Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 22 การสานสวิง นางสี ก้อนมะณี

22 การสานสวิง นางสี ก้อนมะณี

Published by artaaa143, 2019-05-10 02:00:57

Description: 22 การสานสวิง นางสี ก้อนมะณี

Search

Read the Text Version

ภมู ปิ ัญญาศกึ ษา เรอ่ื ง การสานสวิง โดย 1. นางสี ก้อนมะณี (ผู้ถ่ายทอดภมู ปิ ัญญา) 2. วา่ ท่รี .ต.หญิงกานต์พิชชา ภูมิโสม (ผู้เรียบเรยี งภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ ) เอกสารภูมิปัญญาศกึ ษานเี้ ปน็ ส่วนหนึ่งของการศึกษา ตามหลกั สตู รโรงเรียนผ้สู งู อายุเทศบาลเมืองวังนา้ เยน็ ประจา้ ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลเมอื งวังน้าเยน็ สงั กัดเทศบาลเมอื งวังน้าเย็น จงั หวดั สระแกว้

ค้านา้ ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ หรอื เรียกชือ่ อกี อย่างหนง่ึ ว่า ภมู ิปัญญาชาวบา้ น คือองคค์ วามรู้ที่ชาวบา้ นได้ สั่งสมจากประสบการณ์จริงท่ีเกิดขึ้นหรือจากบรรพบุรุษท่ีได้ถ่ายทอดสืบกันมาต้ังแต่ในอดีตมาจนถึงปัจจุบัน เพอื่ นามาใชแ้ กป้ ญั หาในชวี ติ ประจาวัน การทามาหากิน การประกอบการงานเลย้ี งชพี หรือกิจกรรมอ่นื ๆ เป็น การผ่อนคลายจากการทางาน หรือการย้ายถิ่นฐานเพ่ือมาตั้งถ่ินฐานใหม่แล้วคิดค้นหรือค้นหาวธิ ีการดังกล่าว เพ่ือการแก้ปัญหา โดยสภาพพื้นทนี่ ั้น ชุมชนวังน้าเย็นแหง่ น้ี เกิดข้ึนเมื่อราว ๆ 50 ปีท่ีผ่านมา จากการอพยพ ถิ่นฐานของผู้คนมาจากทุก ๆ ภาคของประเทศไทย แล้วมาก่อต้ังเป็นชุมชนวังน้าเย็น ซึ่งบางคนได้นาองค์ ความรมู้ าจากถิ่นฐานเดิมแลว้ มีการสืบทอดสบื สานมาจนถงึ ปจั จุบนั เช่นเดยี วกับ การสานสวงิ โดยนางสี กอ้ น มณี ผู้ศึกษา ได้รวบรวม เรียบเรียง ถ่ายทอดประสบการณ์ให้คนรุ่นหลังได้สืบค้น หรือค้นคว้าเป็นภูมิปัญญา ศึกษา ของคนในชมุ ชนเทศบาลเมืองเมอื งวังน้าเย็น จังหวัดสระแก้ว ผู้ศึกษาขอขอบพระคุณ นายวันชัย นารีรักษ์ นายกเทศมนตรีเมืองวังน้าเย็น นายวีระ นามวงศ์ ผู้อานวยการโรงเรียนผ้สู ูงอายุ นายคนองพล เพ็ชรร่ืน ปลัดเทศบาลเมอื งวังน้าเยน็ คณะกรรมการโรงเรียน ผู้สูงอายุ กองสวัสดิการสังคม กองสาธารณสุขและส่ิงแวดล้อม เทศบาลเมืองวังน้าเย็น โรงเรียนเทศบาล มติ รสัมพันธ์วิทยา โรงเรียนอนุบาลเทศบาลเมืองวังน้าเย็น หน่วยงานอ่ืน ๆ ท่ีเก่ยี วข้อง และขอขอบพระคุณ ว่าท่ีร.ต.หญิงกานต์พชิ ชา ภมู ิโสม ท่ีไดเ้ ป็นท่ีปรึกษา ดแู ลรบั ผิดชอบงานด้านธุรการ บันทึกเร่อื งราวและจัดทา เป็นรูปเลม่ ทส่ี มบูรณค์ รบถว้ น ความรู้อนั ใดหรือกุศลอนั ใดท่ีเกดิ จากการรว่ มมือร่วมแรงร่วมใจร่วมพลังจนเกิดมี ภูมิปญั ญาศึกษาฉบับนี้ ขอกศุ ลผลบุญนั้นจงเกิดมีแกผ่ เู้ กยี่ วข้องดังที่กล่าวมาทุก ๆ ท่านเพ่ือสร้างสังคมแห่งการ เรยี นตอ่ ไป นางสี กอ้ นมณี วา่ ทรี่ .ต.หญิงกานตพ์ ิชชา ภูมิโสม ผจู้ ัดทา

ทีม่ าและความสาคญั ของภมู ิปญั ญาศกึ ษา จากพระราชดารสั ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช ทวี่ า่ “ประชาชนนั่นแหละ ท่เี ขามีความรูเ้ ขาทางานมาหลายช่วั อายคุ น เขาทากันอย่างไร เขามีความเฉลียวฉลาด เขารู้ว่าตรงไหนควร ทากสิกรรม เขารู้ว่าตรงไหนควรเก็บรกั ษาไว้ แต่ทีเ่ สียไปเพราะพวกไม่ร้เู รื่อง ไม่ไดท้ ามานานแลว้ ทาให้ลืม ว่าชีวิตมันเป็นไปโดยการกระทาที่ถูกต้องหรือไม่” พระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิ- พลอดุลยเดช ที่สะทอ้ นถึงพระปรชี าสามารถในการรับรู้และความเข้าใจหยัง่ ลกึ ท่ีทรงเห็นคุณคา่ ของภมู ิปญั ญา ไทยอย่างแท้จริง พระองค์ทรงตระหนักเป็นอย่างย่ิงว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นส่ิงท่ีชาวบ้านมีอยู่แล้ว ใช้ประโยชน์เพ่ือความอยู่รอดกันมายาวนาน ความสาคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งความรู้ที่สั่งสมจาก การปฏิบัตจิ รงิ ในห้องทดลองทางสังคม เป็นความรดู้ ั้งเดิมที่ถูกค้นพบ มีการทดลองใช้ แก้ไข ดัดแปลง จน เป็นองค์ความรู้ที่สามารถแก้ปัญหาในการดาเนินชีวิตและถ่ายทอดสืบต่อกันมา ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็น ขุมทรัพย์ทางปัญญาท่ีคนไทยทุกคนควรรู้ ควรศึกษา ปรับปรุง และพัฒนาให้สามารถนาภูมิปัญญาท้องถ่ิน เหล่านั้นมาแก้ไขปัญหาให้สอดคล้องกับบริบททางสังคม วัฒนธรรมของกลุ่มชุมชนน้ัน ๆ อย่างแท้จริง การพัฒนาภูมิปัญญาศึกษานับเป็นส่ิงสาคัญต่อบทบาทของชุมชนท้องถ่ินที่ได้พยายามสร้างสรรค์ เปน็ นา้ พกั นา้ แรงรว่ มกนั ของผสู้ งู อายแุ ละคนในชุมชนจนกลายเปน็ เอกลักษณ์และวัฒนธรรมประจาถ่นิ ทีเ่ หมาะ ตอ่ การดาเนินชวี ิต หรือภูมิปัญญาของคนในท้องถิ่นนัน้ ๆ แต่ภูมิปญั ญาท้องถิ่นส่วนใหญเ่ ปน็ ความรู้ หรือเป็น ส่ิงทีไ่ ด้มาจากประสบการณ์ หรอื เป็นความเช่ือสบื ต่อกันมา แตย่ ังขาดองค์ความรู้ หรือขาดหลักฐานยนื ยันหนัก แน่น การสร้างการยอมรับท่เี กดิ จากฐานภมู ิปัญญาท้องถิ่นจงึ เป็นไปไดย้ าก ดังน้ัน เพื่อให้เกิดการส่งเสริมพัฒนาภูมิปัญญาที่เป็นเอกลักษณ์ของท้องถ่ิน กระตุ้นเกิดความ ภาคภูมิใจในภูมิปัญญาของบุคคลในท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมไทย เกิดการถ่ายทอดภูมิปัญญาสู่ คนรุ่นหลัง โรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลเมืองวังน้าเย็น ได้ดาเนินการจัดทาหลักสูตรการเรียนการสอนเพ่ือ พัฒนาศกั ยภาพผูส้ ูงอายใุ นทอ้ งถิน่ ที่เนน้ ให้ผ้สู ูงอายุได้พัฒนาตนเองให้มีความพร้อมสสู่ ังคมผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ ในอนาคต รวมทั้งสืบทอดภูมปิ ัญญาในการดารงชีวิตของนักเรียนผู้สูงอายุท่ีได้ส่งั สมมา เกิดจากการสืบทอด ภูมิปญั ญาของบรรพบรุ ุษ โดยนักเรียนผู้สูงอายุจะเป็นผูถ้ ่ายทอดองค์ความรู้ และมีครูพเ่ี ลี้ยงซึ่งเป็นคณะครู ของโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองวังน้าเย็น เป็นผู้เรียบเรียงองค์ความรู้ไปสู่การจัดทาภูมิปัญญาศึกษา ให้ปรากฏออกมาเป็นรูปเล่มภูมิปัญญาศึกษา ใช้เป็นส่วนหนึ่งในการจบหลักสูตรการศึกษาของโรงเรียน ผูส้ ูงอายุ ประจาปีการศึกษา 2560 พรอ้ มทั้งเผยแพร่และจัดเก็บคลังภูมิปัญญาไว้ในห้องสมุดของโรงเรียน เทศบาลมติ รสัมพันธว์ ทิ ยา เพอื่ ใหภ้ ูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นเหลา่ นีเ้ กิดการถา่ ยทอดสู่คนร่นุ หลงั สบื ตอ่ ไป จากความร่วมมือในการพัฒนาบุคลากรในหน่วยงานและภาคีเครือข่ายที่มีส่วนร่วมในการผสมผสาน องค์ความรู้ เพื่อยกระดับความรู้ของภมู ิปัญญานัน้ ๆ เพ่ือนาไปสู่การประยุกต์ใช้ และผสมผสานเทคโนโลยี ใหม่ ๆ ให้สอดรับกับวิถีชีวิตของชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ การนาภูมิปัญญาไทยกลับสู่การศึกษา สามารถส่งเสริมให้มีการถ่ายทอดภูมิปัญญาในโรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพันธ์วิทยา และโรงเรียนในสังกัด เทศบาลเมอื งวงั น้าเย็น เกิดการมีส่วนร่วมในกระบวนการถ่ายทอด เชอื่ มโยงความรู้ใหก้ ับนักเรยี นและบุคคล ทั่วไปในท้องถิ่น โดยการนาบุคลากรท่ีมีความรู้ความสามารถในท้องถ่ินเข้ามาเป็นวิทยากรให้ความรู้ กับนักเรียนในโอกาสต่าง ๆ หรือการท่ีโรงเรียนนาองค์ความรใู้ นท้องถ่ิน เข้ามาสอนสอดแทรกในกระบวนการ จัดการเรียนรู้ ส่ิงเหล่านี้ทาให้การพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น นาไปสู่การสืบทอดภูมิปัญญาศึกษา

เกิดความสาเร็จอย่างเป็นรูปธรรม นักเรียนผู้สูงอายุเกิดความภาคภูมิใจในภูมิปัญญาของตนที่ได้ถ่ายทอดสู่ คนรุ่นหลังให้คงอยู่ในท้องถิ่น เป็นวัฒนธรรมการดาเนินชีวิตประจาท้องถ่ิน เป็นวัฒนธรรมการดาเนินชีวิตคู่ แผ่นดินไทยตราบนานเท่านาน นิยามคาศัพทใ์ นการจัดทาภมู ปิ ญั ญาศึกษา ภูมิปัญญาศึกษา หมายถึง การนาภูมิปัญญาการดาเนินชีวิตในเรื่องที่ผู้สูงอายุเช่ียวชาญท่ีสุด ของผู้สูงอายุที่เข้าศึกษาตามหลักสูตรของโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลเมืองวังน้าเย็น มาศึกษาและสืบทอด ภูมิปัญญาในรูปแบบต่าง ๆ มีการสืบทอดภูมิปัญญาโดยการปฏิบัติและการเรียบเรียงเป็นลายลักษณ์อักษร ตามรูปแบบทโี่ รงเรียนผูส้ ูงอายกุ าหนดขึ้น ใชเ้ ปน็ ส่วนหนง่ึ ในการจบหลกั สูตรการศึกษา เพ่อื ใหภ้ มู ปิ ัญญาของ ผู้สูงอายุไดร้ บั การถ่ายทอดสู่คนรนุ่ หลังและคงอยู่ในท้องถน่ิ ต่อไป ซ่ึงแบง่ ภมู ปิ ญั ญาศึกษาออกเป็น 3 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. ภูมปิ ญั ญาศึกษาที่ผู้สงู อายุเปน็ ผคู้ ดิ ค้นภมู ิปญั ญาในการดาเนนิ ชวี ติ ในเรื่องทีเ่ ชยี่ วชาญทสี่ ุด ดว้ ยตนเอง 2. ภูมิปญั ญาศึกษาท่ผี ู้สูงอายเุ ป็นผู้นาภูมิปัญญาที่สืบทอดจากบรรพบุรุษมาประยุกตใ์ ช้ในการดาเนิน ชวี ิตจนเกิดความเชีย่ วชาญ 3. ภูมิปัญญาศึกษาที่ผู้สูงอายุเป็นผู้นาภูมิปัญญาท่ีสืบทอดจากบรรพบุรุษมาใช้ในการดาเนินชีวิต โดยไมม่ กี ารเปลย่ี นแปลงไปจากเดมิ จนเกิดความเชีย่ วชาญ ผู้ถ่ายทอดภูมิปัญญา หมายถึง ผู้สงู อายุท่ีเขา้ ศึกษาตามหลักสูตรของโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลเมือง วังน้าเย็น เป็นผู้ถ่ายทอดภูมิปัญญาการดาเนินชีวิตในเรื่องที่ตนเองเช่ียวชาญมากท่ีสุด นามาถ่ายทอดให้แก่ ผู้เรียบเรียงภูมปิ ญั ญาท้องถ่ินไดจ้ ดั ทาขอ้ มลู เป็นรูปเล่มภูมปิ ัญญาศึกษา ผู้เรียบเรียงภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง ผู้ที่นาภูมิปัญญาในการดาเนินชีวิตในเรื่องที่ผู้สูงอายุ เช่ียวชาญที่สุดมาเรียบเรียงเป็นลายลักษณ์อักษร ศึกษาหาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ จัดทาเป็น เอกสารรูปเลม่ ใช้ช่ือว่า “ภมู ิปญั ญาศกึ ษา”ตามรูปแบบทโี่ รงเรยี นผูส้ ูงอายเุ ทศบาลเมืองวงั นา้ เย็นกาหนด ครูท่ีปรึกษา หมายถึง ผู้ท่ีปฏิบัติหน้าท่ีเป็นครูพ่ีเล้ียง เป็นผู้เรียบเรียงภูมิปัญญาท้องถ่ิน ปฏิบัติ หนา้ ทเ่ี ป็นผูป้ ระเมินผล เป็นผู้รับรองภมู ิปัญญาศึกษา รวมทัง้ เป็นผู้นาภูมิปัญญาศกึ ษาเขา้ มาสอนในโรงเรียน โดยบรู ณาการการจัดการเรียนรตู้ ามหลกั สูตรท้องถนิ่ ท่โี รงเรยี นจัดทาขึน้

ภูมปิ ญั ญาศกึ ษาเชื่อมโยงส่สู ารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ 1. ลกั ษณะของภูมปิ ัญญาไทย ลกั ษณะของภูมิปญั ญาไทย มดี ังน้ี 1. ภมู ปิ ญั ญาไทยมลี กั ษณะเป็นท้งั ความรู้ ทักษะ ความเช่ือ และพฤติกรรม 2. ภมู ปิ ัญญาไทยแสดงถงึ ความสัมพนั ธ์ระหว่างคนกบั คน คนกบั ธรรมชาติ สงิ่ แวดลอ้ ม และคนกับสิ่งเหนอื ธรรมชาติ 3. ภมู ิปัญญาไทยเปน็ องคร์ วมหรือกจิ กรรมทุกอย่างในวิถชี วี ติ ของคน 4. ภูมิปญั ญาไทยเปน็ เร่ืองของการแกป้ ัญหา การจดั การ การปรบั ตัว และการเรยี นรู้ เพอ่ื ความอยู่รอดของบุคคล ชุมชน และสังคม 5. ภมู ปิ ัญญาไทยเป็นพ้ืนฐานสาคัญในการมองชีวติ เป็นพื้นฐานความร้ใู นเรอ่ื งตา่ งๆ 6. ภูมปิ ัญญาไทยมลี ักษณะเฉพาะ หรือมีเอกลกั ษณ์ในตัวเอง 7. ภูมิปญั ญาไทยมกี ารเปลีย่ นแปลงเพ่ือการปรบั สมดลุ ในพฒั นาการทางสังคม 2. คุณสมบัตขิ องภูมิปญั ญาไทย ผทู้ รงภมู ปิ ัญญาไทยเป็นผมู้ คี ณุ สมบตั ติ ามที่กาหนดไว้ อย่างนอ้ ยดงั ต่อไปน้ี 1. เปน็ คนดมี คี ณุ ธรรม มคี วามรู้ความสามารถในวชิ าชีพต่างๆ มผี ลงานด้านการพัฒนา ทอ้ งถนิ่ ของตน และไดร้ บั การยอมรับจากบคุ คลทั่วไปอยา่ งกวา้ งขวาง ทง้ั ยงั เปน็ ผ้ทู ีใ่ ช้หลักธรรมคาสอนทาง ศาสนาของตนเป็นเครอ่ื งยึดเหนี่ยวในการดารงวิถีชีวิตโดยตลอด 2. เป็นผ้คู งแกเ่ รยี นและหมัน่ ศึกษาหาความรู้อย่เู สมอ ผทู้ รงภมู ิปัญญาจะเป็นผ้ทู หี่ ม่นั ศกึ ษาแสวงหาความรู้เพ่ิมเตมิ อยู่เสมอไม่หยุดนง่ิ เรียนรู้ท้งั ในระบบและนอกระบบ เป็นผู้ลงมือทา โดยทดลอง ทาตามทเ่ี รียนมา อีกท้ังลองผิด ลองถูก หรอื สอบถามจากผู้รู้อื่นๆ จนประสบความสาเรจ็ เป็นผู้เชี่ยวชาญ ซึ่ง โดดเด่นเปน็ เอกลกั ษณใ์ นแต่ละด้านอย่างชัดเจน เป็นทยี่ อมรับการเปลี่ยนแปลงความรู้ใหม่ๆ ทเ่ี หมาะสม นามา ปรบั ปรงุ รบั ใช้ชมุ ชน และสงั คมอยเู่ สมอ 3. เปน็ ผนู้ าของท้องถ่นิ ผู้ทรงภูมิปญั ญาสว่ นใหญ่จะเป็นผู้ทส่ี งั คม ในแตล่ ะท้องถนิ่ ยอมรบั ให้เป็นผนู้ า ท้ังผู้นาที่ได้รับการแตง่ ตง้ั จากทางราชการ และผู้นาตามธรรมชาติ ซึ่งสามารถเปน็ ผู้นาของทอ้ งถิ่น และช่วยเหลอื ผอู้ น่ื ไดเ้ ป็นอย่างดี 4. เป็นผู้ท่สี นใจปญั หาของท้องถน่ิ ผูท้ รงภมู ิปญั ญาลว้ นเป็นผูท้ ส่ี นใจปญั หาของทอ้ งถน่ิ เอา ใจใส่ ศกึ ษาปัญหา หาทางแกไ้ ข และช่วยเหลอื สมาชิกในชุมชนของตนและชมุ ชนใกลเ้ คยี งอยา่ งไม่ยอ่ ทอ้ จนประสบความสาเร็จเป็นทีย่ อมรบั ของสมาชกิ และบุคคลท่ัวไป 5. เปน็ ผขู้ ยันหมัน่ เพยี ร ผูท้ รงภมู ปิ ญั ญาเปน็ ผูข้ ยันหมนั่ เพียร ลงมือทางานและผลติ ผลงาน อยู่เสมอ ปรบั ปรุงและพัฒนาผลงานให้มคี ุณภาพมากข้ึนอีกทง้ั ม่งุ ทางานของตนอยา่ งตอ่ เน่ือง 6. เป็นนกั ปกครอง และประสานประโยชน์ของท้องถนิ่ ผู้ทรงภมู ิปัญญา นอกจากเป็นผูท้ ี่ ประพฤติตนเป็นคนดี จนเป็นท่ียอมรับนับถือจากบุคคลท่ัวไปแลว้ ผลงานทที่ า่ นทายังถือว่ามคี ณุ ค่า จึงเป็นผ้ทู ี่มี ทงั้ \"ครองตน ครองคน และครองงาน\" เปน็ ผูป้ ระสานประโยชน์ให้บุคคลเกิดความรกั ความเขา้ ใจความเหน็ ใจ และมคี วามสามัคคีกัน ซึง่ จะทาให้ทอ้ งถ่ิน หรือสังคม มคี วามเจริญ มีคณุ ภาพชีวติ สงู ข้ึนกว่าเดิม

7. มคี วามสามารถในการถา่ ยทอดความร้เู ป็นเลศิ เมื่อผู้ทรงภมู ิปญั ญามีความรู้ความสามารถ และประสบการณ์เป็นเลิศ มีผลงานท่เี ป็นประโยชนต์ ่อผอู้ ื่นและบุคคลทัว่ ไป ทัง้ ชาวบ้าน นักวิชาการ นักเรียน นิสิต/นักศึกษา โดยอาจเขา้ ไปศกึ ษาหาความรู้ หรอื เชญิ ทา่ นเหล่านน้ั ไป เป็นผ้ถู ่ายทอดความรู้ได้ 8. เป็นผู้มคี คู่ รองหรอื บรวิ ารดี ผ้ทู รงภมู ปิ ัญญา ถ้าเป็นคฤหัสถ์ จะพบว่า ลว้ นมีคู่ครองทด่ี ีที่ คอยสนับสนุน ช่วยเหลือ ให้กาลังใจ ให้ความร่วมมือในงานที่ท่านทา ช่วยให้ผลิตผลงานท่ีมีคุณค่า ถ้าเป็ น นกั บวช ไมว่ ่าจะเป็นศาสนาใด ต้องมีบรวิ ารที่ดี จงึ จะสามารถผลิตผลงานที่มีคุณคา่ ทางศาสนาได้ 9. เป็นผู้มีปญั ญารอบรแู้ ละเชี่ยวชาญจนไดร้ บั การยกย่องว่าเปน็ ปราชญ์ ผูท้ รงภมู ิปญั ญา ต้องเป็นผู้มีปัญญารอบรู้และเช่ียวชาญ รวมท้ังสร้างสรรค์ผลงานพิเศษใหม่ๆ ท่ีเป็นประโยชน์ต่อสังคมและ มนุษยชาตอิ ยา่ งตอ่ เน่อื งอยู่เสมอ 3. การจดั แบ่งสาขาภูมปิ ัญญาไทย จากการศึกษาพบวา่ มีการกาหนดสาขาภูมปิ ัญญาไทยไว้อย่างหลากหลาย ข้ึนอยกู่ บั วัตถปุ ระสงค์ และ หลกั เกณฑต์ ่างๆ ที่หนว่ ยงาน องคก์ ร และนกั วิชาการแต่ละทา่ นนามากาหนด ในภาพรวมภูมปิ ญั ญาไทย สามารถแบ่งได้เปน็ 10 สาขา ดงั น้ี 1. สาขาเกษตรกรรม หมายถึง ความสามารถในการผสมผสานองคค์ วามรู้ ทักษะ และ เทคนิคด้านการเกษตรกับเทคโนโลยี โดยการพัฒนาบนพน้ื ฐานคุณค่าดั้งเดมิ ซงึ่ คนสามารถพ่ึงพาตนเอง ในภาวการณต์ า่ งๆ ได้ เชน่ การทาเกษตรแบบผสมผสาน วนเกษตร เกษตรธรรมชาติ ไร่นาสวนผสม และสวน ผสมผสาน การแกป้ ัญหาการเกษตรดา้ นการตลาด การแก้ปญั หาดา้ นการผลิต การแก้ไขปญั หาโรคและแมลง และการรูจ้ กั ปรบั ใช้เทคโนโลยีท่เี หมาะสมกับการเกษตร เป็นต้น 2. สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม หมายถงึ การรู้จักประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ ในการแปรรปู ผลิตผล เพอื่ ชะลอการนาเข้าตลาด เพือ่ แกป้ ญั หาด้านการบรโิ ภคอย่างปลอดภัย ประหยัด และ เปน็ ธรรม อันเปน็ กระบวนการทท่ี าใหช้ ุมชนทอ้ งถิ่นสามารถพึ่งพาตนเองทางเศรษฐกิจได้ ตลอดทัง้ การผลิต และการจาหน่าย ผลติ ผลทางหตั ถกรรม เชน่ การรวมกลุ่มของกลมุ่ โรงงานยางพารา กล่มุ โรงสี กลมุ่ หตั ถกรรม เป็นต้น 3. สาขาการแพทยแ์ ผนไทย หมายถึง ความสามารถในการจัดการป้องกนั และรกั ษา สขุ ภาพของคนในชุมชน โดยเนน้ ใหช้ ุมชนสามารถพง่ึ พาตนเอง ทางดา้ นสุขภาพ และอนามัยได้ เชน่ การนวด แผนโบราณ การดูแลและรกั ษาสุขภาพแบบพนื้ บ้าน การดแู ลและรักษาสุขภาพแผนโบราณไทย เปน็ ตน้ 4. สาขาการจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม หมายถึง ความสามารถเกีย่ วกับ การจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม ทั้งการอนรุ กั ษ์ การพฒั นา และการใช้ประโยชนจ์ ากคณุ ค่าของ ทรพั ยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดลอ้ ม อยา่ งสมดุล และยั่งยนื เชน่ การทาแนวปะการังเทียม การอนรุ กั ษป์ ่าชาย เลน การจัดการป่าตน้ นา้ และปา่ ชุมชน เปน็ ตน้ 5. สาขากองทุนและธรุ กิจชุมชน หมายถึง ความสามารถในการบรหิ ารจัดการดา้ นการ สะสม และบริการกองทนุ และธุรกจิ ในชุมชน ทง้ั ทีเ่ ป็นเงินตรา และโภคทรัพย์ เพอ่ื สง่ เสริมชวี ิตความเปน็ อยู่ ของสมาชกิ ในชมุ ชน เช่น การจดั การเรื่องกองทนุ ของชุมชน ในรปู ของสหกรณอ์ อมทรพั ย์ และธนาคารหม่บู า้ น เปน็ ตน้

6. สาขาสวสั ดิการ หมายถงึ ความสามารถในการจัดสวสั ดิการในการประกนั คณุ ภาพชีวติ ของคน ให้เกดิ ความมัน่ คงทางเศรษฐกิจ สงั คมและวฒั นธรรม เชน่ การจัดต้ังกองทนุ สวัสดกิ ารรักษาพยาบาล ของชุมชน การจดั ระบบสวัสดกิ ารบรกิ ารในชุมชน การจัดระบบสง่ิ แวดลอ้ มในชุมชน เปน็ ตน้ 7. สาขาศิลปกรรม หมายถึง ความสามารถในการผลิตผลงานทางดา้ นศิลปะสาขาตา่ ง ๆ เชน่ จติ รกรรม ประตมิ ากรรม วรรณกรรม ทัศนศิลป์ คีตศิลป์ ศลิ ปะมวยไทย เป็นตน้ 8. สาขาการจัดการองค์กร หมายถึง ความสามารถในการบริหารจัดการดาเนินงานของ องคก์ รชมุ ชนตา่ งๆ ใหส้ ามารถพฒั นา และบรหิ ารองค์กรของตนเองได้ ตามบทบาท และหน้าทขี่ ององคก์ าร เชน่ การจดั การองคก์ รของกล่มุ แมบ่ ้าน กลุ่มออมทรัพย์ กลมุ่ ประมงพืน้ บา้ น เป็นต้น 9. สาขาภาษาและวรรณกรรม หมายถงึ ความสามารถผลติ ผลงานเก่ียวกบั ด้านภาษา ท้งั ภาษาถน่ิ ภาษาโบราณ ภาษาไทย และการใช้ภาษา ตลอดท้ังดา้ นวรรณกรรมทุกประเภท เช่น การจัดทา สารานกุ รมภาษาถิน่ การปรวิ รรต หนงั สือโบราณ การฟ้นื ฟูการเรียนการสอนภาษาถ่นิ ของทอ้ งถนิ่ ต่าง ๆ เปน็ ตน้ 10. สาขาศาสนาและประเพณี หมายถงึ ความสามารถประยกุ ต์ และปรับใช้หลักธรรมคา สอนทางศาสนา ความเชอ่ื และประเพณดี งั้ เดมิ ท่ีมีคณุ ค่าให้เหมาะสมตอ่ การประพฤตปิ ฏบิ ัติ ให้บังเกิดผลดตี ่อ บคุ คล และสิง่ แวดลอ้ ม เชน่ การถ่ายทอดหลักธรรมทางศาสนา ลักษณะความสัมพันธข์ องภมู ปิ ญั ญาไทยภูมิ ปญั ญาไทยสามารถสะทอ้ นออกมาใน 3 ลักษณะที่สมั พันธ์ใกลช้ ิดกัน คือ 10.1 ความสมั พนั ธ์อย่างใกลช้ ิดกันระหวา่ งคนกบั โลก สง่ิ แวดลอ้ ม สตั ว์ พชื และธรรมชาติ 10.2 ความสัมพนั ธ์ของคนกบั คนอื่นๆ ทอ่ี ยูร่ ่วมกนั ในสงั คม หรือในชมุ ชน 10.3 ความสัมพันธ์ระหวา่ งคนกับส่ิงศักดส์ิ ิทธส์ิ ่ิงเหนือธรรมชาติ ตลอดท้ังส่ิงท่ีไม่สามารถ สัมผัสได้ท้ังหลาย ทั้ง 3 ลักษณะนี้ คือ สามมิติของเรื่องเดียวกัน หมายถึง ชีวิตชุมชน สะท้อนออกมาถึงภูมิ ปัญญาในการดาเนินชีวิตอย่างมีเอกภาพ เหมือนสามมุมของรูปสามเหลี่ยม ภูมปิ ัญญา จึงเป็นรากฐานในการ ดาเนนิ ชวี ิตของคนไทย ซึง่ สามารถแสดงใหเ้ ห็นไดอ้ ย่างชดั เจนโดยแผนภาพ ดงั นี้ ลักษณะภมู ิปญั ญาทีเ่ กดิ จากความสัมพันธ์ ระหว่างคนกบั ธรรมชาตสิ ิง่ แวดล้อม จะแสดงออกมา ในลักษณะภูมิปญั ญาในการดาเนนิ วถิ ีชีวิตข้ันพื้นฐาน ด้านปจั จัยสี่ ซ่งึ ประกอบด้วย อาหาร เคร่ืองนุ่งห่ม ทอ่ี ยอู่ าศยั และยารกั ษาโรค ตลอดทง้ั การประกอบ อาชพี ตา่ งๆ เป็นต้นภมู ปิ ญั ญาท่เี กิดออกมาในลักษณะ จารตี ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ แลนันทนาการ ภาษา และวรรณกรรม ตลอดทง้ั การสื่อสารตา่ งๆ เปน็ ต้น ภูมิปญั ญาทเ่ี กิดจากความสมั พนั ธร์ ะหว่างคนกับสงิ่ ศกั ด์สิ ิทธิ์ ส่งิ เหนือธรรมชาติ จะแสดงออกมาใน ลักษณะของสิง่ ศักด์สิ ิทธ์ิ ศาสนา ความเชอ่ื ต่างๆ เปน็ ต้น

4. คุณคา่ และความสาคญั ของภูมิปัญญาไทย คุณค่าของภูมิปัญญาไทย ได้แก่ ประโยชน์ และความสาคัญของภูมิปัญญา ท่ีบรรพบุรุษไทย ได้ สร้างสรรค์ และสบื ทอดมาอย่างต่อเน่ือง จากอดีตสู่ปจั จบุ ัน ทาให้คนในชาติเกิดความรัก และความภาคภูมิใจ ท่ีจะรว่ มแรงร่วมใจสืบสานต่อไปในอนาคต เชน่ โบราณสถาน โบราณวตั ถุ สถาปตั ยกรรม ประเพณีไทย การมี นา้ ใจ ศกั ยภาพในการประสานผลประโยชน์ เปน็ ตน้ ภูมปิ ัญญาไทยจึงมีคุณค่า และความสาคญั ดังนี้ 1. ภมู ิปญั ญาไทยช่วยสรา้ งชาติให้เปน็ ปึกแผ่น พระมหากษัตริย์ไทยได้ใช้ภูมิปัญญาในการสร้างชาติ สร้างความเป็นปึกแผ่นให้แก่ ประเทศชาติมาโดยตลอด ต้ังแต่สมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช พระองค์ทรงปกครองประชาชน ด้วยพระ เมตตา แบบพ่อปกครองลูก ผู้ใดประสบความเดือดร้อน ก็สามารถตีระฆัง แสดงความเดือดร้อน เพ่ือขอรับ พระราชทานความช่วยเหลือ ทาให้ประชาชนมีความจงรักภักดีต่อพระองค์ ต่อประเทศชาติร่วมกันสร้าง บ้านเรอื นจนเจรญิ รุง่ เรืองเปน็ ปึกแผน่ สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช พระองค์ทรงใช้ภูมปิ ญั ญากระทายทุ ธหัตถี จนชนะข้าศึกศัตรูและ ทรงกอบกู้เอกราชของชาติไทยคืนมาได้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน พระองค์ทรงใช้ภูมิปัญญาสรา้ งคุณประโยชน์แก่ประเทศชาติ และเหล่าพสกนกิ รมากมายเหลือคณานบั ทรงใช้ พระปรีชาสามารถ แก้ไขวิกฤตการณ์ทางการเมอื ง ภายในประเทศ จนรอดพ้นภัยพิบตั ิหลายคร้งั พระองค์ทรง มพี ระปรีชาสามารถหลายดา้ น แม้แต่ด้านการเกษตร พระองคไ์ ดพ้ ระราชทานทฤษฎีใหมใ่ ห้แก่พสกนิกรท้งั ดา้ น การเกษตรแบบสมดุลและยั่งยืน ฟ้ืนฟูสภาพแวดล้อม นาความสงบร่มเย็นของประชาชนให้กลับคืนมา แนว พระราชดาริ \"ทฤษฎใี หม\"่ แบง่ ออกเป็น 2 ข้ัน โดยเริ่มจาก ขน้ั ตอนแรก ให้เกษตรกรรายยอ่ ย \"มีพออยู่ พอกนิ \" เปน็ ขั้นพนื้ ฐาน โดยการพฒั นาแหลง่ น้า ในไร่นา ซง่ึ เกษตรกรจาเป็นท่จี ะต้องได้รับความชว่ ยเหลือจาก หนว่ ยราชการ มูลนิธิ และหน่วยงานเอกชน ร่วมใจกันพฒั นาสงั คมไทย ในข้ันท่สี อง เกษตรกรตอ้ งมคี วามเขา้ ใจ ในการจัดการในไร่นาของตน และมีการรวมกลุ่มในรูปสหกรณ์ เพื่อสร้างประสิทธิภาพทางการผลิต และ การตลาด การลดรายจ่ายด้านความเป็นอยู่ โดยทรงตระหนักถึงบทบาทขององค์กรเอกชน เมื่อกลุ่มเกษตร ววิ ัฒนม์ าขั้นที่ 2 แลว้ ก็จะมศี ักยภาพ ในการพัฒนาไปสู่ขั้นทีส่ าม ซ่ึงจะมอี านาจในการต่อรองผลประโยชนก์ ับ สถาบันการเงินคือ ธนาคาร และองค์กรที่เป็นเจ้าของแหล่งพลังงาน ซ่ึงเป็นปัจจัยหน่ึงในการผลิต โดยมีการ แปรรูปผลติ ผล เชน่ โรงสี เพ่ือเพิ่มมูลค่าผลติ ผล และขณะเดียวกนั มีการจัดตง้ั ร้านค้าสหกรณ์ เพ่ือลดค่าใช้จ่าย ในชีวิตประจาวัน อันเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลในสังคม จะเห็นได้ว่า มิได้ทรงทอดทิ้งหลักของ ความสามัคคีในสังคม และการจัดตั้งสหกรณ์ ซ่ึงทรงสนับสนุนให้กลุ่มเกษตรกรสร้างอานาจต่อรองในระบบ เศรษฐกจิ จึงจะมีคุณภาพชีวิตที่ดี จึงจัดได้ว่า เป็นสังคมเกษตรที่พฒั นาแล้ว สมดงั พระราชประสงค์ทท่ี รงอุทิศ พระวรกาย และพระสตปิ ญั ญา ในการพัฒนาการเกษตรไทยตลอดระยะเวลาแหง่ การครองราชย์ 2. สร้างความภาคภูมิใจ และศักด์ิศรี เกียรติภูมิแก่คนไทย คนไทยในอดีตท่ีมีความสามารถปรากฏในประวัติศาสตร์มีมาก เป็นที่ยอมรับของนานาอารยประเทศ เช่น นายขนมตม้ เปน็ นักมวยไทย ท่มี ฝี ีมือเกง่ ในการใชอ้ วัยวะทุกสว่ น ทกุ ทา่ ของแมไ่ ม้มวยไทย สามารถชกมวย ไทย จนชนะพมา่ ไดถ้ ึงเก้าคนสิบคนในคราวเดยี วกนั แมใ้ นปัจจุบัน มวยไทยก็ยังถือว่า เป็นศลิ ปะช้ันเยี่ยม เป็น ที่ นิยมฝึกและแขง่ ขันในหมู่คนไทยและชาวตา่ ง ประเทศ ปจั จบุ ันมีค่ายมวยไทยท่ัวโลกไมต่ ่ากว่า 30,000 แห่ง ชาวต่างประเทศทไ่ี ด้ฝึกมวยไทย จะรู้สึกยนิ ดแี ละภาคภมู ิใจ ในการท่ีจะใช้กติกา ของมวยไทย เชน่ การไหว้ครู มวยไทย การออก คาสงั่ ในการชกเป็นภาษาไทยทุกคา เช่น คาว่า \"ชก\" \"นับหน่ึงถึงสิบ\" เป็นตน้ ถอื เป็นมรดก ภูมิปัญญาไทย นอกจากนี้ ภูมิปัญญาไทยท่ีโดด เด่นยังมีอีกมากมาย เช่น มรดกภูมิปัญญาทาง ภาษาและ วรรณกรรม โดยที่มีอักษรไทยเป็นของ ตนเองมาต้ังแต่สมัยกรุงสุโขทัย และวิวัฒนาการมาจนถึงปัจจุบัน

วรรณกรรมไทยถือว่า เปน็ วรรณกรรมท่ีมคี วามไพเราะ ได้อรรถรสครบทกุ ด้าน วรรณกรรมหลายเร่อื งไดร้ ับการ แปลเป็นภาษาต่างประเทศหลายภาษา ด้านอาหาร อาหารไทยเปน็ อาหารที่ปรุงง่าย พชื ที่ใช้ประกอบอาหาร ส่วนใหญ่เป็นพืชสมุนไพร ที่หาได้ง่ายในท้องถ่ิน และราคาถูก มี คุณค่าทางโภชนาการ และยังป้องกันโรคได้ หลายโรค เพราะสว่ นประกอบสว่ นใหญเ่ ปน็ พืชสมนุ ไพร เช่น ตะไคร้ ขิง ข่า กระชาย ใบมะกรูด ใบโหระพา ใบ กะเพรา เปน็ ตน้ 3. สามารถปรับประยุกตห์ ลกั ธรรมคาสอนทางศาสนาใชก้ ับวถิ ีชีวิตได้อยา่ งเหมาะสม คนไทยส่วนใหญน่ บั ถือศาสนาพุทธ โดยนาหลักธรรมคาสอนของศาสนา มาปรบั ใชใ้ นวถิ ชี ีวิต ได้อย่างเหมาะสม ทาใหค้ นไทยเป็นผู้อ่อนน้อมถอ่ มตน เออื้ เฟ้ือเผื่อแผ่ ประนีประนอม รักสงบ ใจเย็น มีความ อดทน ให้อภัยแกผ่ ู้สานึกผิด ดารงวิถีชีวิตอย่างเรยี บงา่ ย ปกติสขุ ทาให้คนในชุมชนพ่งึ พากันได้ แม้จะอดอยาก เพราะ แห้งแล้ง แต่ไมม่ ีใครอดตาย เพราะพึ่งพาอาศัย กัน แบ่งปนั กันแบบ \"พริกบ้านเหนอื เกลือบ้านใต\"้ เป็น ต้น ท้ังหมดนี้สืบเน่ืองมาจากหลักธรรมคาสอนของพระพุทธศาสนา เป็นการใช้ภูมิปัญญา ในการนาเอาหลัก ของพระพุทธศาสนามา ประยุกต์ใช้กับชีวิตประจาวัน และดาเนินกุศโลบาย ด้านต่างประเทศ จนทาให้ชาว พุทธท่ัวโลกยกย่อง ให้ประเทศไทยเป็นผนู้ าทางพทุ ธศาสนา และเป็น ที่ตั้งสานักงานใหญ่องคก์ ารพุทธศาสนิก สัมพันธ์ แห่งโลก (พสล.) อยู่เยื้องๆ กับอุทยานเบญจสิริ กรุงเทพมหานคร โดยมีคนไทย ( ฯพณฯ สัญญา ธรรมศักด์ิ องคมนตรี) ดารงตาแหนง่ ประธาน พสล. ต่อจาก ม.จ.หญงิ พนู พิศมัย ดศิ กลุ 4. สร้างความสมดลุ ระหว่างคนในสังคม และธรรมชาตไิ ดอ้ ย่างยง่ั ยนื ภูมิปัญญาไทยมีความเดน่ ชดั ในเรอื่ งของการยอมรบั นับถอื และใหค้ วามสาคัญแกค่ น สังคม และธรรมชาตอิ ย่างยิง่ มีเครื่องชีท้ ่ีแสดงให้เห็นไดอ้ ย่างชัดเจนมากมาย เช่น ประเพณไี ทย 12 เดอื น ตลอดทั้งปี ลว้ นเคารพคุณคา่ ของธรรมชาติ ไดแ้ ก่ ประเพณสี งกรานต์ ประเพณีลอยกระทง เปน็ ตน้ ประเพณสี งกรานต์เป็น ประเพณีท่ีทาใน ฤดูร้อนซ่ึงมีอากาศร้อน ทาให้ต้องการความเย็น จึงมีการรดน้าดาหัว ทาความสะอาด บ้านเรือน และธรรมชาติส่ิงแวดล้อม มีการแห่นางสงกรานต์ การทานายฝนว่าจะตกมากหรือน้อยในแต่ละปี สว่ นประเพณลี อยกระทง คุณค่าอยู่ที่การบชู า ระลกึ ถงึ บญุ คุณของนา้ ทหี่ ล่อเลีย้ งชีวติ ของ คน พืช และสตั ว์ ให้ ได้ใช้ท้ังบริโภคและอุปโภค ในวันลอยกระทง คนจึงทาความสะอาดแม่น้า ลาธาร บูชาแม่น้าจากตัวอย่าง ข้างต้น ล้วนเป็น ความสมั พนั ธ์ระหว่างคนกับสงั คมและธรรมชาติ ทงั้ สนิ้ ในการรกั ษาปา่ ไมต้ น้ น้าลาธาร ได้ประยกุ ต์ใหม้ ปี ระเพณกี ารบวชป่า ให้คนเคารพสิง่ ศกั ด์สิ ิทธิ์ ธรรมชาติ และสภาพแวดล้อม ยังความอุดมสมบูรณ์แก่ต้นน้า ลาธาร ให้ฟ้ืนสภาพกลับคืนมาได้มาก อาชีพ การเกษตรเป็นอาชพี หลกั ของคนไทย ทีค่ านงึ ถงึ ความสมดลุ ทาแต่นอ้ ยพออย่พู อกิน แบบ \"เฮ็ดอย่เู ฮ็ดกนิ \" ของ พ่อทองดี นันทะ เมื่อเหลือกิน กแ็ จกญาติพ่ีน้อง เพ่ือนบ้าน บา้ นใกล้เรอื นเคียง นอกจากนี้ ยังนาไปแลกเปลีย่ น กับสง่ิ ของอย่างอื่น ท่ตี นไมม่ ี เมื่อเหลือใช้จริงๆ จึงจะนาไปขาย อาจกลา่ วไดว้ ่า เป็นการเกษตรแบบ \"กนิ -แจก- แลก-ขาย\" ทาให้คนในสงั คมได้ช่วยเหลือเกื้อกูล แบ่งปันกัน เคารพรัก นับถอื เป็นญาตกิ ัน ทั้งหม่บู ้าน จึงอยู่ รว่ มกันอย่างสงบสุข มคี วามสัมพันธ์กนั อย่างแนบแน่น ธรรมชาติไม่ถูกทาลายไปมากนัก เนือ่ งจากทาพออยูพ่ อ กิน ไม่โลภมากและไม่ทาลายทุกอย่างผิด กบั ในปจั จุบัน ถอื เป็นภมู ิปญั ญาทีส่ รา้ งความ สมดลุ ระหวา่ งคน สังคม และธรรมชาติ 5. เปลีย่ นแปลงปรับปรุงไดต้ ามยคุ สมยั แมว้ า่ กาลเวลาจะผา่ นไป ความรู้สมยั ใหม่ จะหล่งั ไหลเข้ามามาก แต่ภูมปิ ญั ญาไทย ก็สามารถ ปรบั เปลยี่ นให้เหมาะสมกับยุคสมัย เช่น การรูจ้ กั นาเคร่อื งยนต์มาติดต้ังกับเรือ ใส่ใบพดั เป็นหางเสอื ทาให้เรือ สามารถแล่นได้เร็วขึ้น เรียกว่า เรือหางยาว การรู้จักทาการเกษตรแบบผสมผสาน สามารถพลิกฟ้ืนคืน ธรรมชาติให้ อุดมสมบูรณแ์ ทนสภาพเดิมทถี่ ูกทาลายไป การรู้จักออมเงนิ สะสมทุนให้สมาชิกกู้ยืม ปลดเปลอื้ ง

หนีส้ นิ และจัดสวัสดกิ ารแกส่ มาชิก จนชมุ ชนมคี วามม่นั คง เขม้ แขง็ สามารถช่วยตนเองไดห้ ลายรอ้ ยหมบู่ า้ นทั่ว ประเทศ เช่น กลุ่มออมทรพั ย์คีรีวง จังหวดั นครศรธี รรมราช จัดในรูปกองทุนหมุนเวียนของชุมชน จนสามารถ ช่วยตนเองได้ เม่อื ป่าถูกทาลาย เพราะถูกตดั โค่น เพ่อื ปลกู พชื แบบเดีย่ วตามภูมิปัญญาสมยั ใหม่ทหี่ วงั รา่ รวย แตใ่ นท่ีสดุ กข็ าดทนุ และมีหน้ีสนิ สภาพแวดลอ้ มสูญเสียเกดิ ความแห้งแล้ง คนไทยจงึ คิดปลกู ปา่ ที่กินได้ มพี ืช สวน พืชป่าไม้ผล พชื สมุนไพร ซึ่งสามารถมีกินตลอดชวี ิตเรยี กว่า \"วนเกษตร\" บางพ้ืนที่ เมื่อป่าชุมชนถกู ทาลาย คนในชุมชนก็รวมตัวกัน เป็นกลุ่มรักษาป่า ร่วมกันสร้างระเบียบ กฎเกณฑ์กันเอง ให้ทุกคนถือปฏิบัติได้ สามารถรักษาป่าได้อย่างสมบูรณ์ดังเดิม เมื่อปะการังธรรมชาติถูกทาลาย ปลาไม่มีท่ีอยู่อาศัย ประชาชน สามารถสร้าง \"อูหยัม\" ข้ึน เป็นปะการังเทียม ให้ปลาอาศัยวางไข่ และแพร่พันธุ์ให้เจริญเติบโตมีจานวนมาก ดังเดิม ได้ ถอื เปน็ การใช้ภูมปิ ญั ญาปรบั ปรุงประยกุ ต์ใชไ้ ดต้ ามยุคสมยั สารานกุ รมไทยสาหรบั เยาวชนฯ เลม่ ที่ 19 ให้ความหมายของคาว่า ภูมปิ ัญญาชาวบ้าน หมายถึง ความรูข้ องชาวบ้าน ซงึ่ ได้มาจากประสบการณ์ และความเฉลียวฉลาดของชาวบ้าน รวมทั้งความรู้ท่ี สง่ั สมมาแตบ่ รรพบุรุษ สืบทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปสคู่ นอีกรุ่นหนงึ่ ระหวา่ งการสืบทอดมีการปรับ ประยุกต์ และ เปลี่ยนแปลง จนอาจเกิดเปน็ ความรู้ใหม่ตามสภาพการณ์ทางสังคมวัฒนธรรม และ สงิ่ แวดล้อม ภมู ิปัญญาเปน็ ความรูท้ ีป่ ระกอบไปดว้ ยคณุ ธรรม ซ่งึ สอดคลอ้ งกบั วถิ ีชีวติ ดัง้ เดมิ ของชาวบา้ น ในวิถีด้งั เดิมน้ัน ชีวิตของชาวบ้านไม่ได้แบ่งแยกเป็นส่วนๆ หากแตท่ ุกอยา่ งมีความสัมพันธ์กัน การทามาหากิน การอยู่ร่วมกันในชุมชน การปฏิบัติศาสนา พิธีกรรมและประเพณี ความรู้เป็นคุณธรรม เมื่อผู้คนใชค้ วามรู้น้ัน เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหวา่ ง คนกับคน คนกบั ธรรมชาติ และคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ ความสัมพนั ธท์ ี่ดี เป็นความสัมพันธ์ที่มีความสมดุล ที่เคารพกันและกัน ไม่ทาร้ายทาลายกัน ทาให้ทุกฝ่ายทุกส่วนอยู่ร่วมกันได้ อย่างสันติ ชุมชนด้ังเดิมจึงมีกฎเกณฑ์ของการอยู่ร่วมกัน มีคนเฒ่าคนแก่เป็นผู้นา คอยให้คาแนะนาตักเตือน ตัดสิน และลงโทษหากมีการละเมิด ชาวบ้านเคารพธรรมชาติรอบตัว ดิน น้า ป่า เขา ข้าว แดด ลม ฝน โลก และจักรวาล ชาวบ้านเคารพผู้หลักผู้ใหญ่ พ่อแม่ ปู่ย่าตายาย ทั้งทม่ี ีชีวิตอยู่และล่วงลบั ไปแล้ว ภมู ิปัญญาจึง เป็นความรู้ที่มีคุณธรรม เป็นความรู้ที่มีเอกภาพของทุกส่ิงทุกอย่าง เป็นความรู้ว่า ทุกสิ่งทุกอย่างสัมพันธ์กัน อย่างมีความสมดุล เราจึงยกย่องความรู้ข้ันสูงส่ง อันเป็นความรู้แจ้งในความจริงแห่งชีวิตน้ีว่า \"ภูมิปัญญา\" ความคิดและการแสดงออก เพ่ือจะเขา้ ใจภูมิปญั ญาชาวบ้าน จาเป็นต้องเข้าใจความคิดของชาวบ้านเก่ียวกับ โลก หรือที่เรียกว่า โลกทัศน์ และเกี่ยวกับชีวิต หรือท่ีเรียกว่า ชีวทัศน์ ส่ิงเหล่านี้เป็นนามธรรม อันเกี่ยวข้อง สัมพันธ์โดยตรงกับการแสดงออกใน ลักษณะต่างๆ ท่ีเป็นรูปธรรม แนวคิดเรื่องความสมดุลของชีวิต เป็น แนวคิดพ้นื ฐานของภมู ิปัญญาชาวบ้าน การแพทย์แผนไทย หรือที่เคยเรียกกันว่า การแพทย์แผนโบราณน้นั มี หลักการว่า คนมีสุขภาพดี เมื่อร่างกายมีความสมดุลระหว่างธาตุทั้ง ๔ คือ ดิน น้า ลม ไฟ คนเจ็บไข้ได้ป่วย เพราะธาตุขาดความสมดุล จะมีการปรับธาตุ โดยใช้ยาสมุนไพร หรือวิธีการอื่นๆ คนเป็นไข้ตัวร้อน หมอยา พ้นื บ้านจะให้ยาเย็น เพอ่ื ลดไข้ เปน็ ต้น การดาเนินชีวิตประจาวันก็เช่นเดียวกนั ชาวบ้านเชอ่ื ว่า จะต้องรักษา ความสมดุลในความสัมพันธ์สามด้าน คือ ความสัมพันธ์กับคนในครอบครัว ญาติพี่น้อง เพื่อนบ้านในชุมชน ความสมั พนั ธ์ทด่ี ีมหี ลกั เกณฑ์ ทบี่ รรพบรุ ุษได้ส่ังสอนมา เชน่ ลกู ควรปฏบิ ตั อิ ย่างไรกับพ่อแม่ กับญาติพีน่ อ้ ง กับ ผู้สูงอายุ คนเฒ่าคนแก่ กับเพ่ือนบ้าน พ่อแม่ควรเล้ียงดูลูกอย่างไร ความเอื้ออาทรต่อกันและกัน ช่วยเหลือ เก้ือกูลกัน โดยเฉพาะในยามทกุ ข์ยาก หรือมีปญั หา ใครมีความสามารถพิเศษก็ใช้ความสามารถน้ันช่วยเหลือ ผู้อน่ื เชน่ บางคนเปน็ หมอยา ก็ชว่ ยดแู ลรักษาคนเจ็บป่วยไมส่ บาย โดยไมค่ ิดค่ารกั ษา มแี ตเ่ พียงการยกครู หรือ การราลึกถึงครูบาอาจารย์ท่ีประสาทวิชามาให้เท่านั้น หมอยาต้องทามาหากิน โดยการทานา ทาไร่ เล้ียงสัตว์ เหมอื นกับชาวบา้ นอื่นๆ บางคนมคี วามสามารถพเิ ศษด้านการทามาหากนิ กช็ ว่ ยสอนลกู หลานให้มวี ชิ าไปดว้ ย

ความสัมพนั ธร์ ะหว่างคนกบั คนในครอบครัว ในชมุ ชน มกี ฎเกณฑ์เปน็ ขอ้ ปฏิบัติ และข้อหา้ ม อย่างชดั เจน มกี ารแสดงออกทางประเพณี พธิ กี รรม และกจิ กรรมตา่ งๆ เช่น การรดนา้ ดาหวั ผใู้ หญ่ การบายศรี สูข่ วัญ เป็นตน้ ความสมั พนั ธ์กบั ธรรมชาติ ผู้คนสมัยก่อนพ่งึ พาอาศยั ธรรมชาติแทบทุกดา้ น ต้งั แต่อาหารการ กิน เครอ่ื งนุ่งห่ม ทอ่ี ยู่อาศยั และยารักษาโรค วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยยี ังไม่พฒั นาก้าวหนา้ เหมือนทกุ วันนี้ ยังไมม่ รี ะบบการค้าแบบสมัยใหม่ ไมม่ ตี ลาด คนไปจบั ปลาล่าสัตว์ เพื่อเปน็ อาหารไปวนั ๆ ตัดไม้ เพ่ือสรา้ งบ้าน และใชส้ อยตามความจาเป็นเทา่ น้นั ไมไ่ ดท้ าเพอื่ การคา้ ชาวบา้ นมหี ลักเกณฑใ์ นการใช้สง่ิ ของในธรรมชาติ ไม่ ตดั ไมอ้ อ่ น ทาใหต้ ้นไมใ้ นปา่ ข้ึนแทนตน้ ทถ่ี กู ตดั ไปไดต้ ลอดเวลา ชาวบา้ นยังไม่รจู้ กั สารเคมี ไม่ใช้ยาฆา่ แมลง ฆ่าหญ้า ฆ่าสัตว์ ไมใ่ ชป้ ยุ๋ เคมี ใช้ส่งิ ของในธรรมชาตใิ หเ้ กอ้ื กูลกัน ใชม้ ลู สตั ว์ ใบไมใ้ บ หญ้าที่เนา่ เปอื่ ยเปน็ ปุย๋ ทาใหด้ ินอุดมสมบรู ณ์ น้าสะอาด และไมเ่ หอื ดแห้ง ชาวบ้านเคารพธรรมชาติ เชอ่ื ว่า มเี ทพมีเจ้าสถติ อยใู่ นดนิ น้า ป่า เขา สถานที่ทุกแหง่ จะทาอะไรตอ้ งขออนญุ าต และทาดว้ ยความเคารพ และพอดี พองาม ชาวบา้ น รู้คณุ ธรรมชาติ ทีไ่ ด้ใหช้ ีวติ แก่ตน พิธีกรรมต่างๆ ลว้ นแสดงออกถงึ แนวคดิ ดังกล่าว เช่น งานบญุ พิธี ท่เี ก่ียวกับ นา้ ขา้ ว ปา่ เขา รวมถงึ สตั ว์ บ้านเรือน เครอื่ งใชต้ ่างๆ มีพธิ ีสูข่ วัญขา้ ว สขู่ วญั ควาย สู่ขวญั เกวยี น ทางอีสานมี พธิ ีแฮกนา หรือแรกนา เล้ียงผตี าแฮก มีงานบุญบา้ น เพอื่ เล้ียงผี หรอื สิ่งศักดส์ิ ทิ ธ์ิประจาหมบู่ ้าน เป็นตน้ ความสมั พนั ธ์กับสง่ิ เหนือธรรมชาติ ชาวบา้ นร้วู ่า มนษุ ยเ์ ปน็ เพียงสว่ นเล็กๆ ส่วนหน่ึง ของ จักรวาล ซ่ึงเต็มไปด้วยความเร้นลับ มีพลัง และอานาจ ที่เขาไม่อาจจะหาคาอธิบายได้ ความเร้นลับดังกล่าว รวมถงึ ญาตพิ ี่น้อง และผู้คนที่ลว่ งลับไปแล้ว ชาวบ้านยงั สัมพันธ์กับพวกเขา ทาบุญ และราลกึ ถึงอย่างสม่าเสมอ ทุกวัน หรือในโอกาสสาคัญๆ นอกน้ันเป็นผีดี ผีร้าย เทพเจ้าต่างๆ ตามความเชื่อของแต่ละแห่ง สิ่งเหล่านี้สิง สถิตอยใู่ นสิง่ ตา่ งๆ ในโลก ในจกั รวาล และอยู่บนสรวงสวรรค์การทามาหากิน แม้วิถชี วี ิตของชาวบ้านเมือ่ กอ่ นจะดูเรียบงา่ ยกวา่ ทุกวนั นี้ และยงั อาศยั ธรรมชาติ และ แรงงานเปน็ หลกั ในการทามาหากิน แตพ่ วกเขาก็ตอ้ งใช้สติปญั ญา ท่ีบรรพบุรุษถ่ายทอดมาให้ เพ่อื จะไดอ้ ยู่ รอด ทั้งนเี้ พราะปัญหาต่างๆ ในอดตี ก็ยงั มีไม่นอ้ ย โดยเฉพาะเมอื่ ครอบครวั มสี มาชกิ มากข้นึ จาเป็นต้องขยาย ที่ทากนิ ตอ้ งหกั ร้างถางพง บุกเบกิ พ้นื ทที่ ากนิ ใหม่ การปรับพ้ืนท่ีป้นั คันนา เพือ่ ทานา ซ่ึงเปน็ งานทีห่ นกั การ ทาไรท่ านา ปลูกพืชเลี้ยงสัตว์ และดแู ลรักษาให้เติบโต และไดผ้ ล เปน็ งานท่ีต้องอาศยั ความรู้ความสามารถ การจับปลาลา่ สัตวก์ ม็ ีวธิ กี าร บางคนมีความสามารถมากรูว้ ่า เวลาไหน ทีใ่ ด และวธิ ีใด จะจับปลาได้ดีทีส่ ดุ คน ทีไ่ มเ่ ก่งก็ตอ้ งใชเ้ วลานาน และไดป้ ลานอ้ ย การล่าสัตว์กเ็ ชน่ เดยี วกนั การจัดการแหล่งน้า เพ่ือการเกษตร ก็เป็นความรู้ความสามารถ ท่ีมีมาแต่โบราณ คนทาง ภาคเหนือรู้จักบริหารน้า เพื่อการเกษตร และเพื่อการบริโภคต่างๆ โดยการจัดระบบเหมืองฝาย มีการจัด แบ่งปันน้ากันตามระบบประเพณีท่ี สืบทอดกันมา มีหัวหน้าท่ีทุกคนยอมรับ มีคณะกรรมการจัดสรรน้าตาม สัดส่วน และตามพน้ื ทีท่ ากิน นับเปน็ ความรู้ท่ีทาใหช้ ุมชนต่างๆ ทีอ่ าศยั อยู่ใกลล้ าน้า ไมว่ ่าต้นน้า หรือปลายน้า ได้รับการแบง่ ปนั นา้ อย่างยุตธิ รรม ทกุ คนไดป้ ระโยชน์ และอย่รู ่วมกันอยา่ งสันติ ชาวบ้านรูจ้ ักการแปรรปู ผลิตผลในหลายรูปแบบ การถนอมอาหารให้กินไดน้ าน การดองการ หมกั เช่น ปลารา้ นา้ ปลา ผักดอง ปลาเค็ม เน้ือเค็ม ปลาแหง้ เน้ือแหง้ การแปรรูปขา้ ว กท็ าได้มากมายนับร้อย ชนิด เช่น ขนมต่างๆ แต่ละพิธีกรรม และแต่ละงานบุญประเพณี มีข้าวและขนมในรูปแบบไม่ซ้ากัน ต้ังแต่ ขนมจีน สังขยา ไปถึงขนมในงานสารท กาละแม ขนมครก และอ่ืนๆ ซึ่งยังพอมีให้เห็นอยู่จานวนหน่ึง ใน ปัจจุบันส่วนใหญ่ปรบั เปล่ยี นมาเป็นการผลิตเพือ่ ขาย หรือเปน็ อตุ สาหกรรมในครวั เรือน ความรเู้ รอื่ งการปรุงอาหารกม็ อี ยมู่ ากมาย แตล่ ะท้องถิ่นมีรูปแบบ และรสชาตแิ ตกตา่ งกันไป มีมากมายนับร้อยนับพันชนิด แม้ในชีวิตประจาวนั จะมีเพยี งไมก่ ี่อย่าง แต่โอกาสงานพิธี งาน เลี้ยง งานฉลอง สาคญั จะมีการจดั เตรยี มอาหารอยา่ งดี และพิถพี ิถัน การทามาหากินในประเพณเี ดิมน้ัน เป็นท้ังศาสตร์และ

ศิลป์ การเตรียมอาหาร การจัดขนม และผลไม้ ไม่ได้เป็นเพียงเพ่ือให้รับประทานแล้วอร่อย แต่ให้ได้ความ สวยงาม ทาให้สามารถสัมผัสกับอาหารน้ัน ไม่เพียงแต่ทางปาก และรสชาติของล้ิน แต่ทางตา และทางใจ การ เตรียมอาหารเป็นงานศิลปะ ที่ปรุงแต่ด้วยความตั้งใจ ใช้เวลา ฝีมือ และความรู้ความสามารถ ชาวบ้าน สมยั ก่อนสว่ นใหญจ่ ะทานาเปน็ หลัก เพราะเมื่อมขี า้ วแล้ว ก็สบายใจ อยา่ งอ่ืนพอหาได้จากธรรมชาติ เสร็จหน้า นาก็จะทางานหัตถกรรม การทอผ้า ทาเสอ่ื เลี้ยงไหม ทาเครือ่ งมือ สาหรับจับสัตว์ เครื่องมือการเกษตร และ อุปกรณ์ตา่ งๆ ท่จี าเป็น หรือเตรียมพ้ืนที่ เพือ่ การทานาครัง้ ต่อไป หัตถกรรมเปน็ ทรพั ย์สนิ และมรดกทางภมู ปิ ญั ญาทย่ี ิง่ ใหญ่ที่สุดอย่างหน่งึ ของบรรพบรุ ษุ เพราะเป็นส่ือที่ถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก ความคิด ความเชื่อ และคุณคา่ ต่างๆ ท่ีสงั่ สมมาแต่นมนาน ลายผ้า ไหม ผา้ ฝา้ ย ฝีมอื ในการทออย่างประณีต รปู แบบเครื่องมอื ที่สานด้วยไมไ้ ผ่ และอปุ กรณ์ เครื่องใชไ้ มส้ อยตา่ งๆ เคร่ืองดนตรี เคร่ืองเล่น สิ่งเหลา่ น้ีไดถ้ ูกบรรจงสร้างขึ้นมา เพ่ือการใช้สอย การทาบุญ หรือการอุทิศให้ใครคน หนงึ่ ไมใ่ ชเ่ พือ่ การคา้ ขาย ชาวบ้านทามาหากินเพยี งเพ่ือการยังชีพ ไมไ่ ดท้ าเพอ่ื ขาย มกี ารนาผลิตผลส่วนหนึ่ง ไปแลกสงิ่ ของท่ีจาเป็น ท่ีตนเองไม่มี เช่น นาข้าวไป แลกเกลือ พริก ปลา ไก่ หรอื เส้อื ผ้า การขายผลิตผลมีแต่ เพียงส่วนน้อย และเม่ือมีความจาเป็นต้องใช้เงิน เพื่อเสียภาษีให้รัฐ ชาวบ้านนาผลิตผล เช่น ข้าว ไปขายใน เมอื งให้กับพ่อคา้ หรือขายให้กับพ่อค้าท้องถิน่ เช่น ทางภาคอีสาน เรียกว่า \"นายฮอ้ ย\" คนเหลา่ น้ีจะนาผลิตผล บางอยา่ ง เชน่ ขา้ ว ปลารา้ วัว ควาย ไปขายในท่ีไกลๆ ทางภาคเหนือมพี ่อคา้ วัวต่างๆ เปน็ ตน้ แมว้ ่าความร้เู รอ่ื งการค้าขายของคนสมัยกอ่ น ไมอ่ าจจะนามาใช้ในระบบตลาดเชน่ ปจั จบุ นั ได้ เพราะสถานการณไ์ ด้เปล่ียนแปลงไปอยา่ งมาก แต่การค้าที่มจี ริยธรรมของพอ่ ค้าในอดตี ท่ไี ม่ไดห้ วงั แตเ่ พยี ง กาไร แต่คานงึ ถงึ การช่วยเหลอื แบ่งปนั กนั เปน็ หลัก ยงั มีคณุ คา่ สาหรับปัจจุบนั นอกนน้ั ในหลายพ้ืนที่ใน ชนบท ระบบการแลกเปล่ยี นสิ่งของยงั มีอยู่ โดยเฉพาะในพื้นทีย่ ากจน ซ่งึ ชาวบ้านไม่มเี งินสด แตม่ ีผลิตผลต่างๆ ระบบการแลกเปลี่ยนไม่ได้ยึดหลักมาตราช่ังวัด หรือการตีราคาของส่ิงของ แต่แลกเปลี่ยน โดยการคานึงถึง สถานการณ์ของผู้แลกทง้ั สองฝ่าย คนที่เอาปลาหรือไก่มาขอแลกขา้ ว อาจจะได้ข้าวเปน็ ถัง เพราะเจ้าของข้าว คานงึ ถึงความจาเปน็ ของครอบครวั เจ้าของไก่ ถ้าหากตรี าคาเป็นเงนิ ขา้ วหนึ่งถงั ย่อมมีคา่ สูงกวา่ ไก่หนง่ึ ตัว การอยรู่ ่วมกันในสังคม การอยู่ร่วมกันในชุมชนด้ังเดิมนั้น ส่วนใหญ่จะเป็นญาตพิ ี่น้องไมก่ ่ีตระกูล ซึ่งได้อพยพย้ายถ่ินฐานมา อยู่ หรือสืบทอดบรรพบุรุษจนนับญาติกันได้ทั้งชุมชน มีคนเฒ่าคนแก่ที่ชาวบ้านเคารพนับถือเป็นผู้นาหน้าท่ี ของผู้นา ไม่ใช่การส่ัง แต่เป็นผู้ให้คาแนะนาปรึกษา มีความแม่นยาในกฎระเบียบประเพณีการดาเนินชีวิต ตดั สินไกลเ่ กลี่ย หากเกิดความขัดแย้ง ช่วยกนั แก้ไขปญั หาต่างๆ ที่เกิดขน้ึ ปัญหาในชุมชนก็มไี มน่ อ้ ย ปัญหาการ ทามาหากิน ฝนแล้ง น้าท่วม โรคระบาด โจรลกั วัวควาย เปน็ ต้น นอกจากนั้น ยังมีปญั หาความขัดแย้งภายใน ชมุ ชน หรือระหว่างชุมชน การละเมิดกฎหมาย ประเพณี ส่วนใหญ่จะเป็นการ \" ผิดผี\" คือ ผีของบรรพบุรษุ ผู้ ซงึ่ ไดส้ รา้ งกฎเกณฑ์ต่างๆ ไว้ เช่น กรณีท่ีชายหนุ่มถูกเน้ือต้องตวั หญิงสาวที่ยังไม่แต่งงาน เปน็ ต้น หากเกดิ การ ผิดผีขน้ึ มา ก็ต้องมีพิธีกรรมขอขมา โดยมีคนเฒ่าคนแก่เปน็ ตัวแทนของบรรพบุรุษ มีการว่ากล่าวสัง่ สอน และ ชดเชยการทาผิดนั้น ตามกฎเกณฑ์ท่ีวางไว้ ชาวบ้านอยู่อย่างพึ่งพาอาศัยกัน ยามเจ็บไข้ได้ป่วย ยามเกิด อบุ ตั ิเหตุเภทภัย ยามทโี่ จรขโมยววั ควายข้าวของ การช่วยเหลือกันทางานทเี่ รยี กกันว่า การลงแขก ทง้ั แรงกาย แรงใจที่มีอยู่ก็จะแบง่ ปันช่วยเหลือ เออ้ื อาทรกัน การ แลกเปลี่ยนสิ่งของ อาหารการกิน และอ่นื ๆ จึงเกี่ยวข้อง กับวิถีของชุมชน ชาวบ้านช่วยกันเก็บเกี่ยวข้าว สร้างบ้าน หรืองานอื่นที่ต้องการคนมากๆ เพ่ือจะได้เสร็จ โดยเรว็ ไม่มกี ารจา้ ง

กรณตี ัวอยา่ งจากการปลกู ข้าวของชาวบ้าน ถ้าปหี นง่ึ ชาวนาปลูกขา้ วไดผ้ ลดี ผลิตผลท่ีไดจ้ ะใชเ้ พ่ือการ บรโิ ภคในครอบครัว ทาบุญทวี่ ดั เผ่ือแผใ่ ห้พ่นี ้องทข่ี าดแคลน แลกของ และเกบ็ ไว้ เผ่ือวา่ ปีหนา้ ฝนอาจแล้ง น้า อาจท่วม ผลิตผล อาจไมด่ ีในชมุ ชนต่างๆ จะมผี มู้ ีความรูค้ วามสามารถหลากหลาย บางคนเกง่ ทางการรักษา โรค บางคนทางการเพาะปลูกพืช บางคนทางการเลีย้ งสัตว์ บางคนทางดา้ นดนตรีการละเล่น บางคนเกง่ ทางดา้ นพิธีกรรม คนเหลา่ นต้ี า่ งก็ใช้ความสามารถ เพือ่ ประโยชน์ของชมุ ชน โดยไม่ถือเป็นอาชพี ทีม่ ี ค่าตอบแทน อยา่ งมากก็มี \"คา่ ครู\" แตเ่ พยี งเล็กน้อย ซึ่งปกติแล้ว เงินจานวนน้ัน กใ็ ชส้ าหรบั เครอ่ื งมือประกอบ พธิ ีกรรม หรอื เพ่อื ทาบญุ ที่วัด มากกว่าทหี่ มอยา หรอื บุคคลผ้นู น้ั จะเก็บไวใ้ ชเ้ อง เพราะแท้ที่จรงิ แลว้ \"วิชา\" ที่ ครูถ่ายทอดมาให้แก่ลกู ศษิ ย์ จะตอ้ งนาไปใช้ เพ่อื ประโยชน์แกส่ ังคม ไม่ใช่เพือ่ ผลประโยชนส์ ว่ นตัว การตอบ แทนจงึ ไมใ่ ช่เงินหรอื ส่งิ ของเสมอไป แต่เป็นการช่วยเหลือเก้ือกูลกันโดยวิธกี ารตา่ ง ๆ ด้วยวิถชี ีวิตเช่นนี้ จงึ มี คาถาม เพอ่ื เป็นการสอนคนรนุ่ หลงั วา่ ถ้าหากคนหน่ึงจับปลาชอ่ นตวั ใหญไ่ ดห้ นงึ่ ตวั ทาอยา่ งไรจงึ จะกนิ ได้ท้ังปี คนสมัยนอ้ี าจจะบอกวา่ ทาปลาเค็ม ปลารา้ หรอื เก็บรกั ษาด้วยวิธกี ารตา่ งๆ แต่คาตอบท่ีถูกต้อง คือ แบ่งปนั ให้ พ่นี ้อง เพื่อนบา้ น เพราะเมือ่ เขาได้ปลา เขาก็จะทากบั เราเช่นเดยี วกนั ชวี ติ ทางสงั คมของหม่บู ้าน มศี ูนยก์ ลาง อยูท่ ีว่ ดั กิจกรรมของส่วนรวม จะทากนั ท่ีวดั งานบญุ ประเพณีต่างๆ ตลอดจนการละเล่นมหรสพ พระสงฆ์เป็น ผ้นู าทางจติ ใจ เปน็ ครทู ่ีสอนลกู หลานผู้ชาย ซ่งึ ไปรบั ใช้พระสงฆ์ หรอื \"บวชเรยี น\" ทัง้ นี้เพราะกอ่ นน้ียงั ไม่มี โรงเรียน วัดจึงเปน็ ท้งั โรงเรียน และหอประชมุ เพ่ือกิจกรรมตา่ งๆ ต่อเม่อื โรงเรียนมขี น้ึ และแยกออกจากวัด บทบาทของวดั และของพระสงฆ์ จงึ เปล่ยี นไป งานบุญประเพณีในชุมชนแต่ก่อนมอี ยูท่ ุกเดือน ต่อมาก็ลดลงไป หรือสองสามหมู่บา้ นร่วมกันจดั หรือ ผลัดเปล่ียนหมุนเวียนกัน เช่น งานเทศน์มหาชาติ ซ่ึงเป็นงานใหญ่ หมู่บ้านเล็กๆ ไม่อาจจะจัดได้ทุกปี งาน เหล่านม้ี ที ้ังความเช่ือ พธิ ีกรรม และความสนกุ สนาน ซึ่งชุมชนแสดงออกร่วมกัน ระบบคณุ ค่า ความเช่ือในกฎเกณฑ์ประเพณี เป็นระเบียบทางสังคมของชุมชนดั้งเดิม ความเช่ือน้ีเป็นรากฐานของ ระบบคุณค่าต่างๆ ความกตัญญูรู้คุณต่อพ่อแม่ ปู่ย่าตายาย ความเมตตาเอ้ืออาทรต่อผู้อื่น ความเคารพต่อส่ิง ศกั ด์ิสิทธใ์ิ นธรรมชาตริ อบตวั และในสากลจกั รวาล ความเชื่อ \"ผ\"ี หรือสง่ิ ศักดส์ิ ิทธใิ์ นธรรมชาติ เป็นที่มาของการดาเนนิ ชีวติ ทงั้ ของส่วนบุคคล และของ ชมุ ชน โดยรวมการเคารพในผีปูต่ า หรอื ผีปู่ย่า ซง่ึ เปน็ ผีประจาหมบู่ า้ น ทาให้ชาวบา้ นมคี วามเปน็ หนงึ่ เดียวกัน เปน็ ลกู หลานของปตู่ าคนเดยี วกนั รักษาปา่ ที่มีบ้านเล็กๆ สาหรับผี ปลกู อย่ตู ดิ หมู่บ้าน ผีป่า ทาให้คนตัดไมด้ ้วย ความเคารพ ขออนุญาตเลือกตดั ตน้ แก่ และปลกู ทดแทน ไม่ทง้ิ สงิ่ สกปรกลงแม่น้า ด้วยความเคารพในแมค่ งคา กนิ ขา้ วดว้ ยความเคารพ ในแม่โพสพ คนโบราณกินข้าวเสรจ็ จะไหวข้ า้ ว พธิ บี ายศรสี ู่ขวญั เป็นพธิ รี ้ือฟ้นื กระชับ หรือสร้างความสมั พนั ธร์ ะหว่างผคู้ น คนจะเดินทางไกล หรือ กลบั จากการเดนิ ทาง สมาชกิ ใหม่ ในชมุ ชน คนป่วย หรือกาลงั ฟื้นไข้ คนเหล่านีจ้ ะได้รบั พิธสี ูข่ วญั เพือ่ ใหเ้ ปน็ สิริมงคล มคี วามอยู่เย็นเป็นสขุ นอกนนั้ ยงั มีพธิ สี บื ชะตาชีวติ ของบคุ คล หรอื ของชุมชน นอกจากพิธีกรรมกับคนแล้ว ยังมพี ิธีกรรมกับสตั ว์และธรรมชาติ มีพิธีสู่ขวัญข้าว สู่ขวัญควาย สู่ขวัญ เกวยี น เปน็ การแสดงออกถึงการขอบคุณ การขอขมา พิธดี ังกลา่ วไม่ไดม้ ีความหมายถึงว่า ส่ิงเหล่านมี้ จี ิต มีผใี น ตวั มันเอง แต่เปน็ การแสดงออก ถึงความสัมพันธ์กบั จิตและสิ่งศักดสิ์ ิทธ์ิ อันเป็นสากลในธรรมชาติทั้งหมด ทา ให้ผู้คนมีความสัมพันธ์อันดีกับทุกส่ิง คนขับแท็กซี่ในกรุงเทพฯ ท่ีมาจากหมู่บ้าน ยังซื้อดอกไม้ แล้วแขวนไว้ท่ี กระจกในรถ ไม่ใชเ่ พ่ือเซ่นไหว้ผีในรถแท็กซ่ี แต่เป็นการราลึกถึงส่ิงศักดิส์ ิทธ์ิ ใน สากลจักรวาล รวมถงึ ท่ีสิงอยู่ ในรถคันนั้น ผู้คนสมัยก่อนมีความสานึกในข้อจากัดของตนเอง รู้ว่า มนุษย์มีความอ่อนแอ และเปราะบาง

หากไม่รักษาความสัมพันธ์อันดี และไม่คงความสมดุลกับธรรมชาติรอบตัวไว้ เขาคงไม่สามารถมีชีวิตได้อย่าง เป็นสุข และยืนนาน ผู้คนทั่วไปจึงไม่มีความอวดกล้าในความสามารถของตน ไม่ท้าทายธรรมชาติ และสิ่ง ศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ มคี วามออ่ นน้อมถอ่ มตน และรักษากฎระเบยี บประเพณอี ย่างเครง่ ครดั ชวี ติ ของชาวบ้านในรอบหนึง่ ปี จงึ มพี ิธีกรรมทกุ เดือน เพ่อื แสดงออกถงึ ความเชื่อ และความสัมพันธ์ ระหวา่ งผู้คนในสังคม ระหว่างคนกบั ธรรมชาติ และระหวา่ งคนกับสิง่ ศกั ดสิ์ ิทธ์ิต่างๆ ดังกรณีงานบุญประเพณี ของชาวอสี านท่เี รียกว่า ฮีตสบิ สอง คอื เดือนอา้ ย (เดือนท่ีหนึ่ง) บุญเขา้ กรรม ใหพ้ ระภกิ ษเุ ขา้ ปรวิ าสกรรม เดือนย่ี (เดือนที่สอง) บุญคณู ลาน ใหน้ าข้าวมากองกันท่ีลาน ทาพธิ กี อ่ นนวด เดอื นสาม บญุ ข้าวจ่ี ให้ถวาย ข้าวจี่ (ข้าวเหนยี วปน้ั ชบุ ไขท่ าเกลือนาไปย่างไฟ) เดือนสี่ บญุ พระเวส ให้ฟังเทศนม์ หาชาติ คือ เทศน์เรื่องพระ เวสสนั ดรชาดก เดือนห้า บญุ สรงนา้ หรือบุญสงกรานต์ ใหส้ รงน้าพระ ผู้เฒ่าผแู้ ก่ เดอื นหก บญุ บง้ั ไฟ บูชา พญาแถน ตามความเชื่อเดิม และบุญวสิ าขบูชา ตามความเชอื่ ของชาวพุทธ เดอื นเจ็ด บุญซาฮะ (บุญชาระ) ใหบ้ นบานพระภูมเิ จา้ ที่ เล้ยี งผปี ตู่ า เดอื นแปด บุญเขา้ พรรษา เดอื นเก้า บญุ ขา้ วประดบั ดนิ ทาบญุ อุทศิ สว่ น กศุ ลใหญ้ าติพน่ี อ้ งผลู้ ่วงลับ เดอื นสิบ บุญข้าวสาก ทาบญุ เชน่ เดือนเกา้ รวมใหผ้ ไี ม่มีญาติ (ภาคใต้มีพธิ ีคลา้ ยกัน คือ งานพธิ ีเดอื นสิบ ทาบญุ ใหแ้ ก่บรรพบุรุษผลู้ ่วงลบั ไปแลว้ แบง่ ข้าวปลาอาหารส่วนหนึง่ ให้แก่ผีไม่มีญาติ พวก เดก็ ๆ ชอบแย่งกนั เอาของท่ีแบ่งให้ผีไมม่ ญี าติหรอื เปรต เรยี กว่า \"การชิงเปรต\") เดือนสิบเอ็ด บญุ ออกพรรษา เดอื นสิบสอง บุญกฐิน จัดงานกฐิน และลอยกระทง ภูมิปัญญาชาวบา้ นในสงั คมปจั จุบนั ภมู ิปญั ญาชาวบา้ นได้ก่อเกดิ และสืบทอดกันมาในชมุ ชนหม่บู ้าน เม่อื หมูบ่ า้ นเปลย่ี นแปลงไปพรอ้ มกับสงั คมสมยั ใหม่ ภมู ิปญั ญาชาวบ้านก็มกี ารปรบั ตัวเชน่ เดียวกนั ความรู้ จานวนมากได้สูญหายไป เพราะไม่มกี ารปฏบิ ัติสบื ทอด เช่น การรักษาพ้นื บา้ นบางอยา่ ง การใช้ยาสมนุ ไพรบาง ชนิด เพราะหมอยาท่เี ก่งๆ ได้เสียชวี ิต โดยไมไ่ ด้ถา่ ยทอดใหก้ บั คนอน่ื หรอื ถา่ ยทอด แต่คนต่อมาไม่ไดป้ ฏบิ ตั ิ เพราะชาวบา้ นไมน่ ยิ มเหมือนเมือ่ ก่อน ใช้ยาสมยั ใหม่ และไปหาหมอ ที่โรงพยาบาล หรอื คลนิ ิก ง่ายกวา่ งาน หันตถกรรม ทอผา้ หรอื เครอ่ื งเงิน เครื่องเขนิ แม้จะยังเหลืออยไู่ ม่นอ้ ย แตก่ ไ็ ดถ้ ูกพฒั นาไปเปน็ การค้า ไม่ สามารถรกั ษาคุณภาพ และฝมี อื แบบดั้งเดิมไวไ้ ด้ ในการทามาหากินมีการใช้เทคโนโลยีทันสมยั ใช้รถไถแทน ควาย รถอแี ตน๋ แทนเกวยี น การลงแขกทานา และปลกู สร้างบ้านเรือน ก็เกอื บจะหมดไป มีการจ้างงานกนั มากขน้ึ แรงงานกห็ า ยากกวา่ แตก่ ่อน ผู้คนอพยพยา้ ยถ่นิ บา้ งกเ็ ขา้ เมือง บ้างก็ไปทางานท่ีอื่น ประเพณีงานบญุ ก็เหลอื ไมม่ าก ทาได้ ก็ตอ่ เมอื่ ลกู หลานท่ีจากบา้ นไปทางาน กลับมาเยี่ยมบ้านในเทศกาลสาคญั ๆ เช่น ปีใหม่ สงกรานต์ เข้าพรรษา เปน็ ตน้ สงั คมสมยั ใหม่มรี ะบบการศึกษาในโรงเรียน มอี นามยั และโรงพยาบาล มโี รงหนัง วิทยุ โทรทัศน์ และ เครอื่ งบันเทงิ ตา่ งๆ ทาให้ชวี ิตทางสังคมของชมุ ชนหมู่บ้านเปลี่ยนไป มตี ารวจ มีโรงมศี าล มีเจา้ หน้าทร่ี าชการ ฝ่ายปกครอง ฝ่ายพัฒนา และอ่ืนๆ เข้าไปในหมู่บ้าน บทบาทของวัด พระสงฆ์ และคนเฒา่ คนแกเ่ รมิ่ ลดนอ้ ยลง การทามาหากนิ ก็เปลย่ี นจากการทาเพ่ือยังชีพไปเป็นการผลติ เพือ่ การขาย ผู้คนต้องการเงนิ เพ่ือซ้ือเคร่อื ง บริโภคต่างๆ ทาให้สงิ่ แวดลอ้ ม เปลีย่ นไป ผลิตผลจากป่าก็หมด สถานการณเ์ ชน่ น้ที าใหผ้ ู้นาการพัฒนาชมุ ชน หลายคน ท่ีมบี ทบาทสาคญั ในระดับจังหวัด ระดบั ภาค และระดับประเทศ เร่มิ เห็นความสาคัญของภูมิปัญญา ชาวบ้าน หนว่ ยงานทางภาครฐั และภาคเอกชน ใหก้ ารสนับสนุน และส่งเสรมิ ให้มกี ารอนรุ ักษ์ ฟน้ื ฟู ประยกุ ต์ และคน้ คิดสงิ่ ใหม่ ความรู้ใหม่ เพ่ือประโยชน์สุขของสังคม

ความเปน็ มาและความสาคญั ของการสานสวงิ ภมู ปิ ญั ญาโบราณกับการหาเล้ียงชพี คนอีสานในยคุ สมัยก่อนนนั้ จะใชเ้ ครือ่ งมือในการทามาหากนิ จากวัสดุใกล้ตวั เช่น เร่ืองจกั สานจากไม้ ไผ่ หวาย ที่สามารถสาน ถกั ทอ เป็นรูปร่างตา่ งๆ ไดง้ า่ ย มนี ้าหนกั เบา ถา้ ต้องการใหก้ ันน้าหรอื อ้มุ น้าได้ก็ทา ดว้ ยขซี้ ี (ชันโรง น้ามันยาง) อปุ กรณ์บางช้นิ ท่ตี อ้ งการความคงทนถาวรกท็ าจากไมเ้ น้ือแข็ง ด้วยการถาก ขุด เป็นหลุม เป็นทอ่ น เชน่ ครก สาก คราด ไถ ด้ามมีด/พร้า ขวาน เป็นตน้ นอกจากน้นั ยงั มีการสานดว้ ยดา้ ย เหนียวทาเป็นเครอื ดกั สัตว์ ทง้ั บนบกอยา่ ง ซงิ นกคุ่ม ในน้าอย่าง แห สวงิ มอง (ตาขา่ ย อวน) เปน็ ต้น ต่อมา เมอ่ื ความเจริญทางเทคโนโลยมี ีมากขนึ้ ส่ิงของทีท่ าจากแผ่นโลหะสงั กะสี เหล็ก พลาสติก ไนลอ่ น กเ็ ข้ามา แทนท่ี ไนล่อน/พลาสตกิ ที่เหนยี วทนทานสานด้วยเคร่อื งจกั รมาแทนด้าย จนเครื่องใช้ท่ีทาดว้ ยภมู ปิ ัญญาจาก ไม้ หวาย เสน้ ใยพชื เริม่ หายไป เป็นท่นี ่าเสยี ดายอยา่ งยง่ิ เลยขอนาเร่ืองราวของเคร่อื งใช้ในอดีตมาบันทึกไวใ้ ห้ ลกู หลานได้ย้อนระลกึ ถงึ วันวานกนั ดงั น้ี แห มอง สวงิ ท้ังสามช่ือน้ลี ้วนมาจากภูมิปัญญาของคนโบราณ ในการสานด้วยดา้ ยเหนยี ว คงทน มีขนาด รปู ร่าง และช่องตาขา่ ยทแ่ี ตกต่างกนั ตามความต้องการ หรอื วตั ถปุ ระสงค์ในการใชง้ าน เป็นการจับสัตว์นา้ มาเป็น อาหารแบบพอเพียง ไมล่ า้ งผลาญเพื่อการค้าอยา่ งในยคุ ปัจจุบนั เป็นเคร่ืองมือทามาหากนิ ของชาวบ้านโดยแท้ มกี ารถ่ายทอดความรู้ และภูมปิ ญั ญาจากร่นุ สรู่ ุ่นมาโดยตลอด แตเ่ มื่อเทคโนโลยีการผลิตเชิงอุตสาหกรรมเข้า มา ทาใหค้ วามรเู้ หล่านไี้ มไ่ ดร้ ับการสืบทอด ดว้ ยมองว่า \"เสียเวลา ไมท่ นั กนิ \" น่ันเอง แห แห คือ เครื่องมือจบั ปลาชนดิ หนง่ึ ที่ถกั เป็นตาข่ายใชท้ อด (เหวีย่ ง) ใหแ้ ผ่เป็นวงลงในนา้ แล้วตอ้ งดงึ ข้ึนมาจากนา้ ใหข้ อบชายแหรวบปลาเขา้ มาในเพา (ขอบถงุ ตาขา่ ยแห) ให้ได้ปลาจานวนมาก เพือ่ การยังชีพ หรอื เพือ่ ประกอบอาชีพของคนช้นั ลา่ งของสงั คม ทก่ี ลา่ วเชน่ นี้ เพราะยงั ไม่เคยเห็นคนชัน้ สงู หรือคนชนั้ กลางใช้ แหเพอื่ การหาปลาเปน็ อาหาร หรอื หาปลาเพอ่ื การจาหน่ายเป็นประจา แต่จะเปน็ เพียงครัง้ คราวของบคุ คลช้ัน ดงั กล่าว เพอื่ ความสนุกสนาน เพลดิ เพลนิ ในยามว่างเท่านน้ั ดังนัน้ แห จงึ ถอื เปน็ เครอื่ งมอื เพื่อการยงั ชพี หมายถึงใช้จบั ปลาเพอ่ื การบริโภคในชวี ติ ประจาวันและ ใชป้ ระกอบอาชพี คอื ใช้จับปลาเพื่อการแลกเปล่ยี นสินคา้ กันเชน่ แลกข้าว แลกเกลอื หรอื จาหน่ายนาเงินมาซือ้ เครอ่ื งนงุ่ หม่ ของชาวบา้ นในชนบท แห จึงถอื เปน็ ภูมปิ ัญญาของชาวบา้ นทแี่ ท้จริง เพราะมนั คอื ส่วนหนงึ่ ของ ชวี ติ เป็นห่วงโซ่ในเรอื่ งอาหารและรายได้ในชวี ติ ประจาวนั แหจงึ ไดร้ ับการพัฒนาและเอาใจใส่ เรม่ิ จากการ ไดร้ ับการถ่ายทอดเบอ้ื งต้นจากบรรพบุรษุ แล้วลองผิดลองถกู จนเปน็ องค์ความรูแ้ ละประสบการณ์เฉพาะตัว ของบคุ คลความแตกต่างของความเช่อื เรอื่ งแห ท้ังโครงสรา้ ง ขนาด วธิ ที อด วธิ ยี ้อม และวิธกี ารต่างๆ ที่ดีแล้ว คลา้ ยๆ กนั แตล่ กึ ๆ แล้วมหี ลายอยา่ งท่ีแตกต่างกันในแต่ละทอ้ งถิน่ ดงั ความเชือ่ โบราณอีสานทวี่ า่ \"ชายทหี่ ว่าน แหไม่ “มน” (กลม) ถอื เปน็ ชายท่ีไมส่ มบูรณพ์ อท่ีจะแตง่ งานได้ ดงั น้นั ตอ้ งฝึกหัดเหว่ียงแหใหม้ นกอ่ น คอื หาอยู่ หากินไดพ้ ่อตาจึงจะยกลกู สาวให้\"ในอดตี นน้ั แหทาจากเชือกปา่ นหรือปอเทืองซ่ึงไดจ้ ากการปลกู แล้วตดั ตน้ ปา่ นหรือปอเทอื งน้แี ช่น้า 10 –15 วัน แลว้ นามาทบุ ใหเ้ นื้อไมแ้ ตกเปน็ เส้นๆ จากนั้นจงึ นาแผ่นเหลก็ มาขูดใหเ้ ปน็ เสน้ ๆ นาไปตากแหง้ และป่นั เปน็ เชือกใช้สานแหซึ่งลาบากมาก และปัจจุบันกไ็ มมี่ใหเ้ ห็นอีก

(แมก้ ระทง่ั ตน้ ปอ) เพราะหันไปใชด้ ้ายไนล่อนแทนทแ่ี ล้วเพราะหาได้งา่ ย สะดวกที่สดุ นคี่ อื ความ เปลี่ยนแปลงที่มีผลตอ่ วัฒนธรรมในเรือ่ งดังกล่าวท่ีชดั เจน แห ใช้ทอด (เหว่ียง) ในภาษากลาง แต่คนอีสานจะเรยี กวา่ \"ตกึ แห\" เพือ่ หาปลาในนา้ อาจเป็นแมน่ ้า กวา้ งใหญ่ หนอง บงึ สระนา้ หรอื แม้แตใ่ นนาทมี่ ีน้าขังหรือแห้งขอด แต่ไม่ต้องแปลกใจที่มีการตกึ แหบนโคก (บนบก) เชน่ หวา่ นแห่จบั กบตอนหน้าฝนในสมยั ก่อน (มีกบจานวนมากออกมารอ้ งเรียกหาคู่) จบั ไก่ จับนก หรือแม้แตจ่ ับหมา จับงู ที่ใช้วธิ ีการไล่จบั แล้วไมไ่ ดผ้ ล เหนื่อยเกนิ เหตุ หวา่ นแหคลมุ จับง่ายกว่า เปน็ ต้น แห มหี ลายขนาดท้งั ความกวา้ งของวงแห ความยาวของแห ทางอีสานจะนบั ความยาวเปน็ ศอก แหท่ีมี ความกวา้ งและยาวมากๆ (เชน่ ยาว 9 ศอก) มักจะมีเชอื กยาวมัดทีจ่ อมแห (กงึ่ กลางดา้ นบนของแห) เพ่ือใช้ หว่านหรือเหวี่ยงหาปลาในแม่น้าใหญ่ มีนา้ ลกึ เม่ือทอดแห (หวา่ น หรือเหวี่ยง) ออกไปแลว้ จะสาวเชือกดงึ แห ข้ึนมา เพาแหท่มี ีลกู ตะกั่วถ่วงนา้ หนกั ด้านล่างจะหบุ เข้าเพื่อรวบปลาเข้ามาในแห สว่ นแหขนาดวงกวา้ งนอ้ ย และยาวไมม่ ากนัก จะใชท้ อดหาปลาในหว้ ย หนองท่ีมนี า้ ตืน้ เป็นต้น

การสานแหและอปุ กรณ์ การสานแห ส่วนมากแลว้ ชาวบ้านอสี านจะใช้เวลาวา่ งจากงานไร่ นา สวน ทาการสานแห หรือคนท่ีมี อายมุ ากๆ (ทงั้ ชาย/หญงิ ) ไมส่ ามารถจะออกไปทางานหนกั ๆ ได้ อยเู่ ฝ้าบา้ นเลี้ยงหลาน จึงใช้เวลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์ บางคนสานเพือ่ ให้ลูกหลานเอาไปเปน็ เคร่ืองมอื ในการหาเล้ยี งครอบครัว ในสมยั โบราณ ส่วนมาก แลว้ จะไม่มีการซ้ือขายกัน จะเป็นการแลกเปลยี่ นขา้ วปลาอาหารกันบา้ งเทา่ น้ัน นอกเสียจากมีผ้คู นมาขอซ้อื จงึ สานขายให้ถา้ มเี วลา เป็นอปุ กรณ์ท่ีผู้ชายนยิ มนาไปจบั ปลาสะดวกและง่ายต่อการจัดเก็บรกั ษา การสานแหให้ เสร็จแต่ละผืนจะใช้เวลาประมาณ 30-45 วนั จงึ สาเร็จ ปกติก็ไม่รบี รอ้ นในการสานสักเท่าไร มีเวลาว่างชว่ งไหนก็ สานช่วงน้ัน เพราะบางคนไมไ่ ดม้ เี วลาเพียงสานแหอย่างเดียว ต้องหงุ หาอาหารรบั ประทาน เลีย้ งลูก เลย้ี ง หลาน ดแู ลบ้าน เป็นตน้ ไมจ่ ากัดเวลาทท่ี า จงึ มอี ิสระในการทางาน การสานแห มมี าชา้ นานแลว้ ซ่ึงเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นทใี่ ชใ้ นการทามาหากิน และเปน็ เครือ่ งมอื ท่ใี ช้ใน การดารงชวี ิตในอดตี มีการถ่ายทอดจากรนุ่ สรู่ นุ่ ซ่ึงปัจจุบนั กย็ ังคงมอี ยตู่ ามหม่บู า้ นในพืน้ ท่ีต่างๆ เช่น หมู่บ้าน ทอี่ ยู่ใกล้ทร่ี าบลมุ่ แมน่ า้ ต่างๆ ทั้งแมน่ า้ โขง ชี มูล แม่น้าสงคราม ลาเซบก เซบาย เป็นต้น แต่การสืบทอดก็ นบั วนั จะน้อยลงไปเร่ือยๆ ตามวถิ ีชีวติ ท่ีเปลี่ยนไปในปัจจบุ ัน

อุปกรณส์ าหรับการสานแห มดี ังน้ี • ดา้ ย ท่ีมีความเหนียว ขนาดเส้นใหญเ่ ลก็ ตามขนาดของตาแห (ชอ่ งแห) และความยาวท่ี ต้องการ ปัจจบุ นั นิยมใชด้ ้ายไนลอ่ นทีม่ ีความเหนยี ว • กิม หรอื ชีม บางแห่งเรียก ชนุน มีลกั ษณะเป็นไมไ่ ผ่แบน หนาประมาณ 3-4 มิลลเิ มตร กวา้ ง 1 นว้ิ ยาว 8 น้วิ หัวแหลมมน ประมาณ1 ใน 3 ส่วนของความยาว เจาะทะลุยาวตามสว่ น1 ใน 3 มีเดือยตรง กลาง สว่ นทา้ ยใชม้ ีดควงให้เปน็ ตัวยู (ปัจจุบนั ใชไ้ มพ้ ลาสติกสาเรจ็ รูป มีใหเ้ ลอื กหลายๆ ขนาด) • ไมไ่ ผ่ หรอื ปาน มีลักษณะการเหลาไม้ไผค่ ล้ายไม้บรรทัดยาว 5-6 นวิ้ หนาประมาณ 2-3 มิลลิเมตร ความกว้างขนึ้ อยกู่ ับขนาดของตาของแหท่ีตอ้ งการ • กรรไกร สาหรับตดั ด้าย • ลกู แห หรอื ลูกโซ่ตะกวั่ สาหรับถว่ งให้แหจมน้าไดร้ วดเรว็ สียอ้ มแห ใหม้ ีสดี าหรือน้าตาลเขม้ เมอื่ จมลงนา้ จะกลมกลืนไปกบั นา้ จนปลามองไมเ่ ห็น (จริงปะะ ) สว่ น ใหญ่จะเปน็ สจี ากธรรมชาติที่ชว่ ยให้แหมคี วามคงทน ใช้ได้นาน หรอื อาจจะไม่ใชก้ ไ็ ด้ วธิ ีการสานแห • เรมิ่ จากสว่ นจอมแห ลกั ษณะทาจอมมบี ว่ ง ไวส้ าหรับห้อยแขวนระหวา่ งสาน โดยใช้ไม้แบบ ตอกตะปหู รอื ตะปูเกลียว 4 ตัวทาการพนั ดา้ ยเป็นจอมแห 12 รอบ แล้วพันส่วนกลางใหแ้ นน่ ก่อนจะถอดออก จากสกรมู าทบเขา้ กันเปน็ ห่วงหรอื จอมแห วธิ กี ารตามคลิปข้างล่างนเี้ ลย • จะเรม่ิ ตน้ สานแหจากจอมแหก่อน เพม่ิ และขยายรอบการถกั ออกและขยายตาข่ายให้กวา้ ง เพอ่ื ทจ่ี ะทาให้เปน็ วงกลมทั้งผนื บานออกตามขนาดทีต่ ้องการใชง้ าน ขนาดในการสานแหน้ัน ถา้ เปน็ ความยาว จะมีขนาดและหนว่ ยวดั เปน็ ศอก เช่น ห้าศอก เจด็ ศอก เก้าศอก และ สิบเอด็ ศอก สว่ นขนาดความกว้างนั้นยดึ เอาขนาดของช่องตาข่ายเรียกเปน็ เซน็ (เซนติเมตร) เช่น แหขนาดตาขา่ ย สองเซน็ สีเ่ ซน็ หา้ เซน็ เป็นต้น • การสานแหโดยการถักห่วงจากจอมแห เรียกว่า \"แขแห\" ถ้าเริ่มด้วย 16 ห่วงเรยี กว่า แขแห 16 จากแขแหชุดแรก สองรอบแรกต้องแข 16 จะเปน็ หลักของชุดต่อไปจนถึงปากแห แขแห 16 นี้ และรอบที่ สาม จะแขแหทุกระยะเวน้ 2 ตาแห หรือเมอื่ สานได้ 2 รอบ แขแหมปี ระโยชนเ์ พื่อจะชว่ ยให้แหบานแผ่กว้างขน้ึ เรอ่ื ยๆ รอบๆ จอมแห (แข คือ ส่วนทจี่ ะไปชว่ ยเพิ่มจานวน ปรมิ าณตาของแห เพ่ิมความกวา้ งของแห ขยาย ออกเรอ่ื ยๆ) เพือ่ ใหเ้ ข้าใจเหน็ ภาพดูตามคลิปนะครบั ความยาวของแหจะวดั ด้วยศอกของผูถ้ ักหรอื สาน แต่ต้องนับจากจอมแห อันเป็นความเชื่อทีโ่ บราณ สอนไว้ ความยาวของแหวดั ดว้ ยศอกของผถู้ ักหรือสานแตต่ ้องนับแขจากจอมแหแล้ว “ถูก • โสก” หรอื ตอ้ ง “ถกู โฉลก” อนั เปน็ ความเช่ือทโี่ บราณสอนไว้ ถา้ ไม่ถกู โสกจะใช้จับปลาได้นอ้ ย หรอื ไม่เปน็ มงคลซง่ึ คาโสกแหมี 2 แบบคล้ายๆ กัน (ดใู นเรอื่ งของโสกแหด้านล่าง)

• เมอื่ หมดขนั้ ตอนของการสานแล้ว จะถงึ ขั้นตอนติดลูกแห เรยี กวา่ ซแู ห การตดิ ลูกแหซึ่งมีลกั ษณะเปน็ หว่ งโซ่เหลก็ หรอื ตะกั่ว จะตอ้ งใชเ้ ชอื กหรือด้ายที่มขี นาดใหญเ่ ป็นสองเท่าของเชือกหรือด้ายสานแหปกติ การซู แหหรอื การใสล่ กู แหนี้ ถา้ เปน็ แหขนาด 7 ศอกจะใช้ลูกแหท้งั หมด 1,300 ลกู ถ้าเปน็ แห 9 ศอก ต้องใช้ลูกแห 1,500 ลกู ลูกแหทน่ี ยิ มกนั คือลูกเหล็กหรือตะกว่ั เพราะมีน้าหนกั ดี เวลาที่จะติดลกู แหจะตอ้ งดกู ่อนวา่ ตาแหถ่ี หรอื หา่ ง ถา้ ตาแหหา่ งจะนอน 2 สลบั นอน 3 ถ้าเป็นแหถจ่ี ะนอน 3 ล้วนๆ หากเปน็ แหหา่ งซง่ึ ตาแหจะใหญ่จะ ใชน้ อน 2 สลับกนั ทน่ี อน 3 เพราะวา่ ถา้ นอน 3 ล้วนๆ ตาแหจะแบนออก เวลาผูกเพาตัวลกู แหจะหย่อนทาให้ แหมีชอ่ งโหวป่ ลาจะหนอี อกได้ การยอ้ มแห การยอ้ มแห ก่อนจะนาแหไปหาปลา จะต้องยอ้ มแหเสียกอ่ นใหม้ ีสีเข้มโดยวิธธี รรมชาติ ทช่ี าวบ้านนยิ ม ย้อมกันมาก ก็คือ ย้อมดว้ ยเลอื ดวัว เลอื ดควาย ผสมกบั ใบไม้ เช่น ใช้ใบบก ใบกะบาก เปลอื กต้นมะมว่ งนอ้ ย เปลอื กประดู่ ลกู ตะโกดิบ โดยการโขลกหรือตาใบดังกลา่ ว อย่างใดอยา่ งหน่ึงด้วยครกหินหรอื ครกไมข้ นาดใหญ่ แลว้ คลุกกับเลือดวัวหรือเลือดควายในกาละมังขนาดใหญ่ โดยนาแหลงคลุกกับสว่ นผสมที่เตรียมไว้ ใช้มือบบี คน/คลกุ จนไดท้ ่ีแล้ว จึงนาแหนไี้ ปนึ่ง ดว้ ยหวดประมาณครงึ่ ช่ัวโมง (เลือดน่งึ สุกแลว้ ) กน็ าแหไปตากหรอื ผง่ึ แดดจุดประสงคข์ องการยอ้ มแห กค็ อื นอกจากเลือดและยางใบไม้ทีเ่ หน่ยี วจะช่วยเคลอื บเนอ้ื ไนล่อน หรอื ปม ขมวดท่ีสานกันของแหให้กลมกลืน นา้ ซึมเขา้ ไมไ่ ด้ แล้วยังทาให้เน้อื แหมคี วามล่ืน จมน้าไดเ้ รว็ และสีของ เปลอื กไม้กบั เลือด เม่ือน่ึงสุกแลว้ จะทาใหแ้ หมีสีดา และมคี วามโปร่ง ง่ายต่อการสาวแห และงา่ ยต่อการเก็บ ปลา การถ่วงแห การถ่วงแห หลังจากตากแหแหง้ ดแี ล้ว ปราชญช์ าวบ้านบางทา่ นกล่าววา่ \"แหกย็ ังนาไปทอดหรอื ตกึ ไม่ได้ จะต้องนาแหมาถ่วงก่อน\" โดยการใชไ้ หบรรจนุ า้ จนเต็ม แลว้ นาไหนไ้ี ปใส่ในตัวแหแลว้ มดั ตีนแหใหแ้ น่น สว่ นจอมแหมดั กับขอหรือกิง่ ไม้ ท้งิ ไวข้ ้ามคนื โดยประมาณ จุดประสงคเ์ พอื่ ให้แหมีความกระชับ ยืดตึง และอยู่ ตัว หลงั จากนนั้ แหปากนีก้ ็พร้อมใชท้ อดหรอื ตกึ ได้เลย การเหวี่ยงแห (ทอดแห ตึกแห) ถอื เป็นศาสตร์เฉพาะตัว จรงิ ๆ จะต้องใชค้ วามรู้ ความสามารถเฉพาะตัวมากในการเหวี่ยงออกไปให้บานได้กลมๆ เปน็ วงกวา้ ง (สว่ น ผเู้ ขียน : ตวั ทดิ หมนู ัน้ มิอาจทาได้เลย เคยฝกึ กบั ลุงบนเรอื ทแ่ี มน่ ้ามลู เมือ่ หลายปีก่อนสมยั เป็นหนมุ่ ปรากฏวา่ ไม่ได้ปลา แต่ผ้เู หวี่ยงแหไดล้ งไปตดิ อุ้มลุ้มอยใู่ นแหทเี่ จา้ ของหวา่ นลงไป เพื่อนบา้ นแตกตืน่ มาดูเพราะไดย้ ิน เสียงนา้ กระจาย นึกวา่ ตกึ แหไดป้ ลาคา้ ว ปลาปึ่งโตใหญ่ อยากหวั เจ้าของเด้ คกั หลาย...) การเก็บรกั ษาแห การตากแห หลงั จากทใ่ี ชแ้ หจับปลาเสร็จแลว้ ควรจะนามากตากแดด ตากลมใหแ้ ห้ง สลดั เอาเศษไม้ กิ่งไม้ ใบไม้ หรือเศษปลาเล็ก ปลานอ้ ยออกใหห้ มด เพ่อื ไมใ่ ห้มีกลนิ่ คาวของปลา ซึง่ แมลงสาบ หนู จงิ้ จก และ

มดชอบ จะทาให้สตั วเ์ หล่าน้นั มากัดแทะแหขาดได้ ดังนน้ั จึงต้องนาแหมาผูกกับเชอื ก แขวนไว้หรอื หอ้ ยไวก้ ับ ตน้ ไม้ หรือขอื่ บา้ นทสี่ งู ๆ โดยใช้เชือกมดั ทจี่ อมแหแขวนไว้ และใชไ้ ม้ไผ่คาดตัวแหใหบ้ านแผอ่ อก เพ่ือใหแ้ หแห้ง เรว็ และทาความสะอาดไดง้ า่ ย หลงั จากนนั้ นามามัดแบบกน้ จก แล้วเกบ็ ไว้ในกระสอบแขวนไวใ้ นทส่ี งู หรอื ในตู้ เก็บของ ข้อมูลจาเพาะของแหทีค่ วรรู้ • แหถี่ (ตาเล็ก) มตี าเลก็ กวา่ 1 นิว้ • แหหา่ ง (ตาใหญ่) มีตาใหญก่ วา่ 1 นว้ิ ขน้ึ ไป • ถา้ แบ่งตามลักษณะของแหลง่ น้าท่ีนาแหไปใช้ คอื แม่น้าโขง แมน่ า้ มูล แม่น้าชี และแมน่ า้ ใหญ่ อน่ื ๆ จะใช้แหขนาดยาว 10-15 ศอก หวา่ นแหจากตวั เรือแลว้ ห้าว (ดึง) แหขนึ้ มาเพอ่ื จับปลา • สว่ นในพ้ืนทีท่ ่ีมนี ้าขังทัว่ ไปเชน่ หว้ ย หนอง คลอง บึงขนาดใหญม่ ีนา้ มาก จะใช้แหขนาดยาว 9 ศอก โดยการเหวย่ี งหรือหว่านแห จากเรอื หาปลา สวนแหปากเล็กจะยาว 5 - 6 ศอก โดยการเหว่ยี งแหจากฝงั หรือลยุ นา้ เหวีย่ งแหในหว้ ย ในหนอง หรือนานา้ ทว่ ม • ถ้าแบง่ ตามขนาดของแห นิยมใชน้ ว้ิ มอื เปน็ เคร่อื งวดั คอื แหช้ี (ขนาดตาแหประมาณนวิ้ ช้)ี แหโป้ (ขนาดตาแหเทา่ หัวแม่มือ) แหสอง (ขนาดตาแหเท่าสองนิว้ ) แหสาม แหสี่ แหห้า แหหก แหเจด็ แหแปด (ใช้ นว้ิ มือเปน็ มาตรฐานขนาดของตาแห) แหตาใหญๆ่ จะใชต้ กึ ปลาใหญ่ เชน่ ปลาค้าว ปลาเคิง ปลาบึก ปลาป่งึ (เทโพ) • โสกแห คือ การนบั ความยาวแหเปน็ ศอกของผู้สาน จากจอมแหไปจนถึงปลายแหที่ใส่ลกู แห ให้ ตกตาแหน่งท่ดี ีที่สดุ ตามความเชอื่ แต่โบราณที่ว่า \"ถา้ ไมถ่ ูกโสกหรือโฉลกจะจับปลาได้ไม่ \"หมาน\" หรือ \"ได้ น้อย\" หรือไมเ่ ป็นมงคลน่ันเอง\" โสกน้นั มี 2 แบบ ดังนี้ โสกแบบที่ 1 แขแห แขปลา มาเปล่า เน่าซาน คานหัก ผกั เหมือด เลือดแดง แกงสม้ ตม้ หัว ขวั้ ลิ้น ป้นิ ตา \" โสกแบบที่ 2 แขแห แขปลา มาเปล่า เนา่ ซาน คานหกั ผกั เหมอื ด เลอื ดติด จดิ ปดิ จ่ีปี่ บ้ีหัว แม่ครวั นง่ั ตากแดด

ความหมายของโสก • มาเปล่า เลือดตดิ จิดปิดจ่ีป่ี บหี้ วั ขั้วลิ้น ปีน้ ตา ถือวา่ ไมถ่ ูกโสก ไม่เปน็ มงคล • แขแห, แขปลา, ผักเหมอื ด, แกงส้ม, ตม้ หัว ถือว่า พอไดพ้ อกินแต่ไมม่ าก • เน่าซาน คานหัก แม่ครัวน่ังตากแดด ถอื วา่ ถูกโฉลก เปน็ มงคลหาปลาไดเ้ ยอะ เยอะจนคานหกั นัง่ ขอดเกลด็ ไม่เสรจ็ งา่ ย คือ ทาท้งั คืนทง้ั วนั จนตะวนั ขน้ึ แดดจัดก็ยังทาอยู่เม่อื สานแหจวนจะไดค้ วามยาว ตามท่ีตอ้ งการแลว้ จงึ นบั โสก เมื่อจะถงึ จดุ ท่หี ยดุ ทาแขแหอีกตอ่ ไป ถา้ ตกโสกดกี ็จะหยุดสานคือโสก เนา่ ซาน คานหัก แมค่ รัวน่ังตากแดด (เปน็ ความเชือ่ ตามภูมิปัญญาอีสานดั้งเดิม ปัจจุบนั นี้มีแหสานสาเรจ็ จากเคร่อื งจักร มาขายก็คงไม่ไดน้ ่งั นับโสก แตจ่ ะถือเอาความยาวตามแหล่งน้าท่ีจะใช้ และขนาดช่องตาทจ่ี ะใช้จับปลาขนาดใด เป็นหลกั ) มอง ข่าย มอง หรือ ข่าย เป็นเครอื่ งมอื หาปลาทีใ่ ช้ได้ตลอดปี ยกเว้นในช่วงทีน่ า้ ไหลลงและแรงไม่สามารถใช้ มองได้ ลักษณะของมองคือ เป็นตาขา่ ยซึ่งทาจากเส้นเอน็ ขนาดเล็กหลายชนดิ เช่น มองใยไหม มองใยบัว ซง่ึ มองใยบัวมขี นาดเส้นเล็กกวา่ มองใยไหม และยงั มมี องเส้นใยหรือดา้ ยธรรมดาจะเสน้ ใหญ่และหนากว่าชนดิ อนื่ เครอ่ื งมอื หาปลาชนิดดักปลาท่ีชาวบ้านนิยมใช้กันมากทส่ี ุด คอื \"มอง\" หรอื \"ข่าย\" โดยใช้มองตาถีไ่ ปจนถงึ มอง ตาใหญท่ ี่มตี ง้ั แต่ขนาดเล็กมาก 2.5 เซนติเมตรไปจนถึงขนาด 21 เซนตเิ มตร ซ่งึ เป็นมองทมี่ ตี าขนาดใหญท่ สี่ ุด \" มอง มีลกั ษณะเป็นตาขา่ ย มีทุ่นขนาดเลก็ ผูกติดด้านบน ส่วนปลายมองด้านล่างจะมแี ท่งตะกวั่ ถ่วงใหม้ ี น้าหนัก ใหม้ องขวางลานา้ ไม่ปลิวไปตามนา้ เพอื่ ดักปลา ความกวา้ งของตาข่ายขึน้ อยู่กับขนาดของปลาที่ ตอ้ งการ และฤดกู าลทป่ี ลาอพยพ ส่วนความยาวของมองก็ขึน้ อยู่กบั ความกว้างของแมน่ า้ ในพื้นท่นี นั้ และ ขึ้นอยู่กบั ความตอ้ งการของผู้ใชด้ ว้ ยปลาที่จบั ได้ คือปลาเกอื บทกุ ชนิด ข้นึ อยูก่ ับการใสม่ องแบบใด เช่น ในลา

หว้ ยที่นา้ ไม่ลกึ มากนกั ใส่มองใหล้ ูกตะกว่ั ถึงดินก็จะได้ ปลาดกุ ปลากด ปลาแขยง ปลาเน้อื ออ่ น แต่ถ้าใส่ไมถ่ ึง ดินกจ็ ะได้ปลาผวิ น้า คอื ปลาขาว ปลาสร้อย ปลากุม่ ปลาตะเพยี น ปลาอ่ีไท ซง่ึ ใช้มองตาถ่ีเล็กๆ ขนาด 1-4 เซนติเมตร ปลาพวกนี้จะลอยข้นึ มาบนผวิ น้า ถ้าใส่มองช่วงเชา้ จะมายามตอนเยน็ ๆ ถา้ ใส่ตอนเย็นกจ็ ะมายาม ตอนเช้าหากต้องการจับปลาขนาดใหญ่ เช่น ปลาค้าว ปลาปาก ปลาโจก จะใชม้ องขนาดตา 6-8 เซนตเิ มตร จะไดข้ นาดปลาประมาณตวั ละ 1 กิโลกรัม ถา้ ใชต้ าข่ายขนาด 9-16 เซนติเมตร จะไดป้ ลาขนาด 2-4 กโิ ลกรมั เช่น ปลาอีตู๋ ปลาชะโด ปลาคา้ วใหญ่ ปลาซวย ปลาเคิง แต่ถา้ ใชต้ าขา่ ยขนาด 20 เซนติเมตรขนึ้ ไป กจ็ ะเปน็ การจับปลาท่ีมีนา้ หนกั เกิน 10 กิโลกรัมขึน้ ไป อยา่ งปลาบึก ปลาเคงิ ปลาคา้ ว ปลาซวย ปลาหหู มาด ซึ่ง ปัจจุบันนไ้ี มค่ อ่ ยมีปลาขนาดนแ้ี ลว้ คนจับเปน็ การค้าเกินไป พลเมืองมากขึน้ จานวนปลาในแหล่งน้าลดลง และยงั ขึ้นอยกู่ ับชว่ งเวลาที่ใช้ในการใสม่ องด้วย เช่น • เดอื นมีนาคม ปลาท่พี บมาก และมักจะอพยพข้นึ เหนือน้าในชว่ งน้ี เป็นปลากระบอก ปลา เคียง ปลาแปบ ฯลฯ โดยใชม้ องทมี่ ีขนาดความกวา้ งของตา 2-3 เซนตเิ มตร • เดือนมกราคม – เมษายน จะทาการไหลมอง ปลาแกง ส่วนขนาดของมองที่ใชต้ ามองขนาด 7-8 เซนตเิ มตร • เดือนเมษายน – มถิ นุ ายน เปน็ ช่วงที่ปลาบกึ ปลาเลมิ ซงึ่ เป็นปลาขนาดใหญ่ในแม่นา้ โขงจะ อพยพขึ้นวางไข่ มองที่ใช้จบั ปลาบึกและปลาเลมิ ก็จะทาขน้ึ เพือ่ จับปลาบึกและปลาเลิมโดยเฉพาะ ซ่งึ จะมขี นาด ตา 21-60 เซนตเิ มตร วธิ ีการใช้งานมอง มอง หรอื ขา่ ย มีวธิ ีการใชอ้ ยู่ 2 วธิ ี คือ \"การวางมอง\" ดักปลาไวต้ ามบรเิ วณตา่ งๆ ตามน้าโขงไว้ในชว่ ง เย็น รุ่งเชา้ ของอกี วันหนึง่ คนหาปลาจะลงไปดูวา่ มปี ลาติดหรอื ไม่ หากปลาติดก็จะเกบ็ เอาปลาออก จากน้นั ก็จะ วางมองไวต้ ามเดมิ ชว่ งเย็นหลงั กลับจากการทาไร่ สวน กจ็ ะลงมาดอู กี ครัง้ หรือเกบ็ กนู้ ากลับเอามาท่ีบา้ นเพ่อื

เอาปลาออก หากมีปลาติดอยมู่ าก เมื่อเอาปลาออกจากมองหมดก็จะทาความสะอาดแลว้ นากลบั ไปวางไว้ ในช่วงเย็นอกี วธิ ีการหนงึ่ เรยี กวา่ “ไหลมอง” คือ การปลอ่ ยหรอื ทิ้งมองลงในแม่นา้ บางครั้งกท็ ิง้ มองจากบนเรอื ขวางแมน่ ้าไว้ ดกั ปลาตรงทีม่ ีปลาอาศยั อยู่ เช่น ใกลแ้ กง่ บา้ งก็ไมต่ อ้ งใช้เรอื แต่ปลอ่ ยมองทิ้งไว้ตามชายฝง่ั ท่นี า้ ต่ืน ท้ิงระยะเวลาสกั พกั แลว้ คอ่ ยมาดูผลวา่ ได้ปลาหรอื ไม่ ฤดกู าลที่ใช้กต็ ลอดทัง้ ปี ใช้ในระบบนิเวศบริเวณแกง่ และพ้นื ท่ที ่ัวไปในลาน้าโขง นา้ มลู น้าชี ชนิดของมอง มีอยูห่ ลายชนิด ตามทอ้ งถ่ินทม่ี ลี านา้ แมน่ ้า กวา้ งใหญ่ มคี วามลกึ แตกต่างกนั เท่าท่ีปรากฏจากอดีตถงึ ปัจจบุ ันมีดังนี้ • มองหย่ัง คือ มองที่ใชข้ งึ ตาขา่ ยขวางลาน้า ปลาจะวา่ ยมาตดิ มองหรือตาขา่ ยเอง โดยไมต่ ้องทา อะไร แตค่ นหาปลาบางคนอาจจะใช้ไม้ตีที่ผิวน้าเพ่อื ให้เกิดเสยี งดงั จนปลาตกใจวา่ ยหนไี ปติดมอง ขนาดชอ่ งตา ขา่ ยของมองจะใช้ขนาด 3.5 - 10 เซนติเมตร • มองกวาด หรอื อวนลาก หรอื อวนทบั ตล่ิง เปน็ เครอื่ งมอื ท่ีใชใ้ นช่วงหลังฤดนู ้าลด แต่ระดบั น้ายัง ลึกพอสมควร คอื ในชว่ งเดอื นพฤศจิกายน - มกราคม มีขนาดยาวประมาณถงึ 100 เมตร ใช้จับปลาไดค้ ร้งั ละ มากๆ แต่ใชแ้ รงงานมากต้งั แต่ 7-10 คน ใชเ้ รอื สองลา โดยการยดึ เผียกมอง (เชือก/ทนุ่ ด้านบน) ไว้กับรมิ ฝง่ั ให้ เรือลาท่หี นึง่ พรอ้ มคน 3-4 คน พายเรอื และวางข่ายตีวงออกไปในลานา้ แล้วพายเรือให้วงโคง้ วกเขา้ หาฝ่งั อกี ด้านหน่งึ สว่ นเรืออกี ลาจะทาหน้าที่ยามมอง ตามเก็บปลาจากมอง รวมท้ังคอยตรวจสอบมองไมใ่ ห้ติดไม้หรือ หนิ ใตน้ ้า ด้วยการดาน้าลงไปปลดมองมองถุง มองชนดิ นี้จะใส่ตัดทางน้าไหล ใช้ใส่ตอนน้าไหลอ่อนๆ ตัวมองมี ขนาดความยาว (ลกึ ) มากกว่ามองหย่ัง เพราะใช้มองธรรมดาสอนตอนมาเย็บตดิ กัน ครา่ วบนร้อยดว้ ยเชือกผูก ยดึ กับไม้ริมฝัง่ นา้ ครา่ วล่างถว่ งดว้ ยหนิ เวลาใส่ลงในน้ากระแสน้าจะพดั มองโคง้ เป็นรปู ถุง สว่ นใหญน่ ิยมใช้มอง ขนาด 4-6 เซนตเิ มตร สงู 12 เมตร ยาวกว่า 10 เมตร มองถงุ เพ่ิงจะมีมาไมน่ านจากการคิดทากนั เอง จับปลา ประเภทปลาหนงั หรือปลาขาวขนาดใหญ่ • ทมุ่ มอง ใชไ้ ด้ทงั้ ในลานา้ ใหญ่และตามหนองบงึ วธิ ีการลงมองคลา้ ยกบั มองหยงั่ แต่จะทิง้ ใน ลักษณะเป็นวงกลม ผู้หาปลาจะใช้ไมท้ ่ีมีห่วงเหลก็ คลอ้ งตรงปลาย เพื่อทาให้เกดิ เสยี งดงั หรือทางมะพร้าว/ก่งิ ไม้ ทมุ่ ลงไปในวงด้านในของมอง ใหเ้ กิดเสียงดงั ใตน้ ้า ทาให้ปลาตกใจวา่ ยเข้าไปติดมองมองซิ่ง หรือโตง่ หรือ โพงพาง เป็นเครอ่ื งมือหาปลาชนิดดกั ปลา ทช่ี าวบ้านมีการดัดแปลงมาจากมองที่ใชห้ าปลากนั ทวั่ ไป เม่อื วัน เวลาผ่านไป แม่นา้ โขงเกิดการเปลี่ยนแปลง จานวนปลาลดลงมาก คนหาปลาจงึ ปรับเปล่ยี นวธิ กี ารใชเ้ คร่ืองมือ และวธิ ีการหาปลา เพอ่ื ใหจ้ ับปลาได้โดยการใช้มองท่ีมีขนาดตา่ งกัน ซึ่งจะใช้มองตาถี่กับมองตาใหญ่มาประกบ กัน เพื่อใหป้ ลาขนาดเลก็ ขนาดใหญต่ ิดมอง เช่นใช้มองขนาด 3 เซนติเมตร ซง่ึ เปน็ มองตาถ่ี ปะกบกับมอง ขนาด 10 เซนติเมตรท่ีมขี นาดใหญก่ วา่ นามอง 2 ขนาดนมี้ าปะกบติดกนั คนหาปลาจงึ ตั้งช่ือให้ใหม่วา่ เรียกวา่ “มองซง่ิ ” ปลาท่ีจบั ได้ ปลาทุกชนิดวธิ ีการใชม้ องซิ่ง จะวางมองซงิ่ ตามบรเิ วณตา่ งๆ ทเี่ ป็นทอ่ี ย่อู าศัยของปลา ในแมน่ ้าใหญ่ ใช้จับปลาได้ทงั้ ขนาดเล็กและขนาดใหญ่ โดยปลาใหญจ่ ะตดิ อยู่กับมองตาใหญ่ สว่ นปลาเลก็ เมื่อ เลด็ ลอดมองตาใหญ่ไปก็จะติดอยกู่ บั มองตาถ่ี ทาให้จับปลาไดท้ ้ังขนาดเลก็ และขนาดใหญ่ ขนาดความถ่หี รือ

ห่างของตามองนน้ั ขนึ้ อยกู่ ับคนหาปลาจะประเมนิ วา่ จะใชจ้ บั ปลาชนดิ ใด แลว้ จะเลือกขนาดความถข่ี องตาม มองเบอรต์ า่ งๆ แตกต่างกันออกไป เพื่อให้เหมาะกบั ชนดิ ของปลาที่ต้องการจบั ฤดกู าลทใ่ี ช้ กใ็ ช้ได้ตลอดท้ังปี ใชใ้ นระบบนิเวศบริเวณแกง่ และพืน้ ทที่ วั่ ไปในลาน้าใหญ่ เช่น แมน่ า้ โขง แมน่ า้ มูล แม่นา้ ชี พบเห็นได้ทว่ั ไปใน แม่นา้ โขงปัจจบุ ัน การไหลมอง ไหลมอง เป็นการเรียกชือ่ ตามวธิ กี ารจบั ปลา ที่ปล่อยมองไหลขวางไปตามแรงนา้ วิธกี ารน้จี ะตอ้ งใช้ เรือลอ่ งตามการไหลของมองดว้ ย เพื่อช่วยยามมองหรอื เกบ็ มองเมื่อถึงทา้ ยลวง วธิ กี ารไหลมองแบง่ ยอ่ ยออกได้ อกี 3 รูปแบบ คือ • การไหลมองพ้นื นา้ หรอื ไหลราบ วธิ ีนคี้ นหาปลาจะถ่วงตะกั่วใหม้ องจมลงใกลต้ ดิ พนื้ ดินใตท้ ้องน้า • การไหลมองครึ่งน้า เปน็ การถว่ งตะกั่วใหม้ องจมลงไปแคก่ ลางน้า หรอื กึ่งกลางระหวา่ งทอ้ งน้า และผิวนา้ • การไหลปลวิ เปน็ การไหลมองผิวนา้ คนหาปลาจะเพิ่มทนุ่ และลดตะก่วั เพ่อื ใหม้ องลอยตง้ั ตวั อยู่ ใต้ผวิ น้า เลก็ นอ้ ย การใช้มองดว้ ยวธิ กี ารนจ้ี ะตอ้ งมี “ลวง” เฉพาะ ไม่สามารถไหลได้ทว่ั ไป เนือ่ งจากมองอาจ เสียหายจากการเก่ยี วพนั กับรากไม้ ตอไม้ หรอื หนิ ดังน้นั จงึ มกั มกี ารทาความสะอาดลวง หรือ “สา่ วลวง” เพ่ือ เก็บหนิ หรือเศษไมอ้ อกจากบริเวณดังกลา่ ว โดยมากแลว้ ลวงของวิธกี ารใชม้ องประเภทนี้ จะอย่บู รเิ วณวงั ขุม หรอื เวิน ท่ีพน้ื ใต้ล่างเป็นดนิ หรอื ทรายยกเว้นการไหลมองครงึ่ นา้ และการไหลปลวิ ท่ีพืน้ นา้ อาจเป็นหนิ กไ็ ด้ เน่ืองจากมองไมข่ งึ ตัวถงึ ใตท้ อ้ งน้า การไหลมองมกั ทาในสองฤดู คือ ฤดูปลาข้นึ เดอื นมิถุนายนถึงเดือนสิงหาคม และฤดูปลาล่อง เดือนธันวาคมถงึ เดือนกุมภาพันธ์ อย่างไรก็ตามบางพื้นทีส่ ามารถไหลมองได้ตลอดทง้ั ปี ยกเวน้ ช่วงน้าหลากมากในเดือนกนั ยายนถงึ เดือนพฤศจกิ ายนในช่วงทีน่ ้าหลาก คนหาปลาจะไหลมองบรเิ วณหว้ ย หรอื บุ่ง การไหลมองจะไหลท้ังวันท้ังคืน ใครมากอ่ นจะไดไ้ หลก่อน หากมคี นจานวนมากมาไหลรว่ มกนั จะมี การจดั คิวใหก้ บั ทุกคน โดยเฉพาะในช่วงปลาขึน้ ทาให้วันหนง่ึ แตล่ ะคนจะไหลมองได้เพียง 1-3 รอบต่อวนั ขน้ึ อยู่กับจานวนคนทม่ี าไหลมองในวนั นน้ั ๆ วนั หนึ่งๆ จะได้ปลาประมาณ 10-20 กโิ ลกรัม ข้อสงั เกตในการใชแ้ หและมอง การจับปลาโดยวิธีใช้แหเปน็ เครือ่ งมือ ทาใหป้ ลาไมบ่ อบซ้า เพราะเครอื่ งมือเบาและเป็นการจับปลาท่ี ใช้เวลาไม่มาก ถ้าเป็นจบั ปลาโดย มอง ทาให้ปลาอาจตายกอ่ น และบอบซ้าจากการดิน้ รนของปลาที่ถกู ตาข่าย ของมองรดั ตวั น่ันเอง การจับปลาด้วยมองจะตอ้ งใชเ้ วลานานกว่าจับด้วยอปุ กรณจ์ ับประเภทแหเพราะตอ้ งรอ ใหป้ ลามาติดกบั ดกั ตาข่ายของมองกอ่ น ยกเว้น การจับปลาในบรเิ วณที่เลีย้ งไวใ้ นสระ หรอื โซนวังปลา (ท่ี ชาวบา้ นนาก่งิ ไมม้ าวางไวใ้ นลานา้ ให้ปลาไดห้ ลบเป็นท่ีพกั ) จะไดป้ ลาในเวลาไม่นานนัก ซ่ึงกไ็ ม่แตกตา่ งกนั มาก เท่าไหร่ ข้ึนอยกู่ บั ผจู้ ับปลาว่ามีเวลามากน้อยเพียงใด น่นั เอง

สวงิ \"สวงิ \" หรอื \"หวิง” ในภาษาอสี านส่วนภาคกลางจะเรยี กวา่ “สวิง” ส่วนทางภาคเหนอื เรียกวา่ “หิง” องค์ประกอบของสวิง แบง่ ออกเป็น 2 สว่ น คอื • “ตาขายทรงกรวย” จะทาการถักใหม้ ีความยาว 1 ชว่ งแขนของผู้ถกั ทามาจากด้ายทม่ี คี วาม เหนยี ว ด้านบนของสวิงจะกว้าง ด้านลา่ งจะแคบเรยี วลงมาจนสดุ ปลาย • “กง” หมายถึง ขอบไม้ทาด้วยไมไ้ ผ่ หรอื เครือไม้ ทาเปน็ รูปทรงสามเหล่ยี มด้านเท่า หรือทรง กลม หลังจากสานจนได้รปู แลว้ นามาประกอบเขา้ กับขอบไม้ไผ่ มหี ลายขนาด ต้ังแต่ 20 เซนติเมตร จนถงึ ประมาณ 50 เซนตเิ มตรทงั้ 3 ดา้ น หากเป็นลกั ษณะการสานแบบสามเหลย่ี ม ซึง่ พบเหน็ ได้ทางภาคอสี าน สว่ นทางภาคเหนอื จะทาขอบ เป็นวงกลม สวงิ ทม่ี ขี นาดปากเล็กมีดา้ มจะใชต้ ักปลาทีต่ ิดเบด็ สวิงขนาดปากใหญ่จะใชห้ าปลาตามลาหว้ ย หนองนา้ ริมฝั่ง โดยการชอ้ น การสานสวิง จะใชไ้ ม้ไผเ่ หลาเปน็ เส้นกลม ปลายมน ยาวประมาณ 30 เซนติเมตร พันเชือกไวก้ ลางเสน้ ไม้ คลายเชือกออกมา ผกู ตรงกลางกอ่ นเหมอื นจอมแหสนั้ ๆ แลว้ ผูกริมออกมา ใชป้ ลายไมง้ ดั สอดดึงผูกเป็นตาถี่ ขยายเป็นรัศมีวง กว้างออกเปน็ รอบๆ จากตาแหเล็กๆ ค่อยๆ ขยายตาให้ห่างแตก่ ย็ ังถือว่าเป็นตาถอี่ ยู่ ขณะเดยี วกนั กบ็ ังคับถกั ให้ เปน็ ถุง ลักษณะเป็นถงุ ตาขา่ ย เมอื่ เห็นวา่ ได้ความกว้างและความลกึ พอทก่ี าหนดไว้ ตามกงหรอื ขอบวงกลมท่ี เตรียมไว้ ทาจากกิง่ ต้นขอ่ ยลอกเปลือกเหลอื เนือ้ ไม้ดดั เปน็ ขอบวงกลม โดยรวมสวิงจะมขี นาดประมาณ เส้นผา่ ศนู ย์กลางระหวา่ ง 40 – 50 เซนตเิ มตร เม่ือเห็นวา่ ไดข้ นาดตามกาหนด แล้วจงึ ใช้เส้นไม้ไผท่ เี่ หลา

ค่อนขา้ งแบนรอ้ ยผกู ตามช่องรมิ ตาขา่ ยโดยรอบเป็นวงกลม ผกู ปลายไมต้ ิดกนั นาไปทาบพอดีดา้ นในเส้นกง หรือขอบนอก ใชต้ ะปูดอกเล็กๆ ตอกเส้นไม้ไผต่ ดิ กบั กงขอบนอกหา่ งกันเป็นระยะ 3 เซนติเมตรโดยรอบ กจ็ ะ ได้สวงิ ท่ีสมบรู ณ์ อปุ กรณ์ในการสานสวิง 1.ไม้จมี 2.ไม้มอบ (ทาจากไมไ้ ผ่)

3.ไมข้ อบสวงิ 4.ดา้ ยถัก, ดา้ ยผกู

5.ฆ้อน ,สว่าน 6.ลวด , ตะปู

กระบวนการและข้ันตอนในการสานสวิง 1.นาด้ายมาผกู ที่จมี สวงิ ขัดเงือ่ นตาย 2. ถกั ให้ได้ 20 ตาโดยการเพม่ิ แข (เพิ่มความกวา้ ง) 4 มมุ ถกั ต่อไปเรื่อยๆ จนได้ขนาดตามตอ้ งการ

3.ใส่ไม้มอบเสยี บท่ปี ากสวงิ ใหร้ อบวง (ไมม้ อบทาจากไมไ้ ผ)่ 4. นามาทาบกับขอบแล้วนาเชอื กไนลอ่ น มาร้อยให้ติดกบั ไม้มอบ

5.สอดเชือกใหไ้ ด้ 2 รอบ ตอกตะปปู ดิ ขอบ ร้อยเชือกใหเ้ หลือหว่ งผกู ไว้ การสานหรอื ถกั สวิง น้ีสว่ นมากจะเปน็ งานผู้หญงิ และกล่มุ คนที่ใช้สวิงมากทส่ี ุดคือกลุ่มผหู้ ญงิ อกี นนั่ แหละ เพราะสวิงมีนา้ หนักเบา บางคนก็จะสานเพื่อเอาไวใ้ ชเ้ อง บางคนก็ซอ้ื มาจากตลาด ราคาอนั หนง่ึ อยทู่ ี่ ประมาณ 80-90 บาท ไมร่ วมค่าเข้าขอบซงึ่ เปน็ ไม้ เพราะเวลาซื้อสวงิ มาจากตลาดต้องนามาเขา้ ขอบเองปลาที่ จับได้ ปลาหลด ปลาอีด ปลาฮากกล้วย ปลาขาว ปลาซวิ ปลาสลาก ปลาก่อ ปลาดกุ กุ้ง หอย ปู วธิ ีการใช้ จับ ด้านบนของขอบสวงิ ช้อนปลาไปตามริมฝ่งั นา้ แล้วยกข้ึนมาดวู า่ มีปลามาติดหรือไม่ ถา้ ปลามาติดก็เอาปลา ออกแล้วเอาใส่ข้องท่ีเตรียมไปด้วย ฤดูกาลที่ใช้ หาปลาไดต้ ลอดทั้งปี ใช้ในระบบนเิ วศ ลาหว้ ย รมิ ฝั่งแม่น้าโขง ชี มลู บ่งุ ในป่าทาม หรอื แหล่งน้าต่างๆ ทมี่ ีความลึกไมเ่ กนิ ระดบั เอว พบเหน็ ได้ทว่ั ไปตามแม่น้าโขง และลาห้วย สาขา และแถบลมุ่ นา้ ตา่ งๆ เน่อื งจากเป็นเครื่องมือหาปลาทนี่ ิยมใชก้ นั มาก

สวิงตาถ่ี นอกจากใชช้ ้อนจบั ปลาทั่วไปได้แล้ว ยังสามารถใชก้ รองจบั ไขม่ ดแดงที่อยู่ในรงั บนตน้ ไมไ้ ด้ โดยการใช้เชอื กผกู ที่ริมโครงปากสวิงผูกตอ่ กบั ไมไ้ ผร่ วกลายาวประมาณ 5 – 6 เซนตเิ มตร ผกู หา่ งจากปลายไม้ ประมาณหนึง่ คบื ใชแ้ หย่ไขม่ ดแดงประมาณเดอื นสีเ่ ดือนห้า หรือประมาณเดอื นมีนาคม เมษายน ใช้ปลายไม้ แหย่แทงเขา้ ใตร้ งั มดแดง แลว้ เคาะเขย่าให้ไขม่ ดแดงรว่ งหลน่ ในถงุ ตาขา่ ยสวงิ ตวั มดแดงจะตกลงมาดว้ ยก็จะ ออกไต่หนี เมือ่ สงั เกตเห็นว่าหมดไขแ่ ล้ว กจ็ ะเทจากถุงสวิงลงมาในถงั ที่มีนา้ ขงั อยู่ ไขม่ ดแดงจะตกลงใต้นา้ ส่วนตวั มดจะลอยอยูผ่ วิ น้า ใช้ใบไมห้ รือเศษผ้าคนกวนทีผ่ ิวนา้ เพ่อื ใหม้ ดแดงเกาะติดออกมาแล้วท้ิงไป จะ กระทาเชน่ น้ีจากรังหนึ่งไปอีกรังหนึง่ ใหไ้ ดไ้ ขม่ ดแดงทีพ่ อใจ เทนา้ ในถังท้ิงเหลือเพยี งไข่มดและตัวออ่ นมดแดงใช้ ใบไมม้ าทากระทง ตกั ไขม่ ดแดงใส่กระทงแบ่งขายไดร้ าคาดี สดๆ ใหมๆ่ หนง่ึ ปีมหี น่ึงครง้ั ใครๆ ก็ซือ้ ตอ่ รองเพิ่ม ลดไข่มดกนั ได้ เม่อื นามาประกอบอาหารใชไ้ ข่มดแดงแทนเนือ้ ไก่ เนอื้ วัว เน้อื หมู แกงขีเ้ หลก็ หรือแกงรว่ มกับ ผกั หวานปา่ ทแี่ ตกยอดออ่ นออกมาช่วงเดอื นหา้ สัมพันธ์กนั พอดี คนในเมืองซือ้ มาผสมตีเข้ากบั ไขไ่ ก่ ไข่เป็ด ทอดเปน็ ไข่เจียวกนิ อิม่ อรอ่ ยลืมไม่ลงกันเลยทเี ดยี วนอกจากนนั้ ในประเพณโี บราณอีสาน ยงั มีการนาสวิงไป ประกอบในพิธกี ารสอ่ นขวัญ เรยี กขวญั ของคนเจบ็ คนตายให้กลับมาอยู่บา้ นอยู่เฮอื นปัจจบุ ัน การถ่ายทอด ความรู้ดา้ นการสานสวิงยงั คงมีอยู่บ้างตามชนบท แต่เยาวชนรนุ่ ใหม่ท่ีตัง้ ใจสบื ทอดการสานสวงิ มจี านวนลดลง และหลายชมุ ชนก็ไม่สามารถสืบทอดภูมิปัญญาการสานสวงิ ไว้ได้ จึงจาเป็นทหี่ นว่ ยงานทีเ่ กย่ี วขอ้ งไดร้ ว่ มกนั อนุรักษแ์ ละสืบสานใหม้ รดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมแขนงนคี้ งอยสู่ ืบไป

การศกึ ษาภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ ดา้ นการสานสวิง จากคุณยาย สี ก้อนมะณี นกั เรียนโรงเรยี นผสู้ งู อายุ เทศบาลเมืองวงั น้าเยน็ อาเภอวังน้าเยน็ จงั หวดั สระแกว้ ในครง้ั นี้ทาให้ไดเ้ รยี นรวู้ ิถพี นื้ บ้านในสมัยโบราณ การ ดาเนนิ ชวี ติ ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถนิ่ ทมี่ ีความสัมพนั ธ์จากอดตี สูป่ ัจจุบัน การถ่ายทอดภูมิปัญญา พน้ื บา้ นการสานสวงิ ของคณุ ยาย สี กอ้ นมะณี ท่ีไดร้ บั การถ่ายทอดมาจากคุณแม่ของคณุ ยาย ท่อี ยู่บา้ นห้วย มว่ ง ตาบลนาดนิ ดา อาเภอเมืองเลย จังหวัดเลย คุณแม่ของคุณยายไดส้ อนการสานสวิงใหก้ ับคุณยาย สี ก้อนมะณี ในชว่ งท่วี า่ งจากการเก็บเกีย่ ว การทานา ชาวบา้ นในหมู่บ้านจะสานสวงิ เพ่อื ใชเ้ ป็นอปุ กรณ์จับกงุ้ หอย ปู ปลา โดยเริ่มการเรยี นรกู้ ารสานสวงิ มาตงั้ แต่อายุ 19 ปี จากน้นั คณุ ยายไดย้ ้ายมาอยู่กบั สามีท่ี ตาบลวงั น้าเยน็ อาเภอวงั นา้ เย็น จังหวัดสระแกว้ ประกอบอาชีพทานาทาไร่ และในช่วงท่วี า่ งจากการทานาทาไร คณุ ยาย สี กอ้ นมะณี กจ็ ะสานสวิง นอกจากจะสานสวิงเอาไวจ้ ับสตั วน์ า้ สัตวบ์ กพวกแมลง มดตวั เล็กๆแลว้ คุณ ยายยังมีรายได้จากการสานสวิงขายในชมุ ชน และในตลาดที่อย่ใู นหมู่บา้ น และตลาดในอาเภออีกด้วย และคุณยาย สี กอ้ นมะณี ยังไดถ้ า่ ยทอดภูมิปัญญาการสานสวงิ ให้กับลกู ๆ และหลาน ๆ เฉกเชน่ เดียวกนั กับที่ คุณแม่ของคุณยายได้เคยถา่ ยทอดภมู ิปญั ญาการสานสวงิ ไวใ้ หค้ ณุ ยาย สี กอ้ นมะณี เชน่ เดยี วกัน ดังนัน้ การสืบ ทอด ความคิด ความเชื่อ และวัฒนธรรมทางสังคม จากคนรุ่นเก่าสู่คนรุ่นใหม่เพ่อื สืบทอดภูมิปัญญาท้องถิน่ ทม่ี ี อยู่ใหค้ งอยู่ควบค่กู ับการพัฒนาเป็นอาชพี และรายได้ของชุมชนสืบตอ่ ไป ประโยชนแ์ ละการใช้งาน 1.การสานสวิงเหมาะสาหรับผู้สูงอายุทอี่ ย่บู ้าน การสานสวงิ จะทาให้มงี านอดิเรกทาคลายเหงาได้ 2.การสานสวิงเป็นการใช้เวลาวา่ งจากอาชพี หลกั ในการสวน เปน็ การใชเ้ วลาว่างใหเ้ กดิ ประโยชน์ สาหรบั บุคคลทวั่ ไป 3. การสานสวงิ สามารถทาใชเ้ องก็ไดห้ รอื ทาไวจ้ าหนา่ ยก็ได้ เป็นการหารายได้ใหแ้ ก่ครอบครวั อีกทาง หนึ่งด้วย 4.การสานสวงิ สามารถถ่ายทอดจากรุน่ สูร่ ุ่น เปน็ ฝีมือแรงงานในชมุ ชน จงึ ทาให้คนในชุมชนมีความ ผูกพันกันเหมอื นญาตพิ ่นี ้อง มีการรวมกลุ่มถ่ายทอดสมาชกิ ในชมุ ชนใหไ้ ด้รับความรู้ สร้างความเข้าใจให้ตรงกัน ในการพฒั นาภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น นารายได้มาสู่คนชุมชนได้อย่างย่งั ยนื อกี ดว้ ย การนาภมู ิปญั ญาการสานสวิงไปใชใ้ นการดาเนินชีวิต 1. เพื่อสบื สานภมู ิปัญญาท้องถิน่ เร่อื งการสานสวิงสลู่ กู หลานสืบต่อไป 2. เพ่อื นาความรูท้ ไ่ี ดม้ าประกอบอาชีพ 3. ทาให้ผูส้ งู อายุได้ใชเ้ วลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์ ข้อเสนอแนะ 1. ควรประยุกตป์ รับปรุงรปู แบบและขนาดใหใ้ ชไ้ ดห้ ลากหลากกับขนาดของสตั ว์นา้ 2. ใช้สยี ้อมด้ายจากธรรมชาติ

ภาคผนวก - ประวตั ิผูจ้ ัดทาภูมปิ ัญญาศึกษา - ภาพประกอบ

ประวตั ิผถู้ า่ ยทอดภูมปิ ัญญา ชอื่ : นางสี กอ้ นมะณี เกดิ : 9 เมษายน 2494 อายุ 68 ปี ภูมลิ าเนา : บา้ นหว้ ยมว่ ง ตาบลนาดินดา อาเภอเมืองเลย จังหวดั เลย ที่อย่ปู จั จุบัน: บา้ นเลขท่ี 216/1 หมู่ 7 ตาบลวงั นา้ เย็น อาเภอวงั น้าเยน็ จังหวดั สระแก้ว สถานภาพ: สมรส กับ นายวเิ ศษ ก้อนมะณี มีบุตรดว้ ยกัน จานวน 7 คน ดงั น้ี 1.นายสมปอง กอ้ นมะณี 2.นายสมพงษ์ ก้อนมะณี 3.นายทองจันทร์ กอ้ นมะณี 4.นางสาวสายฝน ก้อนมะณี 5.นางสาวมนสวรรค์ ก้อนมะณี 6.นายสรุ ชยั ก้อนมะณี 7.นายวษิ ณุ ก้อนมะณี การศกึ ษา: ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ โรงเรียนวัดศรีบวร หว้ ยโจด ตาบลหนองมะเขอื จงั หวัดขอนแกน่ ปัจจุบัน ประกอบอาชพี : เล้ียงโคเนอื้ ประวตั ผิ ้เู รียบเรยี งภมู ิปัญญาศกึ ษา ชอ่ื : วา่ ที่ร.ต.หญิงกานตพ์ ิชชา ภมู ิโสม เกิด : 29 กันยายน 2510 อายุ 52 ปี ภูมลิ าเนา : 28 หมู่ 5 ตาบลพติ เพียน อาเภอมหาราช จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา ที่อยู่ปัจจบุ นั : 309/1 หมู่ 9 ตาบลวงั น้าเยน็ อาเภอวังนา้ เย็น จังหวดั สระแก้ว สถานภาพ : สมรส การศึกษา : ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต (ศษ.ม) ปัจจุบนั ประกอบอาชพี : รับราชการครู

ภาพประกอบการจดั ทาภูมปิ ัญญาศกึ ษา เรื่อง การสานสวิง

การประชุมช้ีแจงการดาเนินโครงการ จัดทาภูมปิ ัญญาศึกษาสบื สานภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ ร่นุ ท่ี 3/2561 ประจาปกี ารศึกษา 2561

สมั ภาษณภ์ ูมปิ ญั ญาและออกเก็บขอ้ มูลการสานสวงิ

เกบ็ ข้อมลู ขั้นตอนการสานสวงิ

การถ่ายทอดภมู ิปญั ญาการสานสวงิ ส่ลู ูกหลาน

บรรณานุกรม ประวัติความเป็นมาการสานสวิง สืบค้นเมอื่ วนั ท่ี 5 มกราคม 2562 จาก/ https://www.google.co.th/search?ei=CB9HXMCLBsilwgP __qLABg&q=ประวตั คิ วามเปน็ มา การสานสวิง&oq=ประวัติความเปน็ มาการสานสวิง เคร่อื งมือดกั สตั วน์ า้ สืบค้นเมือ่ วนั ท่ี 7 มกราคม 2562 จาก/ https://www.google.co.th/search?hl=th&authuser=0&q=ภมู ิปัญญา+ท้องถิ่น+อุปกรณ+์ จบั + ปลา&sa=X&ved=2ahUKEwjMl6HJ79rgAhULLo8KHa1yA- oQ1QIoAHoECAYQAQ&biw=1366&bih=657 ภูมิปัญญาโบราณกับการหาเลีย้ งชพี สืบคน้ เม่ือวันที่ 11 มกราคม 2562 จาก https://www.isangate.com/new/isan-tradition/32-art-culture/knowledge/673-hae- swing-tools4fish.html แห ผศ.ปกรณ์ คณุ ารกั ษ์, ธรรมทัศน์ ปที ่ี ๕ ฉบบั ท่ี ๒ กรกฎาคม – ตลุ าคม ๒๕๔๗ สวิงสามเหล่ียม สืบคน้ เม่อื วันที่ 12 มกราคม 2562 จาก/ https://www.google.com/search?q=สวงิ สามเหลยี่ ม&oq=สวิ&aqs


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook