ภมู ปิ ญั ญาศกึ ษา เร่อื ง หมอสู่ขวัญ โดย (ผถู้ ่ายทอดภมู ิปัญญา) 1. นายคาจนั ทร์ คาจาปี (ผู้เรยี บเรยี งภูมิปญั ญาท้องถ่ิน) 2. นางสาวปวันรตั น์ ต้มุ มี เอกสารภมู ปิ ัญญาศกึ ษาน้เี ป็นสว่ นหนึ่งของการศึกษา ตามหลกั สูตรโรงเรยี นผ้สู งู อายเุ ทศบาลเมอื งวังนา้ เยน็ ประจาปีการศึกษา 2561 โรงเรยี นผสู้ งู อายเุ ทศบาลเมืองวังน้าเย็น สงั กดั เทศบาลเมืองวังนา้ เย็น จงั หวดั สระแก้ว
คานา ภูมิปัญญาชาวบ้านของคนไทยเรานั้นมีอยู่จํานวนมากล้วนแต่มีคุณค่าและมีประโยชน์เป็นการบอก เล่าถึงวัฒนธรรมไทยได้เป็นอย่างดีแต่ปัจจุบันภูมิปัญญาเหล่านั้นกําลังสูญหายไปพร้อมๆกับชีวิตของคน ซึ่งดับสูญไปตามกาลเวลา เทศบาลเมืองวังน้ําเย็นได้เล็งเห็นคุณค่าและความสําคัญในเรื่องดังกล่าว จึงจัดต้ัง โรงเรียนผู้สูงอายุขึ้น เพ่ือให้ผู้สูงอายุในเขตตําบลวังนํ้าเย็นได้มารวมตัวกัน เพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้ ซึ่งกันและกัน ก่อนจบการศึกษา นักเรียนผู้สูงอายุทุกคนต้องจัดทําภูมิปัญญาศึกษาคนละ 1 เร่ือง เพ่ือเก็บไว้ ให้อนุชนรุน่ หลงั ได้ศกึ ษา เปน็ การสบื ทอด ไมใ่ หภ้ มู ิปัญญาสญู ไป ภูมิปัญญาฉบับน้ีสําเร็จได้ เพราะรับความกรุณาและการสนับสนุน จากผู้มีส่วนเก่ียวข้องได้แก่ นางสาวปวันรัตน์ตุ้มมี ซึ่งเป็นพ่ีเลี้ยงให้คําปรึกษา แนะนําในการจัดทําภูมิปัญญา ได้ให้ความรู้และ ประสบการณ์ต่าง ๆ ในช่วงเวลาท่ีเรียนอยู่เป็นเวลา 2 ปี คณะกรรมการบริหารโรงเรียนผู้สูงอายุ เจ้าหน้าที่ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองวังน้ําเย็นทุกท่าน ที่ให้การดูแลและช่วยเหลือตลอดมา และที่ สําคัญได้แก่ ท่านนายวันชัย นารีรักษ์ นายกเทศมนตรีเมืองวังนํ้าเย็น และ นายคนองพล เพ็ชรร่ืน ปลัดเทศบาลเมืองวังน้ําเย็น ซ่ึงเป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุ และให้การสนับสนุน ดูแลนักเรียนผู้สูงอายุ เป็น อยา่ งดี ขอขอบคุณทุกทา่ นไว้ ณ โอกาสน้ี คาํ จันทร์ คําจําปี ปวนั รัตน์ ตมุ้ มี ผู้จัดทํา
ทมี่ าและความสาคัญของภมู ิปัญญาศกึ ษา จากพระราชดํารัสของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช ท่ีว่า “ประชาชนน่ันแหละ ที่เขามคี วามร้เู ขาทํางานมาหลายชั่วอายคุ น เขาทํากันอย่างไรเขามีความเฉลียวฉลาด เขารู้ว่าตรงไหนควรทํา กสกิ รรมเขาร้วู ่าตรงไหนควรเก็บรักษาไว้แต่ที่เสียไปเพราะพวกไม่รู้เรื่องไม่ได้ทํามานานแล้วทําให้ลืมว่าชีวิตมัน เป็นไปโดยการกระทําที่ถูกต้องหรอื ไม่” พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ท่ีสะท้อนถึงพระปรีชาสามารถในการรับรู้และความเข้าใจหยั่งลึกที่ทรงเห็นคุณค่าของภูมิปัญญาไทยอย่าง แท้จริงพระองค์ทรงตระหนักเป็นอย่างยิ่งว่า ภูมิปัญญาท้องถ่ินเป็นส่ิงที่ชาวบ้านมีอยู่แล้วใช้ประโยชน์เพ่ือ ความอยู่รอดกันมายาวนาน ความสําคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่นซ่ึงความรู้ที่สั่งสมจากการปฏิบัติจริงใน ห้องทดลองทางสังคมเปน็ ความรดู้ ัง้ เดมิ ทถ่ี ูกคน้ พบ มีการทดลองใชแ้ ก้ไขดัดแปลงจนเป็นองค์ความรู้ท่ีสามารถ แก้ปัญหาในการดําเนนิ ชวี ติ และถา่ ยทอดสืบตอ่ กันมาภมู ิปัญญาท้องถิ่นเปน็ ขุมทรัพย์ทางปัญญาที่คนไทยทุกคน ควรรู้ควรศึกษาปรับปรุงและพัฒนาให้สามารถนาภูมิปัญญาท้องถิ่นเหล่านั้นมาแก้ไขปัญหาให้สอดคล้องกับ บริบททางสังคมวัฒนธรรมของกลุ่มชุมชนนั้น ๆ อย่างแท้จริง การพัฒนาภูมิปัญญาศึกษานับเป็นส่ิงสําคัญต่อ บทบาทของชุมชนท้องถ่ินที่ได้พยายามสร้างสรรค์เป็นน้ําพักนํ้าแรงร่วมกันของผู้สูงอายุและคนในชุมชนจน กลายเป็นเอกลกั ษณ์และวฒั นธรรมประจาํ ถ่นิ ท่ีเหมาะตอ่ การดําเนินชีวิตหรือภูมิปัญญาของคนในท้องถ่ินน้ัน ๆ แตภ่ มู ปิ ญั ญาท้องถิน่ ส่วนใหญ่เป็นความร้หู รือเปน็ สิง่ ทีไ่ ด้มาจากประสบการณ์หรือเป็นความเช่ือสืบต่อกันมาแต่ ยังขาดองค์ความรู้หรือขาดหลักฐานยืนยันหนักแน่นการสร้างการยอมรับที่เกิดจากฐานภูมิปัญญาท้องถ่ินจึง เปน็ ไปได้ยาก ดังนน้ั เพื่อใหเ้ กิดการสง่ เสริมพัฒนาภูมิปญั ญาท่เี ปน็ เอกลักษณ์ของท้องถ่ินกระตุ้นเกิดความภาคภูมิใจ ในภูมิปัญญาของบุคคลในท้องถ่ิน ภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมไทยเกิดการถ่ายทอดภูมิปัญญาสู่คนรุ่นหลัง โรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลเมืองวังน้ําเย็นได้ดําเนินการจัดทําหลักสูตรการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาศักยภาพ ผู้สูงอายุในท้องถิ่นที่เน้นให้ผู้สูงอายุได้พัฒนาตนเองให้มีความพร้อมสู่สังคมผู้สูงอายุท่ีมีคุณภาพในอนาคต รวมทั้งสืบทอดภูมิปัญญาในการดํารงชีวิตของนักเรียนผู้สูงอายุที่ได้ส่ังสมมา เกิดจากการสืบทอดภูมิปัญญา ของบรรพบุรุษ โดยนักเรียนผู้สูงอายุจะเป็นผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้ และมีครูพ่ีเลี้ยงซึ่งเป็นคณะครูของ โรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองวังน้ําเย็น เป็นผู้เรียบเรียงองค์ความรู้ไปสู่การจัดทําภูมิปัญญาศึกษาให้ปรากฏ ออกมาเป็นรูปเล่มภูมิปัญญาศึกษา ใช้เป็นส่วนหน่ึงในการจบหลักสูตรการศึกษาของโรงเรียนผู้สูงอายุ ประจําปีการศึกษา 2561 พร้อมทั้งเผยแพร่และจัดเก็บคลังภูมิปัญญาไว้ในห้องสมุดของโรงเรียนเทศบาลมิตร สัมพันธ์วิทยา เพือ่ ให้ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ เหลา่ นเ้ี กิดการถ่ายทอดสคู่ นรุ่นหลงั สืบต่อไป จากความร่วมมือในการพัฒนาบุคลากรในหน่วยงานและภาคีเครือข่ายท่ีมีส่วนร่วมในการผสมผสาน องคค์ วามรู้ เพื่อยกระดบั ความรูข้ องภูมิปัญญานั้น ๆเพ่ือนําไปสู่การประยุกต์ใช้และผสมผสานเทคโนโลยีใหม่ ๆใหส้ อดรับกบั วิถีชวี ิตของชมุ ชนได้อย่างมีประสทิ ธิภาพการนําภูมิปัญญาไทยกลับสู่การศึกษา สามารถส่งเสริม ใหม้ กี ารถ่ายทอดภูมิปัญญาในโรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพันธ์วิทยาและโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองวังน้ําเย็น เกิดการมีส่วนร่วมในกระบวนการถ่ายทอด เช่ือมโยงความรู้ให้กับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในท้องถ่ิน โดยการ นําบคุ ลากรท่ีมคี วามรคู้ วามสามารถในทอ้ งถ่นิ เขา้ มาเปน็ วิทยากรให้ความรู้กับนักเรียนในโอกาสต่าง ๆหรือการ ท่ีโรงเรียนนําองค์ความรู้ในท้องถิ่นเข้ามาสอนสอดแทรกในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ส่ิงเหล่าน้ีทําให้การ พัฒนาภูมิปัญญาท้องถ่ิน นําไปสู่การสืบทอดภูมิปัญญาศึกษาเกิดความสําเร็จอย่างเป็นรูปธรรมนักเรียน ผู้สูงอายุเกิดความภาคภูมิใจในภูมิปัญญาของตนที่ได้ถ่ายทอดสู่คนรุ่นหลังให้คงอยู่ในท้องถิ่น เป็นวัฒนธรรม การดําเนนิ ชวี ติ ประจาํ ท้องถน่ิ เปน็ วัฒนธรรมการดาํ เนินชีวิตคู่แผน่ ดนิ ไทยตราบนานเท่านาน
บทสัมภาษณ์ ครู : ทําไมคุณตาถึงสนใจการเปน็ หมอสขู่ วัญค่ะ ตา : เพราะวา่ ตอนเปน็ เด็กได้เห็นปุู ตาสมยั ก่อนเขาทํากนั แล้วกไ็ ด้ไปรว่ มในการสขู่ วญั สงั เกตการณส์ ู่ ขวัญมาตั้งแต่เด็กแล้ว แต่วา่ กวา่ จะได้เป็นรอจนอายุ 50 ปขี ้นึ ไป ครู : ทาํ ไมหรอคะ่ ตา : เพราะต้องรอให้มคี วามอาวุโสก่อนและต้องรอใหค้ นรนุ่ ก่อนเขาไม่ทาํ แลว้ ถงึ จะไปแทนท่ีเขาได้ ครู : ถา้ คนรนุ่ เกา่ ยงั ไมเ่ สยี ชีวติ ทําไม่ไดใ้ ช่ไหมคะ ตา : ใชท่ าํ ไมได้ต้องรอให้เขาเสยี ก่อนหรือไม่กต็ ้องรอให้เขาทําไม่ไหวแลว้ เราจงึ ไปทําตอ่ ได้ ครู : แล้วทําไมถงึ ต้องมีการสู่ขวัญคะ ตา : เพราะคนสมยั ก่อนมีความเช่อื ตอ่ ๆ กันมาวา่ การสขู่ วญั เป็นการอายพรให้อยู่ดีมีสขุ ทําให้มีความ เจริญรงุ่ เรอื งในด้านต่างๆ การสขู่ วัญเริ่มตัง้ แต่แรกเกิดเลย ครู : เด็กแรกเกิดตอ้ งสขู่ วญั ด้วยหรอื คะ่ ตา : ใชท้ าํ ตงั้ แตแ่ รกเกดิ เลยเพ่อื เรยี กขวัญแขง็ แรงเปน็ เดก็ ดีเชือ่ ฟังพ่อแม่ แตส่ มัยน้ีไม่ค่อยทํากันแลว้ ยุคสมัยเปลยี่ นไป ครู : แลว้ การสู่ขวัญน้ีหมายถงึ การอายพรให้อยู่ดีมีสขุ อยา่ งเดียวหรอื ว่าใชใ้ นเร่อื งอืน่ ๆ ได้ไหมคะ ตา : ใชไ้ ด้ในเรื่องการส่ขู วัญคนปวุ ย คนเกดิ อุบตั ิเหตุ คนทด่ี วงตก เพ่ือชว่ ยให้เขามาอยกู่ บั ตัว จิตใจจะ ได้เขม้ แข็ง ครู : แล้วกับสัตวท์ าํ ได้ไหมคะ ตา : ทาํ ได้ เชน่ ววั ควายที่เราเลี้ยงเขา เพ่ือให้เขาเลยี้ งงา่ ย เชื่อฟงั แข็งแรงด้วย ครู : การส่ขู วญั นีส่ ําคัญกับคนไทยมากๆ เลยนะคะ ตา : ใช่เพราะเรามีความเชือ่ ว่าถ้าเราได้เรมิ่ ตน้ ชวี ติ จากสงิ่ ดีๆ เกิดขน้ึ นิยามคาศพั ทใ์ นการจดั ทาภูมิปญั ญาศึกษา ภูมิปัญญาศึกษา หมายถึง การนําภูมิปัญญาการดําเนินชีวิตในเร่ืองท่ีผู้สูงอายุเช่ียวชาญท่ีสุด ของ ผ้สู งู อายทุ เี่ ข้าศึกษาตามหลกั สตู รของโรงเรียนผูส้ งู อายุเทศบาลเมืองวังนํ้าเย็น มาศึกษาและสืบทอดภูมิปัญญา ในรูปแบบต่าง ๆ มีการสืบทอดภูมิปัญญาโดยการปฏิบัติและการเรียบเรียงเป็นลายลักษณ์อักษรตามรูปแบบที่ โรงเรยี นผสู้ ูงอายกุ าํ หนดขน้ึ ใช้เป็นส่วนหนง่ึ ในการจบหลักสูตรการศึกษา เพื่อให้ภูมิปัญญาของผู้สูงอายุได้รับ การถา่ ยทอดสูค่ นรุ่นหลงั และคงอยู่ในทอ้ งถน่ิ ต่อไป ซึ่งแบ่งภูมปิ ัญญาศึกษาออกเปน็ 3 ประเภท ได้แก่ 1. ภมู ิปญั ญาศกึ ษาท่ผี สู้ ูงอายุเปน็ ผูค้ ดิ ค้นภูมิปญั ญาในการดาํ เนนิ ชวี ิตในเรอื่ งทเ่ี ช่ยี วชาญที่สุด ด้วยตนเอง 2. ภูมิปัญญาศึกษาที่ผู้สูงอายุเป็นผู้นําภูมิปัญญาท่ีสืบทอดจากบรรพบุรุษมาประยุกต์ใช้ในการดําเนิน ชีวิตจนเกิดความเช่ียวชาญ 3. ภูมิปัญญาศึกษาที่ผู้สูงอายุเป็นผู้นําภูมิปัญญาท่ีสืบทอดจากบรรพบุรุษมาใช้ในการดําเนินชีวิตโดย ไมม่ ีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดมิ จนเกิดความเชย่ี วชาญ ผู้ถา่ ยทอดภูมิปัญญา หมายถึง ผู้สูงอายุที่เข้าศึกษาตามหลักสูตรของโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลเมือง วังนํ้าเย็นเป็นผู้ถ่ายทอดภูมิปัญญาการดําเนินชีวิตในเร่ืองท่ีตนเองเช่ียวชาญมากที่สุด นํามาถ่ายทอดให้แก่ผู้ เรยี บเรียงภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ ไดจ้ ัดทาํ ข้อมูลเป็นรปู เลม่ ภมู ปิ ัญญาศกึ ษา
ผู้เรียบเรียงภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง ผู้ท่ีนําภูมิปัญญาในการดําเนินชีวิตในเร่ืองท่ีผู้สูงอายุ เช่ียวชาญที่สุดมาเรียบเรียงเป็นลายลักษณ์อักษร ศึกษาหาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ จัดทําเป็น เอกสารรูปเล่ม ใช้ช่อื ว่า “ภูมิปัญญาศกึ ษา”ตามรปู แบบทโ่ี รงเรยี นผ้สู ูงอายเุ ทศบาลเมืองวังน้าํ เย็นกําหนด ครูท่ีปรึกษา หมายถึง ผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นครูพ่ีเลี้ยง เป็นผู้เรียบเรียงภูมิปัญญาท้องถิ่น ปฏิบัติ หน้าที่เป็นผปู้ ระเมินผล เป็นผู้รับรองภูมิปัญญาศึกษา รวมท้ังเป็นผู้นําภูมิปัญญาศึกษาเข้ามาสอนในโรงเรียน โดยบูรณาการการจดั การเรียนรู้ตามหลักสูตรท้องถนิ่ ทโ่ี รงเรยี นจดั ทําข้นึ
ภมู ิปัญญาไทย 1. ความหมายของภูมิปัญญาไทย ในพจนานกุ รม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายภมู ิปญั ญา ไว้ว่า หมายถึงพ้ืนความรู้ ความสามารถ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ได้อธิบายความหมายของภมู ปิ ัญญา ดงั น้ี “ภมู ิปญั ญา หมายถงึ องคค์ วามรู้ ความสามารถและทกั ษะของคนไทยอันเกดิ จากการส่ังสมประสบการณ์ท่ีผา่ น กระบวนการเรยี นรู้ เลือกสรร ปรงุ แตง่ พฒั นา และถา่ ยทอดสืบตอ่ กันมา เพ่ือใช้แก้ปญั ญาและพฒั นาวิถชี วี ติ ของคนไทยใหส้ มดุลกบั สภาพแวดล้อมและเหมาะสมกบั ยุคสมยั ” กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดอ้ ธบิ ายความหมายของภูมิปัญญา ไว้ว่า “ภูมิปัญญา หมายถึง ความรู้ท่ีเกิด จากประสบการณ์ในชีวิตของคนเราผ่านกระบวนการศึกษา สังเกตคิดวิเคราะห์จนเกิดปัญญา และตกผลึกมา เป็นองค์ความรู้ที่ประกอบกันขึ้นมาจากความรู้เฉพาะหลาย ๆ เรื่อง ความรู้ดังกล่าวไม่ได้แยกย่อยออกมาเป็น ศาสตร์ เฉพาะสาขาวิชาต่าง ๆ อาจกล่าวไว้ว่า ภูมิปัญญาท้องถ่ินจัดเป็นพ้ืนฐานขององค์ความรู้สมัยใหม่ท่ีจะ ชว่ ยในการเรยี นรู้ การแก้ปญั หา การจัดการ แลการปรบั ตวั ในการดาํ เนินชวี ิตของคนเรา ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็น ความรทู้ ม่ี ีอยู่ท่ัวไปในสงั คม ชมุ ชนและในการตัวของผู้รูเ้ อง หากมีการสืบคน้ หาเพอื่ ศึกษา และนํามาใช้ก็จะเป็น ที่รู้จกั กนั เกดิ การยอมรับ ถา่ ยทอด และพฒั นาไปสคู่ นร่นุ ใหมต่ ามยุคตามสมยั ได้” สารานุกรมไทย สาหรบั เยาวชน ฉบับกาญจนาภิเษก (เล่มท่ี 23) ให้ความหมายไวว้ า่ “ภูมิปญั ญา ไทย” (Thai Wisdom) หมายถึงความรู้ ความสามารถ วธิ กี าร ผลงาน ทคี่ ้นควา้ รวบรวมและจดั เก็บเป็นความรู้ โดยถา่ ยทอดจากคนรุน่ หนง่ึ มาสู่คนอีกรนุ่ หน่ึง จนเกดิ เป็นผลผลิตทด่ี ีงาม มคี ุณคา่ มปี ระโยชน์ สามารถนาํ มา แกไ้ ขปญั หาและพัฒนาชีวิตได้ กล่าวโดยสรุป ภูมิปัญญา เป็นความรู้ ความคิด ความเชื่อ ความสามารถที่เป็นผลมาจากการใช้ สติปญั ญา และการสั่งสมประสบการณ์ทผี่ า่ นกระบวนการเรยี นรู้ เลือกสรร ปรงุ แต่ง พัฒนาและถ่ายทอดสืบต่อ กันมา เพื่อใช้แก้ปัญหาและพัฒนาชีวิตของคนไทยให้สมดุลกับสภาพแวดล้อมและเหมาะสมกับยุคสมัย ภูมิ - ปัญญาจงึ เป็นส่วนหนึ่งของวฒั นธรรม ภมู ปิ ญั ญามีขอบข่ายกวา้ งขวาง ความสาคัญของภูมิปัญญาไทย คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ คนไทยได้สร้างชาติ สร้างความเป็นปึกแผ่นมั่นคงของบ้านเมือง มี การดาํ รงชวี ติ ดว้ ยความสขุ ร่มเย็นอยู่ไดจ้ นถึงทุกวันน้ี เพราะไดใ้ ช้ภูมปิ ัญญาของตนมาตลอด ภูมิปัญญาไทยจึงมี ความสาํ คัญอย่างยิง่ ซง่ึ พอจะสรปุ ได้ดังนี้ 1. ช่วยสร้างชาตใิ หเ้ ป็นปึกแผ่นมนั่ คง 2. สรา้ งความภาคภูมิใจและศกั ด์ศิ รีเกียรตภิ มู แิ กค่ นไทย 3. สามารถปรับ ประยุกตห์ ลักธรรมคาํ สอนทางศาสนาใช้กับชีวติ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 4. สร้างความสมดุลระหว่างคนกบั สังคมและธรรมชาตไิ ด้อย่างยงั่ ยนื 5. ช่วยเปล่ียนแปลงปรับปรุงวิถชี ีวติ ของคนไทยให้เหมาะสมไดต้ ามยคุ “ประกอบ ใจม่นั ” ได้กล่าวถึงความสําคัญของภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ไว้ดงั นี้ คอื 1. ชว่ ยให้สมาชิกในชมุ ชน หมู่บา้ นดาํ รงชวี ิตอยรู่ ่วมกันได้อยา่ งสงบสุข 2. ช่วยสรา้ งความสมดลุ ระหวา่ งคนกบั ธรรมชาติแวดลอ้ ม 3. ช่วยให้ผู้คนดํารงตนและปรับเปลี่ยนทันต่อความเปล่ียนแปลงและผลกระทบอันเกิดจาก สังคม ภายนอก
4. เป็นประโยชน์ต่อการทํางานพัฒนาชนบทของเจ้าหน้าท่ีจากหน่วยงานต่าง ๆ เพ่ือที่จะได้กําหนด ท่าทีการทํางานใหก้ ลมกลืนกับชาวบ้านมากย่งิ ข้ึน ลักษณะของภูมิปญั ญาไทย ลกั ษณะของภมู ปิ ัญญาไทย มีดงั น้ี 1. ภูมิปัญญาไทย เปน็ เรื่องใช้ความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) ความเชอื่ (Belief) และพฤตกิ รรม (Behavior) 2. ภูมปิ ญั ญาไทย แสดงถงึ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งคนกบั คน คนกับธรรมชาติสิง่ แวดลอ้ มและคนกบั สง่ิ เหนอื ธรรมชาติ 3. ภูมิปัญญาไทย เปน็ องคร์ วมหรือกิจกรรมทุกอยา่ งในวิถชี ีวติ 4. ภมู ิปัญญาไทย เป็นเรื่องของการแก้ไขปัญหา การจัดการ การปรบั ตวั การเรียนรู้ เพ่ือคงวามอย่รู อด ของบุคคล ชุมชน และสังคม 5. ภูมปิ ัญญา เป็นแกนหลัก หรือกระบวนทศั น์ในการมองชีวิต เป็นพืน้ ความรู้ในเรื่องต่าง ๆ 6. ภูมิปัญญาไทยมีลักษณะเฉพาะหรือมีเอกลักษณ์ในตวั เอง 7. ภูมิปัญญาไทยมีการเปลีย่ นแปลง เพ่อื การปรบั สมดุลในพัฒนาการทางสังคมตลอดเวลา ขอบขา่ ยของภูมิปญั ญาไทย สาํ นักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหง่ ชาติ กระทรวงวัฒนธรรม ได้กําหนดขอบข่ายของภมู ปิ ญั ญา ไทยไว้ 5 ด้าน ดังนี้ 1. ภมู ปิ ญั ญาดา้ นเกษตรกรรม หมายถึง การผสมผสานการเกษตรและเทคโนโลยีโดยพัฒนาบน พน้ื ฐานคุณค่าดงั้ เดิม รวมท้ังความสามารถในกาแก้ปญั หาต่างๆได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 2. ภมู ปิ ญั ญาดา้ นสงิ่ แวดล้อม หมายถึง การอนุรกั ษ์ธรรมชาติและศิลปวฒั นธรรม การถ่ายทอดความรู้ ด้ังเดิมเพือ่ การอนุรักษ์ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มอย่างสมดุลและยั่งยนื 3. ภูมปิ ัญญาดา้ นการจดั การ สวัสดิการและธุรกิจชมุ ชน หมายถงึ การใชค้ ุณธรรมและจริยธรรมใน ดา้ นการรวมกลุ่มเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนให้มีความม่ันคงทางเศรษฐกิจ สังคมและวฒั นธรรม 4. ภูมิปญั ญาด้านการรักษาโรคและการปูองกนั หมายถึง การสืบทอดความร้ดู ัง้ เดมิ และการ ประยกุ ตใ์ ช้ความเชือ่ ท้องถน่ิ เพ่อื ให้ชุมชนสามารถพึ่งตนเองดา้ นสขุ ภาพอนามยั 5. ภมู ิปญั ญาด้านการผลติ และการบรโิ ภค หมายถึง การประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยใี นการแปรรปู และการ ผลิตเพ่อื การบริโภคอย่างผลิตเพ่ือการบรโิ ภคอย่างปลอดภัย ประหยัดและเป็นธรรม อนั เปน็ กระบวนการให้ ชมุ ชนทอ้ งถน่ิ สามารถพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ กระทรวงศกึ ษาธิการ แบง่ สาขาหรือประเภทของภูมิปัญญาท้องถน่ิ ไว้ 11 สาขา ดังน้ี 1. สาขาเกษตรกรรม 2. สาขาอตุ สาหกรรมและหตั ถกรรม 3. สาขาการแพทยแ์ ผนไทย 4. สาขาการจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม 5. สาขากองทนุ และธรุ กจิ ชุมชน 6. สาขาสวสั ดกิ าร 7. สาขาศิลปกรรม 8. สาขาการจัดการองค์กร 9. สาขาภาษาและวรรณกรรม
10. สาขาศาสนาและประเพณี 11. สาขาการศึกษา คณะกรรมการวัฒนธรรมแหง่ ชาติ กระทรวงวัฒนธรรม แบ่งประเภทของภมู ิปัญญาท้องถิ่นไว้ 7 ประเภท ดังนี้ 1. ภูมิปัญญาด้านการเกษตร 2. ภมู ิปญั ญาดา้ นเศรษฐกจิ 3. ภูมปิ ญั ญาด้านศาสนาคุณธรรมจรยิ ธรรมค่านิยมความเช่ือ 4. ภูมิปัญญาดา้ นการจดั การทรพั ยากรและการพฒั นาหมู่บา้ น 5. ภมู ปิ ญั ญาด้านศลิ ปะ 6. ภมู ปิ ัญญาด้านการจัดการสิ่งแวดลอ้ ม 7. ภมู ิปญั ญาด้านภาษาและวรรณกรรม การจัดแบ่งสาขาภมู ิปญั ญาไทย จากการศึกษาพบว่ามีการกาํ หนดสาขาภมู ปิ ญั ญาไทยไวอ้ ย่างหลากหลายข้นึ อยกู่ บั วัตถุประสงค์ และ หลกั เกณฑต์ า่ งๆ ท่หี นว่ ยงาน องค์กร และนักวชิ าการแตล่ ะทา่ นนํามากาํ หนด สารานุกรมไทย สําหรบั เยาวชน ฉบับกาญจนาภิเษก (เล่มที่ 23) จดั แบง่ สาขาภูมปิ ัญญาไทย ออกเป็น 10 สาขา ดังนี้ 1. สาขาเกษตรกรรมเกษตรกรรม หมายถงึ ความสามารถในการผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะ และ เทคนคิ ดา้ นการเกษตรกับเทคโนโลยี โดยการพัฒนาบนพื้นฐานคุณคา่ ดั้งเดิม ซึ่งคนสามารถพึง่ ตนเองใน ภาวการณ์ต่างๆได้ 2. สาขาอตุ สาหกรรมและหัตถกรรมอตุ สาหกรรมและหตั ถกรรม หมายถึง การรู้จักประยุกต์ใช้ เทคโนโลยสี มัยใหมใ่ นการแปรรปู ผลติ ผล เพือ่ ชะลอการนําเข้าตลาด เพ่ือแก้ปัญหาด้านการบรโิ ภคอยา่ ง ปลอดภยั ประหยัดและเป็นธรรม อนั เปน็ รกระบวนการที่ทําใหช้ ุมชนท้องถ่ิน 3. สาขาการแพทย์แผนไทยการแพทย์แผนไทย หมายถงึ ความสามารถในการจดั การปูองกัน และ รกั ษาสขุ ภาพของคนในชมุ ชน โดยเนน้ ให้ชุมชนสามารถพง่ึ พาตนเอง ทางดา้ นสุขภาพ และอนามัยได้ 4. สาขาการจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ มการจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ สง่ิ แวดลอ้ ม หมายถึง ความสามารถเก่ยี วกับการจดั การทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม ทัง้ การอนรุ ักษ์ การพฒั นา และการใช้ประโยชน์จากคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อม 5. สาขากองทุนและธุรกิจชมุ ชนกองทนุ และธรุ กิจชมุ ชน หมายถึง ความสามารถในกรบริหารจัดการ ด้านการสะสมและบริการกองทนุ และธรุ กิจในชมุ ชน ทัง้ ที่เปน็ เงินตรา และโภคทรัพย์ เพ่ือสง่ เสรมิ ชีวิตความ เป็นอยู่ของสมาชิกในชมุ ชน 6. สาขาสวสั ดิการสวัสดกิ าร หมายถงึ ความสามารถในการจัดสวัสดกิ ารในการประกนั คุณภาพชวี ิต ของคนใหเ้ กิดความมน่ั คงทางเศรษฐกิจ สังคมและวฒั นธรรม 7. สาขาศลิ ปกรรมศลิ ปกรรม หมายถึง ความสามารถในการผลติ ผลงานทางด้านศลิ ปะสาขาตา่ งๆ 8. สาขาการจัดการองค์กรการจดั การองค์กร หมายถึง ความสามารถในการบริการจัดการดาํ เนินงาน ขององค์กรชมุ ชนตา่ งๆใหส้ ามารถพฒั นา และบริหารองค์กรของตนเองได้ ตามบทบาท และหน้าท่ขี ององค์กร 9. สาขาภาษาและวรรณกรรมภาษาและวรรณกรรม หมายถงึ ความสามารถผลิตผลงานเก่ียวกบั ด้าน ภาษา ทง้ั ภาษาถิน่ ภาษาโบราณ ภาษาไทย และการใชภ้ าษา ตลอดทง้ั ด้านวรรณกรรมทุกประเภท 10. สาขาศาสนาและประเพณศี าสนาและประเพณี หมายถงึ ความสามารถประยุกต์ และปรับใช้
หลักธรรมคําสอนทางศาสนาความเช่อื และประเพณดี ้งั เดิมท่ีมีคุณคา่ ให้เหมาะสมต่อการประพฤติปฎบิ ตั ิ ให้ บงั เกิดผลดตี ่อบุคคลและส่ิงแวดลอ้ ม ภมู ิปญั ญาในสังคมไทย ลักษณะทางภมู ิศาสตร์ของแต่ละท้องถ่ินเป็นปจั จัยหลักท่ที าํ ให้เกิดปัญญาท้องถ่ินขึน้ เพื่อทีจ่ ะให้ สามารถดําเนินชีวิตในสภาพแวดล้อมนน้ั ได้ ตวั อย่างภมู ิปัญญาในท้องถิน่ เชน่ 1. การทําเมืองฝายของภาคเหนอื เนอื่ งจากภาคเหนือมีลักษณะภูมปิ ระเทศเปน็ ทสี่ ูงท่ีมีความลาดเขา ลดหลั่นไม่ราบเสมอกัน ทาํ ใหห้ นา้ ฝนนํ้าจะไหลหลากอยา่ งรวดเรว็ พอหมดหนา้ ฝนนํ้ากจ็ ะเหลือน้อยไม่ เพยี งพอต่อการเกษตร 2. การสร้างเรอื นไทยในภาคกลาง หรอื บริเวณที่ราบนํ้าท่วมถึง เน่อื งจากบรเิ วณภาคกลางของไทย สว่ นใหญม่ ลี ักษณะภมู ปิ ระเทศเป็นที่ราบลุ่มแมน่ า้ํ และเปน็ บริเวณที่อยใู่ นเขตลมมรสุมท่ีมีฝนตกชกุ สภาพ ธรรมชาตดิ ังกล่าวทาํ ให้การปลกู บา้ นเรอื นในภาคกลางมเี อกลักษณเ์ ฉพาะเพ่ือให้สอดคล้องกบั ธรรมชาติ 3. การทอผ้าในสมัยด้ังเดิม เข้าใจว่าเรม่ิ ตน้ จากการทอผา้ ฝาู ยจากเสน้ ใยพชื เช่น ปาุ น ปอ ฝูาย ซง่ึ เป็น พชื ท่ีมีพอ่ ค้าชาวอินเดียนํามาเผยแพรใ่ นไทย การทอผ้าฝูายของแต่ละครอบครัวมีวัตถปุ ระสงค์เพ่อื การใช้สอย ในการดาํ เนนิ ชวี ติ และพิธีตา่ งๆ ของครอบครัว 4. การแพทย์แผนไทยในภาคใต้ ภูมิปญั ญาดา้ นการแพทยแ์ ผนโบราณภาคใต้ มีทัง้ การใช้ยาสมนุ ไพร และการบําบัดรักษาด้วยวิธีการตา่ งๆ ทั้งการใชศ้ าสตร์ และเวทมนต์ท่เี รียกว่า “มายกิ ขาว” ลกั ษณะความสมั พนั ธ์ของภูมปิ ญั ญา สารานกุ รมไทย สําหรบั เยาวชน ฉบบั กาญจนาภเิ ษก (เล่มที่ 23 ) ระบลุ กั ษณะความสมั พันธ์ของภมู ิ ปัญญาไทยสามารถสะท้อนออกมาใน 3 ลักษณะทสี่ ัมพนั ธ์ใกลช้ ิดกนั คือ 1. ความสัมพนั ธอ์ ย่างใกล้ชิดกันระหวา่ งคนกบั โลกส่ิงแวดล้อมสตั ว์พืชและธรรมชาติ 2. ความสมั พนั ธข์ องคนกับคนอน่ื ๆท่ีอยูร่ ว่ มกันในสงั คมหรือในชุมชน 3. ความสัมพันธ์ระหวา่ งคนกับสง่ิ ศกั ดิ์สิทธส์ิ ่ิงเหนือธรรมชาติ ตลอดท้ังสิ่งที่ไมส่ ามารถสัมผสั ได้ ทง้ั หลายทั้ง 3 ลกั ษณะนี้ คือ สามมิติของเร่ืองเดียวกนั หมายถึง ชีวติ ชุมชน สะทอ้ นออกมาถึงภมู ิปญั ญาในการ ดาํ เนนิ ชีวิตอยา่ งมเี อกภาพ เหมือนสามมมุ ของรูปสามเหลีย่ ม ภูมปิ ญั ญาจึงเปน็ รากฐานในการดาํ เนินชวี ติ ของ คนไทย การอนุรักษภ์ ูมิปัญญาไทยท่เี หมาะสม ภูมปิ ัญญาไทยเปน็ สิ่งที่ดงี ามอย่คู กู่ บั สงั คมไทยและคนไทยมายาวนาน ซ่งึ คนไทยทกุ คนควรภาคภูมิใจ และชว่ ยกันอนรุ ักษภ์ ูมิปัญญาไทยให้ดาํ รงอยู่ต่อไปแนวทางในการอนรุ ักษ์ภมู ปิ ัญญาไทยมีรายละเอยี ด ดังนี้ 1. การส่งเสรมิ ทางด้านการศกึ ษาและวจิ ัยเกย่ี วกับภูมิปญั ญาไทย การศึกษาและวิจัยเก่ียวกับ ภูมิปัญญา 2. การักษาภูมปิ ัญญาไทยท่ีมีคุณค่าให้ดารงอยู่สืบต่อในสงั คมไทย การรักษาภมู ปิ ัญญาไทย ท่มี ีคุณค่าให้ดํารงอยู่ การฟนื้ ฟภู มู ปิ ญั ญาไทย การฟื้นฟูหมายถึงโดยการเลือกสรรภูมิปัญญาที่กําลังสูญหายหรือท่ีสูญหายไปแล้วมาทําให้มีคุณค่า และความสําคัญต่อการดําเนินชีวิตในท้องถิ่น โดยเฉพาะพื้นฐานทางจริยธรรม คุณธรรม และค่านิยม การสืบ สาน หมายถงึ การตระหนกั ในคุณค่าของภมู ิปญั ญาไทยจนเกดิ การแสวงหา เพอื่ นําภูมิปัญญาดังกล่าวให้ดําเนิน ตอ่ เน่ืองไปจากคนรนุ่ หน่งึ ไปสู่อีกร่นุ หนงึ่
1. หนว่ ยงานระดับชาติ เชน่ - กระทรวงวฒั นธรรม : กรมส่งเสรมิ วัฒนธรรม - กระทรวงอุตสาหกรรม : กรมสง่ เสริมอุตสาหกรรม 2. หนว่ ยงานระดบั ทอ้ งถ่นิ เช่น - พิพธิ ภัณฑ์พ้ืนบา้ น เช่น พิพิธภณั ฑพ์ ื้นบ้านจา่ ทวี จงั หวัดพษิ ณโุ ลก - พพิ ธิ ภณั ฑผ์ า้ ทอ เชน่ พพิ ธิ ภัณฑผ์ า้ ปาู แสงดา จังหวดั เชยี งใหม่ - ศูนยว์ ฒั นธรรมชุมชน ศูนย์วัฒนธรรมในสถาบันการศกึ ษา คุณค่าและความสาคัญของภมู ปิ ญั ญาไทย คุณค่าของภูมิปัญญาไทย ได้แก่ ประโยชน์ และความสําคัญของภูมิปัญญา ท่ีบรรพบุรุษไทย ได้ สร้างสรรค์ และสืบทอดมาอย่างต่อเนื่อง จากอดีตสู่ปัจจุบัน ทําให้คนในชาติเกิดความรัก และความภาคภูมิใจ ทจ่ี ะร่วมแรงร่วมใจสบื สานตอ่ ไปในอนาคต เช่น โบราณสถาน โบราณวัตถุ สถาปัตยกรรม ประเพณีไทย การมี นํ้าใจ ศักยภาพในการประสานผลประโยชน์ เปน็ ตน้ ภมู ปิ ัญญาไทยจึงมคี ุณค่า และความสาํ คัญดงั น้ี 1. ภูมปิ ัญญาไทยช่วยสรา้ งชาติให้เปน็ ปึกแผ่น พระมหากษัตริย์ไทยได้ใช้ภูมิปัญญาในการสร้างชาติ สร้างความเป็นปึกแผ่นให้แก่ประเทศชาติมาโดย ตลอด ตัง้ แตส่ มยั พอ่ ขนุ รามคาํ แหงมหาราช พระองค์ทรงปกครองประชาชน ด้วยพระเมตตา แบบพ่อปกครอง ลกู ผูใ้ ดประสบความเดอื ดรอ้ น ก็สามารถตรี ะฆัง แสดงความเดือดร้อน เพื่อขอรับพระราชทานความช่วยเหลือ ทําใหป้ ระชาชนมีความจงรักภกั ดีต่อพระองคต์ ่อประเทศชาตริ ว่ มกันสรา้ งบ้านเรอื นจนเจริญรุ่งเรืองเป็นปึกแผ่น สมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระองค์ทรงใช้ภูมิปัญญากระทํายุทธหัตถี จนชนะข้าศึกศัตรู และทรงกอบกู้เอก ราชของชาติไทยคนื มาได้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน พระองค์ทรงใช้ภูมิปัญญาสร้าง คุณประโยชน์แก่ประเทศชาติ และเหล่าพสกนิกรมากมายเหลือคณานับ ทรงใช้พระปรีชาสามารถ แก้ไข วิกฤตการณท์ างการเมือง ภายในประเทศ จนรอดพน้ ภัยพบิ ัติหลายครงั้ พระองค์ทรงมีพระปรีชาสามารถหลาย ด้าน แม้แต่ด้านการเกษตร พระองค์ได้พระราชทานทฤษฎีใหม่ให้แก่พสกนิกร ท้ังด้านการเกษตรแบบสมดุล และย่ังยืนฟื้นฟูสภาพแวดล้อมนําความสงบร่มเย็นของประชาชนให้กลับคืนมาแนวพระราชดําริ\"ทฤษฎี ใหม\"่ แบง่ ออกเปน็ ๓ ขน้ั โดยเรม่ิ จาก ข้นั ตอนแรก ให้เกษตรกรรายย่อย \"มีพออยู่พอกิน\" เป็นขั้นพ้ืนฐาน โดย การพัฒนาแหล่งน้ํา ในไร่นา ซ่ึงเกษตรกรจําเป็นท่ีจะต้องได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยราชการ มูลนิธิ และ หน่วยงานเอกชน ร่วมใจกันพัฒนาสังคมไทย ในข้ันที่สอง เกษตรกรต้องมีความเข้าใจ ในการจัดการในไร่นา ของตน และมีการรวมกลุ่มในรูปสหกรณ์ เพ่ือสร้างประสิทธิภาพทางการผลิต และการตลาดการลดรายจ่าย ด้านความเป็นอยู่โดยทรงตระหนักถึงบทบาทขององค์กรเอกชนเมื่อกลุ่มเกษตรวิวัฒน์มาข้ันท่ี 2 แล้ว ก็จะมี ศักยภาพ ในการพัฒนาไปสู่ขั้นท่ีสาม ซึ่งจะมีอํานาจในการต่อรองผลประโยชน์กับสถาบันการเงินคือ ธนาคาร และองคก์ รทีเ่ ป็นเจา้ ของแหล่งพลังงาน ซึ่งเป็นปัจจัยหน่ึงในการผลิต โดยมีการแปรรูปผลิตผล เช่น โรงสี เพื่อ เพ่ิมมูลค่าผลิตผล และขณะเดียวกันมีการจัดต้ังร้านค้าสหกรณ์ เพ่ือลดค่าใช้จ่ายในชีวิตประจําวัน อันเป็นการ พัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลในสังคม จะเห็นได้ว่า มิได้ทรงทอดท้ิงหลักของความสามัคคีในสังคมและการ จัดตั้งสหกรณ์ซ่ึงทรงสนับสนุนให้กลุ่มเกษตรกรสร้างอํานาจต่อรองในระบบเศรษฐกิจ จึงจะมีคุณภาพชีวิตท่ีดี จงึ จดั ไดว้ ่า เปน็ สังคมเกษตรที่พัฒนาแล้ว สมดังพระราชประสงค์ท่ีทรงอุทิศพระวรกาย และพระสติปัญญา ใน การพฒั นาการเกษตรไทยตลอดระยะเวลาแหง่ การครองราชย์
2. สรา้ งความภาคภูมิใจและศักดิศ์ รเี กียรติภูมิแก่คนไทย คนไทยในอดีตท่ีมีความสามารถปรากฏในประวัติศาสตร์มีมากเป็นท่ียอมรับของนานอารยประเทศ เชน่ นายขนมตม้ เป็นนกั มวยไทย ทม่ี ีฝีมอื เกง่ ในการใชอ้ วัยวะทุกส่วน ทุกท่าของแม่ไม้มวยไทย สามารถชกมวย ไทย จนชนะพมา่ ได้ถึงเก้าคนสบิ คนในคราวเดียวกัน แม้ในปัจจุบัน มวยไทยก็ยังถือว่า เป็นศิลปะช้ันเยี่ยม เป็น ที่ นิยมฝึกและแขง่ ขนั ในหมูค่ นไทยและชาวต่าง ประเทศ ปัจจุบันมีค่ายมวยไทยทั่วโลกไม่ต่ํากว่า 30,000 แห่ง ชาวตา่ งประเทศที่ไดฝ้ กึ มวยไทย จะรู้สึกยินดีและภาคภูมิใจ ในการที่จะใช้กติกา ของมวยไทย เช่น การไหว้ครู มวยไทย การออก คําสั่งในการชกเป็นภาษาไทยทุกคํา เช่น คําว่า \"ชก\" \"นับหนึ่งถึงสิบ\" เป็นต้น ถือเป็นมรดก ภูมิปัญญาไทย นอกจากนี้ ภูมิปัญญาไทยที่โดด เด่นยังมีอีกมากมาย เช่น มรดกภูมิปัญญาทาง ภาษาและ วรรณกรรม โดยที่มีอักษรไทยเป็นของ ตนเองมาต้ังแต่สมัยกรุงสุโขทัย และวิวัฒนาการมาจนถึงปัจจุบัน วรรณกรรมไทยถือว่า เปน็ วรรณกรรมทม่ี ีความไพเราะ ไดอ้ รรถรสครบทกุ ด้าน วรรณกรรมหลายเร่ืองได้รับการ แปลเป็นภาษาตา่ งประเทศหลายภาษา ดา้ นอาหาร อาหารไทยเปน็ อาหารทป่ี รงุ งา่ ย พชื ทใ่ี ช้ประกอบอาหารสว่ นใหญ่เป็นพชื สมุนไพร ที่หาได้ งา่ ยในท้องถ่ิน และราคาถูก มี คุณค่าทางโภชนาการ และยังปูองกันโรคได้หลายโรค เพราะส่วนประกอบส่วน ใหญ่เปน็ พชื สมนุ ไพร เช่น ตะไคร้ ขิง ข่า กระชาย ใบมะกรดู ใบโหระพา ใบกะเพรา เป็นต้น 3. สามารถปรบั ประยุกต์หลักธรรมคาสอนทางศาสนาใช้กบั วิถีชีวิตได้อย่างเหมาะสม คนไทยส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยนําหลักธรรมคําสอนของศาสนา มาปรับใช้ในวิถีชีวิต ได้อย่าง เหมาะสม ทําให้คนไทยเป็นผู้อ่อนน้อมถ่อมตน เอ้ือเฟื้อเผ่ือแผ่ ประนีประนอม รักสงบ ใจเย็น มีความอดทน ใหอ้ ภยั แก่ผู้สํานึกผิด ดํารงวิถีชีวิตอย่างเรียบง่าย ปกติสุข ทําให้คนในชุมชนพึ่งพากันได้ แม้จะอดอยากเพราะ แห้งแล้ง แต่ไม่มีใครอดตาย เพราะพึ่งพาอาศัย กัน แบ่งปันกันแบบ \"พริกบ้านเหนือเกลือบ้านใต้\" เป็นต้น ทั้งหมดนี้สืบเนื่องมาจากหลักธรรมคําสอนของพระพุทธศาสนา เป็นการใช้ภูมิปัญญา ในการนําเอาหลักของ พระพุทธศาสนามา ประยุกต์ใช้กบั ชวี ิตประจําวัน และดําเนินกุศโลบาย ด้านต่างประเทศ จนทําให้ชาวพุทธทั่ว โลกยกยอ่ ง ให้ประเทศไทยเป็นผู้นําทางพุทธศาสนา และเป็น ที่ต้ังสํานักงานใหญ่องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์ แห่งโลก (พสล.) อยู่เยื้องๆ กับอุทยานเบญจสิริ กรุงเทพมหานคร โดยมีคนไทย (ฯพณฯ สัญญา ธรรมศักด์ิ องคมนตร)ี ดาํ รงตาํ แหน่งประธานพสล.ต่อจากม.จ.หญิงพูนพิสมัยดศิ กลุ 4. สร้างความสมดลุ ระหวา่ งคนในสงั คมและธรรมชาติได้อยา่ งยั่งยนื ภูมิปัญญาไทยมีความเด่นชัดในเรื่องของการยอมรับนับถือ และให้ความสําคัญแก่คน สังคม และ ธรรมชาติอย่างยิ่ง มีเคร่ืองช้ีท่ีแสดงให้เห็นได้อย่างชัดเจนมากมาย เช่น ประเพณีไทย 12 เดือน ตลอดท้ังปี ล้วนเคารพคุณค่าของธรรมชาติ ได้แก่ ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีลอยกระทง เป็นต้น ประเพณีสงกรานต์ เป็นประเพณีที่ทําใน ฤดูร้อนซึ่งมีอากาศร้อน ทําให้ต้องการความเย็น จึงมีการรดนํ้าดําหัว ทําความสะอาด บ้านเรือน และธรรมชาติสิ่งแวดล้อม มีการแห่นางสงกรานต์ การทํานายฝนว่าจะตกมากหรือน้อยในแต่ละปี ส่วนประเพณีลอยกระทง คุณค่าอยู่ที่การบูชา ระลึกถึงบุญคุณของน้ํา ที่หล่อเล้ียงชีวิตของ คน พืช และสัตว์ ให้ได้ใช้ท้ังบริโภคและอุปโภค ในวันลอยกระทง คนจึงทําความสะอาดแม่น้ํา ลําธาร บูชาแม่นํ้าจากตัวอย่าง ขา้ งต้นล้วนเป็นความสมั พันธร์ ะหว่างคนกบั สงั คมและธรรมชาตทิ ้ังสน้ิ ในการรักษาปุาไม้ต้นน้ําลําธาร ได้ประยุกต์ให้มีประเพณีการบวชปุา ให้คนเคารพส่ิงศักดิ์สิทธิ์ ธรรมชาติและสภาพแวดล้อมยังความอุดมสมบูรณ์แก่ต้นน้ําลําธารให้ฟื้นสภาพกลับคืนมาได้มาก อาชีพ การเกษตรเป็นอาชีพหลักของคนไทย ท่คี ํานึงถึงความสมดลุ ทาํ แต่นอ้ ยพออยู่พอกนิ แบบ \"เฮ็ดอยู่เฮ็ดกิน\" ของ พ่อทองดี นันทะ เมอื่ เหลอื กิน กแ็ จกญาติพนี่ ้อง เพ่ือนบา้ น บ้านใกล้เรือนเคียง นอกจากน้ี ยังนําไปแลกเปลี่ยน กับสงิ่ ของอยา่ งอ่ืน ทตี่ นไมม่ ี เม่อื เหลือใชจ้ รงิ ๆ จึงจะนําไปขาย อาจกล่าวได้ว่า เป็นการเกษตรแบบ \"กิน-แจก-
แลก-ขาย\" ทําให้คนในสังคมได้ช่วยเหลือเกื้อกูล แบ่งปันกัน เคารพรัก นับถือ เป็นญาติกัน ท้ังหมู่บ้าน จึงอยู่ รว่ มกันอยา่ งสงบสุข มีความสัมพันธ์กันอย่างแนบแน่น ธรรมชาติไม่ถูกทําลายไปมากนักเน่ืองจากทําพออยู่พอ กิน ไม่โลภมากและไม่ทําลายทกุ อยา่ งผดิ กับในปจั จุบัน ถอื เป็นภูมิปญั ญาที่สรา้ งความ สมดุลระหวา่ งคนสงั คมและธรรมชาติ 5. เปล่ยี นแปลงปรบั ปรุงไดต้ ามยุคสมัย แมว้ ่ากาลเวลาจะผ่านไปความรู้สมยั ใหม่ จะหลงั่ ไหลเข้ามามาก แตภ่ ูมปิ ัญญาไทย ก็สามารถปรับเปล่ียน ให้เหมาะสมกับยุคสมัย เช่น การรู้จักนําเคร่ืองยนต์มาติดต้ังกับเรือ ใส่ใบพัด เป็นหางเสือ ทําให้เรือสามารถ แล่นได้เร็วขึ้น เรียกว่า เรือหางยาว การรู้จักทําการเกษตรแบบผสมผสาน สามารถพลิกฟ้ืนคืนธรรมชาติให้ อุดมสมบูรณ์แทนสภาพเดิมที่ถูกทําลายไป การรู้จักออมเงิน สะสมทุนให้สมาชิกกู้ยืม ปลดเปล้ืองหนี้สิน และ จัดสวัสดิการแก่สมาชิก จนชุมชนมีความม่ันคง เข้มแข็ง สามารถช่วยตนเองได้หลายร้อยหมู่บ้านทั่วประเทศ เช่น กลมุ่ ออมทรพั ยค์ รี วี ง จงั หวดั นครศรีธรรมราช จดั ในรูปกองทุนหมุนเวียนของชุมชนจนสามารถช่วยตนเอง ได้ เม่ือปุาถูกทําลาย เพราะถูกตัดโค่น เพ่ือปลูกพืชแบบเดี่ยว ตามภูมิปัญญาสมัยใหม่ ท่ีหวังร่ํารวย แต่ ในท่ีสุด ก็ขาดทุน และมีหนี้สิน สภาพแวดล้อมสูญเสียเกิดความแห้งแล้ง คนไทยจึงคิดปลูกปุา ที่กินได้ มีพืช สวน พชื ปาุ ไม้ผล พืชสมุนไพร ซ่ึงสามารถมกี นิ ตลอดชวี ิตเรียกวา่ \"วนเกษตร\" บางพ้ืนที่ เมื่อปาุ ชมุ ชนถูกทําลาย คนในชมุ ชนกร็ วมตวั กัน เป็นกลมุ่ รักษาปุา รว่ มกันสร้างระเบียบ กฎเกณฑก์ นั เอง ใหท้ กุ คนถือปฏิบัติได้สามารถ รักษาปุาได้อยา่ งสมบรู ณด์ ังเดิม
ความสาคญั ของการสู่ขวัญ พิธีสู่ขวัญ บางทีเรียกว่า \"พิธีบายศรี\" หรือ \"บายศรีสู่ขวัญ\" เป็นประเพณีสําคัญอย่างหนึ่งของชาว อีสาน ประเพณีสู่ขวัญทํากันแทบทุกโอกาส ท้ังในมูลเหตุแห่งความดีและไม่ดี ชาวอีสานถือว่าเป็นประเพณี เรียกขวญั ให้มาอย่กู บั ตวั พธิ ีสูข่ วัญน้ีเป็นได้ทงั้ การแสดงความชน่ื ชมยินดี และเป็นการปลอบใจให้เจ้าของขวัญ จากคณะ ญาติมติ รและบุคคลท่ัวไป ผู้ได้ดมี โี ชคหรือผหู้ ลักผใู้ หญ่ท่ีเราเคารพนบั ถอื มาเยยี่ มเราก็ยนิ ดีจดั พิธสี ู่ขวญั ให้ ประเพณสี ู่ขวัญจงึ เป็น ประเพณีทํากนั อย่างกว้างขวาง คาํ วา่ \"ขวญั \"นั้นเช่อื ว่าเป็นส่ิงไม่มีตวั ตนคล้ายกับจติ หรอื วญิ ญาณแฝง อยู่ ในตัวคนและสตั ว์ ตัง้ แต่เกดิ มาทุกคนมีขวญั กันทงั้ นั้นและในบางแห่งเรามักแปลวา่ \"กําลังใจ\" กม็ ีคําว่า \"ขวัญ\" ยงั มีความหมายอีกวา่ เป็นที่รกั ทบ่ี ูชา เช่นเรยี กเมียท่ีรักวา่ \"เมียขวัญ\" หรือ \"จอมขวัญ\" เรยี กลกู รักหรือลกู แกว้ ว่า \"ลูกขวญั \" สิ่งของท่ผี ้เู คารพรักใคร่นบั ถือกันนํามาฝาก นํามาให้เพื่อเป็นการทะนุ ถนอมนา้ํ ใจกันเรากเ็ รยี กว่า \"ของขวญั \" \"ขวัญ\" อีกความหมายหนึ่ง หมายถึง ขน หรือผม ทีข่ ึ้นเวียนเปน็ กน้ หอย พธิ สี ่ขู วญั เป็นพธิ ีเกา่ แก่ของ ชาวไทยเราแทบทกุ ภาค การทําพิธกี ผ็ ิดเพย้ี นกันไปบ้างแต่กย็ ังยดึ หลักใหญ่อยูเ่ หมือนกนั พิธีสุ่ขวญั ในบทความ นี้ จะกล่าวถงึ พิธีของชาวอสี านเป็นสว่ นใหญ่ การทาํ พธิ ีสูข่ วัญเราอาจทําได้ถงึ 2 วิธีพรอ้ ม ๆ กัน คือวธิ ที างพุทธ ศาสนาและวิธีทางพราหมณ์ศาสนา วิธีทางพุทธศาสนา โดยการนิมนตพ์ ระสงฆ์อย่างน้อย 5 รปู มาเจริญพระพุทธมนต์ ตั้งบาตรน้ํามนต์ เสร็จแลว้ ประพรมน้ํามนต์ พระสงฆ์สวดชัยมงคลคาถาถา้ มีศรทั ธาพอจะถวายภัตตาหารเชา้ หรือเพลพระสงฆ์ด้วยกไ็ ด้ ส่วนพิธีทางพราหมณ์ ก็คือการสขู่ วญั ซ่งึ จะได้อธบิ ายใหล้ ะเอยี ดต่อไป การทาํ พธิ ีส่ขู วญั ต้องเตรยี มอุปกรณ์ต่างๆ หลายอย่าง ดังน้ี พาขวญั หรือพานบายศรี คําวา่ \"บายศร\"ี น้นี ่าจะมาจากภาษาเขมร คอื คาํ วา่ บาย + ศรีขา้ ว (สกุ ) ท่ีเปน็ มงคลข้าวนจ้ี ะ เป็นส่วนประกอบ ของการจัดพานบายศรี จะขาดไม่ได้ การจัดพาขวัญน้ี ปกติต้องจัดด้วยพาน ทองเหลืองและมีสัมฤทธิ์ (ขันลงหิน) หลาย ๆใบ ซ้อนกัน มีใบตอง ดอกไม้สด ด้ายสําหรับผูกข้อมือ (ผูกแขน) ปัจจุบันเร่ิมมีการนําเอา กระดาษสตี า่ งๆ แต่กผ็ ิดธรรมเนียมของท้องถนิ่ ไป พาขวัญอาจจัดเป็นชั้นๆ จะเป็น 3 ช้ัน 5 ชั้น 7 ช้ัน แล้วแตค่ วามสามารถ แต่คนเก่าคนแก่ของเมืองอุบล ฯ กล่าวว่าพา ขวัญ 3 ช้ัน 5 ช้ัน เป็นของบุคคลธรรมดา ส่วน 7 ช้ัน และ 9 ชั้น นิยมจัดเฉพาะสําหรับเช้ือพระวงศ์และพระบาทสมเด็จพระ เจา้ อยูห่ วั ล่างของพาขวัญจะเป็นพานมีบายศรี (ทําด้วยใบตอง) ดอกไม้ ข้างต้ม ไข่ต้ม ขนม กล้วย อ้อย ป้ันข้าว เงินฮาง มีดด้าม แก้ว ชั้น 2 , 3, ภ จะได้รับการตกแต่งด้วยใบศรี และ ดอกไม้ซึ่ง มักจะเป็นดอกฝาง ดอกดาวเรือง ดอกรัก ใบเงิน ใบคํา ใบคูณ ใบ ยอปุา อย่างสวยงาม ส่วนชั้นที 5 จะมีใบศรี และด้ายผูกข้อมือ เทียนเวียนหัว (ทําด้วยขี้ผ้ึง) ของเจ้าของขวัญ นอกจากพาขวัญแล้วจะมีเคร่ืองบูชาและอ่ืนๆ เช่น ขันบูชา มี พานขนาดกลางสําหรับวางผ้า 1 ผืน แพร 1 วา หวี กระจกเงา นํ้าอบ นํ้าหอม สร้อย แหวน ของผู้เป็นเจ้า ของขวัญด้ายสําหรับผูกข้อมือ (ด้ายผูกแขน) นั้นต้องเป็นด้ายดิบนํามาจับเป็นวงยาวพอที่จะพันรอบข้อมือได้
โบราณถือว่า คนธรรมดา วงละ 3 เส้นผู้ดีมีศักด์ิตระกูล 5 เส้น (อาชญา 5 ข้ีข้า 3)เม่ือวงแล้วให้เด็ดหรือดึงให้ ขาด เป็นเส้นๆห้ามใช้มีดตัดจะใช้มีดตัดได้เฉพาะด้ายท่ีมัดศพเท่านั้น ถ้าเป็นพาขวัญงานแต่ง คนจะเร่ิมจัดพา ขวัญต้อง เป็นคนบริสุทธ์ิ (ปลอด) คือเป็นคนดีผัวเดียวเมียเดียว ถ้าจัดไม่เป็นเพียงมาจับพอเป็นพิธีแล้วให้คน อื่นๆจัดต่อ ไปจนเสร็จต้องจัดท้ังฝุายชายและฝุายหญิง พาขวัญฝุายชายจะให้หญิงบริสุทธิ์ (เด็กหญิงยังไม่มี ประจาํ เดือน) หาบด้วยไมม้ ว้ นผ้าทอหูกเพราะถือเคล็ดเอาความสามัคคีรักใคร่ของผ้าและไม้ และการสูตรขวัญ ตอ้ งสตู รเวลา คา่ํ ประมาณ 3 – 4 ทุม่ หลังรบั ประทานอาหารค่ําเสร็จถือว่าเป็นเวลาหนูเข้ารู (ยามหนูเข้าฮู) พา ขวญั งานแต่ง จะต้องมอี าหารคาวหวานเปน็ ส่วน ประกอบอีกดว้ ย พาขวญั แต่งเสร็จแลว้ จะต้งั วางไว้ในทีอ่ นั เหมาะสมกอ่ นพอได้เวลาสูตรขวัญ คือจะทําพิธีจึงให้ยกไป ต้ัง ท่ามกลางญาติมิตรบนผ้าห่มหรือผ้าเช็ดตัวของเจ้าของขวัญ ข้างๆพาขวัญนอกจากจะมีอุปกรณ์ต่างๆ ดังกล่าว แล้ว ยังต้องมีแก้วนํ้าเย็น แก้วใส่นํ้าส้มปุอย (กระถินปุา) และแก้วเหล้าสําหรับหมอสูตรขวัญจะได้ด่ืม หรือพ่น หรือจดุ ดว้ ยดอกไมส้ ลดั ใสพ่ าขวัญซงึ่ เรยี กวา่ \"ฮดฟาย\" การสวดหรือการสตู รขวญั เจ้าภาพผู้จัดพิธีสู่ขวัญจะต้องจัดหาหมอนวดหรือสูตรขวัญซึ่งมักเรียกว่า \"พราหมณ์\" หรือ\"พ่อ พราหมณ์\" ไว้ล่วงหน้า ปกติน้ีพ่อพราหมณ์มักจะเป็นผู้ที่ทราบประเพณีสู่ขวัญเป็นที่นับถือของ ชาวบ้านใน หมู่บ้านนั้น หมอสูตรขวัญสมัยก่อนๆ นุ่งห่มธรรมดาเพียง ให้มีผา้ ขาวหรือให้มีผ้าขาวม้าพาดบ่า ก็พอปัจจุบันนิยมนุ่ง ขาวห่มขาว นับว่าเป็นการพัฒนาให้เหมาะ สมกับสังคม สมัยใหม่ ก่อนลงมือสวด เจ้าภาพต้องเตรียม \"ด้ายผูกแขน พราหมณ์\" ไว้เป็นด้ายผูกข้อมือธรรมดาเป็นแต่เพียง มัด ธนบัตรเป็นค่าบูชาพราหมณ์จํานวนมากหรือน้อยแล้วแต่ เจ้าภาพจะเห็นสมควร และเจ้าภาพจะเป็นคนผูกข้อ มือ พราหมณ์ด้วยดา้ ยผูกแขนพเิ ศษนี้ พราหมณจ์ ะจัดใหเ้ จา้ ของขวัญนง่ั ใหห้ นั หนา้ ไปในทิศทางต่างๆ ตามตาํ รา เจ้าของขวัญน่ังลงแล้วยกมือ ไหว้ พราหมณ์เสร็จแล้วใช้มือขวาจับพาขวัญต้ังจิตรอธิฐานขอให้เทวดาบันดาลให้เป็น ไปดังหมอขวัญหรือ พราหมณส์ ูตร ญาติพี่น้องจะนงั่ ลอ้ มเปน็ วงดา้ นหลงั ต้ังจติ รอธิฐานให้เจ้าของขวัญมีความสุข ความเจริญ จงเกิด แก่เจ้าของขวัญแล้ว อ้อนวอนเทวดาเป็นภาษาบาลีว่า \"สัค เค กา เม จ รูเป\" ? จบแล้วว่านโม 3 จบแล้วกล่าว คําบูชาพระรตั นตรยั ครั้นจบแลว้ จะสู่ขวัญอะไรกเ็ ลือกว่าเอาตามตอ้ งการให้เหมาะกับงาน การสวดต้องให้เสียง ชัดเจน สละสลวย ไพเราะฟังแล้วเกิดความดีใจ ศรัทธาอุตสาหะ ในการทําความดียิ่งขึ้นจึงจะเป็นสิริมงคลแก่ เจ้าตัวถา้ ปุวยไข้ ไข้จะหาย ถ้าได้ดีได้เลื่อนยศ เลื่อนตําแหน่งก็จะรักษาความดีไว้ให้คงทนไม่ฟูุงเฟูอเห่อเหิมจน ลืมตัวเม่ือ สวดเสร็จ จะว่า \" สัพพพุทธานุภาเวน สัพพธัมมานุภาเวน สัพพสังฆานุภาเวนสัพพโสตถี ภวันตุ เตยถา สัพพี ภวตุ สัพ \" ฯลฯ การเข้าน่ังล้อมพาขวัญถ้าเป็นการแต่งงานคู่บ่าวสาวพร้อมด้วยเพื่อนเจ้าบ่าว เจ้าสาวจะเข้าร่วมพิธีด้วย จะจัดให้เจ้าบ่าวเจ้าสาวนั่งชิดกันเวลาจับพาขวัญให้แขนเจ้าบ่าวทับแขน เจ้าสาว เพื่อนๆ เจา้ บ่าวจะ พยายามเบยี ดใหเ้ จา้ สาวนัง่ ชดิ กบั เจ้าบ่าวให้มากๆ จะมีการแกล้งเจ้าบ่าวต่างๆ นานาเป็นท่ี สนุกสนานการมาร่วมพิธีสู่ขวัญน้ีคนโบราณได้เล่าว่าเม่ือคร้ัง 70 ปีก่อนบ้านเมืองอุบลฯ อุดมสมบูรณ์ไปด้วย การเล้ียงไหมของขวัญผู้มาร่วมพิธีขวัญจึงเป็นไหมเส้นเป็น ไจๆนับว่าเป็นของขวัญท่ีพอ เหมาะพอควรและไม่ เคยมีการนาํ เอาเงนิ มาเปน็ ของขวญั ไหมทเ่ี จ้าของขวัญรบั ไวก้ ็ จะนาํ ไปทอเปน็ ผา้ ไดภ้ ายหลัง
การเชิญขวัญ ก่อนสูตรขวัญถ้ามีเวลาพอก็ให้ว่าคําเชิญขวัญเสียก่อนทุกครั้งการเชิญขวัญเป็น พิธีที่ดี อย่าง หนึ่งคอื เราขอความสําเรจ็ ความศักด์ิสิทธ์ิจากพระพุทธ พระ ธรรม พระสงฆ์ เทวดา อินทร์ พรหม ผู้มีอิทธิฤทธ์ิมาประสิทธ์ิ ประสาทพรใหจ้ ะได้มวี าจาศักดส์ิ ิทธเ์ิ พราะผสู้ วด และผู้ฟังไม่ใช่คน มอี ทิ ธฤิ ทธิ์เม่อื เราขอท่านทา่ นก็คงเมตตาประทานให้ตามคาํ ขอ คําเชิญขวัญ คําเชิญขวัญน้ันมีหลายสํานวนไม่มีแบบตายตัว ต่าง หมอต่างสรรหาสํานวนที่เห็นว่า เหมาะกับเหตุการณ์เช่น คําเชิญ ขวัญสาํ หรับบคุ คลธรรมดา กอ็ ีกสํานวนหนึ่ง สําหรบั เชื้อพระวงศ์ก็ อีกสํานวน หนึ่ง เป็นต้น การผกู แขนหรอื ข้อมือ เม่ือพราหมณส์ ูตรขวัญจบแล้วญาตพิ ี่น้องจะเอาขา้ ว ไข่ กลว้ ย ใส่มือเจ้าของขวัญมือซ้ายหรือมือขวา ก็ ได้ให้พราหมณ์ผูกข้อมอื ใหก้ อ่ นปกตจิ ะผกู ข้อมอื ซา้ ยเพราะแขนซ้ายถือเป็นแขน ขวัญ เป็นแขนที่อ่อนแอใช้งาน หนักไม่ได้ เป็นแขนที่น่ารักทะนุถนอม ในเวลาผูกข้อมือนั้นทุกคนย่ืนมือขวา ออกไปพยุง (โจม) แขนของเจ้าของ ขวัญที่พราหมณ์กําลังทําพิธีผูกข้อมือให้ ถ้าอยู่ห่างก็ย่ืนมือจับแขนหรือแตะ ตัว กันตอ่ ๆ มาเปน็ เส้นสายเหมอื น เชือกส่อ แสดงถึงความสัมพันธ์ทางกายและใจ เป็นอย่างย่ิง แล้วตั้งจิตอธิฐานขอให้ เจ้าของขวัญมีความสุขความเจริญเม่ือ ผกู ข้อมอื เสรจ็ แล้วให้ผู้เปน็ เจ้าของขวัญ มีความ สุขความเจริญเม่ือผูกข้อมือ เสร็จแล้วให้ผู้เป็นเจ้าของขวัญประนม มือไหว้ผู้ ให้พร เป็นการรบั เอาพร เมอ่ื พราหมณ์ผูก เสร็จแล้ว ต่อไปก็เป็นโอกาสของญาติมิตรท่ัวๆไปจะเข้ามา ผกู ขอ้ มอื ให้กบั เจ้าของขวญั ด้ายผกู แขน (ด้ายผกู ข้อมอื ) ถือเป็นของดี ของศักดิ์สิทธิ์ควร รักษา ไว้อย่าพ่ึงดึงท้ิง ให้ลว่ ง 3 วันเสียก่อนจึงดงึ ออกเวลาท้ิงอย่าท้ิง ลงท่ีสกปรก เพราะด้ายผูกแขนเป็นของขาวของบริสุทธ์ิ เป็นจุด รวมแห่งจิตใจบริสุทธิ์หลาย ดวงจึงควรรักษาไว้ให้ดี ผู้เฒ่าผู้แก่เคยเล่าให้ฟังว่าด้ายผูกแขนท่ีเก็บรักษา ไว้เป็น ของศักด์ิสิทธ์ิ ปอู งกันอันตรายได้เช่น มีโจรมาปล้นอธิฐานขอให้จิต ทุกดวงช่วยก็ปลอดภัยจากอันตรายได้และ เปน็ เสน่ห์ดึงดูดจติ ใจให้คนรกั -ใครช่ อบ พอได้ การผูกแขน(ผูกข้อมือ)การผูกแขนท่ีจะอํานวยประโยชน์สุขให้แก่เจ้าของขวัญควรประกอบ ด้วยองค์ 4 คือ ผผู้ ูกหรอื พราหมณ์ ผ้รู บั ผกู หรอื เจา้ ของขวญั ผูเ้ กี่ยวขอ้ งคือญาติมิตร คํากล่าวขณะที่ผูกเป็นคําเรียกร้องเชิญขวัญซึ่งเป็นคําท่ีไพเราะอ่อนหวานสุภาพ เรียบร้อยมีความหมาย ไป ในทางท่ีดีงามโอกาสจัดพิธีสู่ขวัญ มีหลายโอกาสเช่น คารวะพระพุทธรูป บายศรีพระสงฆ์ สู่ขวัญแม่ออกกรรม
(คลอดบุตรออกไฟ) สขู่ วัญเด็กน้อย สขู่ วญั เฮอื น สขู่ วัญคนธรรมดา ส่ขู วญั แต่งงาน สขู่ วัญหลวง ส่ขู วัญเกวียน สู่ ขวญั ขนึ้ เล้า (ยุ้ง) สูข่ วญั น้อยก่อนแต่งงาน ส่ขู วัญคนปุวย สู่ขวัญข้ึนบ้านใหม่ ส่ขู วัญวัวขวัญควายจะเห็นได้ว่าพิธี สู่ขวัญนเี้ ป็นประเภท \"ขนบประเพณี\" คือประเพณีชาวอีสานได้เคยต้ังหรือร่างเป็นระเบียบแบบ แผนขึ้นไว้เป็น ธรรมดาของประเพณีท่ีอาจมีส่วนปลีกย่อย แปลก แตกต่างกันออกไปบ้างในลักษณะของการพัฒนาเป็น ลักษณะของความเจริญให้เหมาะสม กับกาลสมัยแต่ส่วนสําคัญ อันเป็นมูลฐานของประเพณีนี้ก็ยังคงอยู่และ เป็นหน้าท่ีของพวกรุ่นต่อไปจะเป็น ผู้รับช่วงระวังรักษาไว้ให้มรดก อันสําคัญน้ีย่ังยืนสืบไป เพื่อแสดงความ เก่าแกข่ องชาตบิ ้านเมอื งเรา...ฯ ประเภทของการสขู่ วญั การสูข่ วัญของชาวร้อยเอ็ด เป็นพิธกี รรมที่กระทําสืบตอ่ กันมานาน แบ่งเปน็ 3 ประเภท ตามลกั ษณะ และโอกาสทใ่ี ชด้ งั นี้คือ 1. การสูข่ วัญคน 2. การส่ขู วัญสตั ว์ 3. การสขู่ วญั สิง่ ของ การสู่ขวัญคน เป็นเร่ืองเกี่ยวกับขวัญหรือจิตใจ อันจะก่อให้เกิดขวัญหรือกําลังใจดีข้ึน วิถีการดําเนิน ชีวิตของชาวร้อยเอ็ด มักจะมีการสู่ขวัญควบคู่กันเสมอ เพื่อเรียกร้องหรือระดม พลังทางจิตใจ นอกจากน้ี เนื้อหาในบทสูตรขวัญบางบทได้มีการสอดแทรกคติธรรมและแนวทาง ในการดําเนินชีวิตของคนกลุ่มต่าง ๆ ของสังคม การสู่ขวญั มหี ลายประเภท ดงั น้ี 1. การสู่ขวัญพระสงฆ์ เม่ือพระสงฆ์ได้สมณศักด์ิเป็นยาครู หรือซา ชาวบ้าน จะทําการสู่ขวัญให้หรือ เวลาจะเอาพระพทุ ธรปู ขึน้ ประดษิ ฐานท่แี ท่นประทบั ภายในวัด จะทําการสขู่ วญั พระสงฆ์ท้ังวัด เป็นการส่งเสริม ใหพ้ ระสงฆเ์ ปน็ ผ้สู บื มรดกทางพทุ ธศาสนาต่อไป 2. การสู่ขวัญออกกรรม ผหู้ ญิงท่ีคลอดบุตรตอ้ งอยู่ไฟ เม่อื ออกไฟแลว้ ก็มีการสู่ขวญั ให้เพราะในขณะที่ อยู่ไฟนน้ั ไดร้ ับความทุกขท์ รมานนานัปการ จึงจําเปน็ ต้องเอาอกเอาใจและให้กําลงั ใจ การเอาอกเอาใจอยา่ ง หนึง่ คอื การสู่ขวัญ 3. การสขู่ วัญเดก็ น้อย เดก็ ๆ มักตกใจง่าย ถา้ มีใครหลอกหรือเหน็ อะไรท่ีน่ากลวั กจ็ ะตกใจมาก พอ่ แม่ เช่ือวา่ เม่ือเด็กตกใจขวัญจะออกจากร่าง สง่ ผลใหเ้ ด็กร้องไห้ไมส่ บาย จึงจําเป็นต้องทาํ พิธสี ู่ขวัญให้ 4. การสูข่ วญั คนธรรมดา คนธรรมดานั้น เม่ือไปคา้ ขายได้ลาภ หรอื ได้เลือ่ นยศตาํ แหนง่ ก็ทําการสู่ ขวัญให้ บางทีฝนั ไมด่ ี หรือเจ้านายมาเยยี่ มก็มีการสู่ขวญั เพ่ือให้เกดิ สิรมิ งคล 5. การสู่ขวญั หลวง เวลาพอ่ แมห่ รอื ผ้เู ฒ่าผ้แู ก่เกิดมีอาการเจ็บปุวยชาวบ้านจะรกั ษาดว้ ยวธิ ีการต่าง ๆ แตถ่ า้ ยงั ไม่หาย ลูกหลานจะทําพิธสี ู่ขวัญใหเ้ ปน็ เวลา 3 คืน เชอ่ื ว่า โรคภัยไขเ้ จบ็ หรืออาการปุวยจะหายได้ สิ่งของทใ่ี ช้ในพธิ ีนี้ก็เหมือนสู่ขวญั ธรรมดา แตกตา่ งตรงทตี่ ้องเพ่ิมธปู เทียนให้ เท่ากบั อายุของผ้ปู ุวย ให้สวด เวลากลางคนื ประมาณ 3 - 4 ทุ่ม 6. การสู่ขวัญนาค เม่ือบุตรชายมศี รทั ธา จะบวชเมื่อถึงวนั บวชบดิ า-มารดาจงึ ได้จดั พิธีสขู่ วัญให้ บุตรชายเพอื่ เป็นสริ มิ งคล 7. การสู่ขวัญน้อยก่อนแต่งงาน (กนิ ดอง) มกั กระทาํ ทบี่ ้านเจ้าบ่าวกอ่ นจะมีพธิ แี ต่งงาน พ่อแม่เจา้ บ่าว และญาติของเจ้าบา่ วนิยมสูข่ วัญให้กบั ลกู ของตนก่อน แลว้ จึงนาํ พาขวัญไปรวมกัน ท่ีบา้ นเจ้าสาว พาขวัญก่อน พธิ ีแต่งงาน เรียกพาขวญั นอ้ ย
8. การสู่ขวญั บา่ วสาวเวลาแตง่ งาน กอ่ นท่หี นมุ่ สาวจะอย่กู ินร่วมกนั เปน็ สามีภรรยา จะต้องจัดใหม้ ีพธิ ี แต่งงาน หรอื ชาวอีสานเรียกว่า \"กินดอง\"เพ่ือใหเ้ กิดความเป็นสิรมิ งคลกบั คู่บา่ วสาว จงึ ตอ้ งจดั ให้มีการสู่ขวัญ ข้ึน สว่ นใหญม่ ักกระทาํ ท่บี ้านเจา้ สาว 9. การสู่ขวัญคนปวุ ย คนเจ็บไขน้ าน ๆ หรือชาวบ้านเรยี กวา่ \"ปุวยป\"ี เชอ่ื ว่ามสี าเหตุ มาจากขวัญออก จากรา่ งกาย จึงเกดิ อาการเจบ็ ปุวย เมื่อหายปวุ ยแลว้ แต่รา่ งกายยังไมแ่ ข็งแรง ถือว่า ขวัญหนเี นอื้ หนคี ีง (ขวัญ ไมอ่ ยู่กบั เน้ือกับตวั ) จงึ จําเป็นต้องสู่ขวัญใหเ้ พ่อื เรยี กขวัญใหม้ าอยู่กบั รา่ ง จะทาํ ให้คนปุวยแขง็ แรง หายจากการ เจ็บปุวย 10. การสขู่ วัญพา ถา้ ผใู้ ดเจบ็ ไข้ไดป้ ุวย กินไมไ่ ด้นอนไมห่ ลับ และไดท้ ําการสู่ขวญั คนปุวยให้แล้วแต่ โรคภยั ไข้เจ็บยังไมห่ ายกจ็ ะทาํ การส่ขู วญั พาใหอ้ ีกครงั้ หนงึ่ การสูข่ วญั สัตว์ เป็นการระลกึ ถึงบุญคุณของสัตว์ ที่ช่วยมนุษย์ในการทํามาหากินรวมไปถึงการขอขมาที่ได้ด่าว่า เฆ่ียน ตี ในระหวา่ งการทํางาน ทสี่ าํ คญั ไดแ้ ก่ 1. การสขู่ วัญควายและงัว (ววั ) ควายและววั เปน็ สตั วท์ ม่ี ีคณุ แก่คนมากเพราะเปน็ แรงงานลากไถในการ ทํานา ทําไร่ ชาวบ้านถือว่าคนได้กินข้าวเพราะสัตว์เหล่านี้ ดังน้ันก่อนท่ีจะลงมือทํานา ครั้งแรกหรือเลิกทํานา แล้ว เจ้าของมักทําพิธีสู่ขวัญให้ เพ่ือเป็นการรําลึกถึงบุญคุณ และขอขมาที่ได้ ด่าว่า เฆ่ียนตีระหว่างทํางาน ร่วมกนั พาขวญั จัดใหม้ นี ํา้ อบ นา้ํ หอมและหญ้า 2. การสู่ขวัญม้อน (ตัวหม่อน) ม้อนเป็นสัตว์ตัวอ่อนท่ีชักใยออกจากรังไหม ชาวบ้านสามารถนํามาทํา เป็นเครื่องนุ่งห่ม ม้อนเป็นสัตว์ที่มีคุณแก่คน เพราะไหมสามารถทําเป็นเครื่องนุ่งห่ม เมื่อชาวบ้านลงมือเลี้ยง ม้อน หรือหลังจากการชักใยม้อนเสร็จเป็นรังไหมแล้วจะจัดให้มีการสู่ขวัญข้ึน เพ่ือเป็นสิริมงคลแก่ผู้เล้ียงม้อน ทําให้ผู้เล้ียงขายเส้นไหมได้เงินทอง และเชื่อว่าการสู่ขวัญให้ม้อนจะ ส่งผลให้ม้อนมีหนังหนาดังเปือกพ้าว (เหมือนเปลือกมะพรา้ ว) พาขวัญมีขา้ วต้มและใบม้อน การสู่ขวญั สงิ่ ของ เป็นเร่ืองเก่ียวกับความเช่ือถือท่ีว่า ส่ิงของเครื่องใช้ต่าง ๆ เป็นส่ิงท่ี มีประโยชน์ต่อชีวิตของมนุษย์ จึง จาํ เป็นต้องจัดให้มกี ารสู่ขวัญให้กับส่ิงของเหล่าน้ีเพ่ือเป็นการสํานึกในบุญคุณ ชาวบ้านเช่ือว่าการสู่ขวัญสิ่งของ จะทําให้ผเู้ ป็นเจา้ ของมคี วามสุข มีลาภ เปน็ สริ ิมงคลแกเ่ จา้ ของต่อไป ซง่ึ การสู่ขวญั สิ่งของแยกไดด้ งั นี้ 1. การสู่ขวัญเฮือน คือ การนาํ เอาพธิ ีและขั้นตอนการสร้างบ้านเรือนมาพูดที่ในประชุม เพื่อให้คนที่มา ในพิธีร้จู ักสรา้ งบ้านใหเ้ ป็นสิรมิ งคล ถ้าบ้านเรอื นทาํ ไมถ่ กู แบบก็จะนาํ แต่ความไม่เป็นมงคลมาให้ 2. การสขู่ วญั เกวียน เกวียนเปน็ พาหนะใช้สําหรับลากเข็น การสู่ขวัญเกวียนก็เพ่ือให้เป็นสิริมงคลและ มั่นคง และสอนใหเ้ จา้ ของรจู้ ักใชใ้ หเ้ ป็นประโยชน์ 3. การสู่ขวัญข้าว มักทํากันในเดือน 3 ขึ้น 3 คํ่า ชาวบ้านเชื่อว่า \"กินบ่บก จกบ่ลง\" (กินเท่าไหร่ ไม่ รู้จักหมด) ชาวบ้านจะสูข่ วญั ขา้ วกอ่ นทาํ พิธีเปิดเล้า (ยุ้ง) ข้าว นํามากิน จะทําการสู่ขวัญก่อน เพ่ือเป็นสิริมงคล จะทําให้สามารถผลิตข้าวในปีต่อไปได้อย่างสมบูรณ์ ไม่เกิดภาวะอดอยากประเพณีการสู่ขวัญของชาวร้อยเอ็ด ทท่ี าํ ในปัจจุบนั น้ยี ังมอี ยู่เพียงการสขู่ วญั บางประเภท เทา่ นน้ั เชน่ การส่ขู วัญนาค สขู่ วัญบา่ วสาว สขู่ วัญคนปุวย สู่ขวัญข้ึนบ้านใหม่ สู่ขวัญข้าว สู่ขวัญคนธรรมดา และสู่ขวัญควายและวัว ทั้งน้ีอาจมีสาเหตุเน่ืองมาจากการ เปลย่ี นแปลงสภาพ ของสังคมในปัจจบุ นั สตั ว์และสงิ่ ของบางอย่างได้หมดความสาํ คัญในชีวติ ประจําวันของชาว รอ้ ยเอ็ดไปแล้ว จึงคอ่ ยๆ เลิกไปในทสี่ ุด
พิธีสู่ขวญั งานแตง่ งานแต่งงานของหนุ่มสาวอีสานยคุ นมี้ กี ารลดทอนประเพณีบางอยา่ งออกไปทําให้ดูไม่แตกตา่ งจากงาน แต่งงานของภาคกลางมากนัก มีเพียงการ “สูข่ วญั ” แทนพิธี หล่งั น้าํ พระพทุ ธมนต์เทา่ นั้นท่ียังคงเป็นจุดต่างอยา่ งชดั เจน แต่ ถงึ อยา่ งนนั้ งานแต่งงานของบ่าวสาวชาวอสี านบางคู่กย็ งั คงไว้ ซึ่งอตั ลักษณ์ทนี่ ่าสนใจเอาไว้อยู่หลายอยา่ ง ง้นั ลองมาดูกันสิวา่ พิธีแตง่ งานอสี าน มีอะไรทีน่ ่าสนใจ แตกตา่ ง หรือเหมือนกับ ประเพณงี านแต่งงานท่วั ไปหรือไม่ (**ทั้งนี้ทั้งนั้นแตล่ ะพิธีการ ข้ึนอยกู่ ับความเชอื่ หรือประเพณแี ต่ละท้องถิน่ ท่ีถือปฏบิ ัติ แตกต่างกันไปด้วยนะคะ) “การโอม” พิธสี ขู่ อเมื่อตกลงปลงใจจะใช้ชวี ิตคู่รว่ มกันแลว้ ฝาุ ยชายต้องใหเ้ จ้าโคตร (ผใู้ หญท่ ่มี ีอาวโุ ส ทส่ี ุดของตระกลู ) ไปสขู่ อฝุายหญงิ ซง่ึ เรยี กว่า “การโอม” โดยเตรยี มขันใสห่ มากจีบพลพู ันเงนิ 3 บาท ถา้ พอ่ แม่ ฝุายหญิงไม่ขดั ข้องก็จะรับไวแ้ ลว้ พดู คุยเรือ่ งสินสอด “กนิ ดอง” ประกาศข่าวดใี นแต่ละพนื้ ท่ีอาจแตกต่างกนั แต่สาํ หรบั ทางอสี านใต้ การ “กินดอง” คอื การทฝ่ี ุายชายเตรียมของกนิ ดอง (ขา้ วสาร เหล้าขาว ผ้าโสร่ง กล้วย เงินตามเลขมงคล เช่น 3 บาท หรอื 9 บาท เปน็ ตน้ ) แล้วใหผ้ ใู้ หญฝ่ ุายชายนําไปให้ฝาุ ยหญิง ส่วนฝุายหญิงก็จะต้องเตรยี มของกินดองอีกชุดใหฝ้ าุ ย ชายดว้ ย โดยจะให้กลบั ในวนั เดียวกนั หรอื นําไปใหท้ หี ลงั ก็ได้ ท้งั นี้เพ่ือบอกกล่าวแก่กนั วา่ เร็วๆ นีจ้ ะมงี านมงคล ระหว่าง 2 บา้ นเกิดขน้ึ “ช่วยงาน” ก่อนวันแต่งก่อนวนั แต่งงาน 1 วนั ทางบ้านเจ้าสาวและเจา้ บา่ ว (บ้านใครบ้านมนั ) จะต้อง เตรยี มเนอ้ื หมูสด เหล้า เบยี ร์ และกับข้าวมงคล 3 - 4 อย่าง เชน่ ลาบ แกงหมูใสบ่ วบ ก้อย เพอ่ื เอาไวเ้ ล้ยี งคน ทม่ี า “ชว่ ยงาน” ซึง่ ในทนี่ ค้ี ือคนทีน่ าํ ซองเงินมาให้นัน่ เอง โดยเมือ่ ให้ซองแลว้ ผูใ้ ห้จะบอกกล่าวว่าต้องการอะไร กลบั ไป ซ่ึงเจ้าบ้านกต็ ้องจดั ให้อย่างเหมาะสมกบั จาํ นวนเงิน “พิธีส่ขู วญั ” แต่งงานแบบอีสานเม่อื ฝุายชายแห่ขันหมากผ่านด่านประตูเงินประตูทองเข้ามา จะต้องมี ญาตผิ นู้ ้องของเจ้าสาวไปจูงพ่ีเขยมากราบธรณีประตู เหยียบก้อนหิน (เพื่อให้หนักแน่น) แล้วทําพิธีล้างเท้าบน ใบตอง ก่อนจะก้าวข้าวธรณขี ้ึนมาบนเรือน หลักจากมอบสินสอดและตรวจนับเรียบร้อยแล้ว จะมีการประกาศ จํานวนสินสอดพร้อมเรียกคนในหมู่บ้าน “มาโฮม (ผูกข้อมือ) รับขวัญลูก/ หลานเขย” จากนั้นหมอสูตรจึง เร่ิมทําพิธีสู่ขวัญ เมื่อจบพิธีญาติๆ จะโยนข้าวสารโรยดอกดาวเรืองใส่บ่าวสาวท่ีน่ังคุกเข่าจับพาขวัญ (พาน บายศรี) ไขว้กันอยู่เพื่อความเป็นสิริมงคลและเจริญงอกงาม สุดท้ายหมอสูตรจะปอกเปลือกไข่ต้มในพานขวัญ แล้วผา่ กลางเพ่ือทํานายคู่บ่าวสาว เช่น อยู่ร่มเย็นเป็นสุข รํ่ารวย มีลูกชายหรือลูกสาว ฯลฯ แล้วจึงให้บ่าวสาว กนิ ไขค่ นละครง่ึ ลําดบั ต่อมาพอ่ แมแ่ ละญาติผูใ้ หญจ่ ะนําฝูายจากพาขวญั มาผูกเงินแล้วไปผูกข้อมือบ่าวสาวอีกที พร้อมกับอวยพรเพ่ือรับขวัญ ส่วนทางบ่าวสาวก็ต้องเตรียมของมอบกลับให้ด้วย ซ่ึงนิยมมอบเส่ือผูกติดกับ หมอน หากญาติเยอะก็เตรียมไวใ้ หเ้ ฉพาะญาติอาวุโส ส่วนญาตทิ ่ีเหลือก็ไหว้ขอบคุณตามปกติ เม่ือเสร็จส้ินแล้ว จึงเปน็ พิธีสง่ ตัวเขา้ หอ และเล้ยี งอาหารรับรอง (ในวันน้ีบางบ้านอาจนิมนต์พระมาทําบุญตักบาตรตอนเช้าก่อน ดว้ ย) “ผูกข้อมือ” รบั ขวัญสะใภ้ธรรมเนียมของชาวอีสานใตน้ ั้น หลงั เสรจ็ พิธที บ่ี า้ นฝุายหญิงแล้ว ต้องไปทํา พธิ ีผกู ข้อมอื รับขวญั สะใภท้ ี่บา้ นฝุายชายในวันเดียวกัน (เลย่ี งเวลาบา่ ยโมงเพราะถือวา่ เป็นเวลาผอี อกปาุ ) เม่ือ เดินทางใกล้ถงึ บา้ นเจ้าบ่าวจะตง้ั ขบวนเดนิ เขา้ บ้าน ซึ่งเจ้าสาวต้องเตรียมซองไวใ้ ห้คนก้นั ประตูเงนิ ประตูทอง ดว้ ย จากนั้นญาติผนู้ อ้ งของเจา้ บ่าวจะมาจงู นว้ิ ก้อยของเจ้าสาวไปทาํ พธิ ีลา้ งเท้าก่อนเข้าบา้ น ซ่งึ พ่อแม่ของ
เจ้าบ่าวจะเตรียมโสร่งและผ้าซ่นิ รอไว้นงุ่ ใหบ้ ่าวสาวเพ่ือเป็นการรับขวัญสะใภ้ ก่อนจะจบด้วยการอวยพรผูกข้อ ไมข้ ้อมือพร้อมเงนิ สาํ หรับบางคนทใี่ ห้เงนิ กับมือ บ่าวสาวก็จะรบั มาใส่ขันเงินท่เี ตรียมไวแ้ ลว้ มอบหมากพลู กลับไป เสรจ็ แลว้ จงึ นบั เงินและประกาศวา่ บา้ นนรี้ ับขวัญสะใภ้เงนิ เท่าไหร่แล้วจึงเล้ยี งรับรอง (หากบ้านเจ้าบา่ ว ไกลมากอาจงดพธิ นี ี้ได)้ สู่ขวญั นาค การทาํ พิธเี ชิญขวญั นาคมา เรียก สู่ขวัญนาค ชาวอีสานนับถือพุทธศาสนาเป็นชีวิตจิตใจ เมื่อลูกชายมี อายุพอจะบวชเป็นพระภิกษุสามเณรได้แล้ว บิดามารดาก็นําไปฝากตัวเป็นศิษย์วัด ให้ศึกษาเล่าเรียนศีลธรรม ในทางพระพทุ ธศาสนา ขณะท่ีฝากตัวเป็นศษิ ยว์ ัดนี้เรยี ก นาค คําว่านาคนีม้ ีความหมายหลายอย่าง ในที่นี้จะยก มาเล่าเพียงอย่างเดียว นาค แปลว่า ผู้ประเสริฐ ผู้ที่ลาพ่อแม่ออกไปบวชน้ี เป็นผู้แสวงหาความดีอย่างสูง คือ จะตอ้ งบําเพญ็ ไตรสิกขา คอื ศีล สมาธิ ปญั ญา หากอยู่ในเพศสมณะได้ตลอดชวี ิต ก็อาจจะได้คุณงามความดีข้ัน สูงสุด การบวชของคนอีสานมีจุดมุ่งหมายอยู่ 2 อย่าง คือ บวชทดแทนหน้ี และบวชเพ่ือสืบต่ออายุพระพุทธศาสนา บวชทดแทนหนี้ หน้ีที่สําคัญคือ หนี้ค่าข้าวปูอนนํ้านมของ แม่ พอ่ แม่คือเจ้าหน้ีของลูก ท่ีได้เลี้ยงดูให้การศึกษาลูกมา การท่ีลูกไปบวชบําเพ็ญไตรสิกขาจึงถือว่าเป็นการตอบ แทนบุญคุณของพ่อแม่บวชสืบต่ออายุพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาประกอบด้วยองค์ 3 คือ พระพุทธ พระ ธรรม และพระสงฆ์ พระพุทธเจ้าผู้เป็นศาสดาของ พระพุทธศาสนาก็ปรินิพพานไปนานแล้ว ยังเหลืออยู่แต่ พระธรรมคือคําสอนของพระองค์ กับพระสงฆ์ พระธรรมที่ยืนยงคงอยู่ได้ต่อไปก็ต้องอาศัยพระสงฆ์ ผู้ท่ีเข้ามา บวชจึงเป็นศาสนาทายาท ผู้ท่ีจะรับมรดกคือพระธรรมสืบต่อไป ถือเป็นภารกิจในการสืบสานต่ออายุของ พระพทุ ธศาสนา กอ่ นจะบวชพอ่ แม่จะทาํ พธิ ีสูข่ วญั ให้ เพื่อแนะแนวทางทีจ่ ะทําตอ่ ไป “ศรี ศรี สุมังคะละ ศุภะสวัสดี อดิเรกไชยศรี สวัสดีจงมีแก่ผู้ข้าท้ังหลาย ท้ังเทพานาค ครุฑ เทว บุตร เทวดา อินทร์พรหม ยมราช ผู้องอาจกล้าหาญ จงได้บงการลงมาสู่ ลงมาอยู่เป็นชัย มงคลอันวิเศษ ม้ือน้ีพระเกตุเข้าสู่ราศรี เป็นวันดีสุดขนาด อินทภาสพร้อมตรียางค์ ทั้งนวางค์คาด คู่ ตั้งเป็นหมู่สอนลอน สอนลอน พระอาทิตย์จรจันทร์ฤกษ์ อังคารถึกมหาชัย พุธพฤหัสไปเป็นโยค ศุกร์เสาร์ได้อมุตโชคพร้อม ลัคนา อันนีต้ ามตาราวา่ ได้ฤกษ์ ถกึ หน่วยว่าอตุ มะราศรี” วันนเ้ี ปน็ วันดีอนั ประเสรฐิ ถอื ว่าเลศิ เป็นมุงคุล ปนุ แปลงดีแตง่ แล้วพาขวัญแก้วยกมา มที ้ังท้าวพระยา เสนาอํามาตย์ ท้ังนกั ปราชญ์มวลมา มีลุงตาพ่อแม่ มเี ฒ่าแก่วงศา พรอ้ มกนั มา ไหลหล่ัง มาโฮมน่ังอย่สู อนลอน ตาสะออนบุญหลายหลาก บ่พลดั พรากไปไกล มารวมใจชมชื่น ญาติบ้านอ่ืนมาหา จ่งั ได้ลาบิดามารดาออกบวช หวงั ไปสวดบําเพ็ญศีล ดง่ั พระอินทร์ถวายบาตร พรหมราชยอพาน ถวายทานพระศรีธาตุ คราวพระบาทออกไป บรรพชา อย่ฝู ั่งน้าํ อโนมาพร้อม นายฉนั ท์และม้ามิ่ง ลายอดแกม้ ป่งิ ส่งิ พิมพา ท้ังราหุลออกบวช ไปผนวชเปน็ คน ดี เจ้ามีใจในธรรม อันลํ้าเลศิ ก่อนสิไดม้ าเกดิ จากทอ้ งมารดา ได้เลย้ี งมาเป็นอนั ยากเล้ยี งลาํ บากทกุ วันคืน แม่ ทนฝนื หนักหน่วงท้อง นอนเกา้ เดือนเฮด็ ล่องง่องอยู่ในครรภ์ แสนราํ พันฮักห่อ ลกู ของพ่อดงั่ ดวงตา ออกจาก ทอ้ งมารดาลกู เกิดมาเลิศแล้ว ไดล้ ูกแก้ว แม่นผู้ชายฝงู ตายายกช็ มชน่ื ยอยกย่นื เจา้ ออกมา ญาติกม็ าเอาผ้าห่อ ผูเ้ ปน็ พ่อฮักเหลือหลายตากบั ยายเอาอาบนํ้าทุกคา่ํ เชา้ ให้กินนม แมน่ อนซมพอ่ นอนกอด หอมแก้มฟอดยามไป มา ฮกั ด่ังตา ลกู แกน่ ไท้ เลยี้ งเจ้าใหญ่เป็นหนุม่ มา อยชู่ ายคาเพยี รอ่อน ชะสอ่ นหน้าใหญเ่ ป็นคน บไ่ ดจ้ นจัก อย่าง บ่ได้ห่างไปไกล บ่ไดไ้ หลหนจี าก แสนลําบากเหลอื หลาย ลูกผู้ชายจั่งได้บวชในศาสนา เจา้ กค็ ิดถงึ คุณ
บดิ ามารดาเปน็ อนั ย่งิ จดั ทุกส่ิงหามา เจ้าก็ลาพ่อแม่ ฮอดเถ้าแกว่ งศว์ าน ไดจ้ ัดการพวกพ่ีนอ้ ง ทั้งพวกพ้องมติ ร สหาย บางผอ่ งศรทั ธาหลายได้เสอื่ สาด มีทัง้ บาตรแลจวี ร ตาออนซอนท้ังผา้ พาด ได้ไตรอาจบริขาร มาในงาน บริโภค ไดท้ ้ังโตกถว้ ยและคนั ที เหล็กจานดีอันคมกล้า อันลํ้าค่าบริขารสละทานบ่อึดอยาก มีหลายหลากมารวมกัน เผ่ือ อยากเห็น พระจอมธรรมยอดแก้ว ยังบ่แล้วพระเมตไตย์ จอมพระทัยสุดยอด ทานตลอดกองบุญ เพื่อจักหนุนชูส่ง ญาติ บ้านท่งบ้านใกล้และบ้านไกล มาโดยไวบอกข่าว ญาติบอกกล่าวกองบุญ หวังเอาคุณพระเจ้า ลูกหน่อเหง้า บรรพชา หวังให้พ้นโทษาและอนุโทษ ละความโกรธและความหลง จั่งได้ลงกองบวช อุปัชฌาย์จั่งได้สวดนิสัย ตามธรรมเนียมอยู่ในโบสถ์ ให้หายโทษท่ีจองจํา ท้ังเงิน คําออกจับจ่าย เป็นหน้ีไถ่ถอนหนี บ่ให้มีจักอย่าง ของ ต่าง ๆ ตัดหนี บ่ให้มีจักส่ิง เป็นแก้วม่ิงพรหม- จรรย์ มารวมกันสุขสําราญฤาเดช ขอให้พ้นจากทุกข์เจตน์อยู่ สวสั ดี ถ้วนเจด็ จงเสดจ็ มารักษา ว่ามาเยอขวญั เอย ข้อยจักเชญิ เอาขวญั มาเฮา้ ขอ่ ย จักเต้าเอาขวัญนาคมาโฮม ว่ามาเยอขวัญเอย ขวญั เจ้าลงไปเล่นนะทีทองเมืองนาค นางสนมหนุ่ม นอ้ ยชมชอ้ นให้ตา่ วมา ว่ามาเยอขวัญเอย ขวัญเจ้าไปเที่ยวเล่นชลธารอโนดาด ขวัญเจ้าไปเที่ยว เล่นกระแสนํ้าฝุายไกล ขวัญเจ้าไปเท่ียวเล่นยมนาลอย ลอ่ ง ขวัญเจ้าไปเท่ียวห่องห้วยหาซ้อนหมู่สาว ว่ามาเยอขวัญเอย ขวัยเจ้าเคยไปค้างทางไกลเกาะแก่ง ขวัญเจ้า ไปแห่งห้องสมุทรกว้าง ข่วงนะที ขวัญเจ้าไปอยู่ลี้นําหลืบหินผา ขวัญเจ้าไปชมข่ีมัจฉาลอยเล่น ขวัญเจ้าไปวัง กว้างให้มา เด้ออย่าได้อยู่ อย่าได้ป๋าพ่อแม่ไว้ทางพ่ีเผ่ินคอง ว่ามาเยอขวัญเอย ขวัญเจ้าอย่าได้ไปเดินเล่นไพร คีรนี อกเขต ขวญั เจา้ อย่าได้เดินประเทศเที่ยงทางไกล อย่าหลงไหลไพรปุา ขวัญเจ้าอย่าได้ไปซม หมู่ลิงและค่าง เฒ่า หมนู่ กเค้าแลเสือสิงห์ ควายกระทงิ และแฮดซ้าง วา่ มาเยอขวัญเอย ให้เจ้าเข้า มาอยู่เข้ามาสู่ชายคา ให้เจ้า มาเตรียมตัวบวช ให้มาเข้าผนวชเป็นสงฆ์ ให้เจ้าลงมาอยู่ลงมาสมสู่ สังฆา ปฏิมายอดแก้ว ใจผ่องแผ้ว เหลือหลาย ยามเดือนหงายอย่าได้ล่วง ให้เจ้าห่วงครองธรรม ให้ เจ้านําครองปุู ให้มาอยู่จําศีลให้มากินข้าว บาตร มานั่งอาสน์นําสงฆ์ให้มาลงในโบสถ์ ละความโกรธ และโทษา ให้เจ้าได้เทศนาสอนสั่ง เป็นเจ้านั่งเป็น สมภาร ให้ไดเ้ ปน็ อาจารยน์ กั บวช ใหไ้ ดส้ วด ปาฏโิ มกขงั ใหเ้ จ้าฝงั ในศาสน์ ให้ฉลาดเหลือคน ว่ามาเยอขวัญเอย จัตตาโร ธัมมา วัฑฒันติ อายุวัณโณ สุขัง พะลัง ขอให้เจ้าอายุยืนยาว วรรณาขาวผิวผ่อง ผิวเจ้าคองงามงอน คนสะออนครองผ้า งามสง่าถือศีล ไผได้ยินเสียงเทศน์ ประณมเกษเกษา ให้ลือชาศาสนาของพระพุทธเจ้า ให้ นาคเจา้ มเี ดชะ ใหช้ นะฝงู มาร เป็นอาจารย์ ผู้วิเศษละกิเลสหายหนี ดั่งอินทราธิราชเจ้าภูมินทร์ ท้ังแดนดินโอย ออนนอ้ ย ทกุ ทา่ นพร้อมสาธกุ าร มาอวยพรชมชน่ื ให้เจ้ามคี วามรู้หล่ืนสมภาร ไหว้อาจารย์ทุกเมื่อ เฮืองเฮือแก้ว เงนิ คํา บูชาธรรมอย่าไดข้ าด ให้ฉลาดพระวนิ ัย ให้สดใสปานแหวน ให้ถึง แก่นคําสอน คนสะออนซมซ่ืน ให้เจ้า หล่นื มนุษยแ์ ละเทวา อย่าได้คาขัดข้อง ให้เจ้าท่องพระบาลี ให้มีหวังครองสืบสร้างธุระอ้าง 2 ประการ เฮียนกร รมฐานให้ถี่ถ้วน ครบส่ิงล้วน 8 หมื่นสี่พันพระ ธรรมขันธ์ ด้วยปัญญาเร็วพลันตรัสส่อง สมองปล่องเร็วไว ศีล สดใสบ่ประมาท มีอํานาจในศาสนา อย่าโสกาโศกเศร้า ให้เป็นสาวกของพระพุทธเจ้าสืบพระศาสนา ด้วยพระ คาถาวา่ ไชยะตุ ภะวัง ไชยยะมังคะลา ไชยยะมหามุงคลุ หนนุ กันมาเนืองแน่นให้ได้นั่งแท่นแก้วเป็นเอกสังโฆ มี ยโส เกยี รติกอ้ ง จบในห้องกมั มฏั ฐาน มอี รหันตเ์ ป็นเค้า เขา้ ส่นู ริ พาน ก็ข้าเทอญฯ สาธุ คาํ ผูกแขนนาค หิเนนะ พรมั มะจรเิ ยนะ ขัตติยัง อปุ ะปชั ชะติ มชั ฌเิ มนะ เทวัตตัง อุตตะเมนะ วิสุชฌะ ติ ฝูายเส้นนี้แม่นฝูายมุงคุล พระจอมบุญพุทธเจ้า เอามาให้ผูกแขน หลาน ให้เจ้าบวชนาน ๆ เป็นเถระเจ้า ให้ เจ้าเป็นพระผู้เฒ่าผู้ทรงคุณ คนมาหนุนทุกคํ่าเช้า ให้เจ้า ได้สอนลูกเต้าพอแสนคน ทศพลอันผ่านแผ้ว คือ พระไตรปิฎกแกว้ ให้เลอื่ นไหล นําสตั ว์ไปข้ามโลก ให้เขา้ พ้นจากโอฆะสงสาร ให้ไปถึงนิรพานทุกคน ทุกคน ก็ข้า เทอญฯ ชะยะสิทธิ ภะวันตุ เตฯ
ประเพณกี ารทาขวญั ขา้ ว เป็นประเพณที ี่เช่ือกนั วา่ มีเทพเจา้ เป็นเจา้ ของมีอาํ นาจในการดลบันดาลให้ผู้ปลกู ไดผ้ ลผลิตมากหรอื นอ้ ย คอื \"เจ้าแมโ่ พสพ\"ตามความเชื่อว่าแม่โพสพมีพระคุณจึงต้องทําขวญั เปน็ การกล่าวขอขมาต่อต้นขา้ วทุก คร้ังที่มีการเปลยี่ นแปลงเกิดขึ้นกบั ข้าว ทัง้ การเกิดเองตามธรรมชาติ และจากการท่มี นุษย์จะกระทําอะไรกต็ าม กบั ต้นขา้ ว เช่น เกี่ยวขา้ ว อีกทัง้ เพื่อเป็นการขอบคณุ และเอาใจแม่โพสพท่ีให้ความอุดมสมบรู ณแ์ ก่ผนื นา และ เพื่อขออภัยและเรยี กขวัญแม่โพสพ เปน็ สริ ิมงคลดลบนั ดาลให้มง่ั มยี ิ่งข้ึน ปกติจะทํากันในวันศุกรซ์ ่ึงถือว่าเปน็ วันขวญั ขา้ ว ประเพณีทําขวัญขา้ วของบางจังหวดั อาจ มีประเพณที ําขวัญข้าว อยู่ 2 ชว่ ง คอื ชว่ งทีข่ ้าวต้ัง ทอ้ ง และชว่ งขา้ วพร้อมเกีย่ ว โดยในแต่ละช่วงจะมี เครื่องเซน่ ไม่เหมือนกัน เคร่ืองเซน่ ของการทําขวัญ ข้าวตอนต้งั ทอ้ ง ดว้ ยความเชือ่ ทีว่ ่า แมโ่ พสพเป็น มนษุ ย์หรอื สิง่ มชี ีวติ เชน่ เดยี วกัน พอข้าวต้งั ทอ้ ง จงึ เช่ือว่าจะอยากทานอาหารเหมือนคนทอ้ ง สิ่งที่ขาด ไม่ไดใ้ นเครื่องเซน่ ช่วงดงั กลา่ วจงึ เปน็ ของ (ทีม่ า : http://www.sookjai.com/index.php?topic=153946.0) รสเปรยี้ ว อ้อย นาํ้ มะพร้าว นอกเหนือจากหมาก พลู ธงกระดาษสีตา่ งๆ ผา้ แดง ผา้ ขาว ใส่ลงในชะลอมเล็ก ๆ มเี ส้นดา้ ยสีแดงและ สีขาวเพือ่ ผูกเคร่ืองเซ่นเขา้ กบั ต้นข้าว ดอกไม้ และด้วยความเช่อื ว่าแม่โพสพเปน็ ผ้หู ญงิ จึงตอ้ งมนี ํ้าอบ น้าํ หอม ด้วย โดยคนท่ที าํ พิธมี ักจะเป็นผู้หญิงเจา้ ของที่นา แตพ่ ธิ ีนี้ให้โอกาสผู้ชายทาํ ได้แตไ่ ม่นิยม
หลังจากมัดโยงเคร่ืองเซ่นกับต้นข้าวด้วยด้ายสีแดงและขาวเข้าด้วยกันแล้ว ผู้ทําพิธีจะพรมน้ําหอมแปูงรํ่าต้น ข้าว จากนั้นจึงจุดธูปปักลงบนท่ีนาพร้อมกล่าวคําขอขมาต่าง ๆ แล้วแต่ท่ีจะนึกได้ ส่วนมากก็จะเป็นการบอก กล่าวถงึ สงิ่ ทีก่ ําลังจะทํา เช่น ขอให้มรี วงขา้ วสวย มีข้าวเยอะ ๆ ให้ผลผลติ สูง ๆ เมอ่ื พูดทุกอยา่ งท่ีอยากพูดจบก็ ต้องกู่รอ้ งให้แมโ่ พสพรับทราบเจตนาดัง ๆ เม่ือข้าวเร่ิมต้ังท้องชาวนาจะเอาไม้ไผ่มาสานชะลอมแล้วนําเคร่ืองแต่งตัวของหญิง เช่นแปูง น้ํามันใส่ ผม นํ้าอบไทย หวี กระจกใส่ในชะลอม พร้อมด้วยขนมหวานสักสองสามอย่าง ส้มเขียวหวาน ส้มโอแกะ กลีบ ปักเสาไม้ไผ่แล้วเอาชะลอมแขวนไว้ในนา เพื่อให้แม่พระโพสพแต่งตัวและเสวยส่ิงของนั้น จะได้ออกรวง ไดผ้ ลดเี ขาเรียกวา่ เฉลว หลังจากพิธที าํ ขวญั ข้าวในช่วงข้าวพร้อมเก่ียว ก็ทําการเก็บเกี่ยวข้าวได้เลย หลังจากน้ันก็เตรียมตัวทํา พิธี รบั ขวญั แมโ่ พสพ ในวนั ขึน้ 9 คํา่ เดอื น 6 ของทกุ ปตี อ่ ไป แม้ว่าการทํานาปัจจุบันจะทําได้ถึงปีละ 3 ครั้งแต่ ประเพณยี งั คงตอ้ งทาํ ตามการปลกู ขา้ วตามฤดูกาลในอดตี เทา่ น้ัน การทําขวัญข้าว ผู้ชายสามารถทําขวัญข้าวได้ แตร่ บั ขวญั ขา้ วไม่ไดเ้ ด็ดขาด ช่วงเวลา กลางเดอื น 10 ประมาณเดือนตลุ าคม - พฤศจิกายน ของทุกปี ลกั ษณะความเช่ือ เช่ือว่าถา้ ได้ทาํ ขวญั ขา้ ว และถ้าพระแมโ่ พสพได้รับเคร่ืองสังเวยแล้ว ไม่ทําให้เมล็ดข้าวล้ม หนอน สัตว์ ต่าง ๆ มากลํา้ กราย ได้ผลผลติ อดุ มสมบรู ณ์ ตลอดจนถวายแก่พระสงฆ์เมื่อข้าวนาสุกดีแล้ว เม่ือนวดข้าวเสร็จก็ จะกําหนดวันพฤหัสบดีหรือวันศุกร์นําข้าวขึ้นยุ้ง ชาวบ้านก็จะมาร่วมทําขวัญข้าว ร้องเพลงทําขวัญแม่โพสพ ความสําคญั การทําขวัญข้าวนั้นเป็นการสร้างขวัญและกําลังใจให้กับชาวนาให้รู้ว่า การทํานาปลูกข้าวของตนน้ัน จะไม่สูญเปล่า เพราะพระแม่โพสพเป็นผู้ดูแล และเม่ือมีการเก่ียวข้าวก็จะมาช่วยกันเกี่ยวข้าว เป็นการสร้าง ความสมัครสมานสามัคคี และที่สุดคือการร่วมสนุกสนานเม่ือทุกคนเหน่ือยยาก และประสบความสําเร็จด้วยดี เคร่อื งสงั เวย ให้นําเครื่องสังเวยไปบูชาแม่โพสพในแต่ละคร้ัง 1. ชว่ งข้าวในนากาํ ลังต้ังท้อง กล้วย อ้อย ถ่ัว งา ส้ม อย่างละ 1 คาํ ใส่ตะกร้าสาน หมาก พลู จีบ 1 คํา 2. เมื่อเกี่ยวข้าวและนําข้ึนยุ้งข้าวหมาก พลูจีบ 1 คํา บุหรี่ 1 มวนข้าวที่เกี่ยวแล้ว 1 กําผ้า แดง ผา้ ขาว ขนาด 1 คืบ อยา่ งละ 1 ผืน สู่ขวัญเดก็ นอ้ ย เป็นการรับขวัญเด็กเกิดใหม่ เพื่อให้เป็นคนดี (ทีม่ า : https://www.isangate.com/new/33-art- มีสุขภาพพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรง มีคนนับหน้าถือ ตาเม่ือเติบใหญ่ ได้เป็นเจ้าคนนายคน มั่งมีเป็นมหา culture/sukwan/362-sukwan-12.html) เศรษฐี มีบรวิ ารคับคั่ง เด็กๆ มักจะเจ็บไข้ได้ปุวยบ่อยๆ ถ้าพ่อแม่เอาใจใส่ในการอยู่กิน หลับนอน โรคภัยไข้เจ็บก็ไม่ เบียดเบียน เด็กก็เหมือนผู้ใหญ่ที่ต้องการให้คนอ่ืนเอาอกเอาใจ เวลาลูกเจ็บปุวยพ่อแม่ก็จะทําการสู่ขวัญให้ และให้ศีลให้พรแก่ลกู ลกู กม็ คี วามดใี จ มีกําลังใจ มีความสุข ดังคํา สู่ขวัญว่าศรี ศรี มื้อน้ีแม่นมื้อดี ม้ือดิถีกุมาร
มาเกิด แสนประเสริฐมาคูณเฮือน นับสิบเดือนทศ มาส เจ้าหาญอาจอยู่ในครรภ์ ด่ังดวงจันทร์มาเกิด ลูก ประเสริฐมาดอมเพลา เบ่ิงเลาคิงอยู่ส้อยล้อย ส้อยล้อย เจ้าอ่อนน้อยมาแต่แถน มาแต่แมนเมืองฟูา พระหน่อ หลา้ จอมไตร ภูวนยั ตกแตง่ มาแต่ แห่งดุสติ จุตมิ าถือดาวฤกษ์ ลูกมาถึกยามราชา จุติมามนุษย์โลก นับเปูนโชค ของบิดาและมารดา มาห่วมชายคาปุูย่า มาเป็นคา่ ไพฑรู ย์ มาอย่คู ณุ ค่าเลิศ เจ้ามาเกิดคนออนซอน เจ้างามงอน องอาจ ดูประหลาดดั่งทองคํา ผมดําดีผุดผ่อง คิ้วกะก่องคันธนู ไผมาดูว่างามเลิศ ว่าเจ้าเกิดจากดาวใส มาแต่ ไกลวิมานเมฆ เจา้ เป็นเอกในโลกา กษณ์ บุญเจ้าชกั นําพา จั่งลงมาเอากาํ เนดิ จ่ังมาเกิดในเมืองคน สัปทน กันกั้ง ให้เจ้าน่ังเป็นพระยา ให้ เจ้าเปน็ ราชาครองราช ให้เจ้าได้ปราสาทสามหลัง อยู่ในวังเจ็ดชั้น มี ผู้ป้ันแต่งนํามา คนไหลมาโฮมห่อ เป็นต้น หน่อพระบรม มีคนชมพอหม่ืน ให้ล้นหล่ืนคนทั้งหลาย ทั้ง หญิงชายนบนอบ อันประกอบศฤงคาร บริวารพอ โกฏิ อย่ามีโทษมาพาล บรวิ ารขวาซ้าย ยามเจ้า ยา้ ยไปมา มรี ถราฮองน่ัง มีคนหลั่งไหลโฮม มีคนชมแหนแห่ ให้ พอแม่ยินดี มีฤทธีดังพระอุปราช ฤทธีอาจด่ังนารายณ์ ไปทางใด๋คนอ่อนน้อม ให้มีพร้อมด่ังพระอิศวร บรบวร คับค่งั ใหไ้ ดน้ งั่ วิมาน ทอง มแี นวฮองเปน็ แทน่ ปัญญาแหลน่ ดั่งศรีธนญชยั ปัญญาไวด่ังเสียวสวาสด์ิ ให้ฉลาดดั่ง เวสสันดร พระภูธรคนมากราบ ให้เขาฮาบปานหนา้ กลองชยั เวลาไปเสดจ็ ดว่ น ให้เจ้าหมว่ นใน พระทยั คึดอันใด๋ให้เจ้าได้สมดั่งใจหมาย มีทรัพย์สินเหลือหลายล้นหลาก อย่าให้ อึดให้อยาก เงินทอง ไหลเนืองนองแน่น อั่ง คําไหลหล่ังดุจนะที มีนารีมานั่งเฝูา ยามเจ้าเว้าคนเกรงขาม มีกาย งามดั่ง เทพเจ้า มีคนเฝูาล้อมแห่แหนหาม มีคน ตามพอโกฏ์ิ อย่ามีโทษอัญหาญ อย่ามี พาลอันกล้า มีข้อยข้าพอกือ มีคนถือของ ส่ง ว่ามาเยอขวัญเอย ขวัญเจ้าอย่าได้ไป เนาค้างสวรรค์ทองปราสาท ขวัญเจ้า อยา่ ไดป้ ระมาทเลน่ นําเคา้ เก่าหลงั (ที่มา : https://www.isangate.com/new/33-art-culture/sukwan/362-sukwan-12.html) ว่ามาเยอขวัญเอย ขวัญเจ้า อย่าได้ไปอยู่ยั้งนําแม่เก่าเจ้าเด้อ ขวัญอย่าได้ไปนอนเผลอนํา พ่อเก่า ว่ามาเยอขวัญเอย ขวัญเจ้ามาฮีฮัก -ฮีฮัก จ่งมาพักกินนมหวาน แม่เจ้าเอาท้องมานต้ังเก้า แม่เจ้าเฝูาเกือบพอปี แม่เจ้ามีนํ้านมให้ดื่ม แม่เจ้าตื่มแพรลาย แมเ่ จา้ ยายผา้ ออ้ ม แม่เจา้ ปอู มแพร ไหม แม่เจ้าหาอู่ให้เจ้าอยู่นอนเว็น ว่ามาเยอขวัญเอย ขวัญเจ้าไปวังนํ้ากินรี ลงอาบ ขวัญเจ้าไปเท่ียว เล่นเห็นกล้วยหน่วยใส ขวัญเจ้าไปทางพุ้นหิมะวันปุาใหญ่ มีผลาหมากไม้สุกพร้อมสู่ แนว แงวหวาน จ้อยบักไฟม้ีหม่วง ให้เจ้าละอย่าหว่งเล่น มาถ่อนแม่สินอนว่ามาเยอขวัญเอย ขวัญเจ้าอย่าได้ ด่วนไปไกล ขวัยเจ้าอย่าได้ไปบ่ต่าว มากินกล้วยหน่วย ยาว มากินป้ิงปลาขาวแม่สิปูอน แดดสิฮ้อนมาอยู่เฮือน เฮา ว่ามาเยอขวัญเอย มาอยู่อู่สายไหม อย่า ไปไกลแม่สิกล่อม มากินอ่อมปลามัน มากินจันนํ้าแอ่ง แม่ตกแต่ง เต็มพา แม่หามาไว้ลอมหล่อ-ลอม หลอ่ มาอย่กู ับพ่อเจ้าเดอ้ อยา่ ไปเผลอมัวแหลน่ ซูนไม้แก่นขาเจ้าสิแพลง ซูน ไม้แข็งขาเจ้าสโิ ค่น ว่ามาเยอขวัญเอย พอ่ เจ้าบ่นนําหา พ่อไปนาสิเอาปลามาปูอน แดดฮ้อน ๆ พ่อสิพาเซา ว่ามาเยอขวัญ เอย พอ่ แห่งจ่มนําหลาย ผ้าแพรลายผนื ใหม่ ผา้ หม่ ใหญพ่ อ่ เอามาหม่ กาย ยามหนาว มาพอ่ กอด ฮ้องจอก ๆ นก แจนแวน เอาสองแขนโอบกอด ว่ามาเยอขวญั เอย ขวัญเจ้าไปทางกํ้า แดนไกลประเทศตา่ ง ขวัญเจ้าย่างอ่อมอ๋อ อยา่ งออ่ มอ้อยขวญั นอ้ ยให้ตา่ วมา
ว่ามาเยอขวัญเอย ขวญั เจา้ อย่าไปหลงดงใหญ่ เหน็ นกไส่สบั โกน อย่าไปโตนตามตาด ย่านเจ้าพลาดขา แขน อย่าไปแหงนจอบส่อง อย่าไปก่องสาขา ไม้ดีดตาเจ็บปวด ใหญ่พอบวช พ่อสิให้บวช ให้ท่องสวดคําภีร์ เฮียนบาลีคํ่าเช้า ครองพระเจ้าศีลทาน อย่าอยู่นานให้เจ้าต่าว ว่ามาเยอขวัญเอย ขวัญเจ้าไปทางกํ้า สาวัตถี เมืองใหญ่ ขวญั เจ้าไปอยูก่ าํ้ ในถาํ้ เถอื่ นดง ขวญั เจ้า หลงไปพุ้นภูซูนไซ่ง่อน ขวัญเจ้าไปอยู่ซ้อนชาวแม้วกะเหร่ียง ดอย ขวัญเจ้าไปคอยถ่าสาวกุลาพาย หย่าม ขวัญเจ้าไปย่านนํ้าทะเลกว้างอ่าวไทย เจ้าอย่าได้หลงอยู่ทะเลวน ว่ามาเยอขวัญเอย มาอยู่ห่มเฮือนเฮา มาอยู่เพลาพ่อแม่ พวกเฒ่าแก่ปุูย่าตายาย คนมา หลายเหลือ หลาก มขี องมากกมุ าร มขี องหวานตกแต่ง ของทุกแห่งเอามา มีผลาหมากไม้ เอามาใส่ พาพาน เป็นของหวาน หมากม่วง เจ้าอย่าห่วงของเข้า ให้มากินของเฮาแม่ตกแต่ง แก้มแปุงแส่ง อย่าได้กลัว พ่อบ่ต๋ัวคอยถ่า ท้ังแม่ปูา และพ่อลงุ ว่ามาเยอขวัญเอย ขวัญเจ้าอย่าได้หลงทางไกล ขวัญเจ้าอย่าได้ไปทางอื่น ขวัญเจ้าอย่าได้ต่ืนเสียงโฮ เสียงคนโสคดึ ฮอดเจ้า น่งั เคา้ เมา้ ปุเู ฮามา พอปานตาฮักหอ่ ลกู ของพ่อใหฟ้ ูาวมา มาเยอขวัญเอย ขวัญแข่งให้เจ้าอย่างลีลา-ลีลา ขวัญขาให้เจ้าอย่างลีล้าย-ลีล้าย ให้ เจ้าย้ายเข้ามากิน นม ให้แม่พ่อนอนชมหอมแก้มฟอด-ฟอด ให้พ่อแม่ได้กอดเย็นเช้าเอาขวัญ ว่า มาเยอขวัญเอย มาอาบนํ้าโอ่ง หิน มากินนํ้าแอ่งใหญ่ แปูงแม่ใส่ทาโต งามพาโลผิวอ่อน ๆ เอานอน บ่อนแพรลาย เอานอนหงายโกนสอด ๆ พ่อแม่กอดไล่แมงวัน กะแจะจันทน์ตกแต่ง แก้มแปุงแส่ง แพงปานตา ยุงบินมาบ่ได้พ่อสิไล่ให้มันหนี ว่ามาเยอ ขวญั เอย มาฮอดแล้วให้เจ้าอยู่สวัสดี จงสุขี ตราบต่อเท่าอายุเจ้าได้ฮ้อยพระวัสสา ก็ข้าฯ เทอญ อายุ วัณโณ สุ ขงั พะลงั สาธุ ผูกแขน ศรี ศรี ฝูายเส้นน้ีแม่นฝูายหมอเฒ่า องค์พระพุทธเจ้าปุอนประทานมา มี ฤทธาปราบแพ้ซว งพ่อแม่กะใหห้ นี ฝูงพลายผีกะให้พา่ ย กูสไิ ลใ่ หส้ หู นี อย่าได้มาราวหี ลานนอ้ ย กจู กั ปราบให้สูหนีไปจ้อยด้วยพระ คาถาวา่ สพั พะพทุ ธานภุ าเวนะ สพั พะธัมมานุภาเวนะ สัพพะ สังฆานภุ าเวนะ สัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะ โรคา วินาสสันตุ อายุ วัณโณ สุขัง พะลัง สาธุ \"ศรี ศรี มื้อน้ีแม่นมื้อดี ม้ือขับหนีเคราะห์อันฮ้าย มื้อ หยับย้ายเวรกรรม ม้ือหน่อธรรม เผ่ินผาบแพ้ ม้ือเผิ่นแก้เสนียดจัญไร มื้อน้ีแม่นม้ือพระมาลัยมาโปรด ม้ือละ โกรธละความหลง มือ้ พระลงไปทางหลุ่ม ชว่ ยใหช้ มุ่ ท้ังซมุ แซง พระฤทธีแฮงแก่กล้า ไปเบ่ิงหน้าพระยามาร อด สงสารบไ่ ด้ พระจงึ ใชพ้ ระคาถา วา่ อมพระเพลิง อมพระพาย อมพระนารายณ์ผู้มีเดช พระยาเวสสุวรรณ มาร่วมกันพอหมู่ ให้มาอยู่ซูซม พระบรมโลกธาตุ มีง้าวอาจบังตนกู ฆ่าผีฆ่าพลายคอขาด ฆ่ามารโตฉลาดตายจุ่ม ตายกอง แขนท้ังสองให้คงท่ี อย่าได้หนจี ากท่ีจงคืนมา พระราชาจอมราชผู้องอาจเทวัญ มารวมกนั เสกเปาุ ใหโ้ รคเกา่ หายหนี ให้เจ้าดีคือเก่า ให้เจ้าต่าวแข็งแรง จงมีแฮงมาเถิด บุญเจ้าเกิดคืนมา ทางหยูกยาก็ให้ถืก จ่ังหาฤกษ์มาเวียน ปุวยปีเดือนให้ หายขาด ทางพยาธ์ิให้หายหนี สองพันปีอย่า มาผ่า ให้คนว่าเจ้าแข็งแรง เจ้ามีแฮงด่ังพระยาช้าง ให้เจ้าย่างไป ไกล มาไว ๆ คลอ่ งแคล่ว เบด๊ิ เข็ญ แล้วเคราะห์หนีหาย อันตรายอย่ามาอยู่ในกาย จงหายสามื้อนว้ี ันน้ี ให้มา ขวญั ไปนากะใหต้ ่าว ขวญั อยอู่ า่ วนะทที อง ขวญั ไปปองเป็นเจ้า หลงไปเว้าอยู่ในคอ ลมวอยๆ ให้ เจ้าต่าว อย่าโอ้อ่าวนําเขา ขวัญอยู่เลาปุาอ้อ ขวัญไปพ้อไหเงินไห คํา ขวัญไปนําไก่ต่อ ขวัญไปหล่อเงินฮาง ขวัญไปทางเมืองหม้ัน ขวัญเจา้ ไปอยชู่ ้ันปราสาทดอมผี กะให้มาสาม้ือนี้วันนี้ ว่ามาเยอขวัญเอย ขวัญคิ้วก็ให้มา ขวัญสองตาใสส่อง ขวัญแอกยน่องตีนขา กะให้มาม้ือน้ีวันนี้ ว่ามาเยอขวัญเอย ขวัญหูอยู่กับหู ขวัญบุญชูอย่า หนีหง่าย อยา่ ปีนปาุ ยสองขา เดิน อย่ามวั เพลินอยู่นาํ ปุา ว่ามาเยอขวัญเอย ขวัญค้ิวและขวัญผม ขวัญนมและแขนศอก อย่าได้ออกหนีไกล ว่ามา เยอขวัญเอย อย่าไปใส ขวญั หลังและขวัญไหล่ ให้ได้นุ่งผ้าใหม่ขวัญแอว เอาซุมแซวฮีบกลับต่าว ว่ามาเยอขวัญเอย ขวัญเจ้า อย่าไปไกลให้เขาว่า ขวัญอยู่บ่าแบกไหคํา ขวัญปานดําแบกไหเหล้า ตื่นฮุ่งเช้าขวัญมาหา ว่ามาเยอขวัญเอย
ขวัญเจ้าหลงไปกํ้านําหวางเมยม่ัง ขวัญเจ้าไปนั่งเล่นชม พั่วดอกกระยอม ขวัญเจ้าไปซอมซู้หวังมาซูอยู่เช้าคํ่า ขวัญเจ้านําหมู่ช้างสารฮ้ายอยู่ดง ขวัญเจ้า ลงไปเล่นน้ําเขาพวกกะเหรี่ยง ขวัญเจ้าไปอยู่เบื้องเมืองแม้วหมู่แกว ขวัญเจ้าไปแถวพุน้ เมืองภูซุน ไซง่อน ขวัญเจ้าไปเลาทา้ งทางพนุ้ อย่าแหว่ ขวัญเจ้าไปทางพุ้นหนองกระแสร์แสน ย่าน แม่น้ํานา่ น บ่อนสุทโธนาคน้ําเปน็ เจ้าอยา่ ไป ขวญั เจา้ หลงไปถํ้าหนองหาญนางไอ่ บ่อนผาแดงไล่ฆ่าตีม้าผ่า ฟนั ว่ามาเยอขวัญเอย ขวัญเจ้าไปพายฆ้องจูมคํามะละแม่ง ขวัญเจ้าแยงส่องเล่นเห็นแก้ว หน่วยใส เจ้า อย่าได้ซมอยู่นานดน คือสีทนหลงทางขาดเขินผืนผ้า ป๋าโตไว้มะโนราหนีจาก แสน ลําบากปุวยไข้ไพรพุ้นด่าน เขา ขวัญหน่อเจา้ ใหผ้ ันเผ่นเวนคนื วา่ มาเยอขวัญเอย ชวัญเจ้ากลับมา แล้วให้มาอยู่ซุมแซง เซามีแฮงเหง่ือไคล ไหลย้อย ว่ามาเยอขวัญเอย ขวัญสองข้างขาแขนเคยย่าง บาดนี้โรคห่างฮ้ายหนีพ่ายให้ต่าวมา ว่ามาเยอขวัญ เอย ขวัญเจ้าอย่าได้มัวเมาเล่นนําเขาคนละเผ่า ขวัญของข่อยและเจ้าเฮานั้นต่างเขา อย่าไปเว้านําหมู่ผีพาย อยา่ ไปผายนําผีตาแฮก ผีเหลียวไม้ สแิ ดกตาผี ไม้ฤาษฤี ทธ์แิ กก่ ล้า วา่ มาเยอขวญั เอย เจา้ อย่าลงเปน็ หาด เจา้ อยา่ ไดข้ าดเขนิ วงั ให้มาอยู่เฮือนหลังใหญ่ มาเล้ียงไก่บักแดง บักลาย มากินงายนําพ่อนําแม่ นําเฒ่าแก่ปูุย่าลุงตา มาเฮ็ดนาเอาเข้าใส่เล้า มา นั่งเว้านําหมู่นํากอง มาหาเงิน หาทองขายปลาขายข้าว ว่ามาเยอขวัญเอย ขวัญเจ้าอย่าไปไกลลง ไทยไปล่าง ขวัญเจ้าย่างนําคนอย่าไปดน ให้ต่าว ได้ยินข่าวให้มาเฮือน ปุวยปีเดือนกะหายขาด โตพยาธิ์จัญไร เผ่ินเอาไปสับปาด โตพยาธ์ิพาเป็นทั้ง เคราะห์เข็ญมาหาเผิ่นไล่ เอาไปใส่ไฟสุม เอา ไปคุมฝังแน่น บัดนี้แหล่นทินลิน ทินลิน พระยาอินทร์เทิงฟูา สั่ง ให้วา่ หายโรคา เปน็ พระยานาหม่นื สขุ ล้นลน่ื มแี ฮง โตแขง็ แรงหายขาด เมด๊ิ พยาธ์ใิ นโต ว่ามาเยอขวญั เอย ขวัญปากกะให้มาอยู่ปาก ขวัญหน้าผากและฮูดัง อย่าไปหยังขวัญ อยู่ท่ง อย่าได้จ่ง มานํากัน ขวญั ฟนั กะมาอยฟู่ ัน อยา่ ไปหล่นื ขวญั ลน้ิ กะให้มาอยูล่ ้ินลลี าน อย่าอยู่ นานหายปุวย ให้เจ้าอ่วยมาไว ๆ อย่าไปไกลหลายโยชน์ อยา่ มีโทษมาหา ขวัญตาและขวัญควิ้ กะให้มาอยู่คิ้วสองทาง ขวัญคางกะให้มาอยู่คาง สามือ้ นว้ี ันน้ี ว่ามาเยอขวญั เอย ขวัญส่วงน้อย หง่อนต่อคอเอ็นกะให้มาสามื้อน้ีวันนี้ ขวัญเลือดและขวัญลม กะ ให้มาสามอ้ื น้วี ันนี้ ขวัญท้องน้อย และสายบือ ขวัญน้ิวมือแหวนสุบใส่ แหวนวงใหม่ใสเมียง ๆ เอามาเฮียงมะณี โชติ งามเหลือโพด ธํามะรงค์ งามสมทรงเจ้าตกแต่ง แก้มแปุงแส่งขวัญมาเยอ ขวัญหัวใจและตับปอด จงมา กอดใน กายา ขวัญจงมาหายพยาธ์ิ อยา่ ได้คลาดไปไกล อยา่ ได้ลยั เหนิ ห่าง มาอยหู่ ว่างในทรวง ว่ามาเยอขวัญเอย มาฮอดแล้วให้เจ้าอยู่แสนสบาย หายโพยภัยทุกข์โสก วิปโยคทุกข์ หนักหนา เจ้า เป็นมาหายขาดแคล้ว ใสดั่งแก้วไพฑูรย์ เป็นมุงคุลม้ือน้ี ไม้เท้าซ้ีพยาธิ์หาย พยาธ์ิตาย เอาปลายแหย่ อยู่นําพ่อ แม่อย่าได้หนี สามพันปีให้เจ้าหม่ันปานสุเมรุราช ให้เจ้าอาชญ์ดั่งเอราวัณ ดั่งพระจันทร์นวลผ่อง ให้เจ้าค่องคือ หลัง ให้เจ้ายังคือเก่า ให้สมเผ่างามงอน คนออนซอนผุดผ่อง คิงเจ้าค่องหายโรคา แนวมันมาทําภายในและ ภายนอก ว่ามาเยอขวัญเอย ให้มาอยู่กับเน้ือกับคีง ในมื้อนี้วันนี้ อุ อะ มุมะ มูลมา ทีมายุโก โหตุ สัพพะทา อะเนกา อันตะรายาปิ วนิ ัสสนั ตุ สาธฯุ (ทมี่ า : https://www.isangate.com/new/33-art-culture/sukwan/362-sukwan-12.html)
คาผูกแขนคนปวุ ย อมพระพุทโธ พระพุทธัง ลมพัดต้องใบไม้หน่วงหนาวมาแล้ว ตกเม่ือยามเดือนหก ฝนตก ลงจ้น ๆ ขวัญเจ้าสิไปอยู่ซ้นหลังคาเฮือนไม้ปูองหล่อ ไผเดนอสิมาปั้นถ้าให้ปลาป้ิงปุอนใส่มือ พอมา ฮอดเดือนห้า เมษายนต้นปีใหม่ ฝนตกฮําปุาไม้ ขวัญหลา้ ให้ต่าวมา ขวัญแขง่ ใหม้ าอยู่แข่งลีลา ขวัญขาให้มาอยู่ขาลีล้อย ขวัญ ท้องน้อยและฮาวนม ขวัญคอกลมและคิ้วก่อง ขวัญส้นหน่องและ ฮาวแขน ขวัญเหมิดโตนวลละใหม่ ให้มาอยู่ ในเนอ้ื และฮาวคงี สาม้อื นี้วนั น้ี ฝนตกเจา้ อย่าด่วนไป หนา้ ฟูาฮอ้ งเจ้าอย่าด่วนไปไกล ให้เจ้ากลับมาสาม้ือน้ีวันนี้ เด๋ียวน้ี มาฮอดแล้วกจู กั ใสก่ ระแจขวัญ นะผกู โมมดั พทุ ยัด ธาอดุ ยะปดี สัพพะทกุ ขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา วินาสสันตุ สาธุ พธิ ที าบุญขน้ึ บา้ นใหม่ เปน็ ประเพณีเก่าแก่พิธหี นึง่ ที่ชาวบ้านแต่ละท้องถิ่นได้ถือปฎิบัติสืบทอดกันมา ตั้งแต่โบราณกาล แตล่ ะทอ้ งถ่นิ อาจจะมคี วามแตกตา่ งกันบ้าง ในรายละเอียดปลีกย่อย แต่หลักใหญ่ ๆ แล้วจะ ไม่แตกต่าง เม่ือวนั ท่ี 1 มกราคม 2552 ผ้เู ขียนไดม้ ีโอกาสไปร่วมงานขึ้นบ้านใหม่ของญาติผู้ใหญ่ฝุายภรรยา ตั้งอยู่ หมุ่ที่ 14 บ้านดอนแรด ตําบลดอนแรด อําเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ ซึ่งพิธีจะมีแตกต่างจากที่เคยเห็นมาบ้าง น่าจะนํามาเผยแพร่ เพื่อเป็นการอนุรักษ์และสืบทอดวัฒนธรรมอันดีงามน้ีไว้ ให้คงอยู่กับชาวอีสานใต้ของเรา สืบไป พธิ ีทาํ บญุ ขน้ึ บ้านใหม่ เป็นพธิ ที ําบญุ งานมงคลอย่างหนึ่ง เพราะเปน็ การปรารภเหตุดี เพ่ือเป็นสิริมงคล แก่เจา้ ของบา้ นและลูกหลานท่จี ะไดเ้ ข้าพกั อาศยั มคี วามอย่เู ย็นเป็นสขุ เจริญกา้ วหน้าในการประกอบอาชีพ ซ่ึง ก่อนจะทาํ บุญเจา้ ภาพจะต้องหาฤกษย์ าม เพอ่ื ใหร้ ู้ว่าวันใดเหมาะท่ีจะทําพิธี เมื่อได้วันแล้วก็จะนิมนต์พระ เชิญ แขก และพอ่ พราหมณ์ทีจ่ ะมาทาํ พิธี อกี ทั้งเตรยี มสิ่งของเครอ่ื งใช้ ในวันงานดังกล่าง เม่ือถึงเวลา พ่อพราหมณ์ ใส่ชุดสีขาว สภายย่าม ถือไม้เท้าและก้ังร่ม นําขบวน เจ้าของบ้าน ลูก หลาน และแขกแห่รอบบ้านทักษิณาวัฎ ตามขบวนด้วยหาบเงิน หาบทอง เจ้าบ้านเชิญ พระพุทธรูปประจําบ้านนําหน้า บางคนถือเส่ือ หมอน และผลหมากรากไม้ ตามขบวนด้วยความสะนุกสนาน ตามดว้ ยเสียงโหร่ ้องกนั เป็นระยะ ๆ เม่ือครบ 3 รอบแล้ว เม่ือมาถึงประตูเข้าบ้าน พ่อพรามหณ์จะเดินเข้าประตูบ้าน ญาติผู้ใหญ่เจ้าของ บา้ นมายืนขวางประตไู มใ่ หเ้ ข้า ทาํ พิธสี อบถามกนั กอ่ น ตามประเพณี ซงึ่ ในวนั นน้ั ได้มีการตัง้ คําถามดังนี้ คาํ ถาม : พวกนี้หามกระดอน คอนกะต่า ขนสง่ิ ขนของมาแต่ใส น่อ ? คาํ ถาม : ข่า ทาส หญงิ ชายได้มาบน่ ่อ ? คําถาม : ชา้ งม้า วัว ควาย ได้มาบ่นอ ? คําถาม : ของอยู่ ของกินเปน็ เนื้อเสก็ เอ็กลายได้มาบ่นอ ? คําถาม : แหลูกทอง มองลูกก่ัว ได้มาบ่อนอ ค่ันสิมาคํ้า มาคูณให้ลูกหลาน อยู่ดีมีแฮง ก็เชิญข้ึนมาถ่อ คําถาม : ค่ันสิมาค้ํามาคูณ ให้อยู่ดีมีแฮง ความเจ็บบ่อให้ได้ ความไข้บ่ให้มี เพิ่นได้หยังมาแนนอ ? หลังจากเขา้ มาในบริเวณบ้านแล้ว พ่อพราหมณ์ก็จะทําพิธีบรวงสรวงเทวดา -แม่ธรณี ด้วยอาหารคาว 9 อยา่ ง อาหารหวาน 9 อยา่ ง และผลไม้ 9 อยา่ ง
(ทีม่ า : https://www.gotoknow.org/posts/234645) อาหารคาว 9 อยา่ ง ได้แก่ น่ึงปลาชอ่ น-ปลานลิ ,หมูย่าง,แกงเผ็ดไกห่ รือหมู,ลาบ,ไขพ่ ะโล,้ ขาหมพู ะโล้ ,หมกปลา,แกงปลา และไก่ย่าง อาหารหวาน 9 อยา่ ง ได้แก่ ลอดชอ่ ง,ขนมชั้นหรอื ตะโก้,ทองหยอด,ขนมปงั ,แซนวิส,กลว้ ยแขก,กลว้ ย บวชช,ี ขนมหม้อแกง และขนมปงั ชนิดอื่น ๆ ผลไม้ 9 อย่าง ไดแ้ ก่ มะพร้าวออ่ น,กลว้ ยน้ําหวา้ 1 หวี,ขนนุ ,ฝรงั่ ,ส้มเขียวหวาน,ละมดุ ,มะขาม,ลาํ ใย และชมพู่ เสร็จพธิ ีทางพราหมณแ์ ล้ว ก็จะทาํ พธิ ีทางพระพทุ ธศาสนา เมื่อพระสงฆเ์ ข้ามาในบ้านแลว้ เจ้าภาพ หรือญาติกจ็ ะกราบพระ ประเคนบาตรทําน้ํามนต์ นํา้ ดืม่ และเครื่องดืม่ ต่าง ๆ พิธีกรก็จะเชญิ เจ้าภาพจดุ ธปู เทยี น กลา่ วคาํ บชู าพระรัตนตรยั อาราธนาศีล หลังจากรบั ศลี แล้ว พิธกี รจะกล่าวคาํ อาราธนาพระปริตร เสรจ็ แล้วพระสงฆ์ก็จะเจรญิ พระพุทธมนต์ เม่อื พระสงฆเ์ จรญิ พระพุทธมนต์เสรจ็ แล้ว เจ้าภาพกเ็ ตรียมอาหาร คาวหวานมาพรอ้ ม แล้วกลา่ วคาํ ถวายภตั ตาหาร หลังจากพระฉนั ภตั ตาหารเสร็จเจ้าภาพก็เตรยี มจตปุ จั จัยไทยทานและถวายพระสงฆ์ ๆ จะ กลา่ วคําอนุโมทนา ประพรหมนํา้ มนต์ เจมิ บ้าน และรดนํา้ มนต์ตามเสา และมุมบ้าน เพื่อเป็นสริ มิ งคลแล้ว กราบลาพระเปน็ เสรจ็ พธิ ี (ทมี่ า : https://www.gotoknow.org/posts/234645)
หลังจากพระสงฆ์เดินทางกลับแล้ว ก็จะทําพิธีสู่ขวัญเจ้าของบ้านและลูกหลาน โดยจะมีพานบายศรี ข้าวตอกดอกไม้ และด้ายมงคล โดยพ่อพรามหณ์จะร่ายคาถาเป็นภาษาลาว อันเป็นการเชื้อเชิญสิ่งศักด์ิสิทธ์ิ ทั้งหลาย มาคุ้มครองปกปักรักษาบ้านเรือน และเจ้าของบ้านให้อยู่เย็นเป็นสุข พอเสร็จพิธีแล้ว พ่อพราหมณ์ก็ จะนําผูกขอ้ มือเจ้าภาพ และลูกหลาน พร้อมทัง้ อวยพร และช่วยงานไปพร้อมกัน และตามด้วยแขกและญาติ ก็ จะทะยอยมาผูกแขนอวยพรกันจนครบทุกคน สําหรับสิ่งของท่ีแขกจะนํามาร่วมงาน นอกจากเงินแล้วก็จะมีหมอน เสื่อ ฟูก และสิ่งของมีค่าอ่ืน ๆ เพอ่ื มอบให้กบั เจ้าภาพ ไว้ใช้ประจําบ้าน สว่ นสิง่ ของทีเ่ จ้าภาพนาํ มาข้ึนบ้านใหม่ในพิธีเพื่อเป็นสิริมงคลได้แก่ตุ่ม ใสน่ ้าํ ใหเ้ ต็ม หมอน เสอ่ื ข้าวสาร ข้าวเปลอื ก อ้อย กล้วย และไมม้ งคลตา่ ง ๆ การนิมนต์พระในพิธีทําบุญขึ้นบ้านใหม่ นิยมนิมนต์พระ 5 รูป 7 รูป หรือ 9 รูป ส่วนมากจะนิยม 9 รูป เพราะถือว่าเป็นเลขมงคลพิธีทําบุญขึ้นบ้านใหม่ เป็นประเพณีที่สําคัญ เราชาวอีสาน ควรจะอนุรักษ์ และ สืบทอดกนั ชั่วลกู ช่ัวหลาน เพอ่ื ความอยเู่ ยน็ เป็นสุข มีเอกลกั ษณ์ และคงความเปน็ ลูกอสี านสบื ไป
บรรณานกุ รม ประเพณีบายศรีสู่ขวญั , sites.google.com/site/praphenibaysrisukhway/home[Online].Avai- lable: http://www.sites.google.com/site/praphenibaysrisukhway/home. [Accessed: JULY. 08,2017]. พิธบี ายศรสี ู่ขวญั ,พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถานปริญญาณ ภกิ ขุ ประเพณีโบราณไทยอีสาน, อุบลราชธานี : ศริ ิธรรม,2542 พิธีบายศรสี ู่ขวญั , thaifolk.com/doc/bysri.htm3[Online]. Available: http://www.thaifolk.com- /doc/bysri.htm3.[Accessed: n.d.]. รัชนก มะลวิ ลั ย์. “บายศรีส่ขู วญั ,”sites.google.com/site/ratchanokjack123/home[Online]. Available: http:// sites.google.com/site/ratchanokjack123/home. [Accessed: JULY.25, 2017]. Pantown, “บายศรีสขู่ วญั ,” pantown.com/group.php?display=board&id=31367&name=bo- ard11&area=3[Online]. Available: http://www.group.php?display=board&id=31- 367&name=board11&area=3. [Accessed: n.d.].
ภาคผนวก - ประวตั ิผจู้ ัดทาภมู ปิ ัญญาศกึ ษา - ภาพประกอบ
ประวัตผิ ้ถู า่ ยทอดภมู ิปญั ญา ชอื่ : นายคาํ จนั ทร์ คาํ จําปี เกิด : 2 มกราคม 2482 อายุ 80 ปี ภูมิลาเนา : ตําบลโนนสังฆ์ อําเภอโนนสงั ฆ์ จังหวดั อุดรธานี ที่อยู่ปัจจบุ ัน : บ้านเลขที่ 94/1 หมู่ 18 ตําบลวังน้าํ เยน็ อําเภอวังนาํ้ เย็น จงั หวัดสระแก้ว สถานภาพ : สมรส กบั นางแก้ว คําจําปี มีบตุ รด้วยกนั จาํ นวน 5 คน ดังน้ี 1. นางประวรรณ คาํ จาํ ปี 2. นายนางราตรี คาํ จาํ ปี 3. นานายสวา่ ง คาํ จําปี 4. นายสุริยันต์ คําจําปี 5 .นางสาววราภรณ์ คาํ จําปี การศึกษา : ประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนวัดศรีบวร ห้วยโจด ตาํ บลหนองมะเขือ จงั หวัดขอนแกน่ ปจั จบุ ัน ประกอบอาชีพ : เลี้ยงโคนม ประวตั ผิ ้เู รียบเรยี งภูมิปัญญาศกึ ษา ช่ือ : นางสาวปวันรตั น์ ตุ้มมี เกดิ : 14 สงิ หาคม 2526 ภมู ลิ าเนา : ปราจีณบรุ ี ท่อี ยู่ปจั จุบัน : 64/2 หมู่ 6 บ้านวังจาํ ปี ตําบลวังนํา้ เย็น อาํ เภอวงั นาํ้ เยน็ จงั หวัดสระแก้ว 27210 สถานภาพ : สมรส การศกึ ษา : ปริญญาโท คณะบรหิ ารการศกึ ษา มหาวิทยาลัยปทุมธานี ปัจจบุ นั ประกอบอาชีพ : ครูชาํ นาญการ
ภาพประกอบการจัดทาภมู ิปัญญาศกึ ษา เรื่องหมอส่ขู วัญ
ภาพพิธหี มอสู่ขวัญงานบวช
ภาพพิธหี มอสู่ขวัญงานบวช
ภาพพิธหี มอสู่ขวัญงานบวช
พธิ แี ตง่ งาน
พธิ สี ู่ขวญั ขา้ ว
Search
Read the Text Version
- 1 - 37
Pages: