ภมู ิปญั ญาศึกษา เร่ือง ขา้ วต้มมดั โดย 1. นางบญุ โฮม ดาดวง (ผ้ถู ่ายทอดภูมิปญั ญา) 2. นางสาวพชั รินทร์ เครือนอก (ผเู้ รยี บเรียงภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ ) เอกสารภูมิปญั ญาศึกษาน้ีเป็นสว่ นหนง่ึ ของการศกึ ษา ตามหลกั สูตรโรงเรียนผู้สงู อายเุ ทศบาลเมืองวังน้าเย็น ประจ้าปกี ารศกึ ษา 2561 โรงเรยี นผู้สงู อายเุ ทศบาลเมอื งวังน้าเยน็ สงั กัดเทศบาลเมอื งวังน้าเย็น จงั หวดั สระแก้ว
ค้าน้า ภมู ปิ ๓ญญาท๎องถ่นิ หรอื เรียกชือ่ อีกอยํางหน่งึ วาํ ภูมิป๓ญญาชาวบ๎าน คือองค๑ความร๎ูที่ชาวบ๎านได๎สั่งสม จากประสบการณ๑จริงท่ีเกิดข้ึนหรือจากบรรพบุรุษที่ได๎ถํายทอดสืบกันมาตั้งแตํในอดีตมาจนถึงป๓จจุบัน เพ่ือ นามาใช๎แก๎ปญ๓ หาในชวี ิตประจาวัน การทามาหากิน การประกอบการงานเล้ียงชีพ หรือกิจกรรมอื่นๆ เป็นการ ผํอนคลายจากการทางาน หรือการย๎ายถ่ินฐานเพ่ือมาตั้งถิ่นฐานใหมํแล๎วคิดค๎นหรือค๎นหาวิธีการดังกลําวเพ่ือ การแก๎ป๓ญหา โดยสภาพพ้ืนที่นั้นชุมชนวังน้าเย็นแหํงนี้ เกิดขึ้นเมื่อราว ๆ 50 ปีที่ผํานมา จากการอพยพ ถิ่นฐานของผูค๎ นมาจากทกุ ๆ ภาคของประเทศไทยแล๎วมากํอตั้งเป็นชุมชนวังน้าเย็น ซ่ึงบางคนได๎นาองค๑ความร๎ู มาจากถ่ินฐานเดิม แล๎วมีการสืบทอด สืบสาน มาจนถึงป๓จจุบัน เชํนเดียวกับข๎าวต๎มมัด โดย นางบุญโฮม ดาดวงได๎รวบรวมเรียบเรียงถํายทอดประสบการณ๑ให๎คนรนํุ หลงั ได๎สืบค๎น หรือค๎นคว๎าเป็นภูมิป๓ญญาศึกษา ของ คนในชุมชนเทศบาลเมืองเมืองวงั นา้ เย็น จงั หวัดสระแกว๎ ผู๎ศึกษาขอขอบพระคุณ นายวันชัย นารีรักษ๑ นายกเทศมนตรีเมืองวังน้าเย็น และ นายคนองพล เพ็ชรร่ืน ปลัดเทศบาลเมืองวังน้าเย็น คณะกรรมการโรงเรียนผู๎สูงอายุ กองสวัสดิการสังคม กองสาธารณสุข และสิ่งแวดลอ๎ ม เทศบาลเมอื งวังนา้ เยน็ โรงเรยี นเทศบาลมติ รสัมพันธ๑วทิ ยา โรงเรยี นอนุบาลเทศบาลเมอื ง วังน้าเย็น หนํวยงานอื่นๆ ที่เก่ียวข๎อง และขอขอบพระคุณ นางสาวพัชรินทร๑ เครือนอก ที่ได๎เป็นท่ีปรึกษา ดูแลรับผิดชอบงานด๎านธุรการ บันทึกเรื่องราวและจัดทาเป็นรูปเลํมท่ีสมบูรณ๑ครบถ๎วนความรู๎อันใดหรือกุศล อนั ใดทีเ่ กดิ จากการรํวมมอื รํวมแรงรํวมใจรํวมพลงั จนเกดิ มีภมู ิป๓ญญาศึกษาฉบับน้ี ขอกุศลผลบุญนั้นจงเกิดมีแกํ ผเ๎ู กี่ยวขอ๎ งดงั ท่กี ลําวมาทกุ ๆ ทํานเพอื่ สรา๎ งสงั คมแหงํ การเรียนตํอไป บุญโฮม ดาดวง พชั รนิ ทร๑ เครือนอก ผ๎ูจดั ทา
ที่มาและความส้าคัญของภมู ิปัญญาศึกษา จากพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่วํา “ประชาชนนั่นแหละที่ เขามีความรู๎เขาทางานมาหลายชั่วอายุคน เขาทากันอยํางไรเขามีความเฉลียวฉลาด เขารู๎วําตรงไหนควรทา กสกิ รรมเขาร๎ูวาํ ตรงไหนควรเก็บรักษาไว๎แตํที่เสียไปเพราะพวกไมํรู๎เรื่องไมํได๎ทามานานแล๎วทาให๎ลืมวําชีวิตมัน เป็นไปโดยการกระทาทถ่ี ูกต๎องหรอื ไมํ” พระราชดารสั ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา-ภูมิพลอดุลยเดช ท่ีสะท๎อนถึงพระปรีชาสามารถในการรับร๎ูและความเข๎าใจหยั่งลึกท่ีทรงเห็นคุณคําของภูมิป๓ญญาไทยอยําง แท๎จริงพระองค๑ทรงตระหนักเป็นอยํางยิ่งวําภูมิป๓ญญาท๎องถ่ินเป็นสิ่งที่ชาวบ๎านมีอยํูแล๎วใช๎ประโยชน๑เพื่อความ อยูํรอดกันมายาวนาน ความสาคัญของภูมิป๓ญญาท๎องถ่ินซ่ึงความร๎ูท่ีสั่งสมจากการปฏิบัติจริงในห๎องทดลอง ทางสังคมเป็นความรู๎ด้ังเดิมท่ีถูกค๎นพบ มีการทดลองใช๎แก๎ไขดัดแปลงจนเป็นองค๑ความร๎ูที่สามารถแก๎ป๓ญหา ในการดาเนนิ ชีวติ และถํายทอดสืบตํอกันมาภูมปิ ญ๓ ญาทอ๎ งถนิ่ เปน็ ขุมทรัพยท๑ างป๓ญญาที่คนไทยทุกคนควรรู๎ควร ศึกษาปรับปรุงและพัฒนาให๎สามารถนาภูมิป๓ญญาท๎องถ่ินเหลําน้ันมาแก๎ไขป๓ญหาให๎สอดคล๎องกับบริบททาง สังคมวัฒนธรรมของกลํุมชุมชนน้ัน ๆอยํางแท๎จริง การพัฒนาภูมิป๓ญญาศึกษานับเป็นส่ิงสาคัญตํอบทบาท ของชุมชนท๎องถ่ินที่ได๎พยายามสร๎างสรรค๑เป็นน้าพักน้าแรงรํวมกันของผ๎ูสูงอายุและคนในชุมชนจนกลายเป็น เอกลักษณ๑และวัฒนธรรมประจาถิ่นท่ีเหมาะตํอการดาเนินชีวิต หรือภูมิป๓ญญาของคนในท๎องถิ่นน้ันๆแตํภูมิ ป๓ญญาท๎องถ่ินสํวนใหญํเป็นความร๎ู หรือเป็นส่ิงท่ีได๎มาจากประสบการณ๑หรือเป็นความเช่ือสืบตํอกันมาแตํยัง ขาดองค๑ความร๎หู รือขาดหลักฐานยนื ยนั หนักแนํนการสร๎างการยอมรับท่ีเกิดจากฐานภมู ิป๓ญญาท๎องถ่ินจึงเป็นไป ไดย๎ าก ดังนนั้ เพ่ือให๎เกิดการสํงเสริมพัฒนาภมู ปิ ๓ญญาที่เปน็ เอกลักษณ๑ของท๎องถ่ินกระตุ๎นเกิดความภาคภูมิใจ ในภูมิป๓ญญาของบุคคลในท๎องถิ่น ภูมิป๓ญญาไทยและวัฒนธรรมไทยเกิดการถํายทอดภูมิป๓ญญาสูํคนรํุนหลัง โรงเรียนผู๎สูงอายุเทศบาลเมืองวังน้าเย็นได๎ดาเนินการจัดทาหลักสูตรการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาศักยภาพ ผ๎ูสูงอายุในท๎องถ่ินที่เน๎นให๎ผ๎ูสูงอายุได๎พัฒนาตนเองให๎มีความพร๎อมสํูสังคมผ๎ูสูงอายุท่ีมีคุณภาพในอนาคต รวมทั้งสืบทอดภูมิป๓ญญาในการดารงชีวิตของนักเรียนผู๎สูงอายุท่ีได๎สั่งสมมา เกิดจากการสืบทอดภูมิป๓ญญา ของบรรพบุรุษ โดยนักเรียนผ๎ูสูงอายุจะเป็นผู๎ถํายทอดองค๑ความรู๎ และมีครูพี่เลี้ยงซึ่งเป็นคณะครูของ โรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองวังน้าเย็นเป็นผ๎ูเรียบเรียงองค๑ความรู๎ไปสํูการจัดทาภูมิป๓ญญาศึกษาให๎ปรากฏ ออกมาเป็นรูปเลํมภูมิป๓ญญาศึกษา ใช๎เป็นสํวนหนึ่งในการจบหลักสูตรการศึกษาของโรงเรียนผู๎สูงอายุ ประจาปีการศึกษา 2560 พร๎อมท้ังเผยแพรํและจัดเก็บคลังภูมิป๓ญญาไว๎ในห๎องสมุด ของโรงเรียนเทศบาล มิตรสัมพันธว๑ ิทยาเพื่อใหภ๎ ูมปิ ๓ญญาทอ๎ งถน่ิ เหลาํ นเ้ี กิดการถํายทอดสํูคนรํุนหลงั สบื ตํอไป จากความรํวมมือในการพัฒนาบุคลากรในหนํวยงานและภาคีเครือขํายท่ีมีสํวนรํวมในการผสมผสาน องค๑ความร๎ูเพื่อยกระดับความรข๎ู องภมู ปิ ๓ญญานน้ั ๆเพอ่ื นาไปสกํู ารประยุกต๑ใชแ๎ ละผสมผสานเทคโนโลยีใหมํๆให๎ สอดรับกับวิถีชีวิตของชุมชนได๎อยํางมีประสิทธิภาพการนาภูมิป๓ญญาไทยกลับสํูการศึกษาสามารถสํงเสริมให๎มี การถํายทอดภูมิป๓ญญาในโรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพันธ๑วิทยา และโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองวังน้าเย็น เกิดการมีสํวนรํวมในกระบวนการถํายทอด เชื่อมโยงความรู๎ให๎กับนักเรียนและบุคคลท่ัวไปในท๎องถิ่น โดยการ นาบคุ ลากรทมี่ ีความรคู๎ วามสามารถในท๎องถิ่นเขา๎ มาเป็นวิทยากรใหค๎ วามร๎ู
กับนักเรียนในโอกาสตํางๆหรือการท่ีโรงเรียนนาองค๑ความร๎ูในท๎องถิ่นเข๎ามาสอนสอดแทรกในกระบวนการ จดั การเรียนร๎ู สงิ่ เหลํานีท้ าให๎การพัฒนาภมู ปิ ญ๓ ญาทอ๎ งถ่นิ นาไปสูํการสบื ทอดภมู ิปญ๓ ญาศึกษา เกิดความสาเร็จ อยาํ งเป็นรูปธรรม นกั เรียนผู๎สูงอายุเกิดความภาคภูมิใจในภูมิป๓ญญาของตนที่ได๎ถํายทอดสํูคนรํุนหลังให๎คงอยํู ในท๎องถ่นิ เป็นวฒั นธรรมการดาเนนิ ชีวติ ประจาท๎องถิ่น เป็นวัฒนธรรมการดาเนินชีวิตคูํแผํนดินไทยตราบนาน เทาํ นาน นยิ ามค้าศพั ทใ์ นการจดั ท้าภมู ปิ ญั ญาศึกษา ภูมิปัญญาศึกษา หมายถึง การนาภูมิป๓ญญาการดาเนินชีวิตในเร่ืองท่ีผ๎ูสูงอายุเช่ียวชาญที่สุด ของ ผ๎สู ูงอายุที่เข๎าศึกษาตามหลักสูตรของโรงเรียนผ๎ูสูงอายุเทศบาลเมืองวังน้าเย็น มาศึกษาและสืบทอดภูมิป๓ญญา ในรปู แบบตําง ๆ มีการสืบทอดภูมิป๓ญญาโดยการปฏิบัติและการเรียบเรียงเป็นลายลักษณ๑อักษรตามรูปแบบท่ี โรงเรียนผู๎สูงอายุกาหนดข้ึนใช๎เป็นสํวนหนึ่งในการจบหลักสูตรการศึกษาเพ่ือให๎ภูมิป๓ญญาของผ๎ูสูงอายุได๎รับ การถํายทอดสํคู นรํุนหลงั และคงอยใูํ นทอ๎ งถิ่นตํอไป ซึ่งแบํงภูมปิ ๓ญญาศึกษาออกเป็น 3 ประเภท ได๎แกํ 1. ภูมิปญ๓ ญาศึกษาท่ีผู๎สูงอายุ เป็นผู๎คิดค๎นภูมิป๓ญญาในการดาเนินชีวิตในเรื่องท่ีเช่ียวชาญที่สุดด๎วย ตนเอง 2. ภูมปิ ๓ญญาศกึ ษาทผ่ี ูส๎ ูงอายเุ ปน็ ผ๎นู าภมู ปิ ๓ญญาท่ีสืบทอดจากบรรพบรุ ษุ มาประยกุ ตใ๑ ชใ๎ นการดาเนิน ชีวติ จนเกดิ ความเชยี่ วชาญ 3. ภูมปิ ๓ญญาศึกษาที่ผส๎ู ูงอายุเปน็ ผ๎ูนาภมู ิปญ๓ ญาทส่ี ืบทอดจากบรรพบุรุษมาใช๎ในการดาเนินชีวิตโดย ไมํมีการเปล่ียนแปลงไปจากเดิมจนเกิดความเช่ยี วชาญ ผูถ้ ่ายทอดภูมิปัญญา หมายถึง ผ๎ูสูงอายุท่ีเข๎าศึกษาตามหลักสูตรของโรงเรียนผ๎ูสูงอายุเทศบาลเมือง วังน้าเย็นเป็นผู๎ถํายทอดภูมิป๓ญญาการดาเนินชีวิตในเรื่องท่ีตนเองเช่ียวชาญมากที่สุด นามาถํายทอดให๎แกํผ๎ู เรยี บเรยี งภมู ปิ ๓ญญาท๎องถนิ่ ได๎จดั ทาข๎อมูลเป็นรูปเลมํ ภูมปิ ญ๓ ญาศึกษา ผู้เรียบเรียงภูมิปัญญาท้องถ่ิน หมายถึง ผู๎ที่นาภูมิป๓ญญาในการดาเนินชีวิตในเรื่องที่ผ๎ูสูงอายุ เชี่ยวชาญท่ีสุดมาเรียบเรียงเป็นลายลักษณ๑อักษร ศึกษาหาข๎อมูลเพ่ิมเติมจากแหลํงข๎อมูลตําง ๆ จัดทาเป็น เอกสารรปู เลมํ ใชช๎ อ่ื วํา “ภมู ิป๓ญญาศึกษา”ตามรูปแบบท่โี รงเรียนผู๎สูงอายเุ ทศบาลเมืองวงั น้าเยน็ กาหนด ครูที่ปรึกษา หมายถึง ผ๎ูที่ปฏิบัติหน๎าที่เป็นครูพ่ีเล้ียง เป็นผ๎ูเรียบเรียงภูมิป๓ญญาท๎องถ่ินปฏิบัติ หนา๎ ทีเ่ ปน็ ผูป๎ ระเมนิ ผล เป็นผ๎ูรับรองภูมิป๓ญญาศึกษา รวมทั้งเป็นผ๎ูนาภูมิป๓ญญาศึกษาเข๎ามาสอนในโรงเรียน โดยบูรณาการการจดั การเรียนร๎ูตามหลกั สูตรท๎องถนิ่ ทีโ่ รงเรียนจดั ทาข้นึ
ภมู ิปญั ญาศึกษาเช่อื มโยงสู่สารานกุ รมไทยสา้ หรบั เยาวชนฯ 1. ลกั ษณะของภูมิปัญญาไทย ลักษณะของภูมิปญ๓ ญาไทย มีดังน้ี 1. ภมู ิปญ๓ ญาไทยมีลกั ษณะเป็นทั้งความรู๎ ทักษะ ความเชอื่ และพฤติกรรม 2. ภูมปิ ๓ญญาไทยแสดงถึงความสัมพันธ๑ระหวาํ งคนกบั คน คนกับธรรมชาติ ส่งิ แวดลอ๎ ม และคนกบั สิ่งเหนอื ธรรมชาติ 3. ภูมิปญ๓ ญาไทยเป็นองค๑รวมหรือกิจกรรมทกุ อยํางในวิถชี วี ิตของคน 4. ภมู ปิ ญ๓ ญาไทยเปน็ เรอื่ งของการแกป๎ ๓ญหา การจัดการ การปรับตัว และการเรยี นร๎ู เพือ่ ความอยูํรอดของบุคคล ชุมชน และสงั คม 5. ภมู ิปญ๓ ญาไทยเปน็ พ้นื ฐานสาคญั ในการมองชีวติ เป็นพนื้ ฐานความร๎ูในเร่อื งตาํ งๆ 6. ภมู ปิ ๓ญญาไทยมลี กั ษณะเฉพาะ หรือมเี อกลกั ษณใ๑ นตัวเอง 7. ภูมิป๓ญญาไทยมีการเปลีย่ นแปลงเพื่อการปรับสมดุลในพัฒนาการทางสังคม 2. คุณสมบตั ขิ องภูมปิ ญั ญาไทย ผท๎ู รงภูมิป๓ญญาไทยเปน็ ผู๎มีคุณสมบตั ิตามที่กาหนดไว๎ อยาํ งน๎อยดงั ตํอไปน้ี 1. เป็นคนดีมีคุณธรรม มีความรู๎ความสามารถในวิชาชีพตํางๆ มีผลงานด๎านการพัฒนา ท๎องถ่ินของตน และได๎รับการยอมรับจากบุคคลท่ัวไปอยํางกว๎างขวาง ท้ังยังเป็นผู๎ที่ใช๎หลักธรรมคาสอนทาง ศาสนาของตนเปน็ เคร่อื งยดึ เหน่ยี วในการดารงวิถชี ีวิตโดยตลอด 2. เป็นผ๎ูคงแกํเรียนและหมั่นศึกษาหาความร๎ูอยํูเสมอ ผู๎ทรงภูมิป๓ญญาจะเป็นผู๎ที่หม่ันศึกษา แสวงหาความร๎ูเพิ่มเติมอยํูเสมอไมํหยุดน่ิง เรียนร๎ูทั้งในระบบและนอกระบบ เป็นผู๎ลงมือทา โดยทดลองทา ตามทเ่ี รยี นมา อีกทัง้ ลองผิด ลองถูก หรือสอบถามจากผู๎ร๎ูอ่ืนๆ จนประสบความสาเร็จ เป็นผ๎ูเช่ียวชาญ ซ่ึงโดด เดํนเป็นเอกลักษณ๑ในแตํละด๎านอยํางชัดเจน เป็นท่ียอมรับการเปล่ียนแปลงความรู๎ใหมํๆ ท่ีเหมาะสม นามา ปรบั ปรงุ รบั ใชช๎ มุ ชน และสงั คมอยเูํ สมอ 3. เป็นผ๎ูนาของท๎องถิ่น ผู๎ทรงภูมิป๓ญญาสํวนใหญํจะเป็นผู๎ท่ีสังคม ในแตํละท๎องถ่ินยอมรับให๎ เป็นผู๎นา ท้ังผ๎ูนาที่ได๎รับการแตํงต้ังจากทางราชการ และผู๎นาตามธรรมชาติ ซึ่งสามารถเป็นผ๎ูนาของท๎องถิ่น และชวํ ยเหลอื ผอ๎ู ืน่ ไดเ๎ ปน็ อยาํ งดี 4. เป็นผ๎ูที่สนใจป๓ญหาของท๎องถ่ิน ผ๎ูทรงภูมิป๓ญญาล๎วนเป็นผ๎ูท่ีสนใจป๓ญหาของท๎องถ่ิน เอา ใจใสํ ศึกษาป๓ญหา หาทางแก๎ไข และชํวยเหลือสมาชิกในชุมชนของตนและชุมชนใกล๎เคียงอยํางไมํยํอท๎อ จน ประสบความสาเร็จเปน็ ทย่ี อมรบั ของสมาชกิ และบุคคลทว่ั ไป 5. เป็นผ๎ูขยนั หมนั่ เพียร ผูท๎ รงภมู ปิ ๓ญญาเป็นผ๎ขู ยันหมน่ั เพียร ลงมอื ทางานและผลิตผลงานอยํู เสมอ ปรบั ปรุงและพฒั นาผลงานให๎มีคณุ ภาพมากขึ้นอกี ท้งั มุํงทางานของตนอยาํ งตํอเน่ือง 6. เป็นนักปกครองและประสานประโยชน๑ของท๎องถิ่น ผ๎ูทรงภูมิป๓ญญา นอกจากเป็นผู๎ท่ี ประพฤตติ นเป็นคนดี จนเป็นที่ยอมรับนับถือจากบุคคลท่ัวไปแล๎ว ผลงานที่ทํานทายังถือวํามีคุณคํา จึงเป็นผู๎ท่ี มีทัง้ \"ครองตน ครองคน และครองงาน\" เปน็ ผู๎ประสานประโยชน๑ให๎บุคคลเกิดความรัก ความเข๎าใจ ความเห็น ใจ และมคี วามสามัคคกี ัน ซ่งึ จะทาให๎ทอ๎ งถิ่น หรือสังคม มคี วามเจรญิ มคี ณุ ภาพชีวิตสงู ข้ึนกวําเดิม 7. มีความสามารถในการถาํ ยทอดความร๎ูเปน็ เลิศ เมื่อผู๎ทรงภมู ิป๓ญญามคี วามรู๎ความสามารถ และประสบการณ๑เป็นเลิศ มผี ลงานท่ีเปน็ ประโยชนต๑ อํ ผู๎อน่ื และบุคคลท่ัวไป ทงั้ ชาวบา๎ น นักวิชาการ นกั เรียน นิสิต/นกั ศึกษา โดยอาจเขา๎ ไปศึกษาหาความร๎ู หรือเชญิ ทํานเหลาํ น้ันไป เปน็ ผถ๎ู าํ ยทอดความรไู๎ ด๎
8. เป็นผู๎มีคูํครองหรือบริวารดี ผู๎ทรงภูมิป๓ญญา ถ๎าเป็นคฤหัสถ๑ จะพบวํา ล๎วนมีคํูครองท่ีดีที่ คอยสนับสนุน ชํวยเหลือ ให๎กาลังใจ ให๎ความรํวมมือในงานท่ีทํานทา ชํวยให๎ผลิตผลงานที่มีคุณคํา ถ๎าเป็น นกั บวช ไมํวําจะเป็นศาสนาใด ตอ๎ งมีบริวารท่ดี ี จงึ จะสามารถผลิตผลงานทมี่ คี ุณคาํ ทางศาสนาได๎ 9. เป็นผู๎มีป๓ญญารอบรแ๎ู ละเชี่ยวชาญจนได๎รบั การยกยํองวาํ เปน็ ปราชญ๑ ผ๎ูทรงภูมิป๓ญญา ต๎อง เป็นผู๎มีป๓ญญารอบร๎ูและเชี่ยวชาญ รวมทั้งสร๎างสรรค๑ผลงานพิเศษใหมํๆ ที่เป็นประโยชน๑ตํอสังคมและ มนษุ ยชาติอยาํ งตํอเน่ืองอยูํเสมอ 3. การจดั แบ่งสาขาภมู ปิ ัญญาไทย จากการศกึ ษาพบวาํ มกี ารกาหนดสาขาภูมิปญ๓ ญาไทยไวอ๎ ยํางหลากหลาย ข้นึ อยํกู ับวัตถุประสงค๑ และ หลักเกณฑ๑ตํางๆ ที่หนํวยงาน องค๑กร และนักวิชาการแตํละทํานนามากาหนด ในภาพรวมภูมิป๓ญญาไทย สามารถแบงํ ได๎เป็น 10 สาขาดงั น้ี 1. สาขาเกษตรกรรมหมายถึง ความสามารถในการผสมผสานองค๑ความร๎ู ทักษะ และเทคนิค ด๎านการเกษตรกับเทคโนโลยี โดยการพัฒนาบนพื้นฐานคุณคําด้ังเดิม ซึ่งคนสามารถพ่ึงพาตนเองในภาวการณ๑ ตํางๆ ได๎ เชํน การทา การเกษตรแบบผสมผสาน วนเกษตร เกษตรธรรมชาติ ไรํนาสวนผสม และสวน ผสมผสาน การแก๎ป๓ญหาการเกษตรด๎านการตลาด การแก๎ป๓ญหาด๎านการผลิต การแก๎ไขป๓ญหาโรคและแมลง และการร๎ูจักปรับใช๎เทคโนโลยที ีเ่ หมาะสมกบั การเกษตร เป็นต๎น 2. สาขาอตุ สาหกรรมและหตั ถกรรม หมายถงึ การรู๎จักประยุกต๑ใช๎เทคโนโลยีสมัยใหมํในการ แปรรูปผลิตผล เพื่อชะลอการนาเข๎าตลาด เพ่ือแก๎ป๓ญหาด๎านการบริโภคอยํางปลอดภัย ประหยัด และเป็น ธรรม อันเป็นกระบวนการท่ีทาให๎ชุมชนท๎องถิ่นสามารถพ่ึงพาตนเองทางเศรษฐกิจได๎ ตลอดท้ังการผลิต และ การจาหนาํ ย ผลิตผลทางหัตถกรรม เชนํ การรวมกลมุํ ของกลํุมโรงงานยางพารา กลํมุ โรงสี กลํุมหัตถกรรม เป็น ตน๎ 3. สาขาการแพทยแ์ ผนไทย หมายถงึ ความสามารถในการจดั การปูองกัน และรักษาสุขภาพ ของคนในชุมชน โดยเน๎นให๎ชุมชนสามารถพ่ึงพาตนเอง ทางด๎านสุขภาพ และอนามัยได๎ เชํน การนวดแผน โบราณ การดูแลและรกั ษาสขุ ภาพแบบพ้ืนบ๎าน การดแู ลและรักษาสขุ ภาพแผนโบราณไทย เป็นตน๎ 4. สาขาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมหมายถึง ความสามารถเกี่ยวกับ การจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ๎ ม ท้ังการอนรุ ักษ๑ การพฒั นา และการใช๎ประโยชน๑จากคุณคําของ ทรพั ยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล๎อม อยาํ งสมดลุ และย่ังยืน เชนํ การทาแนวปะการงั เทียม การอนุรักษ๑ปุาชาย เลน การจัดการปุาต๎นนา้ และปุาชุมชน เป็นต๎น 5. สาขากองทุนและธุรกิจชมุ ชน หมายถึง ความสามารถในการบรหิ ารจดั การด๎านการสะสม และบริการกองทุน และธุรกิจในชุมชน ท้ังที่เป็นเงินตรา และโภคทรัพย๑ เพ่ือสํงเสริมชีวิตความเป็นอยูํของ สมาชิกในชุมชน เชํน การจัดการเร่ืองกองทุนของชุมชน ในรูปของสหกรณ๑ออมทรัพย๑ และธนาคารหมูํบ๎าน เปน็ ต๎น 6. สาขาสวัสดิการหมายถึง ความสามารถในการจัดสวัสดิการในการประกันคุณภาพชีวิต ของคน ให๎เกิดความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม เชํน การจัดตั้งกองทุนสวัสดิการรักษาพยาบาล ของชุมชน การจดั ระบบสวสั ดกิ ารบริการในชมุ ชน การจัดระบบสงิ่ แวดลอ๎ มในชมุ ชน เปน็ ต๎น 7. สาขาศลิ ปกรรม หมายถึง ความสามารถในการผลิตผลงานทางด๎านศิลปะสาขาตํางๆ เชํน จิตรกรรม ประตมิ ากรรม วรรณกรรม ทัศนศิลป์ คีตศลิ ป์ ศลิ ปะมวยไทย เปน็ ต๎น
8. สาขาการจัดการองค์กร หมายถึง ความสามารถในการบริหารจัดการดาเนินงานของ องค๑กรชุมชนตํางๆ ให๎สามารถพัฒนา และบริหารองค๑กรของตนเองได๎ ตามบทบาท และหน๎าท่ีขององค๑การ เชนํ การจัดการองค๑กรของกลํุมแมํบ๎าน กลุํมออมทรัพย๑ กลํมุ ประมงพนื้ บ๎าน เปน็ ตน๎ 9. สาขาภาษาและวรรณกรรม หมายถึง ความสามารถผลิตผลงานเกี่ยวกับดา๎ นภาษา ท้ังภาษาถิ่น ภาษาโบราณ ภาษาไทย และการใช๎ภาษา ตลอดทั้งด๎านวรรณกรรมทุกประเภท เชํน การจัดทา สารานกุ รมภาษาถิน่ การปรวิ รรต หนงั สอื โบราณ การฟน้ื ฟกู ารเรียนการสอนภาษาถน่ิ ของท๎องถิน่ ตํางๆ เปน็ ต๎น 10. สาขาศาสนาและประเพณี หมายถึง ความสามารถประยุกต๑ และปรับใช๎หลักธรรมคา สอนทางศาสนา ความเชือ่ และประเพณีด้ังเดิมที่มีคุณคําให๎เหมาะสมตํอการประพฤติปฏิบัติ ให๎บังเกิดผลดีตํอ บุคคล และสิ่งแวดล๎อม เชํน การถํายทอดหลักธรรมทางศาสนา ลักษณะความสัมพันธ๑ของภูมิป๓ญญาไทยภูมิ- ปญ๓ ญาไทยสามารถสะทอ๎ นออกมาใน 3 ลักษณะท่สี ัมพนั ธใ๑ กล๎ชดิ กัน คอื 10.1 ความสัมพันธ๑อยํางใกล๎ชิดกันระหวํางคนกับโลก ส่ิงแวดล๎อม สัตว๑ พืช และ ธรรมชาติ 10.2 ความสมั พันธ๑ของคนกับคนอ่ืนๆ ท่ีอยูํรํวมกนั ในสังคม หรือในชมุ ชน 10.3 ความสัมพันธ๑ระหวํางคนกับส่ิงศักด์ิสิทธิ์ส่ิงเหนือธรรมชาติ ตลอดท้ังสิ่งท่ีไมํ สามารถสัมผัสได๎ท้ังหลาย ทั้ง 3 ลักษณะนี้ คือ สามมิติของเรื่องเดียวกัน หมายถึง ชีวิตชุมชน สะท๎อนออก มาถงึ ภมู ิปญ๓ ญาในการดาเนนิ ชีวติ อยํางมเี อกภาพ เหมือนสามมุมของรูปสามเหล่ียม ภูมิป๓ญญา จึงเป็นรากฐาน ในการดาเนินชีวิตของคนไทย ซ่ึงสามารถแสดงให๎เห็นได๎อยํางชดั เจนโดยแผนภาพ ดังนี้ ลักษณะภูมิป๓ญญาท่ีเกิดจากความสัมพันธ๑ ระหวํางคนกับธรรมชาติสิ่งแวดล๎อม จะแสดงออกมาใน ลักษณะภูมิป๓ญญาในการดาเนินวิถีชีวิตขั้นพื้นฐานด๎าน ปจ๓ จยั สี่ ซง่ึ ประกอบด๎วย อาหาร เคร่ืองนุํงหํมที่อยํูอาศัย และยารักษาโรค ตลอดท้ังการประกอบอาชีพตํางๆ เป็น ต๎น ภูมิป๓ญญาที่เกิดจากความสัมพันธ๑ระหวํางคนกับคน อ่ืนในสังคม จะแสดงออกมาในลักษณะ จารีต ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ และนันทนาการ ภาษา และวรรณกรรม ตลอดทง้ั การสอ่ื สารตํางๆ เปน็ ต๎น ภูมิป๓ญญาที่เกิดจากความสัมพันธ๑ระหวํางคนกับ ส่ิงศักด์ิสิทธิ์ สิ่งเหนือธรรมชาติ จะแสดงออกมาใน ลกั ษณะของสง่ิ ศกั ดิ์สิทธิ์ ศาสนา ความเชื่อตาํ งๆ เปน็ ตน๎ 4. คณุ คา่ และความส้าคัญของภมู ปิ ญั ญาไทย คุณคําของภูมิป๓ญญาไทย ได๎แกํ ประโยชน๑ และความสาคัญของภูมิป๓ญญา ท่ีบรรพบุรุษไทย ได๎ สรา๎ งสรรค๑ และสืบทอดมาอยํางตํอเนื่อง จากอดีตสูํป๓จจุบัน ทาให๎คนในชาติเกิดความรัก และความภาคภูมิใจ ทีจ่ ะรํวมแรงรวํ มใจสบื สานตํอไปในอนาคต เชํน โบราณสถาน โบราณวัตถุ สถาป๓ตยกรรม ประเพณีไทย การมี นา้ ใจ ศักยภาพในการประสานผลประโยชน๑ เป็นต๎น ภูมิป๓ญญาไทยจงึ มีคณุ คาํ และความสาคัญ ดังน้ี
1. ภูมปิ ญ๓ ญาไทยชวํ ยสร๎างชาติให๎เปน็ ปึกแผนํ พระมหากษัตริย๑ไทยได๎ใช๎ภูมิป๓ญญาในการสร๎างชาติ สร๎างความเป็นปึกแผํนให๎แกํ ประเทศชาติมาโดยตลอด ต้ังแตํสมัยพํอขุนรามคาแหงมหาราช พระองค๑ทรงปกครองประชาชน ด๎วยพระ เมตตา แบบพํอปกครองลูก ผ๎ูใดประสบความเดือดร๎อน ก็สามารถตีระฆัง แสดงความเดือดร๎อน เพื่อขอรับ พระราชทานความชํวยเหลือ ทาให๎ประชาชนมีความจงรักภักดีตํอพระองค๑ ตํอประเทศชาติรํวมกันสร๎าง บา๎ นเรอื นจนเจริญรุงํ เรอื งเป็นปึกแผํน สมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระองค๑ทรงใช๎ภูมิป๓ญญากระทายุทธหัตถี จนชนะข๎าศึกศัตรู และทรงกอบกู๎เอกราชของชาติไทยคืนมาได๎ พระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยูํหัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลป๓จจุบัน พระองคท๑ รงใช๎ภูมิป๓ญญาสร๎างคุณประโยชน๑แกํประเทศชาติ และเหลําพสกนิกรมากมายเหลือคณานับ ทรงใช๎ พระปรชี าสามารถ แก๎ไขวิกฤตการณ๑ทางการเมือง ภายในประเทศ จนรอดพ๎นภัยพิบัติหลายคร้ัง พระองค๑ทรง มีพระปรีชาสามารถหลายด๎าน แม๎แตํด๎านการเกษตร พระองค๑ได๎พระราชทานทฤษฎีใหมํให๎แกํพสกนิกร ทั้ง ด๎านการเกษตรแบบสมดุลและย่ังยืน ฟ้ืนฟูสภาพแวดล๎อม นาความสงบรํมเย็นของประชาชนให๎กลับคืนมา แนวพระราชดาริ \"ทฤษฎใี หม\"ํ แบงํ ออกเป็น 2 ขั้น โดยเร่มิ จาก ขั้นตอนแรก ให๎เกษตรกรรายยํอย \"มีพออยูํพอ กิน\" เป็นขั้นพ้ืนฐาน โดยการพัฒนาแหลํงน้า ในไรํนา ซ่ึงเกษตรกรจาเป็นที่จะต๎องได๎รับความชํวยเหลือจาก หนํวยราชการ มูลนิธิ และหนํวยงานเอกชน รํวมใจกันพัฒนาสังคมไทย ในขั้นท่ีสอง เกษตรกรต๎องมีความ เข๎าใจ ในการจัดการในไรนํ าของตน และมีการรวมกลุมํ ในรปู สหกรณ๑ เพื่อสร๎างประสิทธิภาพทางการผลิต และ การตลาด การลดรายจํายด๎านความเป็นอยํู โดยทรงตระหนักถึงบทบาทขององค๑กรเอกชน เมื่อกลุํ มเกษตร วิวัฒนม๑ าขัน้ ที่ 2 แล๎ว ก็จะมีศักยภาพ ในการพัฒนาไปสูํขั้นที่สาม ซ่ึงจะมีอานาจในการตํอรองผลประโยชน๑กับ สถาบันการเงินคือ ธนาคาร และองค๑กรท่ีเป็นเจ๎าของแหลํงพลังงาน ซ่ึงเป็นป๓จจัยหนึ่งในการผลิต โดยมีการ แปรรูปผลติ ผล เชนํ โรงสี เพอื่ เพมิ่ มลู คาํ ผลติ ผล และขณะเดยี วกันมีการจัดต้ังร๎านค๎าสหกรณ๑ เพ่ือลดคําใช๎จําย ในชีวิตประจาวัน อันเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลในสังคม จะเห็นได๎วํา มิได๎ทรงทอดท้ิงหลักของ ความสามัคคีในสังคม และการจัดต้ังสหกรณ๑ ซึ่งทรงสนับสนุนให๎กลุํมเกษตรกรสร๎างอานาจตํอรองในระบบ เศรษฐกิจ จึงจะมีคณุ ภาพชีวิตท่ีดี จึงจัดได๎วํา เป็นสังคมเกษตรที่พัฒนาแล๎ว สมดังพระราชประสงค๑ท่ีทรงอุทิศ พระวรกาย และพระสติป๓ญญา ในการพัฒนาการเกษตรไทยตลอดระยะเวลาแหํงการครองราชย๑ 2. สร๎างความภาคภูมิใจ และศกั ดศิ์ รี เกยี รติภมู ิแกคํ นไทย คนไทยในอดีตท่ีมีความสามารถปรากฏในประวัติศาสตร๑มีมาก เป็นที่ยอมรับของนานา อารยประเทศ เชํน นายขนมต๎มเป็นนักมวยไทย ที่มีฝีมือเกํงในการใช๎อวัยวะทุกสํวน ทุกทําของแมํไม๎มวยไทย สามารถชกมวยไทย จนชนะพมําได๎ถึงเก๎าคนสิบคนในคราวเดียวกัน แม๎ในป๓จจุบัน มวยไทยก็ยังถือวํา เป็น ศิลปะชั้นเย่ียม เป็นที่ นิยมฝึกและแขํงขันในหมํูคนไทยและชาวตําง ประเทศ ป๓จจุบันมีคํายมวยไทยทั่วโลกไมํ ตา่ กวาํ 30,000 แหงํ ชาวตํางประเทศที่ได๎ฝกึ มวยไทย จะรูส๎ กึ ยินดแี ละภาคภูมิใจ ในการท่ีจะใช๎กติกา ของมวย ไทย เชํน การไหว๎ครูมวยไทย การออก คาสั่งในการชกเป็นภาษาไทยทุกคา เชํน คาวํา \"ชก\" \"นับหน่ึงถึงสิบ\" เป็นต๎น ถือเป็นมรดก ภูมิป๓ญญาไทย นอกจากนี้ ภูมิป๓ญญาไทยท่ีโดด เดํนยังมีอีกมากมาย เชํน มรดกภูมิ ป๓ญญาทาง ภาษาและวรรณกรรม โดยที่มีอักษรไทยเป็นของ ตนเองมาต้ังแตํสมัยกรุงสุโขทัย และวิวัฒนาการ มาจนถึงป๓จจุบัน วรรณกรรมไทยถือวํา เป็นวรรณกรรมท่ีมีความไพเราะ ได๎อรรถรสครบทุกด๎าน วรรณกรรม หลายเรอ่ื งไดร๎ บั การแปลเปน็ ภาษาตํางประเทศหลายภาษา ด๎านอาหาร อาหารไทยเป็นอาหารที่ปรุงงําย พืชที่ ใช๎ประกอบอาหารสํวนใหญํเป็นพืชสมุนไพร ท่ีหาได๎งํายในท๎องถ่ิน และราคาถูก มี คุณคําทางโภชนาการ และ ยังปูองกันโรคได๎หลายโรค เพราะสํวนประกอบสํวนใหญํเป็นพืชสมุนไพร เชํน ตะไคร๎ ขิง ขํา กระชาย ใบ มะกรดู ใบโหระพา ใบกะเพรา เปน็ ตน๎
3. สามารถปรบั ประยุกตห๑ ลกั ธรรมคาสอนทางศาสนาใชก๎ บั วถิ ชี วี ติ ไดอ๎ ยาํ งเหมาะสม คนไทยสวํ นใหญนํ ับถือศาสนาพุทธ โดยนาหลักธรรมคาสอนของศาสนา มาปรับใช๎ในวิถีชีวิต ได๎อยํางเหมาะสม ทาให๎คนไทยเป็นผู๎อํอนน๎อมถํอมตน เอื้อเฟ้ือเผ่ือแผํ ประนีประนอม รักสงบ ใจเย็น มีความ อดทน ให๎อภยั แกํผูส๎ านกึ ผิด ดารงวถิ ชี ีวติ อยาํ งเรียบงําย ปกติสุข ทาให๎คนในชุมชนพ่ึงพากันได๎ แม๎จะอดอยาก เพราะ แห๎งแล๎ง แตํไมํมีใครอดตาย เพราะพึ่งพาอาศัย กัน แบํงป๓นกันแบบ \"พริกบ๎านเหนือเกลือบ๎านใต๎\" เป็น ต๎น ทั้งหมดน้ีสบื เน่ืองมาจากหลกั ธรรมคาสอนของพระพทุ ธศาสนา เป็นการใช๎ภูมิป๓ญญา ในการนาเอาหลักขอ พระพุทธศาสนามา ประยุกตใ๑ ช๎กับชีวติ ประจาวนั และดาเนินกุศโลบาย ด๎านตํางประเทศ จนทาให๎ชาวพุทธทั่ว โลกยกยํอง ให๎ประเทศไทยเป็นผ๎ูนาทางพุทธศาสนา และเป็น ที่ต้ังสานักงานใหญํองค๑การพุทธศาสนิกสัมพันธ๑ แหํงโลก (พสล.) อยูํเย้ืองๆ กับอุทยานเบญจสิริ กรุงเทพมหานคร โดยมีคนไทย (ฯพณฯ สัญญา ธรรมศักดิ์ องคมนตรี) ดารงตาแหนํงประธาน พสล. ตํอจาก ม.จ.หญิงพนู พิศมยั ดิศกลุ 4. สร๎างความสมดุลระหวาํ งคนในสงั คม และธรรมชาติได๎อยํางยั่งยนื ภูมิป๓ญญาไทยมีความเดํนชัดในเร่ืองของการยอมรับนับถือ และให๎ความสาคัญแกํคน สังคม และธรรมชาติอยํางย่ิง มเี ครือ่ งชี้ทแ่ี สดงให๎เหน็ ได๎อยาํ งชัดเจนมากมาย เชํน ประเพณีไทย 12 เดือน ตลอดทั้งปี ล๎วนเคารพคุณคําของธรรมชาติ ได๎แกํ ประเพณีสงกรานต๑ ประเพณีลอยกระทง เป็นต๎น ประเพณีสงกรานต๑ เป็นประเพณีที่ทาใน ฤดูร๎อนซึ่งมีอากาศร๎อน ทาให๎ต๎องการความเย็น จึงมีการรดน้าดาหัว ทาความสะอาด บ๎านเรือน และธรรมชาติสิ่งแวดล๎อม มีการแหํนางสงกรานต๑ การทานายฝนวําจะตกมากหรือน๎อยในแตํละปี สํวนประเพณีลอยกระทง คุณคําอยํูที่การบูชา ระลึกถึงบุญคุณของน้า ที่หลํอเลี้ยงชีวิตของ คน พืช และสัตว๑ ให๎ได๎ใช๎ทั้งบริโภคและอุปโภค ในวันลอยกระทง คนจึงทาความสะอาดแมํน้า ลาธาร บูชาแมํน้าจากตัวอยําง ข๎างต๎น ลว๎ นเป็น ความสมั พันธ๑ระหวํางคนกับสงั คมและธรรมชาติ ทัง้ สิน้ ในการรักษาปุาไมต๎ ๎นนา้ ลาธาร ได๎ประยุกต๑ให๎มีประเพณีการบวชปุา ให๎คนเคารพส่ิงศักด์ิสิทธิ์ ธรรมชาติ และสภาพแวดล๎อม ยังความอุดมสมบูรณ๑แกํต๎นน้า ลาธาร ให๎ฟื้นสภาพกลับคืนมาได๎มาก อาชีพ การเกษตรเปน็ อาชพี หลกั ของคนไทย ที่คานึงถึงความสมดุล ทาแตนํ อ๎ ยพออยูํพอกิน แบบ \"เฮ็ดอยูํเฮ็ดกิน\" ของ พํอทองดี นันทะ เมอื่ เหลือกิน ก็แจกญาติพน่ี อ๎ ง เพ่อื นบ๎าน บา๎ นใกล๎เรือนเคียง นอกจากนี้ ยังนาไปแลกเปลี่ยน กบั ส่ิงของอยาํ งอนื่ ที่ตนไมมํ ี เมือ่ เหลือใช๎จรงิ ๆ จึงจะนาไปขาย อาจกลําวได๎วํา เป็นการเกษตรแบบ \"กิน-แจก- แลก-ขาย\" ทาให๎คนในสังคมได๎ชํวยเหลือเกื้อกูล แบํงป๓นกัน เคารพรัก นับถือ เป็นญาติกัน ท้ังหมูํบ๎าน จึงอยูํ รวํ มกันอยาํ งสงบสขุ มคี วามสัมพนั ธก๑ ันอยํางแนบแนํน ธรรมชาติไมํถูกทาลายไปมากนัก เน่ืองจากทาพออยํูพอ กิน ไมโํ ลภมากและไมํทาลายทกุ อยํางผดิ กบั ในปจ๓ จุบัน ถือเปน็ ภมู ิป๓ญญาทส่ี ร๎างความ สมดลุ ระหวํางคน สังคม และธรรมชาติ 5. เปลี่ยนแปลงปรับปรงุ ไดต๎ ามยุคสมยั แมว๎ ํากาลเวลาจะผาํ นไป ความรสู๎ มัยใหมํ จะหลั่งไหลเขา๎ มามาก แตํภูมิป๓ญญาไทย ก็สามารถ ปรบั เปลย่ี นใหเ๎ หมาะสมกบั ยคุ สมยั เชนํ การรูจ๎ ักนาเคร่อื งยนตม๑ าติดตั้งกับเรือ ใสํใบพัด เป็นหางเสือ ทาให๎เรือ สามารถแลํนได๎เร็วขึ้น เรียกวํา เรือหางยาว การรู๎จักทาการเกษตรแบบผสมผสาน สามารถพลิกฟ้ืนคืน ธรรมชาตใิ ห๎ อุดมสมบรู ณ๑แทนสภาพเดิมท่ีถูกทาลายไป การร๎ูจักออมเงิน สะสมทุนให๎สมาชิกก๎ูยืม ปลดเปลื้อง หนีส้ ิน และจัดสวสั ดิการแกํสมาชิก จนชมุ ชนมคี วามม่นั คง เขม๎ แขง็ สามารถชวํ ยตนเองได๎หลายร๎อยหมํูบ๎านท่ัว ประเทศ เชนํ กลํุมออมทรัพย๑คีรีวง จังหวัดนครศรีธรรมราช จัดในรูปกองทุนหมุนเวียนของชุมชน จนสามารถ ชวํ ยตนเองได๎ เม่ือปุาถูกทาลาย เพราะถูกตัดโคํน เพ่ือปลูกพืชแบบเด่ียว ตามภูมิป๓ญญาสมัยใหมํ ที่หวัง รา่ รวย แตํในทีส่ ุด ก็ขาดทนุ และมีหนี้สิน สภาพแวดล๎อมสูญเสียเกิดความแห๎งแล๎ง คนไทยจึงคิดปลูกปุา ท่ีกิน
ได๎ มีพืชสวน พืชปุาไม๎ผล พืชสมุนไพร ซึ่งสามารถมีกินตลอดชีวิตเรียกวํา \"วนเกษตร\" บางพ้ืนท่ี เมื่อปุาชุมชน ถูกทาลาย คนในชุมชนก็รวมตัวกัน เป็นกลํุมรักษาปุา รํวมกันสร๎างระเบียบ กฎเกณฑ๑กันเอง ให๎ทุกคนถือ ปฏิบัติได๎ สามารถรักษาปุาได๎อยํางสมบูรณ๑ดังเดิม เมื่อปะการังธรรมชาติถูกทาลาย ปลาไมํมีที่อยํูอาศัย ประชาชนสามารถสร๎าง \"อูหยัม\" ข้ึน เป็นปะการังเทียม ให๎ปลาอาศัยวางไขํ และแพรํพันธ๑ุให๎เจริญเติบโต มี จานวนมากดังเดิมได๎ ถอื เป็นการใช๎ภูมปิ ๓ญญาปรบั ปรุงประยกุ ต๑ใชไ๎ ด๎ตามยคุ สมัย สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ เลํมท่ี 19 ให๎ความหมายของคาวํา ภูมิป๓ญญาชาวบ๎าน หมายถึง ความร๎ูของชาวบ๎าน ซ่ึงได๎มาจากประสบการณ๑ และความเฉลียวฉลาดของชาวบ๎าน รวมท้ังความร๎ูท่ี สั่งสมมาแตํบรรพบรุ ุษ สืบทอดจากคนรํุนหนึ่งไปสูํคนอีกรํุนหน่ึง ระหวํางการสืบทอดมีการปรับ ประยุกต๑ และ เปลีย่ นแปลง จนอาจเกิดเปน็ ความรูใ๎ หมํตามสภาพการณท๑ างสงั คมวัฒนธรรม และ สิง่ แวดล๎อม ภูมปิ ญ๓ ญาเป็นความร๎ูท่ีประกอบไปด๎วยคุณธรรม ซึ่งสอดคล๎องกับวิถีชีวิตด้ังเดิมของชาวบ๎าน ในวถิ ดี ้ังเดิมน้ัน ชีวิตของชาวบ๎านไมํได๎แบํงแยกเป็นสํวนๆ หากแตํทุกอยํางมีความสัมพันธ๑กัน การทามาหากิน การอยํูรํวมกันในชุมชน การปฏิบัติศาสนา พิธีกรรมและประเพณี ความรู๎เป็นคุณธรรม เม่ือผู๎คนใช๎ความรู๎นั้น เพ่ือสร๎างความสัมพันธ๑ท่ีดีระหวําง คนกับคน คนกับธรรมชาติ และคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ ความสัมพันธ๑ท่ีดี เป็นความสัมพันธ๑ท่ีมีความสมดุล ท่ีเคารพกันและกัน ไมํทาร๎ายทาลายกัน ทาให๎ทุกฝุายทุกสํวนอยํูรํวมกันได๎ อยํางสันติ ชุมชนด้ังเดิมจึงมีกฎเกณฑ๑ของการอยํูรํวมกัน มีคนเฒําคนแกํเป็นผู๎นา คอยให๎คาแนะนาตักเตือน ตัดสิน และลงโทษหากมีการละเมิด ชาวบ๎านเคารพธรรมชาติรอบตัว ดิน น้า ปุา เขา ข๎าว แดด ลม ฝน โลก และจกั รวาล ชาวบ๎านเคารพผู๎หลกั ผูใ๎ หญํ พํอแมํ ปุูยําตายาย ท้งั ท่ีมชี วี ิตอยํูและลํวงลับไปแล๎วภูมิป๓ญญาจึงเป็น ความร๎ูทม่ี คี ณุ ธรรม เป็นความรู๎ที่มีเอกภาพของทุกส่ิงทุกอยําง เป็นความรู๎วํา ทุกส่ิงทุกอยํางสัมพันธ๑กันอยํางมี ความสมดุล เราจึงยกยํองความรู๎ข้ันสูงสํง อันเป็นความรู๎แจ๎งในความจริงแหํงชีวิตนี้วํา \"ภูมิป๓ญญา\"ความคิด และการแสดงออกเพ่ือจะเข๎าใจภูมิป๓ญญาชาวบ๎าน จาเป็นต๎องเข๎าใจความคิดของชาวบ๎านเก่ียวกับโลก หรือท่ี เรียกวํา โลกทัศน๑ และเก่ียวกับชีวิต หรือที่เรียกวํา ชีวทัศน๑ สิ่งเหลํานี้เป็นนามธรรม อันเกี่ยวข๎องสัมพันธ๑ โดยตรงกับการแสดงออกใน ลักษณะตํางๆ ท่ีเป็นรูปธรรม แนวคิดเรื่องความสมดุลของชีวิต เป็นแนวคิด พน้ื ฐานของภูมิป๓ญญาชาวบ๎าน การแพทย๑แผนไทย หรือที่เคยเรียกกันวํา การแพทย๑แผนโบราณน้ันมีหลักการ วํา คนมีสุขภาพดี เม่ือรํางกายมีความสมดุลระหวํางธาตุท้ัง 4 คือ ดิน น้า ลม ไฟ คนเจ็บไข๎ได๎ปุวยเพราะธาตุ ขาดความสมดลุ จะมีการปรับธาตุ โดยใช๎ยาสมุนไพร หรือวิธีการอื่นๆ คนเป็นไข๎ตัวร๎อน หมอยาพ้ืนบ๎านจะให๎ ยาเย็น เพื่อลดไข๎ เป็นต๎น การดาเนินชีวิตประจาวันก็เชํนเดียวกัน ชาวบ๎านเช่ือวํา จะต๎องรักษาความสมดุลใน ความสมั พนั ธ๑สามด๎าน คอื ความสัมพนั ธ๑กบั คนในครอบครวั ญาติพ่ีนอ๎ ง เพื่อนบ๎านในชุมชน ความสัมพันธ๑ท่ีดีมี หลักเกณฑ๑ ท่ีบรรพบุรุษได๎สั่งสอนมา เชํน ลูกควรปฏิบัติอยํางไรกับพํอแมํ กับญาติพ่ีน๎อง กับผู๎สูงอายุ คนเฒํา คนแกํ กับเพ่ือนบ๎าน พํอแมํควรเล้ียงดูลูกอยํางไร ความเอื้ออาทรตํอกันและกัน ชํวยเหลือเกื้อกูลกัน โดยเฉพาะในยามทุกข๑ยาก หรือมีป๓ญหา ใครมีความสามารถพิเศษก็ใช๎ความสามารถน้ันชํวยเหลือผ๎ูอ่ืน เชํน บางคนเปน็ หมอยา กช็ วํ ยดูแลรักษาคนเจบ็ ปุวยไมสํ บาย โดยไมํคิดคํารักษา มีแตํเพียงการยกครู หรือการราลึก ถงึ ครูบาอาจารย๑ที่ประสาทวิชามาให๎เทําน้ัน หมอยาต๎องทามาหากิน โดยการทานา ทาไรํ เลี้ยงสัตว๑เหมือนกับ ชาวบ๎านอนื่ ๆ บางคนมคี วามสามารถพเิ ศษด๎านการทามาหากนิ กช็ ํวยสอนลกู หลานให๎มวี ิชาไปด๎วย ความสัมพันธ๑ระหวํางคนกับคนในครอบครัว ในชุมชน มีกฎเกณฑ๑เป็นข๎อปฏิบัติ และข๎อห๎ามอยําง ชัดเจน มีการแสดงออกทางประเพณี พิธีกรรม และกิจกรรมตํางๆ เชํน การรดน้าดาหัวผู๎ใหญํ การบายศรีสูํ ขวัญ เป็นตน๎ ความสัมพันธ๑กบั ธรรมชาติ ผู๎คนสมัยกํอนพึ่งพาอาศัยธรรมชาติแทบทุกด๎าน ตั้งแตํอาหารการกิน เคร่ืองนํงุ หมํ ทีอ่ ยํูอาศยั และยารักษาโรค วิทยาศาสตร๑ และเทคโนโลยียังไมํพัฒนาก๎าวหน๎าเหมือนทุกวันน้ี ยัง ไมํมีระบบการค๎าแบบสมัยใหมํ ไมํมีตลาด คนไปจับปลาลําสัตว๑ เพ่ือเป็นอาหารไปวันๆ ตัดไม๎ เพื่อสร๎างบ๎าน
และใช๎สอยตามความจาเป็นเทํานั้น ไมํได๎ทาเพ่ือการค๎า ชาวบ๎านมีหลักเกณฑ๑ในการใช๎ส่ิงของในธรรมชาติ ไมํ ตดั ไมอ๎ อํ น ทาให๎ต๎นไม๎ในปาุ ข้ึนแทนตน๎ ท่ีถูกตัดไปได๎ตลอดเวลาชาวบ๎านยังไมํร๎ูจักสารเคมี ไมํใช๎ยาฆําแมลง ฆํา หญ๎า ฆําสัตว๑ ไมใํ ช๎ปุ๋ยเคมี ใชส๎ ิง่ ของในธรรมชาตใิ หเ๎ ก้อื กูลกัน ใชม๎ ลู สัตว๑ ใบไมใ๎ บ หญ๎าทเี่ นาํ เปื่อยเป็นปุ๋ย ทาให๎ ดนิ อุดมสมบรู ณ๑ นา้ สะอาด และไมเํ หือดแหง๎ ชาวบ๎านเคารพธรรมชาติ เช่ือวํา มีเทพมีเจ๎าสถิตอยูํในดิน น้า ปุา เขา สถานท่ีทุกแหํง จะทาอะไรต๎องขออนุญาต และทาด๎วยความเคารพ และพอดี พองาม ชาวบ๎านร๎ูคุณ ธรรมชาติ ที่ได๎ให๎ชีวิตแกํตน พิธีกรรมตํางๆ ล๎วนแสดงออกถึงแนวคิดดังกลําว เชํน งานบุญพิธี ที่เก่ียวกับ น้า ข๎าว ปุาเขา รวมถึงสัตว๑ บ๎านเรือน เคร่ืองใช๎ตํางๆ มีพิธีสํูขวัญข๎าว สํูขวัญควาย สํูขวัญเกวียน ทางอีสานมีพิธี แฮกนา หรอื แรกนา เล้ียงผตี าแฮก มีงานบุญบ๎าน เพือ่ เลยี้ งผี หรือสงิ่ ศกั ดส์ิ ทิ ธป์ิ ระจาหมบูํ ๎าน เปน็ ตน๎ ความสัมพันธ๑กับสิ่งเหนือธรรมชาติ ชาวบ๎านร๎ูวํา มนุษย๑เป็นเพียงสํวนเล็กๆ สํวนหน่ึง ของ จักรวาล ซึ่งเต็มไปด๎วยความเร๎นลับ มีพลัง และอานาจ ที่เขาไมํอาจจะหาคาอธิบายได๎ ความเร๎นลับดังกลําว รวมถึงญาตพิ นี่ อ๎ ง และผู๎คนท่ีลวํ งลบั ไปแล๎ว ชาวบา๎ นยงั สมั พนั ธ๑กับพวกเขา ทาบญุ และราลึกถึงอยํางสม่าเสมอ ทุกวัน หรือในโอกาสสาคัญๆ นอกน้ันเป็นผีดี ผีร๎าย เทพเจ๎าตํางๆ ตามความเช่ือของแตํละแหํง สิ่งเหลําน้ีสิง สถติ อยใํู นส่ิงตาํ งๆ ในโลก ในจักรวาล และอยูํบนสรวงสวรรคก๑ ารทามาหากนิ แม๎วิถีชีวิตของชาวบ๎านเม่ือกํอนจะดูเรียบงํายกวําทุกวันนี้ และยังอาศัยธรรมชาติ และ แรงงานเป็นหลัก ในการทามาหากิน แตํพวกเขาก็ต๎องใช๎สติป๓ญญา ที่บรรพบุรุษถํายทอดมาให๎ เพื่อจะได๎อยูํ รอด ทงั้ นเี้ พราะปญ๓ หาตาํ งๆ ในอดตี กย็ งั มไี มนํ ๎อย โดยเฉพาะเม่ือครอบครัวมีสมาชิกมากขึ้น จาเป็นต๎องขยายท่ี ทากิน ตอ๎ งหักรา๎ งถางพง บกุ เบกิ พนื้ ที่ทากินใหมํ การปรับพ้ืนที่ป๓้นคันนา เพื่อทานา ซ่ึงเป็นงานท่ีหนัก การทา ไรํทานา ปลูกพืชเลี้ยงสัตว๑ และดูแลรักษาให๎เติบโต และได๎ผล เป็นงานท่ีต๎องอาศัยความรู๎ความสามารถ การ จบั ปลาลําสัตว๑กม็ ีวิธกี าร บางคนมีความสามารถมากรู๎วํา เวลาไหน ที่ใด และวิธีใด จะจับปลาได๎ดีที่สุด คนที่ไมํ เกํงกต็ ๎องใช๎เวลานาน และได๎ปลาน๎อย การลาํ สตั ว๑กเ็ ชํนเดียวกนั การจัดการแหลํงน้า เพื่อการเกษตร ก็เป็นความรู๎ความสามารถ ท่ีมีมาแตํโบราณ คนทาง ภาคเหนือร๎ูจักบริหารน้า เพ่ือการเกษตร และเพื่อการบริโภคตํางๆ โดยการจัดระบบเหมืองฝาย มีการจัด แบํงป๓นน้ากันตามระบบประเพณีที่ สืบทอดกันมา มีหัวหน๎าท่ีทุกคนยอมรับ มีคณะกรรมการจัดสรรน้าตาม สัดสวํ น และตามพืน้ ท่ีทากนิ นับเปน็ ความร๎ูที่ทาให๎ชุมชนตํางๆ ท่ีอาศัยอยํูใกล๎ลาน้า ไมํวําต๎นน้า หรือปลายน้า ได๎รับการแบงํ ปน๓ น้าอยาํ งยุติธรรม ทกุ คนได๎ประโยชน๑ และอยรํู วํ มกันอยํางสันติ ชาวบา๎ นร๎จู กั การแปรรูปผลิตผลในหลายรูปแบบ การถนอมอาหารให๎กินได๎นาน การดองการ หมัก เชํน ปลาร๎า นา้ ปลา ผักดอง ปลาเค็ม เน้ือเคม็ ปลาแหง๎ เนือ้ แห๎ง การแปรรปู ข๎าว ก็ทาได๎มากมายนับร๎อย ชนิด เชํน ขนมตํางๆ แตํละพิธีกรรม และแตํละงานบุญประเพณี มีข๎าวและขนมในรูปแบบไมํซ้ากัน ตั้งแตํ ขนมจีน สังขยา ไปถึงขนมในงานสารท กาละแม ขนมครก และอ่ืนๆ ซ่ึงยังพอมีให๎เห็นอยูํจานวนหนึ่ง ใน ป๓จจบุ นั สํวนใหญปํ รบั เปล่ยี นมาเป็นการผลติ เพือ่ ขาย หรือเป็นอุตสาหกรรมในครัวเรือน ความรู๎เรื่องการปรุงอาหารก็มีอยํูมากมาย แตํละท๎องถ่ินมีรูปแบบ และรสชาติแตกตํางกันไป มีมากมายนับร๎อยนับพันชนิด แม๎ในชีวิตประจาวัน จะมีเพียงไมํกี่อยําง แตํโอกาสงานพิธี งาน เลี้ยง งานฉลอง สาคัญ จะมีการจัดเตรียมอาหารอยํางดี และพิถีพิถันการทามาหากินในประเพณีเดิมนั้น เป็นท้ังศาสตร๑และ ศิลป์ การเตรียมอาหาร การจัดขนม และผลไม๎ ไมํได๎เป็นเพียงเพ่ือให๎รับประทานแล๎วอรํอย แตํให๎ได๎ความ สวยงาม ทาใหส๎ ามารถสมั ผัสกบั อาหารน้ัน ไมํเพียงแตํทางปาก และรสชาติของล้ิน แตํทางตา และทางใจ การ เตรียมอาหารเป็นงานศิลปะ ท่ีปรุงแตํด๎วยความต้ังใจ ใช๎เวลา ฝีมือ และความรู๎ความสามารถ ชาวบ๎าน สมยั กํอนสํวนใหญจํ ะทานาเป็นหลัก เพราะเมื่อมขี ๎าวแลว๎ กส็ บายใจ อยํางอ่ืนพอหาได๎จากธรรมชาติ เสร็จหน๎า
นาก็จะทางานหัตถกรรม การทอผ๎า ทาเส่ือ เล้ียงไหม ทาเครื่องมือ สาหรับจับสัตว๑ เคร่ืองมือการเกษตร และ อุปกรณต๑ าํ งๆ ทจี่ าเป็น หรือเตรยี มพื้นท่ี เพอื่ การทานาครั้งตอํ ไป หัตถกรรมเป็นทรัพย๑สิน และมรดกทางภูมิป๓ญญาท่ียิ่งใหญํที่สุดอยํางหนึ่งของบรรพบุรุษ เพราะเปน็ สอื่ ท่ถี าํ ยทอดอารมณ๑ ความรู๎สึก ความคิด ความเช่ือ และคุณคําตํางๆ ที่สั่งสมมาแตํนมนาน ลายผ๎า ไหม ผา๎ ฝาู ย ฝีมือในการทออยํางประณตี รปู แบบเครอ่ื งมอื ท่สี านด๎วยไม๎ไผํ และอุปกรณ๑ เครื่องใช๎ไม๎สอยตํางๆ เคร่ืองดนตรี เคร่ืองเลํน สิ่งเหลําน้ีได๎ถูกบรรจงสร๎างข้ึนมา เพ่ือการใช๎สอย การทาบุญ หรือการอุทิศให๎ใครคน หน่ึง ไมํใชํเพ่ือการค๎าขาย ชาวบ๎านทามาหากินเพียงเพื่อการยังชีพ ไมํได๎ทาเพ่ือขาย มีการนาผลิตผลสํวนหน่ึง ไปแลกส่ิงของท่ีจาเป็น ที่ตนเองไมํมี เชํน นาข๎าวไป แลกเกลือ พริก ปลา ไกํ หรือเสื้อผ๎า การขายผลิตผลมีแตํ เพียงสํวนน๎อย และเมื่อมีความจาเป็นต๎องใช๎เงิน เพื่อเสียภาษีให๎รัฐ ชาวบ๎านนาผลิตผล เชํน ข๎าว ไปขายใน เมืองใหก๎ ับพํอคา๎ หรอื ขายให๎กับพอํ ค๎าท๎องถน่ิ เชนํ ทางภาคอีสาน เรียกวํา \"นายฮ๎อย\" คนเหลํานี้จะนาผลิตผล บางอยาํ ง เชนํ ข๎าว ปลารา๎ วัว ควาย ไปขายในท่ไี กลๆ ทางภาคเหนือมีพอํ ค๎าวัวตํางๆ เปน็ ต๎น แม๎วําความรู๎เร่ืองการคา๎ ขายของคนสมัยกํอน ไมํอาจจะนามาใช๎ในระบบตลาดเชํนป๓จจุบันได๎ เพราะสถานการณ๑ได๎เปลี่ยนแปลงไปอยํางมาก แตํการค๎าที่มีจริยธรรมของพํอค๎าในอดีต ที่ไมํได๎หวังแตํเพียง กาไร แตคํ านึงถึงการชวํ ยเหลอื แบงํ ป๓นกันเป็นหลกั ยงั มีคณุ คาํ สาหรับปจ๓ จบุ ัน นอกนั้น ในหลายพ้ืนที่ในชนบท ระบบการแลกเปลีย่ นส่งิ ของยังมอี ยูํ โดยเฉพาะในพืน้ ทยี่ ากจน ซง่ึ ชาวบ๎านไมํมีเงินสด แตํมีผลิตผลตํางๆ ระบบ การแลกเปลี่ยนไมํได๎ยึดหลักมาตราชั่งวัด หรือการตีราคาของสิ่งของ แตํแลกเปลี่ยน โดยการคานึงถึง สถานการณ๑ของผ๎ูแลกทั้งสองฝุาย คนที่เอาปลาหรือไกํมาขอแลกข๎าว อาจจะได๎ข๎าวเป็นถัง เพราะเจ๎าของข๎าว คานึงถึงความจาเปน็ ของครอบครัวเจ๎าของไกํ ถ๎าหากตีราคาเปน็ เงิน ข๎าวหนึง่ ถังยอํ มมคี าํ สูงกวาํ ไกหํ น่ึงตวั การอยูร่ ว่ มกนั ในสังคม การอยํูรํวมกันในชุมชนด้ังเดิมน้ัน สํวนใหญํจะเป็นญาติพ่ีน๎องไมํกี่ตระกูล ซ่ึงได๎อพยพย๎ายถ่ินฐานมา อยูํ หรือสืบทอดบรรพบุรุษจนนับญาติกันได๎ทั้งชุมชน มีคนเฒําคนแกํท่ีชาวบ๎านเคารพนับถือเป็นผ๎ูนาหน๎าที่ ของผู๎นา ไมํใชํการสั่ง แตํเป็นผู๎ให๎คาแนะนาปรึกษา มีความแมํนยาในกฎระเบียบประเพณีการดาเนินชีวิต ตัดสินไกลํเกล่ีย หากเกิดความขัดแย๎ง ชํวยกันแก๎ไขป๓ญหาตํางๆ ที่เกิดข้ึน ป๓ญหาในชุมชนก็มีไมํน๎อย ป๓ญหา การทามาหากิน ฝนแล๎ง น้าทํวม โรคระบาด โจรลักวัวควาย เป็นต๎น นอกจากน้ัน ยังมีป๓ญหาความขัดแย๎ง ภายในชุมชน หรือระหวํางชุมชน การละเมิดกฎหมาย ประเพณี สํวนใหญํจะเป็นการ \" ผิดผี\" คือ ผีของบรรพ บุรุษ ผ๎ูซ่ึงได๎สร๎างกฎเกณฑ๑ตํางๆ ไว๎ เชํน กรณีที่ชายหนุํมถูกเนื้อต๎องตัวหญิงสาวที่ยังไมํแตํงงาน เป็นต๎น หาก เกิดการผิดผีขึ้นมา ก็ต๎องมีพิธีกรรมขอขมา โดยมีคนเฒําคนแกํเป็นตัวแทนของบรรพบุรุษ มีการวํากลําวสั่ง สอน และชดเชยการทาผิดน้ัน ตามกฎเกณฑ๑ที่วางไว๎ ชาวบ๎านอยํูอยํางพึ่งพาอาศัยกัน ยามเจ็บไข๎ได๎ปุวย ยาม เกิดอุบัติเหตุเภทภัย ยามท่ีโจรขโมยวัวควายข๎าวของ การชํวยเหลือกันทางานท่ีเรียกกันวํา การลงแขก ท้ัง แรงกายแรงใจท่ีมีอยํูก็จะแบํงป๓นชํวยเหลือ เอ้ืออาทรกัน การ แลกเปลี่ยนสิ่งของ อาหารการกิน และอ่ืนๆ จึง เกี่ยวข๎องกับวิถีของชุมชน ชาวบ๎านชํวยกันเก็บเก่ียวข๎าว สร๎างบ๎าน หรืองานอื่นท่ีต๎องการคนมากๆ เพื่อจะได๎ เสรจ็ โดยเรว็ ไมมํ กี ารจ๎าง กรณีตวั อยํางจากการปลูกขา๎ วของชาวบ๎าน ถา๎ ปีหน่งึ ชาวนาปลูกข๎าวได๎ผลดี ผลิตผลที่ได๎จะใช๎เพื่อการ บรโิ ภคในครอบครัว ทาบุญทีว่ ดั เผ่ือแผใํ หพ๎ ีน่ ๎องทข่ี าดแคลน แลกของ และเก็บไว๎ เผ่ือวําปีหน๎าฝนอาจแล๎ง น้า อาจทํวม ผลิตผล อาจไมํดีในชุมชนตํางๆ จะมีผ๎ูมีความรู๎ความสามารถหลากหลาย บางคนเกํงทางการรักษา โรค บางคนทางการเพาะปลูกพืช บางคนทางการเลี้ยงสัตว๑ บางคนทางด๎านดนตรีการละเลํน บางคนเกํง ทางด๎านพิธีกรรม คนเหลํานี้ตํางก็ใช๎ความสามารถ เพ่ือประโยชน๑ของชุมชน โดยไมํถือเป็นอาชีพ ที่มี คาํ ตอบแทน อยํางมากก็มี \"คําคร\"ู แตํเพียงเล็กน๎อย ซึ่งปกติแล๎ว เงินจานวนน้ัน ก็ใช๎สาหรับเคร่ืองมือประกอบ
พิธีกรรม หรือ เพื่อทาบุญทวี่ ดั มากกวําทหี่ มอยา หรอื บุคคลผนู๎ ั้น จะเกบ็ ไว๎ใช๎เอง เพราะแท๎ที่จริงแล๎ว \"วิชา\" ท่ี ครูถํายทอดมาให๎แกํลูกศิษย๑ จะต๎องนาไปใช๎ เพื่อประโยชน๑แกํสังคม ไมํใชํเพื่อผลประโยชน๑สํวนตัว การตอบ แทนจึงไมํใชํเงินหรือส่ิงของเสมอไป แตํเป็นการชํวยเหลือเกื้อกูลกันโดยวิธีการตํางๆด๎วยวิถีชีวิตเชํนน้ี จึงมี คาถาม เพอ่ื เป็นการสอนคนรํุนหลงั วาํ ถ๎าหากคนหนึ่งจับปลาชํอนตัวใหญํได๎หน่ึงตัว ทาอยํางไรจึงจะกินได๎ทั้งปี คนสมัยนอ้ี าจจะบอกวํา ทาปลาเค็ม ปลาร๎า หรือเก็บรักษาด๎วยวิธกี ารตาํ งๆ แตํคาตอบที่ถูกต๎อง คือ แบํงป๓นให๎ พี่น๎อง เพ่ือนบ๎าน เพราะเมื่อเขาได๎ปลา เขาก็จะทากับเราเชํนเดียวกัน ชีวิตทางสังคมของหมํูบ๎าน มีศูนย๑กลาง อยทํู ี่วดั กิจกรรมของสวํ นรวม จะทากันท่วี ดั งานบญุ ประเพณตี าํ งๆ ตลอดจนการละเลํนมหรสพ พระสงฆเ๑ ปน็ ผูน๎ าทางจติ ใจ เป็นครูทีส่ อนลูกหลานผช๎ู าย ซงึ่ ไปรับใชพ๎ ระสงฆ๑ หรอื \"บวชเรียน\" ทง้ั น้เี พราะกํอนนย้ี งั ไมํมี โรงเรียน วดั จงึ เปน็ ทง้ั โรงเรยี น และหอประชุม เพื่อกจิ กรรมตํางๆ ตํอเม่ือโรงเรียนมีข้ึน และแยกออกจากวดั บทบาทของวดั และของพระสงฆ๑ จึงเปล่ยี นไป งานบญุ ประเพณีในชุมชนแตํกํอนมีอยูํทุกเดือน ตํอมาก็ลดลงไป หรือสองสามหมํูบ๎านรํวมกันจัด หรือ ผลัดเปล่ียนหมุนเวียนกัน เชํน งานเทศน๑มหาชาติ ซึ่งเป็นงานใหญํ หมํูบ๎านเล็กๆ ไมํอาจจะจัดได๎ทุกปี งาน เหลํานี้มีท้ังความเช่อื พิธีกรรม และความสนุกสนาน ซง่ึ ชมุ ชนแสดงออกรํวมกนั ระบบคุณคา่ ความเชื่อในกฎเกณฑ๑ประเพณี เป็นระเบียบทางสังคมของชุมชนด้ังเดิม ความเช่ือน้ีเป็นรากฐานของ ระบบคุณคําตํางๆ ความกตัญ๒ูรู๎คุณตํอพํอแมํ ปุูยําตายาย ความเมตตาเอื้ออาทรตํอผ๎ูอื่น ความเคารพตํอสิ่ง ศกั ด์ิสทิ ธิใ์ นธรรมชาติรอบตัว และในสากลจกั รวาล ความเช่ือ \"ผี\" หรือส่ิงศักดิ์สิทธิ์ในธรรมชาติ เป็นท่ีมาของการดาเนินชีวิต ท้ังของสํวนบุคคล และของ ชุมชน โดยรวมการเคารพในผีปูุตา หรือผีปูุยํา ซ่ึงเป็นผีประจาหมูํบ๎าน ทาให๎ชาวบ๎านมีความเป็นหน่ึงเดียวกัน เป็นลกู หลานของปุตู าคนเดียวกัน รักษาปาุ ท่ีมบี า๎ นเล็กๆ สาหรับผี ปลูกอยูํติดหมูํบ๎าน ผีปุา ทาให๎คนตัดไม๎ด๎วย ความเคารพ ขออนญุ าตเลอื กตัดต๎นแกํ และปลกู ทดแทน ไมํทิ้งส่ิงสกปรกลงแมํน้า ด๎วยความเคารพในแมํคงคา กนิ ข๎าวดว๎ ยความเคารพ ในแมโํ พสพ คนโบราณกินขา๎ วเสรจ็ จะไหวข๎ ๎าว พิธีบายศรีสํูขวัญ เป็นพิธีร้ือฟ้ืน กระชับ หรือสร๎างความสัมพันธ๑ระหวํางผ๎ูคน คนจะเดินทางไกล หรือ กลับจากการเดินทาง สมาชิกใหมํ ในชุมชน คนปุวย หรือกาลังฟื้นไข๎ คนเหลํานี้จะได๎รับพิธีสูํขวัญ เพื่อให๎เป็น สิริมงคล มีความอยํูเยน็ เป็นสขุ นอกนัน้ ยังมพี ธิ ีสบื ชะตาชวี ิตของบุคคล หรือของชมุ ชน นอกจากพิธีกรรมกับคนแล๎ว ยังมีพิธีกรรมกับสัตว๑และธรรมชาติ มีพิธีสูํขวัญข๎าว สํูขวัญควาย สูํขวัญ เกวียน เปน็ การแสดงออกถึงการขอบคุณ การขอขมา พธิ ีดังกลาํ วไมํได๎มีความหมายถึงวํา ส่ิงเหลําน้ีมีจิต มีผีใน ตัวมันเอง แตํเป็นการแสดงออก ถึงความสัมพันธ๑กับจิตและส่ิงศักด์ิสิทธ์ิ อันเป็นสากลในธรรมชาติท้ังหมด ทา ให๎ผ๎ูคนมีความสัมพันธ๑อันดีกับทุกสิ่ง คนขับแท็กซ่ีในกรุงเทพฯ ที่มาจากหมูํบ๎าน ยังซื้อดอกไม๎ แล๎วแขวนไว๎ท่ี กระจกในรถ ไมํใชํเพื่อเซํนไหว๎ผีในรถแท็กซ่ี แตํเป็นการราลึกถึงสิ่งศักด์ิสิทธ์ิ ใน สากลจักรวาล รวมถึงที่สิงอยํู ในรถคันนั้นผ๎ูคนสมัยกํอนมีความสานึกในข๎อจากัดของตนเอง ร๎ูวํา มนุษย๑มีความอํอนแอ และเปราะบาง หาก ไมํรักษาความสัมพันธอ๑ ันดี และไมคํ งความสมดุลกับธรรมชาติรอบตัวไว๎ เขาคงไมํสามารถมีชีวิตได๎อยํางเป็นสุข และยืนนาน ผ๎ูคนท่ัวไปจึงไมํมีความอวดกล๎าในความสามารถของตน ไมํท๎าทายธรรมชาติ และส่ิงศักด์ิสิทธิ์ มี ความออํ นนอ๎ มถํอมตน และรกั ษากฎระเบียบประเพณอี ยาํ งเครํงครดั ชีวิตของชาวบ๎านในรอบหน่ึงปี จึงมีพิธีกรรมทุกเดือน เพ่ือแสดงออกถึงความเช่ือ และความสัมพันธ๑ ระหวํางผู๎คนในสังคม ระหวํางคนกับธรรมชาติ และระหวํางคนกับสิ่งศักดิ์สิทธ์ิตํางๆ ดังกรณีงานบุญประเพณี ของชาวอีสานทีเ่ รียกวําฮีตสิบสอง คอื เดือนอ๎าย (เดือนที่หน่ึง) บุญเข๎ากรรม ให๎พระภิกษุเข๎าปริวาสกรรมเดือน
ยี่ (เดือนท่ีสอง) บุญคูณลาน ให๎นาข๎าวมากองกันท่ีลาน ทาพิธีกํอนนวด เดือนสาม บุญข๎าวจ่ี ให๎ถวายข๎าวจ่ี (ข๎าวเหนียวป้๓นชุบไขํทาเกลือนาไปยํางไฟ)เดือนส่ี บุญพระเวส ให๎ฟ๓งเทศน๑มหาชาติ คือ เทศน๑เร่ืองพระ เวสสันดรชาดก เดอื นหา๎ บญุ สรงนา้ หรอื บุญสงกรานต๑ ให๎สรงนา้ พระ ผ๎ูเฒําผ๎ูแกํ เดอื นหก บุญบั้งไฟ บูชาพญา แถน ตามความเช่ือเดิม และบุญวิสาขบูชา ตามความเชื่อของชาวพุทธ เดือนเจ็ด บุญซาฮะ (บุญชาระ) ให๎บน บานพระภูมิเจ๎าท่ี เล้ียงผีปูุตา เดือนแปด บุญเข๎าพรรษา เดือนเก๎า บุญข๎าวประดับดิน ทาบุญอุทิศสํวนกุศลให๎ ญาติพ่ีน๎องผ๎ูลํวงลับ เดือนสิบ บุญข๎าวสาก ทาบุญเชํนเดือนเก๎า รวมให๎ผีไมํมีญาติ (ภาคใต๎มีพิธีคล๎ายกัน คือ งานพิธีเดือนสิบ ทาบุญให๎แกํบรรพบุรุษผู๎ลํวงลับไปแล๎ว แบํงข๎าวปลาอาหารสํวนหนึ่งให๎แกํผีไมํมีญาติ พวก เด็กๆ ชอบแยํงกนั เอาของทแี่ บงํ ใหผ๎ ไี มมํ ญี าติหรือเปรต เรียกวาํ \"การชงิ เปรต\") เดอื นสิบเอด็ บุญออกพรรษา เดอื นสิบสอง บุญกฐนิ จดั งานกฐนิ และลอยกระทง ภูมิป๓ญญาชาวบ๎านในสังคมป๓จจุบันภูมิป๓ญญาชาวบ๎านได๎กํอเกิด และสืบทอดกันมาในชุมชนหมูํบ๎าน เม่ือหมูํบ๎านเปล่ียนแปลงไปพร๎อมกับสังคมสมัยใหมํ ภูมิป๓ญญาชาวบ๎านก็มีการปรับตัวเชํนเดียวกัน ความร๎ู จานวนมากได๎สูญหายไป เพราะไมมํ กี ารปฏิบัติสบื ทอด เชํน การรกั ษาพ้ืนบ๎านบางอยําง การใช๎ยาสมุนไพรบาง ชนิด เพราะหมอยาที่เกํงๆ ได๎เสียชีวิต โดยไมํได๎ถํายทอดให๎กับคนอื่น หรือถํายทอด แตํคนตํอมาไมํได๎ปฏิบัติ เพราะชาวบ๎านไมํนิยมเหมือนเมื่อกํอน ใช๎ยาสมัยใหมํ และไปหาหมอ ที่โรงพยาบาล หรือคลินิก งํายกวํา งาน หันตถกรรม ทอผ๎า หรือเคร่ืองเงิน เครื่องเขิน แม๎จะยังเหลืออยูํไมํน๎อย แตํก็ได๎ถูกพัฒนาไปเป็นการค๎า ไมํ สามารถรักษาคุณภาพ และฝีมือแบบด้ังเดิมไว๎ได๎ ในการทามาหากินมีการใช๎เทคโนโลยีทันสมัย ใช๎รถไถแทน ควาย รถอีแตน๐ แทนเกวียน การลงแขกทานา และปลูกสร๎างบ๎านเรือน ก็เกือบจะหมดไป มีการจ๎างงานกันมากข้ึน แรงงานก็หา ยากกวาํ แตกํ ํอน ผู๎คนอพยพยา๎ ยถ่ิน บา๎ งก็เข๎าเมือง บ๎างก็ไปทางานที่อ่ืน ประเพณีงานบุญ ก็เหลือไมํมาก ทาได๎ กต็ ํอเมอื่ ลกู หลานที่จากบา๎ นไปทางาน กลับมาเย่ียมบ๎านในเทศกาลสาคัญๆ เชํน ปีใหมํ สงกรานต๑ เข๎าพรรษา เปน็ ตน๎ สงั คมสมัยใหมํมรี ะบบการศึกษาในโรงเรียน มีอนามัย และโรงพยาบาล มีโรงหนัง วิทยุ โทรทัศน๑ และ เครื่องบันเทิงตํางๆ ทาให๎ชีวิตทางสังคมของชุมชนหมํูบ๎านเปล่ียนไป มีตารวจ มีโรงมีศาล มีเจ๎าหน๎าท่ีราชการ ฝาุ ยปกครอง ฝาุ ยพัฒนา และอืน่ ๆ เขา๎ ไปในหมูบํ ๎าน บทบาทของวัด พระสงฆ๑ และคนเฒําคนแกํเร่ิมลดน๎อยลง การทามาหากินก็เปล่ียนจากการทาเพื่อยังชีพไปเป็นการผลิตเพื่อการขาย ผู๎คนต๎องการเงิน เพ่ือซ้ือเครื่อง บริโภคตํางๆ ทาให๎ส่ิงแวดล๎อม เปล่ียนไป ผลิตผลจากปุาก็หมด สถานการณ๑เชํนน้ีทาให๎ผู๎นาการพัฒนาชุมชน หลายคน ท่ีมีบทบาทสาคัญในระดับจังหวัด ระดับภาค และระดับประเทศ เร่ิมเห็นความสาคัญของภูมิป๓ญญา ชาวบา๎ น หนวํ ยงานทางภาครัฐ และภาคเอกชน ให๎การสนับสนุน และสํงเสริมให๎มีการอนุรักษ๑ ฟ้ืนฟู ประยุกต๑ และคน๎ คิดสงิ่ ใหมํ ความรูใ๎ หมํ เพื่อประโยชน๑สุขของสงั คม
ความเปน็ มาและความส้าคญั ของการท้าขา้ วตม้ มัด ขา้ วตม้ มดั ขนมพ้ืนบ๎านที่ค๎ุนเคยเปน็ ท่รี ู๎จกั กนั มาชา๎ นาน ขนมพื้นบา๎ นดงั กลําวนอกเหนือจากคุณคาํ ด๎านโภชนาการแลว๎ ยงั แสดงให๎เห็น ถึงภมู ิปญ๓ ญาไทยท่ีมเี อกลกั ษณ๑โดดเดํน ทรงคุณคาํ อกี ทั้งยงั มเี ร่ืองชวนรู๎ ชวนศกึ ษาอีกหลายด๎าน ขนมดังกลําวจัดอยํูในเคร่ืองไทยทานถวายพระภิกษุในเทศกาลตักบาตรเทโวและเทศกาลออกพรรษา เป็นหน่ึงในขนมที่นิยมทากันท่ัวทุกภูมิภาคของประเทศ โดยมีช่ือเรียกตํางกัน ไป รวมถึงมีสํวนประกอบและ วิธีการทาที่แตกตํางกันบ๎างเล็กน๎อย แตํอยํางไรก็ตามยังคงเอกลักษณ๑โดดเดํนซ่ึงได๎แกํ ข๎าวเหนียว กล๎วยน้าว๎า น้าตาล เกลอื เลก็ นอ๎ ยและวสั ดทุ ่ี นามาใช๎หอํ คอื ใบตองและวัสดธุ รรมชาตใิ นท๎องถิ่น ข้าวต้มมัดหรือข้าวต้มผัด ในภาคกลางจะเรียกตามกรรมวิธีการทา ขณะที่ข๎าวต๎มมัดในภาค ตะวันออกเฉียงเหนอื บางแหงํ เรียก ข๎าวต๎มกล๎วย ซึง่ ทาได๎สองลกั ษณะคลา๎ ยกบั ทางภาคกลางและไมํใสกํ ะทิ สํวนทางภาคเหนือเรียก ข๎าวต๎ม ซ่ึงการทาไมํแตกตํางจากทางภาคอีสาน ข๎าวต๎มของคนล๎านนาจะใสํ กลว๎ ยนา้ วา๎ ผําสกุ ครึง่ หนึ่งเรยี กวาํ ข๎าวตม๎ กล๎วย ข้าวต้มถ่ัวดิน บ๎างเรียก ข๎าวต๎มหัวหงอก สํวนทางภาคใต๎จะคล๎ายคลึงกับทางภาคกลางเรียก วํา เหนียวหํอกล๎วยคอื ข๎าวเหนียวขาวหํอกล๎วยไว๎โดยรอบ หํอด๎วยใบตอง ใช๎เชือกพันมัดหัวท๎ายให๎แนํนนอกจากน้ี ยังมี ข๎าวต๎มลูกโยนหรือข๎าวต๎มที่ใช๎ข๎าวเหนียวผสมถั่วดาไมํมีกล๎วย หํอด๎วยใบพ๎อผูกเข๎าด๎วยกันเป็นพวงแล๎ว นาไปต๎ม ซึ่งในสํวนนี้มีตานานเลําขานตํอกันมาวํา สมัยพุทธกาลชาวบ๎านเบียดเสียดกันใสํบาตรพระพุทธเจ๎า บางคนเขา๎ ไมํถงึ จงึ ใชว๎ ธิ ีการโยนข๎าวตม๎ ไปแทน จึงกลายเป็นข๎าวตม๎ ลูกโยนนบั แตํน้นั มา ในคณุ คาํ ทางโภชนาการข๎าวตม๎ มดั ทไ่ี ด๎รับการยอมรับเป็นอาหารวํางหรอื ขนมไทยทใี่ ห๎สารอาหารครบห๎า หมูํใน หํอเดียวกัน ได๎แกํ คาร๑โบไฮเดรตซึ่งให๎พลังงานจากข๎าวเหนียว, วิตามิน และแรํธาตุจากกล๎วย, โปรตีน จากถ่วั ดา ไขมันจากกะทิ ข๎าวเหนียว (อังกฤษ: Glutinous rice; ช่ือวิทยาศาสตร๑: Oryza sativa var. glutinosa) เป็นข๎าวท่ีมี ลักษณะเดํนคือการติดกันเหมือนกาวของเมล็ดข๎าวท่ีสุกแล๎ว ปลูกมากทางภาคอีสานของประเทศไทย และ ประเทศลาว ข๎าวเหนียวเป็นท่ีนิยมบริโภคอยํางกว๎างขวางในประเทศ และเป็นอาหารหลักของประชากร ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือ นอกจากการบริโภคโดยตรงแล๎วยังมีการนาข๎าวเหนียวมาเป็น วตั ถดุ ิบในการผลิตสรุ าพนื้ เมอื ง การผลิตแปูงขา๎ วเหนียวเพอ่ื อุตสาหกรรมอาหารและขนมขบเค้ยี ว ข๎าวเหนียวมี 2 สี คือ สีขาวและสีดา (คนเหนือเรียกวํา\"ข๎าวก่า\") แตํข๎าวเหนียวดาจะมีสารอาหาร ท่ี เปน็ ประโยชน๑มากกวําข๎าวเหนียวขาว สารอาหารท่ีวํา คือ “โอพีซี\" (OPC) มีสรรพคุณชํวยชะลอการแกํกํอน วัย และความเส่ือม ถอยของรํางกาย โดยสารโอพีซีที่พบในข๎าวเหนียวดา เป็นสารชนิดเดียวกับสารสกัดท่ีได๎ จากองุนํ ดาองนํุ แดง เปลือกสน กล๎วยน้าวา๎ เป็นกลว๎ ยพนั ธ๑หุ นึ่ง พัฒนามาจากลูกผสมระหวาํ งกล๎วยปุากับกล๎วยตานี บริโภคกันอยําง แพรํหลาย ปลกู งําย รสชาติดี สาหรับกล๎วยน้าว๎าแบํงออกเป็น 3 ชนิด ตามสีของเนื้อ คือ น้าว๎าแดง น้าว๎าขาว และน้าว๎าเหลือง คนไทยรับประทานกล๎วยน้าว๎าทั้งผลสด ต๎ม ปิ้ง และนามาประกอบอาหาร นอกจากน้ียังมี
กล๎วยน้าว๎าดา ซึ่งเปลือกมีสีครั่งปนดา แตํเนื้อมีสีขาว รสชาติอรํอยคล๎ายกล๎วยน้าว๎าขาว สาหรับกล๎วยตีบ เหมาะที่จะรับประทานผลสด เพราะเม่ือนาไปยําง หรือต๎มจะมีรสฝาด กล๎วยน้าว๎ามีช่ือพ้ืนเมืองอื่นเชํน กล๎วย นา้ ว๎าเหลอื ง กลว๎ ยใต๎ หรือ กล๎วยออํ ง เดิมจดั เปน็ ชนิด Musa sapientum คณุ คา่ ทางอาหารและยา กล๎วยน้าว๎าเม่ือเทียบกับกล๎วยหอมและกล๎วยไขํ กล๎วยน้าว๎าจะให๎พลังงานมากที่สุด กล๎วยน้าว๎าหําม และสุกมีธาตุเหล็กในปริมาณสูง ชํวยสร๎างเม็ดเลือดแดง ปูองกันโรคโลหิตจาง มีแคลเซียม ฟอสฟอรัส และ วิตามินซีชํวยบารุงกระดกู ฟ๓น และเหงอื กใหแ๎ ขง็ แรง ชวํ ยให๎ผวิ พรรณดี มีเบต๎าแคโรทีน ไนอาซีนและใยอาหาร ชํวยให๎ระบบขับถํายคลํองข้ึน กินกล๎วยน้าว๎าสุก จะชํวยระบายท๎องและสามารถรักษาโรคเลือดออกตามไรฟ๓น ในเด็กเล็กได๎ ชํวยลดอาการเจบ็ คอ เจบ็ หนา๎ อกที่มอี าการไอแห๎งรํวมดว๎ ย โดยกินวันละ 4-6 ลูก แบํงกินก่ีคร้ัง ก็ ได๎ กินกล๎วยกํอนแปรงฟ๓นทุกวันจะทาให๎ไมํมีกล่ินปาก และผิวพรรณดี เห็นผลได๎ใน 1 สัปดาห๑ กล๎วยน้าว๎าดิบ และหํามมีสารแทนนิน เพคติน มีฤทธ์ิฝาดสมาน รักษา อาการท๎องเสียที่ไมํรุนแรงได๎ โดยกินครั้งละครึ่งผล หรือ 1 ผล อาการท๎องเสียจะทุเลาลง นอกจากนี้จากการศึกษาวิจัยยังพบวํา มีผลในการรักษาโรคกระเพาะได๎ อีกดว๎ ย น้าตาล คือ สารให๎ความหวานตามธรรมชาติชนิดหนึ่ง มีเรียกกันหลายแบบ ขึ้นอยูํกับรูปรํางลักษณะ ของน้าตาล เชํน น้าตาลทราย น้าตาลกรวด น้าตาลก๎อน น้าตาลปีบ เป็นต๎น แตํในทางเคมี โดยทั่วไป หมายถึง ซูโครส หรือ แซคคาโรส ไดแซคคาไรด๑ ที่มีลักษณะเป็นผลึกของแข็งสีขาว น้าตาลเป็นสารเพิ่มความ หวานที่นิยมใช๎กันอยํางแพรํหลาย ในอุตสาหกรรมการผลิตอาหาร โดยเฉพาะอยํางยิ่ง ขนมหวาน และ เครื่องดื่ม ในทางการค๎าน้าตาลผลิตจาก อ๎อย (sugar cane) , ต๎นตาล(sugar palm), ต๎นมะพร๎าว (coconut palm), ต๎นเมเปิ้ลน้าตาล(sugar maple) และ หัวบีท (sugar beet) ฯลฯ น้าตาลท่ีมี องค๑ประกอบทางเคมีแบบงํายท่ีสุด หรือ โมโนแซคคาไรด๑ เชํน กลูโคส เป็นท่ีเก็บพลังงาน ที่จะต๎องใช๎ใน กิจกรรม ทางชีววิทยา ของเซลล๑ ศัพท๑ทางเทคนิคที่ใช๎เรียกน้าตาลจะลงท๎ายด๎วยคาวํา \"-โอส\" (-ose) เชํน กลโู คส แตํเดิมต้ังแตํสมัยโบราณ เราทาน้าตาลจากน้าหวานของต๎นตาล จึงเรียกวําสารให๎ความหวานน้ันวํา \"น้าตาล\" จนป๓จจุบันถึงแม๎วํารูปแบบของสารให๎ความหวานจะเปล่ียนไป ท้ังรูปลักษณ๑ และวัตถุดิบ ซ่ึงทามา จากออ๎ ย แตชํ ่ือนา้ ตาลกย็ งั คงถูกใช๎อยูํ สวํ นชอื่ น้าตาลในความหมายเดมิ เปล่ยี นช่อื เป็นนา้ ตาลโตนดแทน การผลิต ในชวํ งระหวํางปี พ.ศ. 2544 - 2545 มีการผลติ นา้ ตาลจากทั่วโลกประมาณ 134.1 ล๎านตัน ประเทศที่ ผลิตน้าตาลจากออ๎ ยสํวนใหญํเป็นประเทศในเขตรอ๎ น เชํน ออสเตรเลีย บราซิล และประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2544 - 2545 มีการผลิตน้าตาลเพิ่มข้ึนสองเทําในประเทศกาลังพัฒนา เม่ือเทียบกับประเทศท่ีพัฒนาแล๎ว ปรมิ าณน้าตาลทผี่ ลิตมากท่ีสุดอยูํใน ละตินอเมริกา สหรัฐอเมริกา และชาติใกลุํม แคริบเบียน และ ตะวันออก ไกล แหลํงน้าตาลจากต๎นบีทจะอยํูในเขตอากาศเย็นเชํน: ตะวันตกเฉียงเหนือและตะวันออกของยุโรป ญี่ปุน ตอนเหนือ และบางพ้ืนท่ีในสหรัฐอเมริการวมท้ังรัฐแคลิฟอร๑เนียด๎วย ผู๎สํงออกน้าตาลรายใหญํเป็นอันดับ 2 ของโลก คือสหภาพยุโรป ตลาดน้าตาลยังถูกโจมตีโดยน้าเชื่อมกลูโคส (glucose syrups) ท่ีผลิตจากข๎าวสาลี และขา๎ วโพดรวํ มทงั้ น้าตาลสังเคราะห๑ (artificial sweeteners) ด๎วย ทาให๎เป็นประโยชน๑ตํอผู๎ผลิตเครื่องด่ืมท่ีมี ตน๎ ทนุ ถูกลง
เคร่อื งมอื และวสั ดุอปุ กรณ์ทีใ่ ช้ในการท้าข้าวตม้ มัด 1. ใบตอง 2. กล๎วยนา้ วา๎ 3. น้าตาลทราย 4. มะพรา๎ วแกํ 5. ถ่วั แดง 6. เกลือ 7. กระตํายขดู มะพร๎าว 8. กาต๎มน้า 9. หมอ๎ น่งึ 10. มดี 11. กรรไกร 12. กะละมัง 13. หม๎อ 14. ไม๎พาย
ข้ันตอนการท้าขา้ วต้มมัด 1. แชํขา๎ วเหนยี วเขยี้ วงู ในนา้ อยํางนอ๎ ยประมาณ 3 ชว่ั โมง หรอื 1 คืน บทสนทนา ผจู๎ ดั ทา : เลอื กข๎าวเหนยี วแบบไหนคะ คุณยายโฮม : ควรเลือกใช๎ขา๎ วเหนยี วใหมํ เพราะจะมกี ลิน่ หอม และนิ่ม ถ๎าเปน็ ไปได๎ควรใช๎ ข๎าวเหนยี วสายพันธุท๑ เ่ี รยี กวาํ เข้ียวงู ข๎าวเหนยี วทีใ่ ช๎ ควรใชข๎ ๎าวเหนยี วเข้ียวงู และเปน็ ข๎าวใหมํ เพราะขา๎ วเหนียวเข้ียวงูเป็นพันธ๑ุข๎าวเหนียว ที่มีคุณภาพดีและเป็นสายพันธุ๑หนึ่งที่ได๎รับความนิยมเป็นอยํางมาก และแหลํงเพาะปลูกสํวนใหญํจะอยํูท่ีทาง ภาคเหนือของประเทศ มีการปลูกมากในจังหวัดเชียงราย สาหรับพันธ๑ุท่ีขายกันอยํูทั่วไปในท๎องตลาดจะเป็น ขา๎ วเหนียวเขีย้ วงู พันธุ๑ กข.6 ซ่ึงได๎รับการขัดสีให๎มีขนาดของเม็ดที่เรียวยาวแหลมและมีสีขาวแตกตํางจากข๎าว เหนียวพันธอ๑ุ ่นื ลักษณะที่ได๎จะเป็นข๎าวที่มีเม็ดเรียวยาว สีขาว และทนทานตํอโรคตํางๆ ได๎ดี และหลังจากได๎ ทดลองทาการหงุ ใหส๎ ุก เม็ดข๎าวท่ไี ดจ๎ ะเหนยี วนุํม เรียงตัวสวยไมํเละ มสี ขี าวในลักษณะเลือ่ มเป็นมันและมีกล่ิน หอมนํารับประทาน ท่ีสาคัญยังอุดมไปด๎วยสารอาหารที่มีประโยชน๑หลายอยําง เชํน มีสารตํอต๎านอนุมูลอิสระ ชํวยลดคลอเลสเตอรอล เม่ือรับประทานเป็นประจาจึงชํวยปูองกันการเกิดโรคตํางๆ ได๎เป็นอยํางดี เชํน โรคมะเรง็ โรคหลอดเลือดอดุ ตัน โรคหวั ใจ โรคปอด และยังชวํ ยปูองกันการเกดิ อาการวยั ทองได๎อกี ด๎วย
2. แชํถวั่ แดงอยาํ งนอ๎ ย 6 ชัว่ โมง หรือ 1 คืน และนาไปตม๎ ใชเ๎ วลาประมาณ 10-15 นาที หรือชิมดู ใหม๎ ีลักษณะน่ิมเปน็ ใช๎ได๎ บทสนทนา ผจ๎ู ัดทา : ใชถ๎ ่ัวอะไรได๎บ๎างคะ คณุ ยายโฮม : สามารถใช๎ได๎หลากหลายแล๎วแตํชอบ เชํน ถั่วแดง ถั่วดา ถ่วั ลสิ ง บางคร้งั ใสํ ได๎แม๎กระทงั้ เนื้อหมูสับปรงุ รส แตํทกุ อยาํ งที่ใสํต๎องทาใหส๎ กุ กํอน วิธีการเลอื กใช๎ถวั่ แดง ถั่วด้า และถ่วั ลิสง ตอ๎ งเลือกแตํเม็ดทเ่ี ตม็ เมด็ สวย ได๎ขนาด แล๎วคํอยดมพิสูจน๑ กลิ่นความใหมํ คือห๎ามเหม็นหืน และควรซื้อในปริมาณน๎อยแคํพอใช๎ เพราะถั่วมีน้ามันมาก ทาให๎เหม็นหืนได๎ งาํ ย แตถํ า๎ ซ้อื มาแลว๎ เหลอื ใช๎ไมหํ มด ควรเกบ็ ในกลอํ งสุญญากาศ แล๎วเก็บไว๎ในท่ีเย็นและมืดในตู๎เย็น แตํไมํควร เก็บไวน๎ านเกนิ 3 เดือน หากอยํใู นชํองแชํแขง็ อาจยดื อายุไดถ๎ ึง 6 เดอื น สํวนประโยชน๑ทางโภชนาการของ ถ่ัวแดง คือ สามารถรับประทานเป็นแหลํงเสริมโปรตีนหรือเป็นแหลํงโปรตีนหลักได๎ เนื่องจากมีโปรตีนสูง นอกจากน้ัน ยังพบวิตามิน และเกลือแรํที่จาเป็นตํอรํางกายอีกหลายชนิด ถั่วแดงมีปริมาณโซเดียม และกรด ไขมันอ่ิมตวั ต่า แตมํ ปี รมิ าณกรดไขมนั ไมํอ่ิมตัวสูง อาทิ กรดลโิ นเลอกิ เป็นต๎น ใยอาหารทีพ่ บมากในถ่ัวแดง ชํวยลดระดับไขมัน คอเลสเตอรอลในเลือดได๎โดยตรง เพราะมีคุณสมบัติในการดูดซับน้าดีออกจากระบบ ทางเดนิ อาหาร ทาใหก๎ ระตนุ๎ การสรา๎ งนา้ ดใี หมํอยํางตอํ เน่ือง และใยอาหารชํวยลดระดับน้าตาลในเลือด เพราะ ใยอาหารสามารถชวํ ยชะลอการดูดซึมนา้ ตาลเขา๎ สกํู ระแสเลือด โดยใยอาหารจะเปลี่ยนสภาพเปน็ รปู เจล
เข๎าเคลือบผิวเย่ือบุในลาไส๎เล็ก ทาให๎เกิดการดูดซึมน้าตาลได๎ลดลง มีใยอาหารชํวยปูองกันมะเร็งลาไส๎ และ ปอู งกันโรคถุงโปงุ พองในลาไส๎ใหญํได๎ เนื่องจาก ใยอาหารประเภทท่ีไมํละลายน้า อาทิ เซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส และลิกนิน ทาหน๎าที่กระต๎ุนการขับถํายได๎ดี และชํวยดูดซับหรือนาพาสารพิษตกค๎างในอาหารเพื่อขับออกมา พร๎อมกับอุจจาระได๎ ชํวยลดความอ๎วน รักษาหํุนให๎สมสํวน เพราะเจลที่เกิดจากแปูงหรือใยอาหารทาหน๎าที่ เคลือบผิวลาไส๎เล็ก ทาให๎การดูดซึมน้าตาล และไขมันเป็นเป็นอยํางช๎า เม่ือรับประทานแล๎วทาให๎รู๎สึกอ่ิมนาน ไมํทานอาหารจกุ จกิ ทาให๎ได๎รบั สารอาหารไมํเกินความต๎องการของราํ งกาย 3. การเลอื กตดั ใบตอง และนาใบตองไปตากแดด บทสนทนา ผจ๎ู ดั ทา : ใบตองที่ใช๎ควรเลอื กแบบไหน แล๎วทาไมต๎องใชใ๎ บตองกลว๎ ยนา้ หวา๎ เทาํ น้ัน คุณยายโฮม : เลอื กทีส่ ี ไมํอํอนหรือเข๎มจนเกินไป เพราะจะทาใหห๎ ํอลาบาก และทาให๎เสยี หายตํอ ตัวข๎าวต๎ม สวํ นท่ตี อ๎ งใชใ๎ บตองกลา๎ ยนา้ หวา๎ เพราะใบกลว๎ ยชนดิ อน่ื มคี วามหนา ความแข็ง และมรี สขมเมือ่ ถกู ความร๎อน ทาให๎รสชาตอิ าหารเสียหายได๎ การเลือกใบตอง จะต๎องเลือกทีใ่ บไมํออํ นหรอื แกํจนเกินไป ถ๎าใบอํอนจะเป็นสีเขียวอํอนๆ เม่ือนาไปใช๎จะทาให๎บางและทะลุได๎ สํวนใบท่ีแกํเกินไปจะเป็นสีเขียวเข๎มๆจนไปถึงเหลือง ถ๎า นาไปใช๎ใบจะหนามากทาให๎แตกไมสํ ามารถหํอได๎
บทสนทนา ผจ๎ู ัดทา : ทาไมต๎องตากใบตองคะ คุณยายโฮม : ถา๎ ใบตองมีความสด เวลาหอํ ใบตองจะแตก ทาให๎ตวั ข๎าวเสียหาย และขาด ความสวยงาม นาใบตองที่ตดั มาไปตากแดดประมาณ 5-10 นาที หรือจนอํอนนิ่ม เพื่องาํ ยในการนาไปหอํ
4. ผํามะพร๎าว และนาไปขดู บทสนทนา ผจ๎ู ดั ทา : การเลอื กมะพร๎าวควรเลอื กเน้ือแบบไหนคะ ถึงจะเหมาะสมกับการทาข๎าวต๎มมัด คณุ ยายโฮม : ควรเลือกทเ่ี น้ือไมํบาง หรือใส เพราะน้ันคอื มะพรา๎ วอํอน ทเ่ี ปลอื กจะมีสเี ขียว แตถํ ๎าเลอื กท่ีแกมํ ากเกนิ ไป เน้อื จะแข็ง ขูดยาก และน้ากะทิจะไมํขาวสวย มะพร๎าว คือหน่ึงในวัตถุดิบสาคัญในการทาขนมไทย และเน่ืองจากขนมไทยมีหลากหลายประเภท ซ่ึง ใช๎ความอํอนแกํของมะพร๎าวแตกตํางกันไป การเลือกมะพร๎าวให๎เหมาะกับการทาขนมแตํละอยํางจึงมีความ จาเป็น โดยคนโบราณแบงํ มะพรา๎ วสาหรับทาขนมออกเปน็ 4 ประเภท คือ มะพร๎าวออํ น ให๎นา้ รสหอมหวาน เหมาะกับการทาว๎ุนมะพร๎าวสํวนเน้ือด๎านในนั้นสัมผัสน๎ุมนุํม เหมาะ สาหรบั ขดู ใสใํ นขนมจาพวกบวั ลอย ทับทมิ กรอบ มะพร๎าวทึนทึก เป็นมะพร๎าวกลางอํอนกลางแกํ เนื้อนํุม เหมาะกับการขูดเพ่ือโรยหน๎าขนมตาล ขนม เปียกปูน ขนมกล๎วย ฯลฯ ใช๎สาหรับคลุกขนมอยํางขนมมันสาปะหลังหรือนาไปกวนทาเป็นไส๎ขนมตํางๆ เชํน ขนมสอดไส๎ เป็นต๎น มะพร๎าวกะทิ เป็น มะพร๎าวแกํ มีน้าหนักมาก เนื้อสัมผัสของมะพร๎าวจะมีลักษณะข๎นเหนียว เน้ือหนา นุมํ สขี าวขุํน นิยมใสํในทบั ทมิ กรอบ มะพร๎าวห๎าว เป็นมะพร๎าวแกํท่ีสํวนใหญํนามาขูดเพ่ือค้ันเป็นกะทิซึ่งมีอยํู 2 ชนิด คือ มะพร๎าวขูดขาว คือ มะพร๎าวกะเทาะเนื้อออกแล๎วขูดเปลือกออก เม่ือขูดออกมาจึงเป็นสีขาวเหมาะสาหรับทาขนมที่ต๎องการ กะทสิ ขี าวนวล เชํน ขนมถว๎ ย หรือทากะททิ ใ่ี ชร๎ าดหนา๎ ขนมตํางๆ เชํน กลว๎ ยเชื่อม มันเชือ่ ม ฯลฯ สํวนมะพร๎าว
ขูดดา หมายถึงมะพร๎าว ที่กะเทาะเน้ือออกแล๎วไมํได๎ขูดเปลือกออกเหมาะกับการนามาทาขนมทั่วไปที่มีกะทิ เป็นสํวนประกอบ บทสนทนา คณุ ยายโฮม : เคล็ดลบั การขดู มะพร๎าว ควรขูดจากขอบวนไปเร่ือยๆ จนถึงตรงกลาง เน้อื จะไมํ หลุดกํอนขูดเสร็จ และน้าหนักมือไมคํ วรแรงเกนิ ไป เพราะจะขูดเอาเน้ือกะลา ออกมาด๎วย การขูดมะพร๎าวด๎วยกระตํายไทย คือ ใช๎มือท้ังสองจับซีกมะพร๎าวกดให๎เนื้อครูดกับฟ๓นกระตําย เบาๆ จึงจะได๎เนื้อมะพร๎าวที่ขูดออกมาเนื้อละเอียด คั้นกะทิได๎มากและมัน ควรขูดริมๆ กํอนแล๎ววนไปถึง ตรงกลาง ถา๎ ขูดสวํ นกลางกอํ นสํวนริมจะลอํ นเสียขูดไมํได๎ เม่ือขูดจวนถึงกะลาให๎ใช๎ช๎อนโลหะขูดดีกวํา ถ๎าขูด ด๎วยฟน๓ กระตํายกะลาสนี า้ ตาลจะติดมาด๎วยทาให๎น้ากะทสิ ไี มสํ วย
5. การคัน้ กะทิ บทสนทนา ผจู๎ ดั ทา : ทาไมต๎องใชน๎ ้าคํอนข๎างร๎อน ในการคัน้ น้ากะทิ คณุ ยายโฮม : ความรอ๎ นที่อยใํู นน้า จะทาใหเ๎ นือ้ มะพรา๎ วน่ิม คั้นงําย ความมนั ของกะทจิ ะออกได๎ เยอะ และควรใสํเกลือลงไปดว๎ ยประมาณ 1 ช๎อนชา จะทาให๎คัน้ งํายขึ้นอีก เพราะ ความหยาบของเม็ดเกลอื การค้นั กะทิควรคัน้ น้าอนํุ โดยใสํทีละน๎อย เพื่อให๎กะทิที่อยํูในเน้ือมะพร๎าวออกมาจนหมด ถ๎าใสํน้า ครั้งละมากๆ จะทาใหค๎ ัน้ ไมหํ มดมัน หากตอ๎ งการหัวกะทขิ น๎ ๆ ก็ใหใ๎ สมํ ะพร๎าวขูดลงในผ๎าขาวบาง แล๎วนวดจน กะทอิ อกมา โดยไมตํ ๎องใสนํ ้าเลย
6. การเลือกกลว๎ ย และการเตรยี มกล๎วยไวห๎ อํ บทสนทนา ผจ๎ู ัดทา : ทาไมต๎องใช๎กล๎วยงอมๆ คณุ ยายโฮม : กลว๎ ยท่งี อมจะทาให๎มรี สหวานและนิม่ กวาํ กลว๎ ยทส่ี ขุ ใหมํๆ วิธีการเลือกกลว๎ ยท่ีเหมาะสาหรบั หํอขา๎ วตม๎ เลือกทสี่ ุกเหลอื ง ผลกลม ไรเ๎ หล่ยี ม เปลอื กบาง จบั ดูแล๎วนมิ่ แตยํ ังไมํเละหลดุ ขั้วหวี
การเตรียมกล๎วยไวห๎ ํอ ปอกเปลือกออก ตดั หวั ตัดท๎าย และผาํ ใหไ๎ ด๎ 4 ช้นิ ตามแนวยาว (เป็นการหํอขา๎ วตม๎ มดั ขนาดเล็ก)
7. การเตรียมใบตองไวห๎ ํอ บทสนทนา ผูจ๎ ดั ทา : ใบตองที่ใชห๎ ํอ ทาไมต๎องตดั มุมใหม๎ ีลักษณะวงรี คุณยายโฮม : เพอื่ ให๎งาํ ยตํอการพับและหํอ และยงั ชวํ ยให๎ขา๎ วต๎มมรี ูปทรงท่สี วยงาม ขนาดของ หอํ ไมํหนาจนเกนิ การเตรียมใบตองไว๎หํอ ให๎ฉีกใบตองให๎ได๎ความกว๎างประมาณ 20 ซม. (เป็นการหํอข๎าวต๎มขนาดเล็ก) และตดั ใหไ๎ ดร๎ ูปทรงคลา๎ ยๆวงรี และเช็คทาความสะอาดดว๎ ยผา๎ หมาดๆ
8. การเตรียมข๎าวกํอนนาไปกวน บทสนทนา คุณยายโฮม : ต๎องเอาขา๎ วไปเทน้าออก และต้ังท้งิ ไว๎ให๎สะเด็ดน้า ผูจ๎ ดั ทา : ทาไมตัง้ ใหส๎ ะเด็ดนา้ คณุ ยายโฮม : เพราะถ๎าข๎าวไมํสะเด็ดน้าจะทาใหม๎ นี ้าออกมาปนเยอะเวลากวน ทาให๎ขา๎ วต๎ม เสียรสชาติ การเตรียมข๎าวกํอนนาไปกวน เทน้าออกให๎หมด แล๎วนาข๎าวไปใสํในภาชนะที่มีรู ให๎น้าหยดออกให๎ หมด กอํ นนา้ ลงไปกวน
9. การเตรียมเตา บทสนทนา ผู๎จดั ทา : ทาไมต๎องใช๎เตาถาํ นในการกวนข๎าว คุณยายโฮม : อยํางแรกเลยคือการประหยดั และเหตุผลสาคัญคือการใช๎เตาถาํ นจะทาให๎อาหารมี กลน่ิ หอมมากกวาํ เตาแก๏ส การเตรียมเตาถําน ต๎องมีขั้นตอนพอสมควร คือเริ่มจากใช๎ไม๎ขนาดเล็ก น้าหนักเบาและแห๎งสนิท นามาวางเรียงสัก 3-4 ชิน้ จดุ ไฟใสกํ ระดาษวางลงไปในไม๎ พอไฟเริม่ ตดิ ไม๎ จงึ คํอยๆเอาถํานกํอนเล็กๆใสํลงไป ไมํควรมาก เพราะจะทาให๎อากาศไมํเข๎าจะทาให๎ไฟดับได๎ และหลังจากน้ัน อาจชํวยเรํงไฟด๎วยการพัดที่ชํอง ด๎านลํางของเตา เม่ือไฟติดถํานดีแล๎ว จึงเพ่ิมถํายลงไปตามจานวนท่ีต๎องการเหตุผลที่ควรใช๎เตาถําน เพราะ อาหารท่ีทาบนเตาถาํ นจะสัมผัสกับเปลวไฟโดยตรง โดยเฉพาะอาหารประเภทปิ้ง ยําง ผัด ทอด หรือแม๎แตํการ กวนขนม ควันจากเตาถํานก็จะทาให๎อาหารมีกล่ินท่ีหอมหวนชวนกิน ยกเว๎นอาหารประเภทต๎มกับน่ึงเพราะ ปกติจะมีฝาปิด ผลลัพธ๑ไมํตํางจากเตาแก๏ส กลิ่นหอมๆ ท่ีได๎จากการเผาไหม๎ของถํานในขณะท่ีเราทาอาหาร ถือเป็นเสนํหท๑ ่เี ตาแก๏สทาไมํได๎ การทาอาหารบนเตาแก๏สจะไมํมีสารให๎กล่ินรส นี่คือเร่ืองขององค๑ประกอบทาง เคมที แี่ ตกตาํ งของควัน ซึ่งเตาถํานมอี งคป๑ ระกอบมากกวาํ เตาแกส๏
10. การกวนข๎าวเหนียวและสํวนผสมตาํ งๆ บทสนทนา คุณยายโฮม : เมอื่ ใสขํ ๎าวลงไป ก็ใสนํ า้ กะทิ และน้าตาล จากนน้ั ใหร๎ บี กวนสํวนผสมทกุ อยํางให๎ เข๎ากนั ที่สาคญั ต๎องกวนตลอดเวลา เพ่ือปูองกนั การไหม๎ทกี่ ๎นหมอ๎ เมื่อไฟติดได๎ท่ีแล๎ว ให๎เทข๎าวเหนียวท่ีสะเด็ดน้าแล๎วลงไปในหม๎อ ใสํน้าตาล ประมาณ 6- 8 ขีด หรือ ตามชอบ ใสํน้ากะทิ ใสํเกลือประมาณ 1 ช๎อนชา หลังจากน้ันคอยคนข๎าวอยูํตลอดๆ เพราะถ๎าไมํคนข๎าวก๎น หมอ๎ จะไหม๎
11. การหอํ ข๎าวต๎ม การหอํ ขา๎ วต๎ม ใช๎ใบตองสองแผํนวางซอ๎ นกนั ใสํข๎าวลงไป 1 ชอ๎ นเล็ก ตามดว๎ ยใสํกล๎วย และใสํข๎าวลง ไปอีกรอบ พับใบตองทั้งด๎านซ๎ายและขวาเข๎ามาหากัน จากน้ันจับด๎านบนของปลายใบตอง แล๎วม๎วนสองแผํน พร๎อมกันจนลงมาถึงตัว ข๎าวต๎ม จากน้ันพับปลายด๎านใดด๎านน่ึงลงมาและหมุนอีกด๎านน่ึงข้ึน จับจีบด๎านหลัง แล๎วพับลงมา หมนุ อกี ด๎านนง่ึ ขึ้น ทาเหมอื นกัน แตํโดยปกติจะต๎องมีการจับคํูประกบเข๎าหากันแล๎วมัดด๎วยตอก ไม๎ไผํ ทั้งสองด๎าน แตํกาลเวลาผํานไป ไม๎ไผํหายากและลาบากในการเตรียม จึงมีการดัดแปลงมาเป็นแบบที่ สาธติ คือพบั และวางเรยี ง โดยไมตํ ๎องใช๎ตอกไม๎ไผมํ ดั
12. การนง่ึ ข๎าวตม๎ บทสนทนา คณุ ยายโฮม : จริงๆแล๎วการทาข๎าวต๎มมดั มี 2 แบบ คือ แบบทย่ี ายทาอยนํู ้ี และอีกแบบนึง่ คอื การทาแบบไมํต๎องกวนขา๎ ว ใช๎ขา๎ วสารแชํนา้ ผสมถ่วั ลงไป แล๎วน้าไปหํอไดเ๎ ลย แลว๎ กท็ าใหส๎ กุ ดว๎ ยการต๎มข๎าวแบบใสนํ า้ ลงไป ไมใํ ชํการนึ่ง การนง่ึ ข๎าวตม๎ ทห่ี อํ เสรจ็ เรยี บรอ๎ ยแลว๎ ใสนํ ้าลงไปในหมอ๎ ดา๎ นลํางสดุ ประมาณสักครงึ่ หม๎อ แล๎วใช๎เวลา นึ่งประมาณ 20 นาที ควรดูไฟบอํ ยๆอยําใหแ๎ รงหรือถาํ นดับ
13. การทดสอบการสุกขา๎ วต๎ม บทสนทนา ผจ๎ู ดั ทา : เราจะรไ๎ู ด๎อยาํ งไร วําข๎าวตม๎ มัดสกุ แล๎ว คณุ ยายโฮม : สามารถสงั เกตได๎จากสีของ เมลด็ ข๎าว ถ๎าสุกแล๎วเมลด็ ข๎าวจะขา๎ วใสและนม่ิ มาก ตวั ขา๎ วและกลว๎ ยจะเหนียวตดิ กัน ไมํหลุดออกและรูปทรงตามทเี่ ราหอํ หรือสามารถ ชมิ ดไู ดเ๎ ลย ถ๎าสุก ขา๎ วจะไมมํ รี สมันๆ มันจะต๎องหวานกลมกลํอมตามรสชาตทิ ีเ่ รา ปรงุ เม่ือเวลาผํานไปประมาณ 15-20 นาที ให๎เปิดหม๎อและนาข๎าวต๎มมาเปิด เพื่อดูและชิมวําสุกเพียงพอ แล๎วหรอื ไมํ
14. ข๎าวต๎มทส่ี กุ เรยี บร๎อย เม่อื ตรวจสอบแลว๎ วาํ ขา๎ วสกุ แลว๎ ก็ยกลงจากเตา พอเรม่ิ อุํนๆ กส็ ามารถรบั ประทานได๎ การน้าภูมิปัญญาศึกษา เร่ือง ข้าวต้มมัด ไปใช้ในชวี ิตประจา้ วนั 1. ในชีวติ ประจาวนั เรารับประทานอาหารที่หลากหลายประเภท และโดยเฉพาะของหวานเป็นอาหาร ที่คนไทยนิยมเป็นอยํางมาก การเรียนรู๎ภูมิป๓ญญาศึกษา เรื่อง ข๎าวต๎มมัด ส่ิงแรกเลยคือการได๎ร๎ูจักอาหาร หวาน ท่ีเรียกวําข๎าวต๎มมัดและรู๎จักวิธีการทา สามารถทารับประทานท่ีบ๎านได๎ เพราะวัตถุดิบหาได๎งํายใน ครวั เรอื น 2. นอกเหนือจากการทาข๎าวต๎มมัดไว๎รับประทานท่ีบ๎านแล๎ว ยังสามารถทาข๎าวต๎มมัดขายเป็นรายได๎ เสริม เน่ืองจากในยุคป๓จจุบันการประกอบอาหารเอง เป็นเร่ืองลาบาก ยุํงยาก สถานที่และวัตถุดิบไมํ เอื้ออานวย ผู๎ท่ีมีสิ่งแวดล๎อมที่เอ้ืออานวย และมีฝีมือ สามารถทาข๎าวต๎มมัดขายเป็นรายได๎เสริม ถือวําเป็น ประโยชน๑มาก
3. สามารถเป็นแบบอยํางแกคนรุํนหลัง อยํางที่กลําวมาในข๎างต๎นวํา เม่ือยุคสมัยเปล่ียนไป อะไรที่ เปน็ ของดง่ั เดมิ ยํอมมกี ารถกู ลบเลอื นไปตามการเวลาด๎วย การท่ไี ด๎มาเรียนร๎ู ภมู ปิ ๓ญญาศึกษา เรื่อง ข๎าวต๎มมัด ถือวาํ เป็นภูมิป๓ญญาทคี่ งคณุ คาํ ตอํ คนรนุํ หลังเปน็ อยาํ งมาก การศึกษาภูมิป๓ญญาท๎องถิ่นด๎านการทาข๎าวต๎มมัด จากนางบุญโฮม ดาดวง นักเรียนผ๎ูสูงอายุ โรงเรียนผ๎สู งู อายุเทศบาลเมอื งวังน้าเย็น อาเภอวังน้าเย็น จังหวัดสระแก๎ว ในครั้งน้ี ทาให๎ได๎เรียนร๎ู เข๎าใจวิถี ชีวิต คํานิยม ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณีท๎องถ่ิน ที่มีความสัมพันธ๑เช่ือมโยง การถํายทอดภูมิป๓ญญา การทาข๎าวต๎มมัด ของนางบุญโฮม ดาดวง ท่ีได๎รับการถํายทอดมาจากคุณยายท่ีมีภูมิลาเนาอยูํที่ตาบลกุดดํู อาเภอโนนสูง จงั หวัดอดุ รธานี ในชวํ งทว่ี าํ งเวน๎ จากการทกาไรํ ทานานางบุญโฮม ดาดวง ก็ได๎เรียนรู๎วิธีการทา ข๎าวต๎มมัดจากคุณแมํ ต้ังแตํเด็กจนโตจนเกิดความชานาญ และสามารถทาให๎ทุกๆคนในครอบครัวทานเป็น ประจา ดังนั้น การสืบทอดความคิด ความเช่ือ แบบแผนทางสังคม จากคนรํุนเกําสูํคนรุํนใหมํ และพัฒนา ศักยภาพ ภมู ปิ ๓ญญาท๎องถ่นิ ท่มี ีอยํู ในการเสริมสร๎างคุณภาพชีวิต เพ่ือการดารงอยํูของวัฒนธรรมควบคูํกับการ พัฒนาเป็นอาชพี และรายไดข๎ องคนในชมุ ชน ตํอไป
ภาคผนวก - ประวตั ิผจู้ ัดท้าภูมิปญั ญาศึกษา - ภาพประกอบ
ประวัตผิ ถู้ ่ายทอดภมู ิปญั ญา ชื่อ: นางหนูเตียง กว๎างขวาง เกิด : 10 มถิ นุ ายน 2591 อายุ 71 ปี ภมู ลิ ้าเนา : ตาบลกดุ ดํู อาเภอโนนสูง จังหวดั อดุ รธานี ท่ีอยู่ปจั จุบนั : บ๎านเลขที่ 5 ม. 18 ตาบลวังน้าเยน็ อาเภอวังนา้ เยน็ จงั หวัดสระแกว๎ สถานภาพ: สมรส กับ นายเทีย่ ง ดาดวง มบี ุตรด๎วยกนั จานวน 6 คน ดงั นี้ 1. นายรฐั พน ทนทาน 2. นางสาวมุกดา ดาดวง 3. นายวีระ ดาดวง (เสียชีวติ ) 4. นางพิกุล ดาดวง 5. นางสาวอรุณี ดาดวง 6. นายธิตวิ ธุ ดาดวง การศกึ ษา: ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ โรงเรยี นบา๎ นโนนสงู ตาบลกดุ ดูํ อาเภอโนนสงู จังหวัดอดุ รธานี ปจั จบุ นั ประกอบอาชพี : แมํบา๎ น ประวัตผิ ู้เรียบเรยี งภูมปิ ัญญาศกึ ษา ชอ่ื : นางสาวพชั รินทร๑ เครือนอก เกดิ : วันที่ 30 มถิ ุนายน 2526 อายุ 35 ปี ภูมิล้าเนา : ตาบลวังน้าเย็น อาเภอวงั น้าเย็น จังหวัด สระแกว๎ ทีอ่ ยปู่ จั จุบนั : 99/2 หมูํ 14 บา๎ นวังศิลา ตาบลวงั น้าเย็น อาเภอวงั น้าเย็น จงั หวดั สระแกว๎ สถานภาพ: สมรส กับ นายธนพล จงนอก มีบตุ รดว๎ ยกนั จานวน 1 คน ดงั นี้ เด็กชาย บญั ญพลต๑ เครือนอก การศึกษา: ปริญญาโท บริหารการศกึ ษา ปัจจบุ นั ประกอบอาชพี : ขา๎ ราชการครู โรงเรยี นอนุบาลเทศบาลเมืองวังน้าเย็น
ภาพประกอบการจดั ท้าภูมิปัญญาศกึ ษา เรื่อง ขา้ วต้มมดั
ภาพประกอบ การเตรยี มใบตอง การเตรียมถว่ั แดง
การเตรียมกลว๎ ย
การเตรยี มน้ากะทิ การเตรยี มข๎าว
การกวนขา๎ วและสํวนผสมตํางๆเขา๎ ดว๎ ยกนั การหํอข๎าวต๎มมดั
การนึ่งขา๎ วตม๎ มดั และขา๎ วต๎มมดั ทนี่ ่งึ สุกแลว๎
อา้ งอิง ประวตั ขิ ้าวต้มมัด – google sites เข๎าถงึ ได๎จาก : https://sites.google.com/site/thonah086/subtopic1 เร่อื ง : ปิยมาศ ภาพ : พรี ะพัฒน๑ พุํมลาเจยี ก , Photo Cover by Jonas Dücker on Unsplash สไตล๑ : รามิล สิทธิมงคล
Search
Read the Text Version
- 1 - 44
Pages: