44 7. สรุปและข้อเสนอแนะ 7.1 สรุป จากกระบวนการเสริมสรา้ งความซ่ือตรงท่ีสถาบนั พระปกเกลา้ ไดพ้ านกั เรียนรว่ มกนั จดั ทาแผน เชิงปฏิบตั ิการนัน้ เป็นการกระตุน้ ใหเ้ ยาวชนไดร้ ิเร่ิมการดาเนินโครงการท่ีเกิดจากความคิดและความ ตอ้ งการของตนเอง ดงั สรุปในตารางตอ่ ไปนี้ ตาราง 18 สรุปผลผลติ และแผนการเสรมิ สรา้ งความซ่ือตรงจากการระดมความคดิ เห็น ของโรงเรยี นพะเยาพิทยาคมและโรงเรยี นเฉลิมพระเกียรตพิ ระศรีนครินทร์ พะเยา สถานศึกษา สถานการณค์ วาม ภารกิจหลกั ในแผนปฏิบัตกิ าร พะเยา ไม่ซื่อตรงทพี่ บ พทิ ยาคม เป็นพฤติกรรมทพ่ี บ 1.การปฏิบตั ติ ามระเบยี บโรงเรยี น เพอ่ื ใหจ้ านวนนกั เรยี นผดิ ระเบยี บ ในสถานศกึ ษา ลดลงโดยบนั ทกึ สถิตภิ าพนงิ่ และวดิ โี อ มอบเกียรติบตั รรวบรวมขอ้ มลู เฉลมิ พระ โดยท่วั ไป สรุปไดเ้ ป็น ลงรูปเลม่ เกียรติฯ 5 ประเดน็ ไดแ้ ก่ การลอก (ลอกการบา้ น 2.สรา้ งจติ สานกึ ในการแตง่ กาย เพื่อใหน้ กั เรยี นแตง่ กายถกู ระเบียบ จดโพย ลอกขอ้ สอบ) มากขนึ้ โดยทาวดิ ีโอแนะนาการแตง่ กายทีถ่ กู ตอ้ งลงโซเชียล เปิดใน การโกหกและมสุ า คาบเรยี นบางคาบ สารวจ เก็บสถิติ และตรวจระเบียบกอ่ นเขา้ เรยี น (นนิ ทา โกหก) ไมต่ รงตอ่ เวลา 3.การจดั ระเบียบแถว เพ่ือนกั เรยี นชนั้ ม.ตน้ เขา้ แถวตรงเวลาเป็น (เขา้ เรยี นสาย) ระเบียบ 80%โดยกาหนดเวลาในการเขา้ แถว ประชาสมั พนั ธ์ ประกวด คดโกง (ขโมยขนม จดั แถว ประกาศรางวลั ผชู้ นะในแตล่ ะหอ้ ง แยง่ ของเพอื่ น) ไมต่ งั้ ใจเรยี น 4.ปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมการลอกขอ้ สอบ เพือ่ ใหน้ กั เรยี นทาขอ้ สอบได้ (แกลง้ เพอ่ื น โดดเรยี น ดว้ ยตนเองและมีความเขา้ ใจในเนอื้ หาทเี่ รยี น เก็บสถิติของนกั เรยี นท่ี แหกกฎ หนีเทีย่ ว) ลอกขอ้ สอบ สงั เกต วเิ คราะหข์ อ้ มลู และแกป้ ัญหา 1.วินยั การรบั ประทานอาหาร เพอื่ ใหเ้ กิดความเป็นระเบยี บของนกั เรยี น ขณะทานอาหารโดยสงั เกตพฤตกิ รรม ดแู ลแนะนา ทาแบบสารวจความ พงึ พอใจของคณะครู สรุปและรวบรวมขอ้ มลู 2.คา่ ยปลกู ฝังจิตสานึกตามหลกั พอเพียง โดยประชมุ วางแผน เตรยี มการจดั คา่ ย ประชาสมั พนั ธแ์ ละจดั กจิ กรรมคา่ ย ทาแบบประเมิน ความพงึ พอใจ สรุปและจดั ทารายงาน 3.ปรบั เปลยี่ นพฤติกรรม(การตรงตอ่ เวลา) โดยมกี ารวางแผน ปรกึ ษา คณะครู ประชมุ และแบง่ หนา้ ท่ี ชแี้ จงใหน้ กั เรยี นทราบ ทดลองใช้ กิจกรรม สงั เกตพฤติกรรมและบนั ทกึ ผล
45 จากผลการถอดบทเรียนและแบบประเมินตนเองของนกั เรียน เห็นไดว้ า่ ในภาพรวมนกั เรียนได้ มีความรูแ้ ละความเขา้ ใจเก่ียวกบั ความซ่ือตรงมากขนึ้ การไดอ้ อกแบบและขบั เคล่ือนกิจกรรมทาใหน้ กั เรียน มีประสบการณใ์ นการทากิจกรรมท่ีอาจกระทบตอ่ การเรียนและกิจกรรมท่ีมีอย่เู ดมิ แตก่ ็ทาใหน้ กั เรียนตอ้ ง ขยนั และจดั สรรเวลาเพ่ิมมากขึน้ รวมทงั้ ในส่วนของผลจากการประเมินดา้ นความคิดเห็นเก่ียวกับความ ซ่ือตรงและพฤติกรรมท่ีนักเรียนมองว่ามีความใกลเ้ คียงกับตวั เองมากท่ีสุดนนั้ ส่วนใหญ่ความเห็นและ พฤติกรรมท่ีขดั แยง้ กบั ความซ่ือตรงจะเป็นส่ิงท่ีเกิดขึน้ โดยท่วั ไปในโรงเรียน เช่น การลอกขอ้ สอบการลอก การบา้ นเพ่ือน ส่วนพฤติกรรมหรือความคิดเห็นท่ีสง่ เสรมิ ความซ่ือตรงแตม่ ีผทู้ ่ีเห็นดว้ ยหรือมีพฤตกิ รรมไป ในทางนนั้ ค่อนขา้ งนอ้ ย ส่วนใหญ่เป็นเร่ืองของการเขา้ ไปตกั เตือนหรือสอดส่องในการกระทาผิดของผอู้ ่ืน เพราะอาจเป็นเร่อื งท่ีทาไดย้ ากและมีความเส่ียงตอ่ ความสมั พนั ธอ์ นั ดรี ะหวา่ งผทู้ ่ีหวงั ดีกบั ผถู้ กู ตกั เตือน 7.2 ข้อเสนอแนะ การเสรมิ สรา้ งความซ่ือตรงใหเ้ กิดขนึ้ ไดจ้ รงิ ในสงั คมไทยตามกรณีศกึ ษานีท้ ่ีเนน้ ในสถานศกึ ษา นนั้ เป็นการนากระบวนการวางแผนเชิงปฏิบตั ิการแบบมีส่วนรว่ มมาใชเ้ พ่ือใหก้ ารขบั เคล่ือนความซ่ือตรง โดยผทู้ ่ีเป็นกล่มุ เป้าหมายเป็นผดู้ าเนินการเองและเรียนรูจ้ ากการปฏิบตั ิจริง ช่วยทาใหเ้ กิดความรูส้ ึกเป็น เจ้าของปัญหาและตอ้ งการท่ีจะแก้ไขปัญหาท่ีเป็นเพียงจุดเล็กๆ แต่ก็สามารถทาใหเ้ กิดผลท่ีย่ังยืนได้ แมย้ งั คงมีอปุ สรรคบางประการ เช่น การขาดความเขา้ ใจท่ีแทจ้ ริงเก่ียวกบั ความซ่ือตรง การขาดการมีส่วน รว่ ม ความพรอ้ มของกลมุ่ เปา้ หมาย ฯลฯ แตก่ ารขบั เคล่ือนกิจกรรมในรูปแบบคณะทางาน ฯ ก็พอท่ีจะทาให้ การเสริมสรา้ งความซ่ือตรงของกรณีศึกษาพอจะมีความสาเร็จ แต่ยงั คงตอ้ งการการปรบั ปรุงและพฒั นา ตอ่ ไปเพ่ือใหเ้ กิดความซ่ือตรงในสถานศกึ ษา ดงั ตอ่ ไปนี้ 1) การสรา้ งความรูแ้ ละความเขา้ ใจเก่ียวกับความซ่ือตรงท่ีถูกตอ้ งในสถานศึกษา ควรมีการ กลอ่ มเกลาหรือสรา้ งกระบวนการเรียนรูอ้ ยา่ งตอ่ เน่ือง อาจสอดแทรกไปในกิจกรรมท่ีโรงเรียนดาเนินการอยู่ หรือในบทเรยี นของแตล่ ะวิชาการ เพ่ือใหเ้ กิดการซมึ ซบั 2) การสรา้ งความตระหนกั เก่ียวกบั ความซ่ือตรงใหเ้ กิดขึน้ ในสถานศกึ ษา ควรเป็นการเรียนรู้ ในรูปแบบของกรณีศกึ ษาท่ีสะทอ้ นใหเ้ ห็นผลกระทบทงั้ ในดา้ นท่ีดีและดา้ นลบท่ีสง่ ผลกระทบถงึ ระดบั บคุ คล ครอบครวั สงั คม และประเทศชาติ 3) การทากิจกรรมเพ่ือเสรมิ สรา้ งความซ่ือตรงในโรงเรียน ควรใหเ้ ยาวชนในสถานศกึ ษานนั้ ไดม้ ี ส่วนรว่ มใหม้ ากท่ีสดุ ตงั้ แต่การจดั การแผนและออกแบบกิจกรรม เพ่ือใหเ้ กิดความเป็นเจา้ ของ เรียนรู้ และ สามารถประยกุ ตใ์ ชค้ วามเขา้ ใจเก่ียวกบั ความซ่ือตรงไปสกู่ ารปฏิบตั จิ รงิ ได้ 4) การเสริมสรา้ งชุมชนให้เกิดขึน้ ในโรงเรียน อาจจัดตงั้ เป็นกลุ่มหรือชมรมเพ่ือขบั เคล่ือน กิจกรรมท่ีเก่ียวขอ้ งซ่ึงอาจไม่ใช่กิจกรรมดา้ นความซ่ือตรงหรือเก่ียวขอ้ งกับศีลธรรมอย่างเชน่ การเขา้ วดั
46 ฟังธรรมเท่านั้น แต่อาจเป็นกิจกรรมในลักษณะจิตอาสาท่ีออกไปดาเนินกิจกรรมร่วมกันกับชุมชน เพ่ือขยายผลเครือข่ายความซ่ือตรงระหว่างนักเรียนและชมุ ชน โดยในกิจกรรมท่ีเป็นจิตอาสานนั้ ใชห้ ลกั ความซ่ือตรงตลอดการดาเนินกิจกรรม เชน่ มีการบรหิ ารจดั การเงินในการทากิจกรรมอยา่ งเปิดเผย หรือทา จติ อาสาอยา่ งมีระเบียบวินยั เป็นตน้ 8. เอกสารอ้างอิง กรมการคา้ ภายใน. (2550). หลกั ราชการ: พระราชนพิ นธ์ในพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยูห่ วั . กรุงเทพฯ: กลมุ่ งานการเจา้ หนา้ ท่ี สานกั งานเลขานกุ ารกรม กรมการคา้ ภายใน. กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2542). คูม่ ือครูแนวการจดั ทาแผนการสอนพฒั นาศกั ยภาพโครงการทดลองพฒั นา ศกั ยภาพของเดก็ ไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพช์ ว่ งพมิ พ.์ คณะผวู้ ิจยั สถาบนั อนาคตศกึ ษาเพ่ือการพฒั นา. (2549). รูปแบบการสอนทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพในการพฒั นา ผูเ้ รยี นใหม้ ีคณุ ธรรมจริยธรรม. กรุงเทพฯ: ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นาพลงั แผน่ ดนิ เชงิ คณุ ธรรม. ถวิลวดี บรุ ีกลุ . (2552). ธรรมาภิบาลทอ้ งถ่ิน : บทเรียนจากตา่ งแดน. กรุงเทพฯ: ธรรมดาเพลส. ธนพล จาดใจด.ี (2548). คณุ ลกั ษณะและกระบวนการปลูกฝงั คณุ ธรรมจริยธรรมของประเทศอนิ เดีย. กรุงเทพฯ: ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นาพลงั แผน่ ดนิ เชิงคณุ ธรรม. วทิ ยาลยั พฒั นาการปกครองทอ้ งถ่ิน สถาบนั พระปกเกลา้ . (2553). บนั ทกึ เรือ่ งเดน่ รางวลั พระปกเกลา้ ’52 ดา้ นความโปร่งใสและสง่ เสริมการมสี ว่ นร่วมของประชาชน. กรุงเทพฯ: สถาบนั พระปกเกลา้ . ศนู ยค์ ณุ ธรรม. (2558). รายการ ดอกไมบ้ าน สอื่ สารความดี ตอน องค์กรซือ่ ตรง : กรมการเงนิ กลาโหม (ส่ือวีดทิ ศั น)์ วนั ท่ีสืบคน้ 8 สิงหาคม 2559 จาก http://dl.moralcenter.or.th/handle/6626449900/321. สถาบนั พระปกเกลา้ . (2555). โครงการศกึ ษาเพอื่ เสริมสรา้ งความซือ่ ตรงในสงั คมไทย: ปัญหา ตวั ชีว้ ดั และ แนวทางการพฒั นา. กรุงเทพฯ: สานกั งานเลขาธิการวฒุ สิ ภา. สถาบนั พระปกเกลา้ . (2558). รายงานกิจกรรมสง่ เสริมและสนบั สนนุ การวจิ ยั การปฏิรูปประเทศไทย ดา้ นการต่อตา้ นการทจุ ริตและการสง่ เสริมคณุ ธรรมจริยธรรมของเยาวชน. กรุงเทพฯ: สถาบนั พระปกเกลา้ และสานกั งานคณะกรรมการวิจยั แหง่ ชาต.ิ สภาปฏิรูปแหง่ ชาต.ิ (2558). วาระปฏิรูปที่ 1 การป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบ. กรุงเทพฯ: สานกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร ปฏิบตั หิ นา้ ท่ีสานกั งานเลขาธิการ
47 สานกั วจิ ยั และพฒั นา สถาบนั พระปกเกลา้ . (2554). มารูจ้ กั กบั คาวา่ “ความซื่อตรง” กนั เถอะ. กรุงเทพฯ: สถาบนั พระปกเกลา้ . Integrity Action. (2014). A Practical Guide to Community Integrity Building. London, United Kingdom: Author. Singh, V. (2009 - 2010). Project Pahal: Shaasan Sudhaar Ki Ore: For Improving Governance in rural India. Transparency International India. (n.p.) Transparency International India. (2008). Pahal: Shaasan Sudhaar Ki Ore. Retrieved date January 15, 2013 from http://www.transparencyindia.org/projects.php?id=37. United Nations Office for Drug Control and Crime Prevention. (1999). Prevention: An Effective Tool to Reduce Corruption. Vienna: Author. ***************************************
48 ภาคผนวก รายละเอียดการถอดบทเรียน 5 คาถาม 1. ท่านได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการเข้าร่วมโครงการ 1.1 การเรียนรู้โดยตรง ความซื่อตรงและความหมายของคาวา่ “ซื่อตรง” - รูจ้ กั ความหมายคาวา่ “ซ่ือตรง” (5 บตั ร) - ความซ่ือตรง (7 บตั ร) - อาชวะ ตระหนกั ถงึ ความสาคญั และประโยชนข์ องความซือ่ ตรง - ไดเ้ รียนรูแ้ ละตระหนกั ถึงความซ่ือตรง - ไดต้ ระหนกั ถงึ ความซ่ือตรง - ประโยชนข์ องการทาตวั ใหซ้ ่ือตรง - จิตใตส้ านกึ ท่ีทกุ คนตอ้ งมี เรยี นรูถ้ งึ แนวปฏิบตั เิ กยี่ วกบั ความซือ่ ตรง - แนวปฏิบตั เิ พ่ือใหส้ อดคลอ้ งกบั คาวา่ “ซ่ือตรง” - การดาเนินงาน - มีความซ่ือตรงในการมาเขา้ แถว - ทกุ คนลว้ นมีความซ่ือตรง 1.2 การเรยี นรู้โดยอ้อม - ความซ่ือสตั ย์ จิตสานึก - การตรงตอ่ เวลา เรยี นรูเ้ รื่องความซือ่ สตั ย์ - ไดค้ วามซ่ือสตั ย์ (5 บตั ร) เรยี นรูเ้ รื่องการตรงตอ่ เวลา - ตรงเวลา
49 เรยี นรูเ้ รื่องการทางานและแกป้ ัญหาอยา่ งเป็นระบบ - ความเป็นระบบ (2 บตั ร) - การแกป้ ัญหาอยา่ งเป็นระบบ เรียนรูเ้ รื่องความสามคั คแี ละการทางานเป็นกลมุ่ - สามคั คีกนั ในการทางาน (15 บตั ร) - การรกั สามคั คกี นั ในกลมุ่ และรูจ้ กั หนา้ ท่ีของตน - มีระเบียบ วนิ ยั และรูจ้ กั หนา้ ท่ีของตน (10 บตั ร) - มิตรภาพ - การทางานเป็นกลมุ่ (5 บตั ร) - ไดเ้ รียนรูห้ ลกั การทางานเป็นทีม - ความรบั ผิดชอบ (5 บตั ร) - มีความรว่ มมือ (2 บตั ร) การเรียนรูเ้ รอื่ งอืน่ ๆ - ความคิดใหมๆ่ - ขา้ มขีดจากดั เป็นคนดี - ไดค้ วามกลา้ และบา้ บ่นิ จากการตอ้ งไปลงพืน้ ท่ีและนาเสนอ - เปล่ียนเจตคติ
50 2. ท่านรู้สกึ อย่างไรเมอ่ื ดาเนินโครงการนี้ 2.1 มองในระดบั ตนเอง รูส้ กึ ดที ไี่ ดเ้ ขา้ ร่วมโครงการ - so so - ก็ดีนะ - ดีคะ่ - มนั ดีคะ่ - ดีมาก - รูส้ กึ ดี - รูส้ กึ ดี มีความสขุ - รูส้ กึ ดีใจ - รูส้ กึ ดีใจมาก - รูส้ กึ ดีในการทางาน - รูส้ กึ ดีใจท่ีเป็นสว่ นหนง่ึ ของโครงการนี้ - รูส้ กึ ดีใจท่ีไดท้ าโครงการนี้ - พงึ พอใจมากท่ีไดท้ างานโครงการนี้ - มีรอยยมิ้ มีความรู้ มีความสขุ - มีความสขุ ท่ีไดท้ าโครงการ รูส้ กึ ภูมิใจในตนเอง - ภมู ิใจ (3 บตั ร) - ภาคภมู ิใจท่ีไดท้ าโครงการนี้ - ภมู ใิ จและกลา้ แสดงออกมากขนึ้ สนกุ ดว้ ย - ดีใจและเป็นเกียรตมิ ากเพราะทาใหเ้ รามีความซ่ือตรงตอ่ ตนเองมากขนึ้ - ยินดที ่ีไดเ้ ป็นตวั อยา่ งการทาดตี อ่ นอ้ งๆ - รูส้ กึ ถงึ การพฒั นาในดา้ นท่ีดขี องตวั เองและเพ่ือน - รูส้ กึ รูห้ นา้ ท่ีของเรา รูส้ ึกดีท่ีไดเ้ ป็นสว่ นหนง่ึ ของโครงการนี้ - ตนเองมีความซ่ือสตั ย์ - รูส้ กึ อยากเปล่ียนแปลงตวั เอง - รูส้ กึ มีความเป็นผใู้ หญ่มากขนึ้ - เป็นคนดี - ตระหนกั ถึงความสาคญั ของ “ซ่ือตรง” - รูส้ กึ ถงึ ความสาคญั ของซ่ือตรง
51 รูส้ กึ มวี นิ ยั และความรบั ผดิ ชอบ - รูส้ กึ มีความรบั ผิดชอบมากขนึ้ (4 บตั ร) - มีความรบั ผิดชอบตอ่ หนา้ ท่ีมากขนึ้ (2 บตั ร) - รูส้ กึ มีความรบั ผิดชอบและระเบียบวินยั มากขนึ้ - มีวินยั มากขนึ้ รูจ้ กั ตนเอง - ตอ้ งมีเวลาและแบง่ เวลาใหม้ ากๆ รูส้ กึ เหนอื่ ย - เหน่ือย (2 บตั ร) - เหน่ือยแตด่ ี - เหน่ือยแตส่ นกุ (2 บตั ร) - เหน่ือยแตค่ มุ้ - เหน่ือยแตค่ มุ้ ไดเ้ รยี นรูอ้ ะไรใหมๆ่ - เหน่ือยแตก่ ็สู้ (3 บตั ร) - เหน่ือย แตต่ อ้ งทาใหส้ าเรจ็ - รูส้ กึ ดี เหน่ือยบา้ ง กระตือรือรน้ รูส้ กึ สนกุ - ร่นื เรงิ บนั เทงิ ใจ - รูส้ กึ สนกุ (รวม 11 คน) รูส้ กึ มีแรงผลกั ดนั - มีความพยายาม - เขม้ แข็ง strong (2 บตั ร) - ความพยายามนาไปสคู่ วามสาเรจ็ - ตงั้ ใจทางาน รูส้ กึ ถงึ ความสามคั คแี ละชอบทางานเป็นกลมุ่ - รูส้ กึ วา่ ช่วยกนั ทางานไดด้ มี ากๆ - มีทีมเวิรก์ - มีความสามคั คี เพ่ือนในกลมุ่ มากขนึ้ ภมู ใิ จกบั ผลลพั ธท์ ่ีไดท้ ามาดว้ ยกนั แมจ้ ะไมไ่ ดเ้ ป็น ส่ิงท่ีดีสดุ - รูส้ กึ วา่ การทางานเป็นทีมสนกุ และมีความเขา้ ใจกนั คะ่ 2.2 มองในระดับสังคม รูส้ กึ เป็นผูน้ าและมองในภาพกวา้ งขึน้ - เป็นผนู้ า - รูส้ กึ ดีท่ีไดเ้ ป็นแบบอย่าง - ดใี จท่ีทาใหน้ อ้ งๆ มีความซ่ือตรง - รูส้ กึ ดีใจเพราะทาใหท้ กุ คนมีความซ่ือสตั ยซ์ ่ือตรง - รูส้ กึ ดีและถา้ ทกุ คนขาดความซ่ือตรง ประเทศไทยจะไมเ่ จรญิ กา้ วหนา้
52 3. ท่านคิดว่ามีอะไรทต่ี ้องปรับปรุงให้ดขี ึน้ 3.1 ไม่มอี ะไรต้องปรับปรุง ไมม่ อี ะไรตอ้ งปรบั ปรุง - ไมม่ ีอะไรตอ้ งปรบั ปรุง เพราะทาดที ่ีสดุ แลว้ คะ่ 3.2 สงิ่ ทม่ี ุ่งม่ันจะทาลดลง - ความขีเ้ กียจ ลดพฤตกิ รรมความขีเ้ กยี จ - NO LAZY 3.3 สง่ิ ทม่ี ุ่งม่ันจะทาเพมิ่ ขึน้ หรือทาใหด้ ขี ึน้ การสรา้ งความชดั เจนและจดั การความเห็นตา่ ง - ตีความหมายคาวา่ “ซ่ือตรง” ใหช้ ดั เจนย่งิ ขนึ้ (4 บตั ร) - อธิบายใหช้ ดั เจนและการตีความ - การจดั การความคดิ ท่ีแตกตา่ งใหล้ งตวั เพ่มิ ความรบั ผดิ ชอบ - มีความรบั ผิดชอบมากขนึ้ (5 บตั ร) - มีความรบั ผิดชอบในหนา้ ท่ี (2 บตั ร) เพม่ิ ระบบและระเบยี บในการทางาน - ระบบการทางาน - ระเบยี บ (3 บตั ร) เพม่ิ ความสามคั คแี ละความร่วมมือ - มีความสามคั คีมากกวา่ นี้ (2 บตั ร) - ปรบั ปรุงการทางานทีมของเรา (2 บตั ร) - พฒั นาโครงการดีกวา่ นี้ - การแบง่ หนา้ ท่ีของคนในกล่มุ - การใหค้ วามรว่ มมือในการทางานกลมุ่ ใจเขาใจเรา ชว่ ยกนั (2 บตั ร)
53 เพ่มิ ความกระตอื รือรน้ ความขยนั ม่งุ ม่นั - ความกระตือรือรน้ ในการทางาน (5 บตั ร)- ความต่นื ตวั และสปีรทิ ในตวั เอง - ความจรงิ จงั และมงุ่ ม่นั - สนใจมากขนึ้ - ความพยายามและการรูห้ นา้ ท่ี - ความขยนั (3 บตั ร) การบริหารเวลา - การแบง่ เวลา - ตรงตอ่ เวลา (3 บตั ร) - ระยะเวลา (2 บตั ร) - ควรยืดระยะเวลาในการทางาน การเตรียมความพรอ้ มและความกลา้ ในการแสดงออก - ความม่นั ใจ - ปรบั ปรุงความม่นั ใจของตนเองใหด้ ีขนึ้ - ความตงั้ ใจใฝ่เรียนรูท้ ่ีจะทา (กลา้ ท่ีจะทา)- ความกลา้ ท่ีจะคดิ และทา - ความกลา้ แสดงออก - เตรยี มการนาเสนอและความกลา้ - การเตรยี มความพรอ้ ม (4 บตั ร) ปรบั ปรุงความคดิ ทศั นคติ และพฤตกิ รรม - ความคิด (3 บตั ร) - ทศั นคติ (2 บตั ร) - จิตสานึกของแตล่ ะบคุ คล (2 บตั ร) - นิสยั - พฤตกิ รรม (3 บตั ร) - เร่มิ ท่ีตนเอง (2 บตั ร) - ปลกุ ความซ่ือตรงของตนเอง - ตวั เองก่อนแลว้ ทกุ คนในโรงเรยี น - เป็นแบบอยา่ งท่ีดีอยา่ งสม่าเสมอ - ตอ้ งสามารถปลกู จิตสานกึ ใหผ้ อู้ ่ืนได้
54 4. ทา่ นคิดว่าจะทาอย่างไรให้คนมคี วามซ่ือตรง 4.1 เร่ิมทตี่ นเอง เร่มิ จากตนเองทาตนเป็นแบบอย่างทดี่ ใี หแ้ กผ่ ูอ้ นื่ - ตอ้ งเรม่ิ จากตวั เองก่อน (6 บตั ร) - ตอ้ งปรบั ปรุงตวั เองในเร่ืองไมซ่ ่ือตรง - รูห้ นา้ ท่ีของตนเอง - เรม่ิ จากตวั เราปฏิบตั ใิ หเ้ ป็นตวั อยา่ งแกผ่ อู้ ่ืน - เป็นแบบอยา่ งท่ีดี (12 บตั ร) - เป็นตวั อยา่ งท่ีดี (7 บตั ร) 4.2 วธิ ีการ/มาตรการในการสร้างความซอ่ื ตรง มีผูอ้ าวโุ สเป็นตวั อยา่ งทดี่ ีในสงั คม - ตอ้ งมีตวั อยา่ งจากผใู้ หญ่ ผอู้ าวโุ ส - มีแบบอยา่ งท่ีดี ตอ้ งคิดเป็นและทาได้ - มีตวั อยา่ งท่ีดีในสงั คม ปรบั ทศั นคต/ิ ปลกุ กระตนุ้ ปลกู ฝงั สรา้ งจิตสานกึ และระดบั จิตใตส้ านกึ - ปรบั ทศั นคตใิ หด้ ี - ปลกู ฝังจติ สานกึ (7 บตั ร) - สรา้ งจติ สานกึ - มีจติ ใตส้ านกึ ในตนเอง - สรา้ งจิตใตส้ านกึ ใหม้ ีความซ่ือตรง - ปลกู จิตสานกึ ใหค้ นอ่ืนเห็น แตเ่ รม่ิ จากเรา - ปลกุ และปลกู ฝังจติ ใตส้ านกึ (4 บตั ร) - สรา้ งเจตคตทิ ่ีดี SO GOOD - กระตนุ้ จิตใตส้ านกึ - เขา้ คา่ ยธรรมะ ใหค้ วามรู้ และสรา้ งความตระหนกั ถงึ ความสาคญั ของ “ความซื่อตรง” - อธิบายความหมายใหน้ า่ สนใจ (4 บตั ร) - ทาใหเ้ ขา้ ใจในความสาคญั ของการ “ซ่ือตรง” - บอกขอ้ ดี
55 - ปรบั ทศั นคตขิ องทกุ คนก่อนใหร้ ูจ้ กั ขอ้ ดีของความซ่ือตรง - พดู แนะนา ทาเป็นตวั อยา่ ง และคอ่ ยพฒั นาไปดว้ ยกนั - จากการอบรมส่งั สอนของครอบครวั - ปลกู ฝังตงั้ แตเ่ ดก็ ๆ ใหม้ ีความซ่ือตรง - รณรงคใ์ หค้ วามรู้ (3 บตั ร) - มีความกลา้ มีความตงั้ ใจท่ีจะทา พรอ้ มกบั สามารถนาไปเผยแพรไ่ ด้ (3 บตั ร) - ใหค้ ิดถึงผลกระทบท่ีตามมาทงั้ สงั คมและตนเอง - สรา้ งความนา่ เช่ือถือ - สรา้ งความตระหนกั - สรา้ งแรงจงู ใจใหว้ ยั รุน่ สรา้ งกฎ ระเบยี บ กตกิ า - ระเบยี บท่ีเครง่ ครดั - เราตอ้ งมีกฎ ระเบยี บ - กฎระเบยี บ กฎเกณฑท์ ่ีเครง่ ครดั - มีกฎระเบยี บท่ีเครง่ ครดั
56 5. ท่านคดิ ว่ามอี ะไรทน่ี าไปใช้ได้บ้าง 5.1 ภาพรวม จะนาทกุ อยา่ งทไี่ ดเ้ รียนรูจ้ ากโครงการไปใช้ - ทกุ อยา่ ง - ทกุ อยา่ งท่ีไดเ้ รียนรูม้ า - ส่งิ ท่ีไดจ้ ากโครงการซ่ือตรง - ทงั้ หมดท่ีทกุ กลมุ่ นาเสนอ - ไดท้ กุ ขอ้ เพราะเป็นการปฏิบตั ทิ ่ีดี - Up to you - แลว้ แตเ่ ราท่ีจะเอาไปใช้ (2 บตั ร) 5.2 เจาะจงประเดน็ จะนาความรูท้ ไี่ ดร้ บั ไปเผยแพร่ - ความรูท้ ่ีจะนาไปพฒั นาเพ่ือตอ่ ยอดเก่ียวกบั ความซ่ือตรง - ความรูท้ ่ีไดจ้ ากโครงการ (2 บตั ร) - นาความรูเ้ ร่ืองความซ่ือตรงไปเผยแพร่ (3 บตั ร) - การเผยแพรค่ วามรูแ้ ละพฒั นาโรงเรียน - ความคดิ ของคนท่ีมีความซ่ือตรงนาไปเผยแพรใ่ หแ้ ก่ผอู้ ่ืน - นาไปปฏิบตั ิ เผยแพรใ่ หพ้ ่ีๆ นอ้ งๆ ไดร้ บั รู้ - นาไปเผยแพรใ่ หค้ นรูจ้ กั ในเร่อื งท่ีเก่ียวกบั ความซ่ือตรง จะนาความซื่อตรงไปใช้ - ความซ่ือตรงตอ่ ตนเองและผอู้ ่ืน - ความซ่ือตรง (3 บตั ร) - สรา้ งความตระหนกั ในคาวา่ ซ่ือตรงมากขนึ้ - ความซ่ือตรงและความบรสิ ุทธิ์ใจ - ความซ่ือสตั ยต์ อ่ ตนเอง - ความซ่ือตรงไมค่ ดโกง - ซ่ือสตั ย์ - ความซ่ือสตั ย์ ความซ่ือตรง - คณุ ธรรม แนวคดิ และประสบการณท์ ไี่ ดร้ บั - ความคิดและกฎใหมๆ่ ของกลมุ่ อ่ืนๆ - ความคิด - การใชค้ วามคดิ อยา่ งเป็นระบบ - ขอ้ คดิ ท่ีดี - เศษความทรงจาการทางาน - จิตใตส้ านกึ ของทกุ คน - ประสบการณก์ ารทางานอยา่ งเป็นระบบ - ประสบการณท์ ่ีดี (5 บตั ร) - การประพฤตติ น - ลกั ษณะนิสยั จะนาความมรี ะเบยี บวนิ ยั ไปใช้ - ความมีวินยั ในตวั เอง - มีวนิ ยั
57 - ความมีระเบยี บวนิ ยั และความรบั ผิดชอบของตนเอง - ปฏิบตั ติ ามกฎ - ปฏิบตั ติ ามกฎโรงเรียน - การมีระเบียบวินยั - การแตง่ กายถกู ระเบียบ - รบั ประทานอาหารอย่างมีระเบยี บ จะนาความตรงตอ่ เวลาไปใช้ - การนาความตรงตอ่ เวลาไปพฒั นาโรงเรยี น - ตรงเวลา (5 บตั ร) จะนาความสามคั คี ความรบั ผดิ ชอบ การทางานอยา่ งเป็นระบบ และความกลา้ แสดงออก ไปใช้ - ความสามคั คี (3 บตั ร) - ความมีนา้ ใจ - การมีมิตรไมตรที ่ีดี มีความรบั ผิดชอบ มีความกระตือรือรน้ สามารถนาไปใชใ้ นการ ทางานได้ - ความรบั ผิดชอบ (3 บตั ร) - แนวทางการปฏิบตั งิ านท่ีทาแลว้ สาเรจ็ - ระบบการทางาน/ขนั้ ตอนการแกป้ ัญหา - ขนั้ ตอนการทางาน - วธิ ีการนาเสนอ - กลา้ แสดงออก จะนาเงนิ สนบั สนนุ ไปใช้ - เงินสนบั สนนุ (6 บตั ร)
Search