขาว และลาเรอ่ื งชาดก เวทที ี่ใชล้ าจะใช้บนพ้ืนหรอื เป็นเวทยี กพ้ืนเลก็ ๆ ซงึ่ ล้อมรอบดว้ ยผูฟ้ ังตั้งแต่เวลาสองทมุ่ จนถงึ หกโมงเชา้ คา่ จา้ งของหมอลาพ้นื ขึ้นอยู่กับระยะทางทีห่ มอลา จะตอ้ งเดนิ ทางออกจากหมบู่ ้านของตนถึงหมู่บ้านที่จะไปลา และเวลาทจ่ี ะไปลาว่านานแคไ่ หน ส่วนมากหมอลาพื้นจะเป็นผชู้ าย เพราะเหตวุ ่าผู้ชายมโี อกาสท่ีจะได้ศกึ ษาเลา่ เรียนจากพระท่วี ดั ผ้หู ญงิ ไม่อนญุ าตให้เขา้ ใกลพ้ ระ ฉะนั้นผหู้ ญิงจึงหมดโอกาสที่จะเรียนเขยี นและอา่ นได้ สว่ นเหตุผลข้ออนื่ เช่น ผู้หญงิ ไม่ควรทางานอ่นื นอกจากการเปน็ แมบ่ า้ นเทา่ นน้ั และในขณะเดยี วกนั เด็กสาวที่นับว่าเป็นกลุ สตรนี ้ันกไ็ มค่ วรที่ จะปรากฏตัวต่อสาธารณชนเชน่ กัน ดนตรีท่ใี ชป้ ระกอบลาพ้นื คือ แคน ลายใหญ่ คอื ลายท่ีใชเ้ ปา่ ประกอบการ ลาพ้ืน ลายนี้เป็นลายแคนเกา่ แก่ทมี ีจงั หวะช้า ส่วนหมอลาน้ันจะลาในสองจงั หวะ คอื ชา้ และเศร้า กับจงั หวะ เรว็ และเร่งร้อน จงั หวะชา้ ใช้ลาช่วงทมี่ ีทอ้ งเรอื่ งเศรา้ และจังหวะเรว็ ใชล้ าชว่ งท่ีกล่าวถึงการทอ่ งเที่ยวหรือการ ทไ่ี มม่ คี วามเดือดร้อนใดๆ เรอ่ื งทีห่ มอลาพืน้ ชอบลา คอื ท้าวการะเกด ท้าวสธี น นางแตงอ่อน และนางสิบสอง และท้าวหมาหยุย ซึง่ ลว้ นแตเ่ ปน็ ชาดก

3 2.หมอลากลอน ภาพประกอบ : http://www.oknation.net/blog/home/ หมอลากลอน เปน็ กลอน หมายถึง บทร้อยกรองตา่ งๆ เช่น โคลง.ร่าย หรอื กาพยก์ ลอน \"หมอลากลอน\" ตามรูปศัพท์แล้ว หมายถึง หมอลาทลี่ าโดยใช้บทกลอน ซ่ึงความจริงแล้วหมอลากลอนล้วนแต่ใชก้ าพย์กลอน เปน็ บทลาท้ังสิ้น ทไ่ี ด้ช่ือว่าเป็น \"หมอลากลอน\" นั้นก็เพ่อื ทจี่ ะแยกใหเ้ ห็นข้อแตกต่างระหวา่ งหมอลาพนื้ ซึง่ ปรากฏวา่ หมอลาสองชนิดน้ใี นขณะเดียวกนั หมอลากลอนเปน็ ทีร่ ู้จักแพร่หลายในขณะที่หมอลาพนื้ ไดค้ อ่ ยๆ สญู หายไป หมอลาพื้นกับหมอลากลอนแตกต่างกนั ตรงที่ หมอลาพืน้ เป็นการลาเดี่ยว และลาเป็นนทิ าน ส่วนลา กลอนเป็นการลาสองคนลักษณะโต้ตอบกนั อาจเปน็ ไปไดว้ ่าการลากลอนไดพ้ ัฒนามาสองทางคือจากลา โจทย์ แก้ ซงึ่ เปน็ การลาแบบตอบคาถาม อยา่ งท่ีสองคือ \"ลาเกี้ยว\" ซึง่ เป็นการลาในทานองเกยี้ วพาราสรี ะหวา่ ง หญงิ - ชาย 3.หมอลาหมู่ ภาพประกอบ : http://www.bannangio.com/index.php?mo=5&qid=549086 หมอลาหมู่ เป็นลาหมู่ ตามรูปศพั ท์ หมายถงึ การร้องเปน็ หมู่ ความจริงลาหมเู่ ป็นการแสดงของกลมุ่ ศลิ ปนิ หมอลาหมู่ การลาหม่เู พิง่ จะเกดิ ขึน้ ไดเ้ มอื่ ประมาณ 50-60 ปี สงิ่ ทเ่ี กิดมากอ่ นลาหมคู่ อื ลาพน้ื และลิเก ซึ่งเปน็ การละเลน่ ของชาวไทย ในภาคกลาง ลาหมู่ได้แบบอยา่ งการแต่งกายมาจากลิเก และไดแ้ บบอยา่ งการ ลามาจาการลาพืน้ และลากลอน คณะหมอลาหมู่ประกอบด้วยคน 15-30 คน ตัวละครประกอบด้วย พระราชา

4 พระราชนิ ี เจา้ ชาย เจา้ หญงิ คนใช้ พ่อ แม่ ลูกชาย ลูกสาว ฤาษี เทวดา และภตู ผี คนใชป้ กติจะแสดงเปน็ ตวั ตลกดว้ ยหมอลา แต่ละคนจะสวมใส่เครือ่ งตามบทบาทในทอ้ งเรอื่ ง โดยปกติตัวตลกจะสวมใสเ่ สอื้ ผา้ ท่ีผิดแผกแหวกแนวจากคนอื่นๆ บางทีจะแตง่ ชดุ เป็นตารวจ แตก่ าร แต่งน้นั ไมไ่ ด้เหมอื นตารวจจรงิ ๆ เขาอาจมีเคร่อื งประดบั ท่ีมีขดี อะไรต่อมิอะไรมากมาย หรือไม่ก็ตดิ ขดี กลับหัว กลบั หางอย่างน้ี เป็นต้น ตัวตลกบางทกี แ็ ต่งแต้มหน้าด้วยสสี นั ฉูดฉาด บางทีตวั ตลกจะเตี้ย ผอมสูง หรอื อว้ น ผิดปกตไิ ป บางทีตัวตลกผ้ชู ายจะใช้สิง่ ของเสอื้ ผา้ หนุนท้องเขา้ ไปให้แลดูเหมือนผ้หู ญิงทอ้ งแกก่ ็มี ส่วนมากเรื่องทีจ่ ะลาในหมอลาหมู่จะเปน็ เรื่องท่ี หมอลาพื้นนยิ มใชล้ ากันซึ่งเร่ืองเหล่านีไ้ ดม้ าจากนทิ าง ชาดกของภาคอีสาน ข้อใหญใ่ จความของเรอื่ ง มงุ่ ทีจ่ ะสง่ั สอนคนให้ทาดี ไดด้ ี ทาชั่วได้ชั่ว ไมม่ ใี ครหลกี พ้นกรรม ท่กี อ่ ไว้ และใหร้ ะงับเวรด้วยการไมจ่ องเวร แตใ่ หร้ ะเวรดว้ ยการทาความดี นิทานทุกๆเรือ่ งมักจะเริม่ ตน้ ดว้ ยคน ท่ที าดี แตต่ อ้ งตกไปอยใู่ นหว้ งอนั ตราย จากการกระทาของคนชว่ั แล้วเรอื่ งราวก็ดาเนนิ ต่อไประหวา่ งคนสอง กล่มุ คอื กลุ่มคนดแี ละคนชว่ั บางครั้งเทวดาหรอื พระอินทร์จาต้องลงมาชว่ ยฝา่ ยคนดี ถ้าเห็นว่าฝ่ายน้เี พลย่ี ง พล้าจริงๆ แต่บน้ั ปลายของเรอื่ งคนดจี ะเป็นผู้ชนะคนช่ัวจะถูกลงโทษ คนดีจะถกู บาเหนจ็ รางวัล หมอลาหมูจ่ ะแสดงบนเวทีทม่ี ีความกวา้ งประมาณ เมตร ลกึ 5 เมตร และสงู 2 เมตร เวทมี กั จะตง้ั อยมู่ ุม ใดมมุ หนงึ่ ของพ้นื โล่ง ซงึ่ ปกตจิ ะเป็นที่ภายในวดั เวทีจะแบง่ ออกเปน็ 2 ตอน โดยผ้าฉากหรือฉากไม้สว่ นหน้า จะเป็นเวทแี สดง ส่วนด้านหลังจะเปน็ ห้องพกั และห้องแตง่ ตวั มปี ระตสู องข้างของมา่ นท่ีกัน้ แบ่งเวทเี พอ่ื ใชเ้ ป็น ท่ีเข้าออกของผ้แู สดง ทางออกอยทู่ างดา้ นซ้ายของคนดูและทางเขา้ อย่ปู ระตดู ้านขวา คนเป่าแคนจะอยู่ขา้ งๆ ประตูทางออกด้านซา้ ยหรอื ดา้ นหลงั ของฉาก เคร่อื งดนตรที ่ใี ชใ้ นการประกอบลาหมู่คอื แคน แตป่ ัจจุบนั หมอลาส่วนมากใช้เครอ่ื งดนตรฝี ร่ัง เชน่ กลอง ชุด ทรัมเปต็ แซก็ โซโฟน หรือกตี าร์ แตเ่ คร่ืองดนตรีฝร่ังพวกนจี้ ะใชป้ ระกอบเครื่องดนตรลี ูกทุ่งมากกว่า ประกอบหมอลาหมู่ ดงั นั้น แคนกย็ ังเป็นเครื่องดนตรสี าหรบั ประกอบการ\"ลา\"อยดู่ ี ลายแคนที่ใชป้ ระกอบลา หมู่ สว่ นมากใช้ลายใหญ่ ซง่ึ ชา้ และเศร้า หรอื ลายน้อยซง่ึ ชา้ และเศรา้ เชน่ กันแตค่ นละระดับเสียง อย่างไรกต็ าม ในฉากท่ีมีการฟอ้ นรา หรอื สนกุ สนานหมอลาหมู่จะลาเตย้ ซ่ึงเป็นเพลงรกั สั้นๆหมอแคนกจ็ ะเป่าลาย \"ลาเตย้ \" ซึ่งไดแ้ ก่เตย้ โขง เต้ยพม่า เต้ยธรรมดา และเตย้ หวั โนนตาล 4.หมอลาเพลนิ ภาพประกอบ : http://www.isan.clubs.chula.ac.th/folkdance หมอลาเพลนิ เป็นหมอลาหมูอ่ กี ประเภทหนึง่ เปน็ การแสดงที่แสดงเป็นคณะ เร่ืองทจ่ี ะแสดงเปน็ เรอ่ื ง อะไรกไ็ ดร้ วมทัง้ เรือ่ งที่หมอลาหม่แู สดง ส่วนขอ้ แตกตา่ งระหวา่ งหมอลาหมกู่ บั หมอลาเพลนิ คือ

5 1.ในหมอลาหมู่ผแู้ สดงฝ่ายหญงิ ทุกคนจะแต่งชดุ ด้วยผ้าซิ่นแบบพ้นื บา้ นอสี าน หรอื ไม่ก็ชดุ ไทย แต่ลาเพลินฝา่ ยหญิงจะนงุ่ กระโปรงแบบฝรั่ง 2.ในลาเพลินนอกจากแคนแลว้ ยงั มพี ิณเปน็ เคร่ืองดนตรปี ระกอบดว้ ย 3.ในลาเพลินจะมจี ังหวะการลาท่ีเรยี กว่า \"ลาเพลิน\" ซ่งึ หมายถงึ จงั หวะสนกุ สนาน ถงึ แมว้ ่าลาเพลนิ จะเข้ามม่ บี ทบาทพร้อมๆกับลาหม่กู ต็ าม แตไ่ มเ่ ป็นท่ีนยิ มแพร่หลายเท่าลาหมู่ จนเมื่อ ประมาณสิบปีก่อน ลาเพลนิ จึงกลายมาเปน็ ทนี่ ยิ มของคนทัว่ ไป และเปน็ ที่นา่ สนใจวา่ การฝกึ ซ้อมท่ีจะเปน็ หมอ ลาเพลินนัน้ ง่ายและใชเ้ วลานอ้ ยกว่าการเป็นหมอลาหมู่ กลา่ วคือ 1.ลาเพลินจะใช้เวลาฝึกหัดเพียงหกเดอื นก็สามารถออกแสดงในงานตา่ งๆได้ ผดิ กบั หมอลาหม่ทู ่ตี อ้ ง ใชเ้ วลาฝึกหดั ตั้งแตส่ องถงึ หา้ ปีจงึ สามารถเปน็ หมอลาหมทู่ ี่ดไี ด้ 2.การแสดงลาเพลนิ ผู้ลาฝ่ายหญงิ จะนุ่งกระโปรงสนั้ ๆทีเ่ ปดิ วบั ๆแวมๆเพื่อโชวอ์ วดความสวยงามของ รา่ งกาย และผู้ชมก็ชอบทจี่ ะชมความงามของเรือนร่างของหมอลาดว้ ย ตรงขา้ มกบั หมอลาหมู่ทต่ี ้องน่งุ ห่มดว้ ย ผา้ ชิ้นยาวปกปิดร่างกายไว้เสยี สว่ นมาก 3.ทานองของลาเพลินเป็นทานองโลดโผน ตืน่ เตน้ เรา้ ใจ ประกอบทงั้ เครอื่ งดนตรี แคน พิณ และ กลองชุด ทาให้เปน็ ท่ีต่ืนตาตื่นใจแก่ผชู้ ม 4.ค่าจ้าง หมอลาเพลินน้นั นับว่าพกู มาเมอื่ เทยี บกับค่าจา้ งหมอลาหมู่ คา่ จ้างลาเพลินะจะตกประมาณ ห้าร้อยบาท ถึงสพ่ี ันบาทต่อคืน สว่ นหมอลาหมู่จะตกประมาณสี่พนั ถึงหนงึ่ หม่นื บาทต่อคนื ปจั จบุ นั นค้ี ่าจา้ งได้ เพิม่ ข้ึนอย่างมากเป็นหลักแสน หรอื หลายแสนบาทตอ่ คณะ 5.หมอลาผีฟา้ ภาพประกอบ : http://board.postjung.com/data/ คนอสี านบางคนมีความเชื่อวา่ โรคภยั ไข้เจ็บเกดิ จากเช้ือโรค และบางคนเชื่อว่าเกิดจากการกระทาของ ผีความเจ็บปว่ ยท่ีเกิดจากเชอ้ื โรค สามารถเยียวยาให้หายได้ด้วยการรักษาโดยการใชย้ า สว่ นความเจ็บปวดที่ เกดิ จากผนี ั้น เชอื่ วา่ ตอ้ งได้รบั การรักษาจากผีฟ้าหรืออานาจอยา่ งอนื่ อยา่ งไรก็ตามเมื่อถงึ คราวชีวติ จะสิน้ สดุ ลง กไ็ ม่สามารถมใี ครเหน่ยี วรัง้ เอาไว้ได้ คนปว่ ยทไี่ ด้รับการรกั ษาจากวิธีการสมัยใหม่หรอื จากยาไม่ไดผ้ ลแลว้ คนใช้หรอื ญาติพ่นี ้องของคนไข้ก็ จนปญั ญาจาต้องหันหนา้ พ่ึงทางอื่น และพ่ึงทางอนั นัน้ ก็คือ หมอลาผฟี า้ ถึงแม้วา่ ทกุ คนจะไม่มคี วามเช่ือในหมอ ลาผฟี า้ ดงั กล่าว แตเ่ พื่อชวี ิตอย่างนอ้ ยก็ต้องลองเสีย่ งดู

6 หมอลาผฟี ้าอาจแปลความไดว้ า่ คณะหมอลาที่ทาการตดิ ต่อสอ่ื สารกับผฟี า้ บางทอ้ งท่ีเรยี กหมอลาผีฟ้า ว่า หมอลาไทเทงิ ซ่งึ หมายถึง หมอลาท่ีติดตอ่ กับผีท่อี ยู่เบือ้ งบน (ไท หมายถึง กลุ่มคนหรอื วญิ ญาณ เทิง หมายถงึ เหนอื หรือข้างบน) ในบางท้องที่เรียกหมอลาผฟี ้าวา่ หมอลาผแี ถน ซ่งึ หมายถึง คณะหมอลาท่ีจะ ตดิ ตอ่ กบั ผีแถนผซู้ ึ่งเป็นใหญ่ในเมอื งฟ้า ถึงแม้ว่าหมอลาผีฟ้าจะเปน็ ทร่ี ู้จกั กันในหลายช่ือ และรายละเอยี ด ปลีกย่อยของการลาจะแตกต่างกนั ไปบา้ งตามแตล่ ะท้องถ่ินกต็ ามแตม่ จี ุดประสงค์อันเดยี วกนั ลักษณะของกลอนลา กลอนลาเปน็ รอ้ ยกรองที่มีทั้งทีเ่ ปน็ กลอนรา่ ย กลอนกาพย์ (หรอื เรยี กอกี อย่างหนึ่งว่ากลอนตดั ) และ กลอนเญน้ิ กลอนลาทางส้ันอาจเป็นกลอนตดั หรือกลอนเญ้นิ กไ็ ด้ กลอนลาทางยาว กลอนเตย้ ธรรมดา,กลอน ลาเพลิน และกลอนเต้ยหวั โนนตาลเป็นกลอนเญิน้ สว่ นกลอนเตย้ โขงและกลอนเตย้ พม่ามลี ักษณะคล้ายเพลง ไทยสากลโดยใช้คาภาษาไทยกลางผสมภาษาถ่ินอีสาน ทานองลา ทานองลาทีเ่ ป็นทานองหลกั พอจะแบ่งได้ออกเป็น 4 ทานองคอื ทานองลาทางส้ัน ทานองลาทางยาว ทานองลาเพลนิ และทานองลาเต้ย \"ลาทางส้นั \" เป็นทานองลาแบบเน้อื เตม็ ไม่มีเออื้ น (ยกเวน้ ตอนขน้ึ ต้น \"โอ้ละนอ\") ความสั้น-ยาว ของ พยางคต์ า่ งๆจะสมา่ เสมอกนั โดนตลอดเปน็ ทานองท่แี สดงออกถงึ อารมณอ์ ันเป็นสขุ เปน็ ทานองลาของหมอลา พ้นื ตอนดาเนินเรื่อง เพื่อให้ไดค้ วามรวดเร็ว และเป็นทานองหลกั ของหมอลากลอน \"ลาทางยาว\"เป็นทานองลาท่ีใชเ้ อื้อนยาวสะอึกสะอืน้ แสดงความโศกเศรา้ เสยี ใจมจี งั หวะลลี าช้า ใช้สาหรบั ลาผีฟ้า ลาพ้นื แสดงอารมณ์โศกมจี ังหวะลีลาช้า ใช้สาหรับลาผีฟา้ ลาพ้นื ตอนโศก และลากลอนตอนลาลา \"ลาเต้ย\" เปน็ ทานองเพลงรกั ส้นั ๆ ประเภทเนอ้ื เตม็ ไม่มีเอ้ือน มีอยู่ 4 ทานอง คือ เต้ยโขง เตย้ พม่า เตย้ ธรรมดาและเตย้ หวั โนนตาล สาเนียงลา สาเนียงลาของกลมุ่ ลาแคนพอจะแบง่ สาเนยี งหลกั ได้ 2 สาเนียงคือ สาเนียงขอนแกน่ และสาเนียง อบุ ลฯ ความแตกต่างระหว่างสาเนียงขอนแกน่ กับสาเนยี งอุบลฯจะสังเกตได้จากทานองลาทางสน้ั ซึ่งจะพอมี หลักสงั เกตไดด้ ังนี้ 1. สาเนยี งอบุ ลฯ จะใชก้ ลอนล้วน ไม่มแี ทรกด้วยคาพูด สว่ นสาเนยี งขอนแกน่ นยิ มพูดแทรก หรอื เติมเขา้ ไปในกลอนลา โดยเฉพาะอย่างยิง่ ตอนท่เี ป็นหัวตอ่ ระหวา่ งบทกลอนทใ่ี ช้ถามหรือตอบ 2. สาเนียง อุบลฯ ที่มีจังหวะชัดเจน หนกั แนน่ มน่ั คงและสม่าเสมอ สาเนยี งขอนแก่นน้ันยากแก่การแบง่ วรรคแบ่งตอน ใกลไ้ ปทางสาเนียงพดู 3. สาเนียงขอนแก่น หมอลาบางคนอาจจะมกี ารจังหวะชดั เจน แตส่ าเนยี งหรือกระแส เสยี งทางภาษากย็ ังบ่งบอกในตวั เช่นเดียวกับสาเนยี งพูด 4. ในตอนเดินดง หมอลาสาเนียงอบุ ลจะยังคงรกั ษา ทานองเดมิ ไว้ไมเ่ ปลย่ี นแปลง แต่หมอลาสาเนียงขอนแก่นจะบดิ ผันท่วงทานองเปน็ แบบลาทางยาวกรายๆ สาเนียงลา สาเนียงลาของกล่มุ ลาแคนพอจะแบ่งสาเนียงหลกั ได้ 2 สาเนยี งคือ สาเนียงขอนแก่นและสาเนียงอบุ ลฯ ความแตกต่างระหวา่ งสาเนยี งขอนแก่นกับสาเนยี งอบุ ลฯจะสังเกตได้จากทานองลาทางสัน้ ซึง่ จะพอมีหลกั สังเกตไดด้ งั นี้ 1.สาเนียงอบุ ลฯ จะใช้กลอนล้วน ไมม่ ีแทรกดว้ ยคาพูด ส่วนสาเนยี งขอนแกน่ นยิ มพูดแทรกหรอื เติมเข้า ไปในกลอนลา โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ตอนที่เปน็ หัวต่อระหว่างบทกลอนทีใ่ ช้ถามหรอื ตอบ 2.สาเนยี งอุบลฯ ที่มีจงั หวะชัดเจน หนกั แน่น มน่ั คงและสมา่ เสมอ สาเนยี งขอนแก่นนน้ั ยากแกก่ ารแบง่ วรรคแบง่ ตอน ใกล้ไปทางสาเนยี งพูด

7 3.สาเนยี งขอนแกน่ หมอลาบางคนอาจจะมีการจงั หวะชดั เจน แต่สาเนยี งหรอื กระแสเสยี งทางภาษาก็ยัง บง่ บอกในตัว เชน่ เดยี วกับสาเนียงพูด 4.ในตอนเดินดง หมอลาสาเนียงอบุ ลจะยงั คงรักษาทานองเดมิ ไวไ้ ม่เปล่ียนแปลง แตห่ มอลาสาเนยี ง ขอนแกน่ จะบิดผันท่วงทานองเปน็ แบบลาทางยาวกรายๆ การนาภมู ปิ ัญญาการแสดงหมอลาเพลนิ ไปใช้ในการดาเนินชีวิต 1. เพอื่ สบื สานภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ เรื่องหมอลาเพลิน สู่ลูกหลานสืบไป 2. เพอ่ื นาความรู้ท่ไี ด้ไปประกอบอาชพี 3. ทาให้ผู้สูงอายุใชเ้ วลาว่างใหเ้ กดิ ประโยชน์

ภาคผนวก - ประวัตผิ ู้จัดทาภมู ปิ ัญญาศึกษา - ภาพประกอบ

8 ประวตั ผิ ถู้ ่ายทอดภูมิปญั ญา ชอ่ื : นางแก้ว คาจาปี เกดิ : 16 มกราคม 2490 อายุ 72 ปี ภูมลิ าเนา : จงั หวัดอดุ รธานี ทอ่ี ยูป่ จั จุบนั : บา้ นเลขที่ 94/1 หมู่ 18 ตาบลวังนา้ เย็น อาเภอวงั น้าเย็น จังหวัดสระแกว้ สถานภาพ: สมรส กบั นายคาจันทร์ คาจาปี มีบตุ รด้วยกนั จานวน 5 คน ดงั น้ี 1. นางประวรรณ ศรีปัญญา 2. นางราตรี คาจาปี 3. นายสว่าง คาจาปี 4. นายสรุ ยิ นั ต์ คาจาปี 5. นางวราภรณ์ คาจาปี การศกึ ษา: ปจั จบุ นั ประกอบอาชีพ : เกษตรกร ประวัตผิ ู้เรียบเรยี งภมู ิปญั ญาศกึ ษา ช่อื : นางสาวศศปิ ระภา หวานวนิ เกิด : 19 เมษายน 2523 อายุ 39 ปี ภูมลิ าเนา: 8 ม. 6 ตาบลหว้ ยปา่ หวาย อาเภอพระพทุ ธบาท จังหวดั สระบุรี ทีอ่ ยูป่ จั จุบัน: 8 ม. 4 ตาบลไทยอดุ ม อาเภอคลองหาด จังหวัดสระแกว้ สถานภาพ: โสด การศึกษา: ปริญญาโท ปัจจุบนั ประกอบอาชพี : รับราชการครู

ภาพประกอบการจดั ทาภูมปิ ัญญาศกึ ษา เรอ่ื ง หมอลาเพลิน

ศกึ ษาหาขอ้ มูลภมู ิปญั ญาศกึ ษา เร่อื งหมอลาเพลนิ

10 คณะหมอลาเพลนิ ของ คณุ ยายแกว้ คาจาปี ได้ไปแสดงลาในงานบวชนาค

11 สมาชกิ คณะหมอลาเพลนิ ของคณุ ยายแกว้ คาจาปี

12 มีอุปกรณ์ในการแสดงคือ แคน และ กลอง

13 มกี ารรอ้ งและฟ้อนราเพอื่ ความสนกุ สนาน

อ้างอิง หมอลาความเปน็ มาของหมอลา – ภูมิปญั ญาท้องถ่นิ ภาคอีสาน – บา้ นมหา https://www.baanmaha.com/blog/หมอลา-ความเป็นมาของหมอลา {Online}.{Accessed:24/01/2552} ศิลปะวฒั นธรรมอสี าน-การแสดงพ้นื บ้าน https://www.lib.ru.ac.th/journal/isan/art/{Online}


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook